SlideShare a Scribd company logo
1 of 10
Download to read offline
1 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ 
รหัสวิชา ง33202 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 6 
ปีการศึกษา 2557 
ชื่อโครงงาน 
STOP มะเร็ง 
ชื่อผู้ทาโครงงาน 
1 น.ส. ศิริประภา ประภาลักษณ์ เลขที่ 15 ชั้น ม.6 ห้อง 14 
2. น.ส. สลิลทิพย์ สมหนุน เลขที่ 25 ชั้น ม.6 ห้อง 14 
ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ 
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2557 
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่ 
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
2 
ใบงาน 
การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์ 
สมาชิกในกลุ่ม STOP มะเร็ง 
1 น.ส. ศิริประภา ประภาลักษณ์ เลขที่ 15 2 น.ส. สลิลทิพย์ สมหนุน เลขที่ 25 
คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้ 
ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย) 
หยุด มะเร็ง ซะ! 
ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ) STOP มะเร็ง 
ประเภทโครงงาน ตามความสนใจ ( เกี่ยวกับสุขภาพ ) 
ชื่อผู้ทาโครงงาน 
น.ส. ศิริประภา ประภาลักษณ์ , น.ส. สลิลทิพย์ สมหนุน ชื่อที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ 
ระยะเวลาดาเนินงาน 1 สัปดาห์ 
ที่มาและความสาคัญของโครงงาน (อธิบายถึงที่มา แนวคิด และเหตุผล ของการทาโครงงาน) 
จากสถิติในแต่ละปีพบว่า "มะเร็ง" ได้คร่าชีวิตผู้คนทั่วโลกมีอัตราสูงขึ้น เพื่อให้คนไทยและทั่ว โลกได้ตระหนักถึงภัยร้ายของโรคมะเร็ง รวมถึงรณรงค์ให้ผู้คนหันมาใส่ใจสุขภาพตัวเอง ทางองค์การ อนามัยโลกจึงได้กาหนด "วันมะเร็งโลก" (World Cancer Day) ในวันที่ 4 ก.พ. โดยคาดอีก 21 ปี ข้างหน้าจะมีผู้ป่วยมะเร็งเพิ่มขึ้นปีละ 24 ล้านคน 
สาหรับประเทศไทยนั้น พบว่าโรคมะเร็งเป็นสาเหตุการตายสูงเป็นอันดับ 1 ของคนไทย ต่อเนื่องมานานกว่า 13 ปี ตั้งแต่ปี 2543 เป็นต้นมา และจากข้อมูลล่าสุด จากกระทรวงสาธารณสุข (สธ.) พบว่าคนไทยป่วยเป็นโรคมะเร็งรุนแรงมากขึ้น และมีคนไทยเสียชีวิตกว่า 60,000 คนต่อปี ส่วน ทั่วโลกมีรายงานการเสียชีวิตปีละเกือบ 8 ล้านคน
3 
ดังนั้นเราคิดแบะจัดทาโครงงาน STOP มะเร็ง ขึ้นมาเพื่อให้สะท้อนสังคมว่ามะเร็งไม่ใช่ปัญหา เล็กน้อยอีกต่อไป เพราะส่วนใหญ่ค้นพบว่า คนเสียชีวิตจากโรคมะเร็งเพิ่มมากขึ้น เพราะฉะนั้นเราจึง อยากเสนอข้อมูลหรือเตือนภัยจากการกินของเราในชีวิตประจาวัน 
วัตถุประสงค์ (สิ่งที่ต้องการในการทาโครงงาน ระบุเป็นข้อ) 1.ต้องการให้คนไทยตระหนักเรื่องโรคมะเร็ง 
2.ยังมีคนบางกลุ่มไม่รู้ว่าสาเหตุของการเกิดโรคมะเร็งมาจากไหน 
3.ต้องการให้ระมัดระวังในการกินอาหารทั่วไปให้มากขึ้น 
4.ต้องการแบ่งปันความรู้เกี่ยวกับโรคมะเร็ง ต่อทุกวัยเพื่อป้องกันการเกิดมะเร็ง 
ขอบเขตโครงงาน (คุณลักษณะ ขอบเขต เงื่อนไขและข้อจากัดของการทาโครงงาน) 
การศึกษาโรคมะเร็ง ในส่วนของสาเหตุการเกิดโรคมะเร็งมากจากอะไร และส่วนใหญ่สารที่ก่อ มะเร็งพบในอาหารใดมากที่สุด ซึ่งมีวิธีการในการป้องกันการเกิดมะเร็งได้อย่างไรหรือวิธีการระงับ อาการของโรคมะเร็ง 
การทาโครงงานเรื่อง STOP มะเร็ง ใช้เวลาในการศึกษาข้อมูล และทาการโพสข้อมูลลงบล็อค เกอร์ช่วงวันที่ 4 – 11 พฤศจิกายน 2557 
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย ต.พระสิงห์ อ.เมือง จ.เชียงใหม่ 
หลักการและทฤษฎี (ความรู้ หลักการ หรือทฤษฎีที่สนับสนุนการทาโครงงาน) 
มะเร็ง คือ กลุ่มของโรคที่เกิดเนื่องจากเซลล์ของร่างกายมีความผิดปกติ ที่ DNA หรือสารพันธุกรรม ส่งผลให้เซลล์มีการเจริญเติบโต มีการแบ่งตัวเพื่อเพิ่มจานวนเซลล์ รวดเร็ว และมากกว่าปกติ ดังนั้น จึงอาจทาให้เกิดก้อนเนื้อผิดปกติ และในที่สุดก็จะ ทาให้เกิดการตายของเซลล์ในก้อนเนื้อนั้น เนื่องจาก ขาดเลือดไปเลี้ยง เพราะการ เจริญเติบโตของหลอดเลือด ถ้าเซลล์พวกนี้เกิดอยู่ในอวัยวะใดก็จะ เรียกชื่อ มะเร็ง ตามอวัยวะนั้นเช่น มะเร็งปอด มะเร็งสมอง มะเร็งเต้านม มะเร็งปากมดลูก มะเร็ง เม็ด เลือดขาว มะเร็งต่อมน้าเหลือง และมะเร็งผิวหนัง เป็นต้น 
เท่าที่มีรายงานไว้ใน ขณะนี้ มะเร็งที่พบในร่างกายมนุษย์มีมากกว่า 100 ชนิด มะเร็งแต่ละชนิดจะ มีการ ดาเนินของโรคไม่เหมือนกัน เช่น มะเร็งปอด มะเร็งสมอง จะมีการดาเนินชนิดของ โรค ที่ รุนแรง ผู้ป่วยจะมีชีวิตการอยู่รอดสั้นกว่าผู้ป่วยมะเร็งผิวหนัง เป็นต้น
4 
ดังนั้น การรักษามะเร็งแต่ละชนิดจะไม่เหมือนกัน มีวิธีการรักษาที่แตกต่างกัน ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับ อวัยวะที่เป็นมะเร็ง ระยะของมะเร็ง สภาพร่างกาย และความเหมาะสม ของผู้ป่วยมะเร็ง การรักษาจะ ยากหรือง่ายนั้นก็ขึ้นอยู่กับชนิดของเซลล์มะเร็งและ การดาเนินโรคของมะเร็งด้วย เช่น มะเร็งต่อม น้าเหลือง มะเร็งผิวหนัง รักษาง่ายกว่า มะเร็งปอด มะเร็งสมอง เป็นต้น 
สัญญาณอันตราย 8 ประการที่ทุกคนควรจะจาไว้เพื่อสุขภาพที่ดี ได้แก่ 1. มีการเปลี่ยนแปลงของระบบขับถ่ายอุจจาระ และปัสสาวะ เช่น ถ่ายอุจจาระเป็นสีดา หรือปัสสาวะ เป็นเลือด 2. กลืนอาหารลาบาก หรือมีอาการเสียด แน่นท้องเป็นเวลานาน 3. มีอาการเสียงแหบ และไอเรื้อรัง 4. มีเลือดหรือตกขาวที่ผิดปกติ เช่น มีกลิ่นเหม็น 5. แผลซึ่งรักษาแล้วไม่ยอมหาย 6. มีการเปลี่ยนแปลงของหูดหรือไฝตามร่างกาย 7. มีก้อนที่เต้านมหรือส่วนต่าง ๆ ของร่างกาย 8. หูอื้อหรือมีเลือดกาเดาไหล การรักษาโรคมะเร็งตามหลักสากลที่ปฏิบัติกันอยู่ในประเทศไทย คือ การรักษามะเร็งแบบ วิธีผสมผสานของ ศัลยกรรม (ผ่าตัดเอาก้อนมะเร็งออกรวมทั้ง ต่อมน้าเหลืองบริเวณข้าง) รังสีรักษา (ฉายแสงบริเวณที่มีเซลล์มะเร็งอยู่เป็นการรักษาแบบ เฉพาะที่เช่นเดียวกับวิธี ของศัลยกรรม) เคมีบาบัด (การรักษาหรือการทาลายเซลล์มะเร็งทั้งที่ต้น ตอและที่กระจาย ไปตามทางเดินน้าเหลือง กระแสเลือดหรืออวัยวะอื่นของร่างกาย เป็นการ รักษามะเร็ง แบบทั้งตัวของผู้ป่วยมะเร็ง โดยการรับประทานยาที่มีความสามารถในการฆ่า หรือ ทาลาย เซลล์มะเร็ง ฉีดยาทางหลอดเลือดดาหรือแดง เป็นต้น) การรักษาโดยการใช้ฮอร์โมน เนื่องจากมะเร็งบางชนิดมีความไวต่อการรักษาด้วยฮอร์โมน และการรักษาโดยการเพิ่ม ภูมิคุ้มกัน ให้กับร่างกาย เพื่อที่จะได้กาจัดเซลล์มะเร็งให้หมดไปจากร่างกาย และผู้ป่วยก็จะ
5 
หายจากโรคมะเร็ง เนื่องจากการรักษา โดยการเพิ่มภูมิคุ้มกันให้กับร่างกายนี้ยังอยู่ ระหว่างการศึกษาอยู่ต้องการ ข้อมูลอีกมากมายเพื่อยืนยันว่า ได้ผลในการรักษามะเร็ง ดังนั้นวิธีหลังนี้จึงเริ่ม เป็นที่แพร่หลายในประเทศไทย แต่มีการนายาหรือสารเคมีในกลุ่ม นี้มาใช้ร่วมกับยาเคมีบาบัด เพื่อให้การรักษาดีขึ้น มะเร็งแต่ละกลุ่มหรือแต่ละชนิดจะได้รับ การ รักษาแบบผสมผสานที่ไม่เหมือนกัน เพราะว่ามะเร็งบางชนิดมีการตอบสนองต่อการ รักษาทาง ศัลยกรรมและรังสีรักษาดี เช่น มะเร็งผิวหนัง ก็ไม่จาเป็นต้องรักษาด้วยเคมีบาบัด หรืออื่น ๆ มะเร็งบางชนิดมีการตอบสนองต่อเคมีบาบัด และรังสีรักษาดีไม่จาเป็นต้องใช้ วิธีศัลยกรรม เช่น มะเร็งต่อมน้าเหลือง มะเร็งเม็ดเลือดขาว เป็นต้น มะเร็งเต้านม ในผู้ป่วย บางกลุ่ม โดยเฉพาะ ผู้ป่วยที่อยู่ในวัยหลังหมดระดูจะมีการตอบสนองต่อการรักษา โดยการใช้ ฮอร์โมน หลังจากที่ผ่าตัดเอาก้อนมะเร็งต้นตอออกไปแล้ว ดังนั้น จะเห็นว่าการรักษามะเร็งแต่ละชนิด หรือการรักษามะเร็งแต่ละกลุ่ม มีความ แตกต่างกันแม้แต่การผสมผสานวิธีการรักษามะเร็ง แต่ละวิธีก็ไม่เหมือนกัน 
โรคมะเร็ง นับเป็นสาเหตุการเสียชีวิตในลาดับต้นๆ ของคนทั่วโลก สามารถเกิดขึ้นได้กับอวัยวะทุก ส่วน ไม่ว่าจะเป็นสมอง ปอด ตับ กระดูก ลาไส้ เต้านม หรือกล่องเสียง ซึ่งยังไม่สามารถระบุถึงตัวการ สาคัญที่ทาให้เกิดโรคได้อย่างชัดเจน แต่ก็มีข้อมูลแน่ชัดในเรื่องของอาหารการกินว่าสามารถทาให้ เสี่ยงต่อการเกิดโรคมะเร็งได้ เนื่องมาจากพฤติกรรมการกินอาหาร เช่น กินอาหารที่ก่อมะเร็งหรือไม่ กินอาหารซ้าซากหรือไม่ เป็นต้น ซึ่งสิ่งเหล่านี้สามารถหลีกเลี่ยงได้หากผู้บริโภคได้รับทราบข้อมูลที่ ถูกต้อง อาหารก่อมะเร็ง คืออาหารที่กินแล้วทาให้เสี่ยงต่อการเป็นมะเร็ง ที่กล่าวถึงบ่อยๆ ว่าเป็นตัวการ สาคัญให้เกิดโรคมะเร็งก็คืออาหารประเภทไขมัน ซึ่งมีข้อมูลการวิจัยหลายชิ้นยืนยันว่าการกินอาหารที่ มีไขมันสูงมากๆ เป็นประจาทาให้เสี่ยงต่อการเกิดโรคมะเร็งได้ โดยเฉพาะมะเร็งเต้านมและมะเร็งต่อม
6 
ลูกหมาก จึงไม่ควรกินอาหารที่มีไขมันสูงบ่อยๆ หรือเป็นประจา นอกจากเสี่ยงต่อโรคมะเร็งแล้วยังทา ให้อ้วนและเกิดโรคอื่นๆ เช่น ไขมันในเลือดสูง โรคหัวใจขาดเลือด และในปัจจุบันยังมีรายงานการ วิจัยระบุว่าการกินเนื้อสัตว์ที่มีสีแดงในปริมาณมากๆ เป็นประจาจะทาให้เสี่ยงต่อโรคมะเร็งมากกว่า การกินไขมันเสียอีก ดังนั้นเพื่อลดความเสี่ยงจากการเป็นโรคมะเร็งด้วยสาเหตุข้างต้นจึงควรเดินทาง สายกลางในการบริโภคอาหาร อาหารที่มีการปนเปื้อนของเชื้อรา โดยเฉพาะเชื้อราที่ชื่อ "แอสเปอจิลลัส เฟวัส" พบว่ามี อันตรายสูง ทาให้เสี่ยงต่อการเกิดมะเร็งตับ เชื้อราชนิดนี้จะสร้างสารพิษอะฟล่าท็อกซินซึ่งทนทานต่อ ความร้อนสูงได้มากถึง 260 องศาเซลเซียส ดังนั้นความร้อนในอุณหภูมิที่เราใช้หุงต้มคือจุด เดือด 100 องศาเซลเซียสจึงไม่สามารถทาลายสารพิษชนิดนี้ได้ สารพิษอะฟล่าท็อกซินพบได้ในถั่ว ลิสง พริกแห้ง หอม กระเทียม เป็นต้น การเลือกซื้อหรือเลือกบริโภคอาหารดังกล่าวจึงต้องมั่นใจว่า อาหารนั้นๆ แห้งสนิท ไม่มีเชื้อรา ถั่วลิสงป่นหรือพริกแห้งป่นที่ป่นทิ้งไว้และเก็บรักษาไม่ดี ไม่แห้ง สนิท และไม่มีฝาปิดมิดชิด มักพบว่ามีสารพิษชนิดนี้ปะปนอยู่ โดยมีงานวิจัยของสถาบันวิจัย โภชนาการได้ทาการศึกษาเกี่ยวกับสารพิษอะฟล่าท็อกซินในถั่วลิสงป่นในก๋วยเตี๋ยวต้มยา พบว่าใน ก๋วยเตี๋ยวต้มยา 100 ชามมีสารพิษอะฟล่าท็อกซินเจือปนอยู่ถึง 92 ชาม ซึ่งนับว่าอันตรายมาก ฉะนั้นเมื่อ กินก๋วยเตี๋ยวหากไม่มั่นใจว่าเป็นถั่วที่คั่วใหม่ๆ ก็ไม่ควรกิน แต่ถ้าเป็นคนที่นิยมกินถั่วลิสงควรเลือกซื้อ ถั่วเมล็ดที่สมบูรณ์และแห้ง นามาคั่วและป่นกินเองจะปลอดภัยกว่าถั่วป่นในชุดเครื่องปรุงตามร้าน ก๋วยเตี๋ยว และเมื่อไม่นานมานี้ คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ได้ทาการสารวจน้าผัก น้า ผลไม้ และชาเขียว ก็พบว่าในน้าองุ่นมีสารพิษจากเชื้อราเจือปนอยู่ด้วย ยาฆ่าแมลงที่ปนเปื้อนอยู่ในอาหาร แล้วคนกินทุกวันๆ ร่างกายขับทิ้งไม่ทันก็เกิดการสะสม จน ในที่สุดทาให้เสี่ยงต่อโรคมะเร็งได้ และในปัจจุบันการเพาะปลูกมีการใช้ยาฆ่าแมลงมาก โดยพบว่าใน คะน้า พริกสด กวางตุ้ง กะหล่าปลี ล้วนมียาฆ่าแมลงตกค้าง ดังนั้นเมื่อซื้อมาปรุงอาหารจึงควรล้างให้ สะอาด ทั้งยังมีข่าวน่าตกใจที่เกิดขึ้นในกรุงเทพมหานคร ก็คือมีพ่อค้าขายปลาหมึกแห้งใช้ยาฆ่าแมลง ฉีดพ่นปลาหมึกแห้งเพื่อป้องกันแมลงวันมาตอม ซึ่งการกระทาดังกล่าวส่งผลโดยตรงต่อผู้บริโภคและ ผิดกฎหมายด้วย สิ่งเหล่านี้เราต้องพยายามหลีกเลี่ยง โดยเลือกซื้ออาหารจากร้านที่เรามั่นใจว่ามีความ สะอาดและมีความรับผิดชอบต่อผู้บริโภค สาหรับผักและผลไม้ต้องล้างจนมั่นใจว่าสะอาดจริงๆ อาหารที่ปนเปื้อนสารเจือปนในอาหารหรือสารที่ไม่อนุญาตให้ใช้ในอาหารล้วนเป็นสารก่อมะเร็ง ได้ ซึ่งสารเจือปนที่อนุญาตให้ใส่ในอาหารได้ ได้แก่ ดินประสิว (ไนเตรท, ไนไตรท์) สีผสมอาหาร เป็นต้น แต่ก็ไม่อนุญาตให้ใส่มากเกินไป โดยไนเตรทและไนไตรท์เป็นสารกันบูดที่กระทรวง
7 
สาธารณสุขอนุญาตให้ใส่ในอาหารประเภทเนื้อสัตว์ในอัตราส่วนเนื้อสัตว์ 1 กิโลกรัมต่อไนเตรทไม่ เกิน500 มิลลิกรัม ส่วนไนไตรท์ใส่ได้ไม่เกิน 125 มิลลิกรัม แต่สารเจือปนนี้ให้คุณสมบัติทางอ้อม คือ เนื้อที่ใส่ไนเตรทหรือไนไตรท์จะมีสีแดงน่ากินมากขึ้น จึงนิยมใส่สารนี้กันโดยเข้าใจว่าจะทาให้เนื้อมีสี แดงเพิ่มมากขึ้นซึ่งไม่เป็นความจริง อาหารที่มักใส่ดินประสิว ได้แก่ ไส้กรอก แหนม เนื้อสวรรค์ กุนเชียง เป็นต้น สาเหตุที่ดินประสิวทาให้เกิดสารก่อมะเร็งได้เพราะในเนื้อสัตว์จะมีสารเอมีน และเมื่อเติมดิน ประสิวลงไปจะทาปฏิกิริยาให้เกิดสารไนโตรซามีนขึ้น ซึ่งเป็นสารก่อมะเร็งชนิดหนึ่ง นอกจากนี้ไน โตรซามีนยังเกิดขึ้นได้ภายในกระเพาะอาหารของคนเราเมื่อกินอาหารที่มีไนเตรทตามธรรมชาติ เช่น ผัก และกินร่วมกับเนื้อสัตว์ สีผสมอาหารก็ไม่แนะนาให้ใช้มากเกินความจาเป็นหรือกินอาหารที่ใส่สีมากเกินไป ควรใช้สีที่ได้ จากธรรมชาติจะปลอดภัย ทั้งยังได้กลิ่นหอมจากพืชหรือสมุนไพรที่เรานามาเป็นวัตถุดิบในการให้สี เพิ่มขึ้นด้วย และถ้าผู้ผลิตขาดความรับผิดชอบ ใช้สีย้อมผ้าซึ่งให้สีเข้มและราคาถูกก็จะยิ่งเป็นอันตราย ต่อผู้บริโภค เพราะทาให้เกิดมะเร็งกระเพาะอาหารได้ สาหรับสารเจือปนอื่นๆ ซึ่งไม่อนุญาตให้ใส่ใน อาหาร แต่ก็มีการแอบใส่หรือแอบใช้กัน เช่น บอแรกซ์หรือผงกรอบ พบได้ในอาหารประเภทลูกชิ้นที่ เด้งผิดปกติ ของทอดที่กรอบนานผิดปกติ, สารฟอกขาว พบในขิง ข่าซอย ถั่วงอก เป็นต้น สารเหล่านี้ หากกินในปริมาณที่น้อยแต่บ่อยๆ ก็ทาให้เกิดการสะสม ส่งผลให้เสี่ยงต่อมะเร็งได้เช่นกัน อาหารประเภทปิ้ง ย่าง รมควัน เป็นอีกตัวการสาคัญที่ก่อมะเร็งได้หลายชนิด อาหารปิ้ง-ย่าง ประเภทที่มีไขมัน เช่น หมูปิ้งหมูย่าง ไก่ปิ้ง เนื้อย่าง เวลาปิ้งหรือย่างจะมีไขมันตกลงไปในถ่านที่กาลัง แดง ทาให้เกิดการเผาไหม้ไม่สมบูรณ์ ก่อให้เกิดสารพิษที่เรียกว่าสาร PAH หรือโพลีไซคลิก อะโรเม ติก ไฮโดรคาร์บอน (Polycyclic Aromatic Hydrocarbon) ทาให้เสี่ยงต่อโรคมะเร็งปอด เต้านม และ กระเพาะอาหาร เวลากินอาหารเหล่านี้จึงควรตัดส่วนที่ไหม้เกรียมออกให้หมด และไม่ควรกินซ้าๆ ซากๆ ติดกันทุกวัน การกินอาหารดิบๆ สุกๆ ก็มีความไม่ปลอดภัย เพราะเสี่ยงต่อการได้รับพยาธิใบไม้ในตับ ซึ่งพบ มากในปลาน้าจืดประเภทปลาเกล็ดขาว ปลาตะเพียน พยาธิชนิดนี้จะเข้าสู่ร่างกายได้เมื่อเรากินปลาที่มี พยาธิและปรุงไม่สุก พยาธิจะทาให้ท่อน้าดีและขั้วตับเกิดการอักเสบ ส่งผลให้เป็นมะเร็งที่ท่อน้าดีใน ตับได้ นอกจากนี้ยังมีพยาธิใบไม้ชนิดอื่นๆ ที่ทาให้เกิดมะเร็งในกระเพาะอาหารได้ ซึ่งวิธีป้องกันคือ กินอาหารที่ปรุงสุกทุกครั้ง
8 
นอกจากนี้การกินอาหารประเภทเนื้อสัตว์มากเกินไปก็ทาให้เสี่ยงต่อการเกิดมะเร็งได้ คือความ เสี่ยงของมะเร็งจะเพิ่มขึ้นเมื่อกินเนื้อสัตว์เพิ่มขึ้น โดยเฉพาะเนื้อที่มีสีแดง ดังนั้นนักโภชนาการจึง แนะนาให้กินเนื้อสัตว์ที่มีสีขาว ซึ่งได้แก่เนื้อปลา มากกว่าเนื้อหมูหรือเนื้อวัว เครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ เช่น เหล้า เบียร์ และบุหรี่ ก็เป็นตัวการส่งเสริมให้เกิดมะเร็งได้ ซึ่ง ได้แก่มะเร็งตับ และมะเร็งปอด ดังนั้นหากหลีกเลี่ยงหรือลดปริมาณการดื่มหรือการสูบลงก็จะลดความ เสี่ยงต่อการเกิดโรคมะเร็งได้ เห็นได้ว่าอาหารที่เรากินประจาก็เป็นอาหารก่อมะเร็งได้โดยที่เราคิดไม่ถึง แต่คุณผู้อ่านไม่ควร กังวล เพราะอาหารบางอย่างเราสามารถหลีกเลี่ยงได้ เช่น เครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ หรืออาหารสุกๆ ดิบๆ แต่บางอย่างที่เราไม่สามารถหลีกเลี่ยงได้ก็คงต้องมีวิธีปฏิบัติเพื่อไม่ให้อาหารเหล่านั้นอยู่ใน ร่างกายเรานานเกินไปจนเกิดอันตรายได้ นั่นคือจะต้องกินผักและผลไม้ให้มากเพื่อให้ขับถ่ายเป็น ประจา ผลไม้ที่เลือกกินควรเป็นผลไม้ที่มีเส้นใยสูง รสไม่หวานมากเกินไป ซึ่งเส้นใยในผักและผลไม้ จะเป็นตัวช่วยสาคัญที่ทาหน้าที่เหมือนไม้กวาดคอยปัดกวาดลาไส้ไม่ให้สารพิษทาอันตรายต่อร่างกาย ได้ นอกจากนี้ในผักและผลไม้ยังมีสารต้านอนุมูลอิสระสูงที่ช่วยป้องกันมะเร็งหลายชนิด ต่อมาคือการเลือกกินอาหารที่มีความเป็นธรรมชาติให้มากที่สุด ไม่กินอาหารที่มีการดัดแปลง หรือใช้สารเคมี หากคุณเป็นคนที่อ่านฉลากทุกครั้งก่อนตัดสินใจซื้ออาหาร จะเห็นว่าผลิตภัณฑ์อาหาร อย่างเดียวกัน แต่ยี่ห้อต่างกัน เช่น น้าปลา จะมีหลากหลายยี่ห้อ เมื่ออ่านฉลากจะพบว่าบางยี่ห้อไม่ใส่ สารกันบูด บางยี่ห้อก็ไม่ใส่ผงชูรส เราจึงควรเลือกยี่ห้อที่ไม่ใส่สารกันบูดหรือไม่ใส่ผงชูรสจะดีกว่า สิ่งที่สาคัญในการหลีกเลี่ยงมะเร็ง คือการดูแลร่างกายให้แข็งแรง จะทาให้เรามีภูมิต้านทานดี โรคภัย ต่างๆ ก็มากล้ากรายยาก และก่อนที่กระทรวงสาธารณสุขจะระบุว่าสารเคมีบางอย่างสามารถใส่ใน อาหารได้ในปริมาณหนึ่งๆ ซึ่งปลอดภัยต่อผู้บริโภค ก็ต้องมีการทดลองในสัตว์ทดลองจนมั่นใจว่า ปลอดภัยแล้วจึงนามาใช้กับคน โดยนักวิจัยจะทาการวิจัยในสัตว์ที่แข็งแรงเท่านั้น แต่โดยปกติเรากิน อาหารในทุกสภาพของร่างกาย ถ้าเรากินในช่วงที่เจ็บป่วย ปริมาณที่กาหนดว่าปลอดภัยจึงอาจไม่ ปลอดภัยร้อยเปอร์เซ็นต์ก็เป็นได้ ดังนั้นถ้าหลีกเลี่ยงได้จึงเป็นสิ่งดีและปลอดภัยที่สุด การที่ร่างกายจะแข็งแรงได้ก็ต้องกินอาหารให้ครบ 5 หมู่ ไม่กินอาหารซ้าซาก ไม่กินอาหารรสจัด และต้องหมั่นออกกาลังกายเป็นประจา พักผ่อนให้เพียงพอ ก็เป็นคาถาที่น่าจะป้องกันมะเร็งได้ผล
9 
วิธีดาเนินงาน 
แนวทางการดาเนินงาน 
กาหนดหัวข้อที่สนใจหลายๆเรื่อง แล้วเลือกเรื่องที่ตนและเพื่อนสนใจมากที่สุด แล้ว ค้นคว้าหาข้อมูลมาประกอบในการทาหัวข้อ หลังจากนั้นแบ่งหน้าที่กันในการทางาน เลือกสถานที่ใน การทางานและเลือกเวลาที่ใช้ให้เหมาะสม 
เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้ 
กระดาษ A4 ใช้ในการวางแผนโครงงานและใช้ในการแบ่งหน้าที่กันทา 
โน้ตบุค ใช้ในการโพสข้อมูลหัวข้อตนลง my bloger 
งบประมาณ 
- 
ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน 
ลาดั บ 
ที่ 
ขั้นตอน 
สัปดาห์ที่ 
ผู้รับผิดช อบ 
1 
2 
3 
4 
5 
6 
7 
8 
9 
10 
11 
12 
13 
14 
15 
16 
17 
1 
คิดหัวข้อโครงงาน 
สลิลทิพย์
10 
2 
ศึกษาและค้นคว้า ข้อมูล 
สลิลทิพย์ 
3 
จัดทาโครงร่างงาน 
ศิริประภา 
4 
ปฏิบัติการสร้าง โครงงาน 
สลิลทิพย์ 
5 
ปรับปรุงทดสอบ 
ศิริประภา 
6 
การทา เอกสารรายงาน 
ศิริประภา 
7 
ประเมินผลงาน 
สลิลทิพย์ 
8 
นาเสนอโครงงาน 
ศิริประภา 
ผลที่คาดว่าจะได้รับ (ผลลัพธ์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดการทาโครงงาน) 
ข้อมูลที่ช่วยกันค้นคว้าจะเป็นประโยชน์ต่อผู้ที่สนใจหรือบุคคลทั่วไปเป็นอย่างมาก และ โครงงานที่จัดทาขึ้นนี้จะช่วยลดปริมาณของคนที่เป็นโรคมะเร็งได้มากขึ้น 
สถานที่ดาเนินการ โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย 
บ้านของนักเรียน 
กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง 
วิชาสุขศึกษา 
วิชาวิทยาศาสตร์ 
แหล่งอ้างอิง (เอกสาร หรือแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ที่นามาใช้การทาโครงงาน) 
http://www.nci.go.th/th/Knowledge/index_general.html

More Related Content

What's hot

การสำรวจแบบสำรวจการใช้โทรศัพท์ของ
การสำรวจแบบสำรวจการใช้โทรศัพท์ของการสำรวจแบบสำรวจการใช้โทรศัพท์ของ
การสำรวจแบบสำรวจการใช้โทรศัพท์ของchaimate
 
โครงร่างโครงงานการแบ่งเซลล์
โครงร่างโครงงานการแบ่งเซลล์โครงร่างโครงงานการแบ่งเซลล์
โครงร่างโครงงานการแบ่งเซลล์Chayaporn Jongjumnien
 
ภาค 1 แนวนโยบายแห่งรัฐเกี่ยวกับคนพิการ
ภาค 1 แนวนโยบายแห่งรัฐเกี่ยวกับคนพิการภาค 1 แนวนโยบายแห่งรัฐเกี่ยวกับคนพิการ
ภาค 1 แนวนโยบายแห่งรัฐเกี่ยวกับคนพิการNanthapong Sornkaew
 
โครงงานเพื่อการศึกษา
โครงงานเพื่อการศึกษาโครงงานเพื่อการศึกษา
โครงงานเพื่อการศึกษาBream Mie
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์SWK Sae Lueang
 

What's hot (8)

Is 2 3 9
Is 2 3 9Is 2 3 9
Is 2 3 9
 
การสำรวจแบบสำรวจการใช้โทรศัพท์ของ
การสำรวจแบบสำรวจการใช้โทรศัพท์ของการสำรวจแบบสำรวจการใช้โทรศัพท์ของ
การสำรวจแบบสำรวจการใช้โทรศัพท์ของ
 
โครงร่างโครงงานการแบ่งเซลล์
โครงร่างโครงงานการแบ่งเซลล์โครงร่างโครงงานการแบ่งเซลล์
โครงร่างโครงงานการแบ่งเซลล์
 
ภาค 1 แนวนโยบายแห่งรัฐเกี่ยวกับคนพิการ
ภาค 1 แนวนโยบายแห่งรัฐเกี่ยวกับคนพิการภาค 1 แนวนโยบายแห่งรัฐเกี่ยวกับคนพิการ
ภาค 1 แนวนโยบายแห่งรัฐเกี่ยวกับคนพิการ
 
Final Project computer_4
Final Project computer_4Final Project computer_4
Final Project computer_4
 
โครงงานเพื่อการศึกษา
โครงงานเพื่อการศึกษาโครงงานเพื่อการศึกษา
โครงงานเพื่อการศึกษา
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
2562 final-project 03
2562 final-project 032562 final-project 03
2562 final-project 03
 

Similar to 2557 โครงงาน3

หน่อไม้ฝรั่ง
หน่อไม้ฝรั่งหน่อไม้ฝรั่ง
หน่อไม้ฝรั่งTanutkit Kinruean
 
หน่อไม้ฝรั่ง
หน่อไม้ฝรั่งหน่อไม้ฝรั่ง
หน่อไม้ฝรั่งTanutkit Kinruean
 
รักษาโรคมะเร็ง
รักษาโรคมะเร็งรักษาโรคมะเร็ง
รักษาโรคมะเร็งpornkanok02
 
การดูแลสุขภาพโดยการออกกำลังกาย
การดูแลสุขภาพโดยการออกกำลังกายการดูแลสุขภาพโดยการออกกำลังกาย
การดูแลสุขภาพโดยการออกกำลังกายPatitta Sitti
 
Computer project
Computer projectComputer project
Computer projectMaryW6
 
แบบโครงร่าง โรคเบาหวาน
แบบโครงร่าง โรคเบาหวานแบบโครงร่าง โรคเบาหวาน
แบบโครงร่าง โรคเบาหวานDduang07
 
เค้าโครงร่างงานคู่
เค้าโครงร่างงานคู่เค้าโครงร่างงานคู่
เค้าโครงร่างงานคู่Jah Jadeite
 
2562 final-project 34-610
2562 final-project  34-6102562 final-project  34-610
2562 final-project 34-610Pichnaree Suta
 
2560 project 2
2560 project  22560 project  2
2560 project 2Dduang07
 
2560 project (1)
2560 project  (1)2560 project  (1)
2560 project (1)Dduang07
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project insecgo
 
Philophobia
PhilophobiaPhilophobia
PhilophobiaSuppamas
 

Similar to 2557 โครงงาน3 (20)

หน่อไม้ฝรั่ง
หน่อไม้ฝรั่งหน่อไม้ฝรั่ง
หน่อไม้ฝรั่ง
 
หน่อไม้ฝรั่ง
หน่อไม้ฝรั่งหน่อไม้ฝรั่ง
หน่อไม้ฝรั่ง
 
รักษาโรคมะเร็ง
รักษาโรคมะเร็งรักษาโรคมะเร็ง
รักษาโรคมะเร็ง
 
การดูแลสุขภาพโดยการออกกำลังกาย
การดูแลสุขภาพโดยการออกกำลังกายการดูแลสุขภาพโดยการออกกำลังกาย
การดูแลสุขภาพโดยการออกกำลังกาย
 
2560 project
2560 project2560 project
2560 project
 
มะเร็ง
มะเร็งมะเร็ง
มะเร็ง
 
Computer project
Computer projectComputer project
Computer project
 
กิจกรรมที่ 5
กิจกรรมที่ 5กิจกรรมที่ 5
กิจกรรมที่ 5
 
แบบโครงร่าง โรคเบาหวาน
แบบโครงร่าง โรคเบาหวานแบบโครงร่าง โรคเบาหวาน
แบบโครงร่าง โรคเบาหวาน
 
Final1
Final1Final1
Final1
 
เค้าโครงร่างงานคู่
เค้าโครงร่างงานคู่เค้าโครงร่างงานคู่
เค้าโครงร่างงานคู่
 
2562 final-project 34-610
2562 final-project  34-6102562 final-project  34-610
2562 final-project 34-610
 
Com555
Com555Com555
Com555
 
2560 project 2
2560 project  22560 project  2
2560 project 2
 
2560 project (1)
2560 project  (1)2560 project  (1)
2560 project (1)
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
 
Aaaaaaaaaaa
AaaaaaaaaaaAaaaaaaaaaa
Aaaaaaaaaaa
 
Philophobia
PhilophobiaPhilophobia
Philophobia
 
2561 project com
2561 project com2561 project com
2561 project com
 
AT1
AT1AT1
AT1
 

More from Siriprapa Prapaluk

ข้อสอบการงานอาชีพและศิลปะ
ข้อสอบการงานอาชีพและศิลปะข้อสอบการงานอาชีพและศิลปะ
ข้อสอบการงานอาชีพและศิลปะSiriprapa Prapaluk
 
ข้อสอบอังกฤษ สุขศึกษา
ข้อสอบอังกฤษ สุขศึกษาข้อสอบอังกฤษ สุขศึกษา
ข้อสอบอังกฤษ สุขศึกษาSiriprapa Prapaluk
 
ข้อสอบสังคม วิทย์
ข้อสอบสังคม วิทย์ข้อสอบสังคม วิทย์
ข้อสอบสังคม วิทย์Siriprapa Prapaluk
 
ข้อสอบภาษาไทย
ข้อสอบภาษาไทยข้อสอบภาษาไทย
ข้อสอบภาษาไทยSiriprapa Prapaluk
 
ข้อสอบคณิตศาสตร์
ข้อสอบคณิตศาสตร์ข้อสอบคณิตศาสตร์
ข้อสอบคณิตศาสตร์Siriprapa Prapaluk
 
ใบงานสำรวจตนเอง M6
ใบงานสำรวจตนเอง M6ใบงานสำรวจตนเอง M6
ใบงานสำรวจตนเอง M6Siriprapa Prapaluk
 

More from Siriprapa Prapaluk (7)

2557 โครงงาน3
2557 โครงงาน32557 โครงงาน3
2557 โครงงาน3
 
ข้อสอบการงานอาชีพและศิลปะ
ข้อสอบการงานอาชีพและศิลปะข้อสอบการงานอาชีพและศิลปะ
ข้อสอบการงานอาชีพและศิลปะ
 
ข้อสอบอังกฤษ สุขศึกษา
ข้อสอบอังกฤษ สุขศึกษาข้อสอบอังกฤษ สุขศึกษา
ข้อสอบอังกฤษ สุขศึกษา
 
ข้อสอบสังคม วิทย์
ข้อสอบสังคม วิทย์ข้อสอบสังคม วิทย์
ข้อสอบสังคม วิทย์
 
ข้อสอบภาษาไทย
ข้อสอบภาษาไทยข้อสอบภาษาไทย
ข้อสอบภาษาไทย
 
ข้อสอบคณิตศาสตร์
ข้อสอบคณิตศาสตร์ข้อสอบคณิตศาสตร์
ข้อสอบคณิตศาสตร์
 
ใบงานสำรวจตนเอง M6
ใบงานสำรวจตนเอง M6ใบงานสำรวจตนเอง M6
ใบงานสำรวจตนเอง M6
 

2557 โครงงาน3

  • 1. 1 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ รหัสวิชา ง33202 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 6 ปีการศึกษา 2557 ชื่อโครงงาน STOP มะเร็ง ชื่อผู้ทาโครงงาน 1 น.ส. ศิริประภา ประภาลักษณ์ เลขที่ 15 ชั้น ม.6 ห้อง 14 2. น.ส. สลิลทิพย์ สมหนุน เลขที่ 25 ชั้น ม.6 ห้อง 14 ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2557 โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
  • 2. 2 ใบงาน การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์ สมาชิกในกลุ่ม STOP มะเร็ง 1 น.ส. ศิริประภา ประภาลักษณ์ เลขที่ 15 2 น.ส. สลิลทิพย์ สมหนุน เลขที่ 25 คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้ ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย) หยุด มะเร็ง ซะ! ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ) STOP มะเร็ง ประเภทโครงงาน ตามความสนใจ ( เกี่ยวกับสุขภาพ ) ชื่อผู้ทาโครงงาน น.ส. ศิริประภา ประภาลักษณ์ , น.ส. สลิลทิพย์ สมหนุน ชื่อที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน 1 สัปดาห์ ที่มาและความสาคัญของโครงงาน (อธิบายถึงที่มา แนวคิด และเหตุผล ของการทาโครงงาน) จากสถิติในแต่ละปีพบว่า "มะเร็ง" ได้คร่าชีวิตผู้คนทั่วโลกมีอัตราสูงขึ้น เพื่อให้คนไทยและทั่ว โลกได้ตระหนักถึงภัยร้ายของโรคมะเร็ง รวมถึงรณรงค์ให้ผู้คนหันมาใส่ใจสุขภาพตัวเอง ทางองค์การ อนามัยโลกจึงได้กาหนด "วันมะเร็งโลก" (World Cancer Day) ในวันที่ 4 ก.พ. โดยคาดอีก 21 ปี ข้างหน้าจะมีผู้ป่วยมะเร็งเพิ่มขึ้นปีละ 24 ล้านคน สาหรับประเทศไทยนั้น พบว่าโรคมะเร็งเป็นสาเหตุการตายสูงเป็นอันดับ 1 ของคนไทย ต่อเนื่องมานานกว่า 13 ปี ตั้งแต่ปี 2543 เป็นต้นมา และจากข้อมูลล่าสุด จากกระทรวงสาธารณสุข (สธ.) พบว่าคนไทยป่วยเป็นโรคมะเร็งรุนแรงมากขึ้น และมีคนไทยเสียชีวิตกว่า 60,000 คนต่อปี ส่วน ทั่วโลกมีรายงานการเสียชีวิตปีละเกือบ 8 ล้านคน
  • 3. 3 ดังนั้นเราคิดแบะจัดทาโครงงาน STOP มะเร็ง ขึ้นมาเพื่อให้สะท้อนสังคมว่ามะเร็งไม่ใช่ปัญหา เล็กน้อยอีกต่อไป เพราะส่วนใหญ่ค้นพบว่า คนเสียชีวิตจากโรคมะเร็งเพิ่มมากขึ้น เพราะฉะนั้นเราจึง อยากเสนอข้อมูลหรือเตือนภัยจากการกินของเราในชีวิตประจาวัน วัตถุประสงค์ (สิ่งที่ต้องการในการทาโครงงาน ระบุเป็นข้อ) 1.ต้องการให้คนไทยตระหนักเรื่องโรคมะเร็ง 2.ยังมีคนบางกลุ่มไม่รู้ว่าสาเหตุของการเกิดโรคมะเร็งมาจากไหน 3.ต้องการให้ระมัดระวังในการกินอาหารทั่วไปให้มากขึ้น 4.ต้องการแบ่งปันความรู้เกี่ยวกับโรคมะเร็ง ต่อทุกวัยเพื่อป้องกันการเกิดมะเร็ง ขอบเขตโครงงาน (คุณลักษณะ ขอบเขต เงื่อนไขและข้อจากัดของการทาโครงงาน) การศึกษาโรคมะเร็ง ในส่วนของสาเหตุการเกิดโรคมะเร็งมากจากอะไร และส่วนใหญ่สารที่ก่อ มะเร็งพบในอาหารใดมากที่สุด ซึ่งมีวิธีการในการป้องกันการเกิดมะเร็งได้อย่างไรหรือวิธีการระงับ อาการของโรคมะเร็ง การทาโครงงานเรื่อง STOP มะเร็ง ใช้เวลาในการศึกษาข้อมูล และทาการโพสข้อมูลลงบล็อค เกอร์ช่วงวันที่ 4 – 11 พฤศจิกายน 2557 โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย ต.พระสิงห์ อ.เมือง จ.เชียงใหม่ หลักการและทฤษฎี (ความรู้ หลักการ หรือทฤษฎีที่สนับสนุนการทาโครงงาน) มะเร็ง คือ กลุ่มของโรคที่เกิดเนื่องจากเซลล์ของร่างกายมีความผิดปกติ ที่ DNA หรือสารพันธุกรรม ส่งผลให้เซลล์มีการเจริญเติบโต มีการแบ่งตัวเพื่อเพิ่มจานวนเซลล์ รวดเร็ว และมากกว่าปกติ ดังนั้น จึงอาจทาให้เกิดก้อนเนื้อผิดปกติ และในที่สุดก็จะ ทาให้เกิดการตายของเซลล์ในก้อนเนื้อนั้น เนื่องจาก ขาดเลือดไปเลี้ยง เพราะการ เจริญเติบโตของหลอดเลือด ถ้าเซลล์พวกนี้เกิดอยู่ในอวัยวะใดก็จะ เรียกชื่อ มะเร็ง ตามอวัยวะนั้นเช่น มะเร็งปอด มะเร็งสมอง มะเร็งเต้านม มะเร็งปากมดลูก มะเร็ง เม็ด เลือดขาว มะเร็งต่อมน้าเหลือง และมะเร็งผิวหนัง เป็นต้น เท่าที่มีรายงานไว้ใน ขณะนี้ มะเร็งที่พบในร่างกายมนุษย์มีมากกว่า 100 ชนิด มะเร็งแต่ละชนิดจะ มีการ ดาเนินของโรคไม่เหมือนกัน เช่น มะเร็งปอด มะเร็งสมอง จะมีการดาเนินชนิดของ โรค ที่ รุนแรง ผู้ป่วยจะมีชีวิตการอยู่รอดสั้นกว่าผู้ป่วยมะเร็งผิวหนัง เป็นต้น
  • 4. 4 ดังนั้น การรักษามะเร็งแต่ละชนิดจะไม่เหมือนกัน มีวิธีการรักษาที่แตกต่างกัน ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับ อวัยวะที่เป็นมะเร็ง ระยะของมะเร็ง สภาพร่างกาย และความเหมาะสม ของผู้ป่วยมะเร็ง การรักษาจะ ยากหรือง่ายนั้นก็ขึ้นอยู่กับชนิดของเซลล์มะเร็งและ การดาเนินโรคของมะเร็งด้วย เช่น มะเร็งต่อม น้าเหลือง มะเร็งผิวหนัง รักษาง่ายกว่า มะเร็งปอด มะเร็งสมอง เป็นต้น สัญญาณอันตราย 8 ประการที่ทุกคนควรจะจาไว้เพื่อสุขภาพที่ดี ได้แก่ 1. มีการเปลี่ยนแปลงของระบบขับถ่ายอุจจาระ และปัสสาวะ เช่น ถ่ายอุจจาระเป็นสีดา หรือปัสสาวะ เป็นเลือด 2. กลืนอาหารลาบาก หรือมีอาการเสียด แน่นท้องเป็นเวลานาน 3. มีอาการเสียงแหบ และไอเรื้อรัง 4. มีเลือดหรือตกขาวที่ผิดปกติ เช่น มีกลิ่นเหม็น 5. แผลซึ่งรักษาแล้วไม่ยอมหาย 6. มีการเปลี่ยนแปลงของหูดหรือไฝตามร่างกาย 7. มีก้อนที่เต้านมหรือส่วนต่าง ๆ ของร่างกาย 8. หูอื้อหรือมีเลือดกาเดาไหล การรักษาโรคมะเร็งตามหลักสากลที่ปฏิบัติกันอยู่ในประเทศไทย คือ การรักษามะเร็งแบบ วิธีผสมผสานของ ศัลยกรรม (ผ่าตัดเอาก้อนมะเร็งออกรวมทั้ง ต่อมน้าเหลืองบริเวณข้าง) รังสีรักษา (ฉายแสงบริเวณที่มีเซลล์มะเร็งอยู่เป็นการรักษาแบบ เฉพาะที่เช่นเดียวกับวิธี ของศัลยกรรม) เคมีบาบัด (การรักษาหรือการทาลายเซลล์มะเร็งทั้งที่ต้น ตอและที่กระจาย ไปตามทางเดินน้าเหลือง กระแสเลือดหรืออวัยวะอื่นของร่างกาย เป็นการ รักษามะเร็ง แบบทั้งตัวของผู้ป่วยมะเร็ง โดยการรับประทานยาที่มีความสามารถในการฆ่า หรือ ทาลาย เซลล์มะเร็ง ฉีดยาทางหลอดเลือดดาหรือแดง เป็นต้น) การรักษาโดยการใช้ฮอร์โมน เนื่องจากมะเร็งบางชนิดมีความไวต่อการรักษาด้วยฮอร์โมน และการรักษาโดยการเพิ่ม ภูมิคุ้มกัน ให้กับร่างกาย เพื่อที่จะได้กาจัดเซลล์มะเร็งให้หมดไปจากร่างกาย และผู้ป่วยก็จะ
  • 5. 5 หายจากโรคมะเร็ง เนื่องจากการรักษา โดยการเพิ่มภูมิคุ้มกันให้กับร่างกายนี้ยังอยู่ ระหว่างการศึกษาอยู่ต้องการ ข้อมูลอีกมากมายเพื่อยืนยันว่า ได้ผลในการรักษามะเร็ง ดังนั้นวิธีหลังนี้จึงเริ่ม เป็นที่แพร่หลายในประเทศไทย แต่มีการนายาหรือสารเคมีในกลุ่ม นี้มาใช้ร่วมกับยาเคมีบาบัด เพื่อให้การรักษาดีขึ้น มะเร็งแต่ละกลุ่มหรือแต่ละชนิดจะได้รับ การ รักษาแบบผสมผสานที่ไม่เหมือนกัน เพราะว่ามะเร็งบางชนิดมีการตอบสนองต่อการ รักษาทาง ศัลยกรรมและรังสีรักษาดี เช่น มะเร็งผิวหนัง ก็ไม่จาเป็นต้องรักษาด้วยเคมีบาบัด หรืออื่น ๆ มะเร็งบางชนิดมีการตอบสนองต่อเคมีบาบัด และรังสีรักษาดีไม่จาเป็นต้องใช้ วิธีศัลยกรรม เช่น มะเร็งต่อมน้าเหลือง มะเร็งเม็ดเลือดขาว เป็นต้น มะเร็งเต้านม ในผู้ป่วย บางกลุ่ม โดยเฉพาะ ผู้ป่วยที่อยู่ในวัยหลังหมดระดูจะมีการตอบสนองต่อการรักษา โดยการใช้ ฮอร์โมน หลังจากที่ผ่าตัดเอาก้อนมะเร็งต้นตอออกไปแล้ว ดังนั้น จะเห็นว่าการรักษามะเร็งแต่ละชนิด หรือการรักษามะเร็งแต่ละกลุ่ม มีความ แตกต่างกันแม้แต่การผสมผสานวิธีการรักษามะเร็ง แต่ละวิธีก็ไม่เหมือนกัน โรคมะเร็ง นับเป็นสาเหตุการเสียชีวิตในลาดับต้นๆ ของคนทั่วโลก สามารถเกิดขึ้นได้กับอวัยวะทุก ส่วน ไม่ว่าจะเป็นสมอง ปอด ตับ กระดูก ลาไส้ เต้านม หรือกล่องเสียง ซึ่งยังไม่สามารถระบุถึงตัวการ สาคัญที่ทาให้เกิดโรคได้อย่างชัดเจน แต่ก็มีข้อมูลแน่ชัดในเรื่องของอาหารการกินว่าสามารถทาให้ เสี่ยงต่อการเกิดโรคมะเร็งได้ เนื่องมาจากพฤติกรรมการกินอาหาร เช่น กินอาหารที่ก่อมะเร็งหรือไม่ กินอาหารซ้าซากหรือไม่ เป็นต้น ซึ่งสิ่งเหล่านี้สามารถหลีกเลี่ยงได้หากผู้บริโภคได้รับทราบข้อมูลที่ ถูกต้อง อาหารก่อมะเร็ง คืออาหารที่กินแล้วทาให้เสี่ยงต่อการเป็นมะเร็ง ที่กล่าวถึงบ่อยๆ ว่าเป็นตัวการ สาคัญให้เกิดโรคมะเร็งก็คืออาหารประเภทไขมัน ซึ่งมีข้อมูลการวิจัยหลายชิ้นยืนยันว่าการกินอาหารที่ มีไขมันสูงมากๆ เป็นประจาทาให้เสี่ยงต่อการเกิดโรคมะเร็งได้ โดยเฉพาะมะเร็งเต้านมและมะเร็งต่อม
  • 6. 6 ลูกหมาก จึงไม่ควรกินอาหารที่มีไขมันสูงบ่อยๆ หรือเป็นประจา นอกจากเสี่ยงต่อโรคมะเร็งแล้วยังทา ให้อ้วนและเกิดโรคอื่นๆ เช่น ไขมันในเลือดสูง โรคหัวใจขาดเลือด และในปัจจุบันยังมีรายงานการ วิจัยระบุว่าการกินเนื้อสัตว์ที่มีสีแดงในปริมาณมากๆ เป็นประจาจะทาให้เสี่ยงต่อโรคมะเร็งมากกว่า การกินไขมันเสียอีก ดังนั้นเพื่อลดความเสี่ยงจากการเป็นโรคมะเร็งด้วยสาเหตุข้างต้นจึงควรเดินทาง สายกลางในการบริโภคอาหาร อาหารที่มีการปนเปื้อนของเชื้อรา โดยเฉพาะเชื้อราที่ชื่อ "แอสเปอจิลลัส เฟวัส" พบว่ามี อันตรายสูง ทาให้เสี่ยงต่อการเกิดมะเร็งตับ เชื้อราชนิดนี้จะสร้างสารพิษอะฟล่าท็อกซินซึ่งทนทานต่อ ความร้อนสูงได้มากถึง 260 องศาเซลเซียส ดังนั้นความร้อนในอุณหภูมิที่เราใช้หุงต้มคือจุด เดือด 100 องศาเซลเซียสจึงไม่สามารถทาลายสารพิษชนิดนี้ได้ สารพิษอะฟล่าท็อกซินพบได้ในถั่ว ลิสง พริกแห้ง หอม กระเทียม เป็นต้น การเลือกซื้อหรือเลือกบริโภคอาหารดังกล่าวจึงต้องมั่นใจว่า อาหารนั้นๆ แห้งสนิท ไม่มีเชื้อรา ถั่วลิสงป่นหรือพริกแห้งป่นที่ป่นทิ้งไว้และเก็บรักษาไม่ดี ไม่แห้ง สนิท และไม่มีฝาปิดมิดชิด มักพบว่ามีสารพิษชนิดนี้ปะปนอยู่ โดยมีงานวิจัยของสถาบันวิจัย โภชนาการได้ทาการศึกษาเกี่ยวกับสารพิษอะฟล่าท็อกซินในถั่วลิสงป่นในก๋วยเตี๋ยวต้มยา พบว่าใน ก๋วยเตี๋ยวต้มยา 100 ชามมีสารพิษอะฟล่าท็อกซินเจือปนอยู่ถึง 92 ชาม ซึ่งนับว่าอันตรายมาก ฉะนั้นเมื่อ กินก๋วยเตี๋ยวหากไม่มั่นใจว่าเป็นถั่วที่คั่วใหม่ๆ ก็ไม่ควรกิน แต่ถ้าเป็นคนที่นิยมกินถั่วลิสงควรเลือกซื้อ ถั่วเมล็ดที่สมบูรณ์และแห้ง นามาคั่วและป่นกินเองจะปลอดภัยกว่าถั่วป่นในชุดเครื่องปรุงตามร้าน ก๋วยเตี๋ยว และเมื่อไม่นานมานี้ คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ได้ทาการสารวจน้าผัก น้า ผลไม้ และชาเขียว ก็พบว่าในน้าองุ่นมีสารพิษจากเชื้อราเจือปนอยู่ด้วย ยาฆ่าแมลงที่ปนเปื้อนอยู่ในอาหาร แล้วคนกินทุกวันๆ ร่างกายขับทิ้งไม่ทันก็เกิดการสะสม จน ในที่สุดทาให้เสี่ยงต่อโรคมะเร็งได้ และในปัจจุบันการเพาะปลูกมีการใช้ยาฆ่าแมลงมาก โดยพบว่าใน คะน้า พริกสด กวางตุ้ง กะหล่าปลี ล้วนมียาฆ่าแมลงตกค้าง ดังนั้นเมื่อซื้อมาปรุงอาหารจึงควรล้างให้ สะอาด ทั้งยังมีข่าวน่าตกใจที่เกิดขึ้นในกรุงเทพมหานคร ก็คือมีพ่อค้าขายปลาหมึกแห้งใช้ยาฆ่าแมลง ฉีดพ่นปลาหมึกแห้งเพื่อป้องกันแมลงวันมาตอม ซึ่งการกระทาดังกล่าวส่งผลโดยตรงต่อผู้บริโภคและ ผิดกฎหมายด้วย สิ่งเหล่านี้เราต้องพยายามหลีกเลี่ยง โดยเลือกซื้ออาหารจากร้านที่เรามั่นใจว่ามีความ สะอาดและมีความรับผิดชอบต่อผู้บริโภค สาหรับผักและผลไม้ต้องล้างจนมั่นใจว่าสะอาดจริงๆ อาหารที่ปนเปื้อนสารเจือปนในอาหารหรือสารที่ไม่อนุญาตให้ใช้ในอาหารล้วนเป็นสารก่อมะเร็ง ได้ ซึ่งสารเจือปนที่อนุญาตให้ใส่ในอาหารได้ ได้แก่ ดินประสิว (ไนเตรท, ไนไตรท์) สีผสมอาหาร เป็นต้น แต่ก็ไม่อนุญาตให้ใส่มากเกินไป โดยไนเตรทและไนไตรท์เป็นสารกันบูดที่กระทรวง
  • 7. 7 สาธารณสุขอนุญาตให้ใส่ในอาหารประเภทเนื้อสัตว์ในอัตราส่วนเนื้อสัตว์ 1 กิโลกรัมต่อไนเตรทไม่ เกิน500 มิลลิกรัม ส่วนไนไตรท์ใส่ได้ไม่เกิน 125 มิลลิกรัม แต่สารเจือปนนี้ให้คุณสมบัติทางอ้อม คือ เนื้อที่ใส่ไนเตรทหรือไนไตรท์จะมีสีแดงน่ากินมากขึ้น จึงนิยมใส่สารนี้กันโดยเข้าใจว่าจะทาให้เนื้อมีสี แดงเพิ่มมากขึ้นซึ่งไม่เป็นความจริง อาหารที่มักใส่ดินประสิว ได้แก่ ไส้กรอก แหนม เนื้อสวรรค์ กุนเชียง เป็นต้น สาเหตุที่ดินประสิวทาให้เกิดสารก่อมะเร็งได้เพราะในเนื้อสัตว์จะมีสารเอมีน และเมื่อเติมดิน ประสิวลงไปจะทาปฏิกิริยาให้เกิดสารไนโตรซามีนขึ้น ซึ่งเป็นสารก่อมะเร็งชนิดหนึ่ง นอกจากนี้ไน โตรซามีนยังเกิดขึ้นได้ภายในกระเพาะอาหารของคนเราเมื่อกินอาหารที่มีไนเตรทตามธรรมชาติ เช่น ผัก และกินร่วมกับเนื้อสัตว์ สีผสมอาหารก็ไม่แนะนาให้ใช้มากเกินความจาเป็นหรือกินอาหารที่ใส่สีมากเกินไป ควรใช้สีที่ได้ จากธรรมชาติจะปลอดภัย ทั้งยังได้กลิ่นหอมจากพืชหรือสมุนไพรที่เรานามาเป็นวัตถุดิบในการให้สี เพิ่มขึ้นด้วย และถ้าผู้ผลิตขาดความรับผิดชอบ ใช้สีย้อมผ้าซึ่งให้สีเข้มและราคาถูกก็จะยิ่งเป็นอันตราย ต่อผู้บริโภค เพราะทาให้เกิดมะเร็งกระเพาะอาหารได้ สาหรับสารเจือปนอื่นๆ ซึ่งไม่อนุญาตให้ใส่ใน อาหาร แต่ก็มีการแอบใส่หรือแอบใช้กัน เช่น บอแรกซ์หรือผงกรอบ พบได้ในอาหารประเภทลูกชิ้นที่ เด้งผิดปกติ ของทอดที่กรอบนานผิดปกติ, สารฟอกขาว พบในขิง ข่าซอย ถั่วงอก เป็นต้น สารเหล่านี้ หากกินในปริมาณที่น้อยแต่บ่อยๆ ก็ทาให้เกิดการสะสม ส่งผลให้เสี่ยงต่อมะเร็งได้เช่นกัน อาหารประเภทปิ้ง ย่าง รมควัน เป็นอีกตัวการสาคัญที่ก่อมะเร็งได้หลายชนิด อาหารปิ้ง-ย่าง ประเภทที่มีไขมัน เช่น หมูปิ้งหมูย่าง ไก่ปิ้ง เนื้อย่าง เวลาปิ้งหรือย่างจะมีไขมันตกลงไปในถ่านที่กาลัง แดง ทาให้เกิดการเผาไหม้ไม่สมบูรณ์ ก่อให้เกิดสารพิษที่เรียกว่าสาร PAH หรือโพลีไซคลิก อะโรเม ติก ไฮโดรคาร์บอน (Polycyclic Aromatic Hydrocarbon) ทาให้เสี่ยงต่อโรคมะเร็งปอด เต้านม และ กระเพาะอาหาร เวลากินอาหารเหล่านี้จึงควรตัดส่วนที่ไหม้เกรียมออกให้หมด และไม่ควรกินซ้าๆ ซากๆ ติดกันทุกวัน การกินอาหารดิบๆ สุกๆ ก็มีความไม่ปลอดภัย เพราะเสี่ยงต่อการได้รับพยาธิใบไม้ในตับ ซึ่งพบ มากในปลาน้าจืดประเภทปลาเกล็ดขาว ปลาตะเพียน พยาธิชนิดนี้จะเข้าสู่ร่างกายได้เมื่อเรากินปลาที่มี พยาธิและปรุงไม่สุก พยาธิจะทาให้ท่อน้าดีและขั้วตับเกิดการอักเสบ ส่งผลให้เป็นมะเร็งที่ท่อน้าดีใน ตับได้ นอกจากนี้ยังมีพยาธิใบไม้ชนิดอื่นๆ ที่ทาให้เกิดมะเร็งในกระเพาะอาหารได้ ซึ่งวิธีป้องกันคือ กินอาหารที่ปรุงสุกทุกครั้ง
  • 8. 8 นอกจากนี้การกินอาหารประเภทเนื้อสัตว์มากเกินไปก็ทาให้เสี่ยงต่อการเกิดมะเร็งได้ คือความ เสี่ยงของมะเร็งจะเพิ่มขึ้นเมื่อกินเนื้อสัตว์เพิ่มขึ้น โดยเฉพาะเนื้อที่มีสีแดง ดังนั้นนักโภชนาการจึง แนะนาให้กินเนื้อสัตว์ที่มีสีขาว ซึ่งได้แก่เนื้อปลา มากกว่าเนื้อหมูหรือเนื้อวัว เครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ เช่น เหล้า เบียร์ และบุหรี่ ก็เป็นตัวการส่งเสริมให้เกิดมะเร็งได้ ซึ่ง ได้แก่มะเร็งตับ และมะเร็งปอด ดังนั้นหากหลีกเลี่ยงหรือลดปริมาณการดื่มหรือการสูบลงก็จะลดความ เสี่ยงต่อการเกิดโรคมะเร็งได้ เห็นได้ว่าอาหารที่เรากินประจาก็เป็นอาหารก่อมะเร็งได้โดยที่เราคิดไม่ถึง แต่คุณผู้อ่านไม่ควร กังวล เพราะอาหารบางอย่างเราสามารถหลีกเลี่ยงได้ เช่น เครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ หรืออาหารสุกๆ ดิบๆ แต่บางอย่างที่เราไม่สามารถหลีกเลี่ยงได้ก็คงต้องมีวิธีปฏิบัติเพื่อไม่ให้อาหารเหล่านั้นอยู่ใน ร่างกายเรานานเกินไปจนเกิดอันตรายได้ นั่นคือจะต้องกินผักและผลไม้ให้มากเพื่อให้ขับถ่ายเป็น ประจา ผลไม้ที่เลือกกินควรเป็นผลไม้ที่มีเส้นใยสูง รสไม่หวานมากเกินไป ซึ่งเส้นใยในผักและผลไม้ จะเป็นตัวช่วยสาคัญที่ทาหน้าที่เหมือนไม้กวาดคอยปัดกวาดลาไส้ไม่ให้สารพิษทาอันตรายต่อร่างกาย ได้ นอกจากนี้ในผักและผลไม้ยังมีสารต้านอนุมูลอิสระสูงที่ช่วยป้องกันมะเร็งหลายชนิด ต่อมาคือการเลือกกินอาหารที่มีความเป็นธรรมชาติให้มากที่สุด ไม่กินอาหารที่มีการดัดแปลง หรือใช้สารเคมี หากคุณเป็นคนที่อ่านฉลากทุกครั้งก่อนตัดสินใจซื้ออาหาร จะเห็นว่าผลิตภัณฑ์อาหาร อย่างเดียวกัน แต่ยี่ห้อต่างกัน เช่น น้าปลา จะมีหลากหลายยี่ห้อ เมื่ออ่านฉลากจะพบว่าบางยี่ห้อไม่ใส่ สารกันบูด บางยี่ห้อก็ไม่ใส่ผงชูรส เราจึงควรเลือกยี่ห้อที่ไม่ใส่สารกันบูดหรือไม่ใส่ผงชูรสจะดีกว่า สิ่งที่สาคัญในการหลีกเลี่ยงมะเร็ง คือการดูแลร่างกายให้แข็งแรง จะทาให้เรามีภูมิต้านทานดี โรคภัย ต่างๆ ก็มากล้ากรายยาก และก่อนที่กระทรวงสาธารณสุขจะระบุว่าสารเคมีบางอย่างสามารถใส่ใน อาหารได้ในปริมาณหนึ่งๆ ซึ่งปลอดภัยต่อผู้บริโภค ก็ต้องมีการทดลองในสัตว์ทดลองจนมั่นใจว่า ปลอดภัยแล้วจึงนามาใช้กับคน โดยนักวิจัยจะทาการวิจัยในสัตว์ที่แข็งแรงเท่านั้น แต่โดยปกติเรากิน อาหารในทุกสภาพของร่างกาย ถ้าเรากินในช่วงที่เจ็บป่วย ปริมาณที่กาหนดว่าปลอดภัยจึงอาจไม่ ปลอดภัยร้อยเปอร์เซ็นต์ก็เป็นได้ ดังนั้นถ้าหลีกเลี่ยงได้จึงเป็นสิ่งดีและปลอดภัยที่สุด การที่ร่างกายจะแข็งแรงได้ก็ต้องกินอาหารให้ครบ 5 หมู่ ไม่กินอาหารซ้าซาก ไม่กินอาหารรสจัด และต้องหมั่นออกกาลังกายเป็นประจา พักผ่อนให้เพียงพอ ก็เป็นคาถาที่น่าจะป้องกันมะเร็งได้ผล
  • 9. 9 วิธีดาเนินงาน แนวทางการดาเนินงาน กาหนดหัวข้อที่สนใจหลายๆเรื่อง แล้วเลือกเรื่องที่ตนและเพื่อนสนใจมากที่สุด แล้ว ค้นคว้าหาข้อมูลมาประกอบในการทาหัวข้อ หลังจากนั้นแบ่งหน้าที่กันในการทางาน เลือกสถานที่ใน การทางานและเลือกเวลาที่ใช้ให้เหมาะสม เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้ กระดาษ A4 ใช้ในการวางแผนโครงงานและใช้ในการแบ่งหน้าที่กันทา โน้ตบุค ใช้ในการโพสข้อมูลหัวข้อตนลง my bloger งบประมาณ - ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน ลาดั บ ที่ ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดช อบ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 1 คิดหัวข้อโครงงาน สลิลทิพย์
  • 10. 10 2 ศึกษาและค้นคว้า ข้อมูล สลิลทิพย์ 3 จัดทาโครงร่างงาน ศิริประภา 4 ปฏิบัติการสร้าง โครงงาน สลิลทิพย์ 5 ปรับปรุงทดสอบ ศิริประภา 6 การทา เอกสารรายงาน ศิริประภา 7 ประเมินผลงาน สลิลทิพย์ 8 นาเสนอโครงงาน ศิริประภา ผลที่คาดว่าจะได้รับ (ผลลัพธ์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดการทาโครงงาน) ข้อมูลที่ช่วยกันค้นคว้าจะเป็นประโยชน์ต่อผู้ที่สนใจหรือบุคคลทั่วไปเป็นอย่างมาก และ โครงงานที่จัดทาขึ้นนี้จะช่วยลดปริมาณของคนที่เป็นโรคมะเร็งได้มากขึ้น สถานที่ดาเนินการ โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย บ้านของนักเรียน กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง วิชาสุขศึกษา วิชาวิทยาศาสตร์ แหล่งอ้างอิง (เอกสาร หรือแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ที่นามาใช้การทาโครงงาน) http://www.nci.go.th/th/Knowledge/index_general.html