SlideShare a Scribd company logo
1 of 9
Download to read offline
1
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
รหัสวิชา ง33201-33202 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 6
ปีการศึกษา 2560
ชื่อโครงงาน โรคความดันโลหิตสูง (HYPERTENSION)
ชื่อผู้ทาโครงงาน
1. นางสาวสิรภัทร ยานะ เลขที่ 30 ชั้น ม.6 ห้อง 7
ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2560
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
2
ใบงาน
การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
สมาชิกในกลุ่ม .……
1. นางสาวสิรภัทร ยานะ เลขที่ 30
คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้
ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย)
โรคความดันโลหิตสูง
ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ)
HYPERTENSION
ประเภทโครงงาน พัฒนาสื่อเพื่อความรู้
ชื่อผู้ทาโครงงาน นางสาวสิรภัทร ยานะ เลขที่ 30 ชั้น ม.6 ห้อง 7
ชื่อที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1 - 2
ที่มาและความสาคัญของโครงงาน (อธิบายถึงที่มา แนวคิด และเหตุผล ของการทาโครงงาน)
ที่มาของโรคความดันโลหิตสูง หรือชื่อในภาษาอังกฤษเรียกว่า HYPERTENSION
ซึ่งเกิดจากการที่ทุกคนมีความดันโลหิต เพราะความดันโลหิต จะเป็นแรงผลักดัน
ให้เลือดไปเลี้ยงอวัยวะต่างๆของร่างกาย ดังนั้นทุกคนควรจะเรียนรู้เกี่ยวกับความดันโลหิต
และรักษาให้ความดันโลหิตอยู่ในเกณฑ์ปกติ เพราะความดันโลหิตสูงจะทาให้เกิดหลอดแข็งและตีบ
เมื่อหัวใจบีบตัวหัวใจจะบีบเลือดไปยังหลอดเลือดแดง ทาให้เกิดความดันโลหิตซึ่งเกิดจากการบีบตัวของหัวใจ
และแรงต้านทานของหลอดเลือด หัวใจคนเราเต้น 60-80ครั้ง ความดันก็จะเพิ่มขณะที่หัวใจบีบตัว
และลดลงขณะที่หัวใจคลายตัว ความดันโลหิตของคนเราไม่เท่ากันตลอดเวลาขึ้นกับท่า ความเครียด
การออกกาลังกาย การนอนหลับ ค่าปกติของคนเราคือ 120/80 มิลิเมตรปรอท แต่ไม่ควรเกิน 140/90
หากสูงกว่านี้แสดงว่าคุณเป็นโรคความดันโลหิตสูงโรคความดันโลหิตสูงเป็นปัจจัยเสี่ยงทาให้เกิดโรคหัวใจ
โรคไต โรคหลอดเลือดหัวใจตีบ โรคอัมพาต โรคหัวใจเป็นโรคที่มีอัตราตายสูง
ดังนั้นการป้องกันความดันโลหิตสูง สามารถป้องกันอัตราการตายจากโรคหัวใจ และโรคอัมพาต
3
โรคความดันโลหิตสูงเป็นภัยเงียบ ที่คุกคามชีวิตของทุกท่านเนื่องจากไม่มีอาการเตือนดังนั้น
การจะทราบว่าเป็นความดันโลหิตสูง จาเป็นต้องวัดความดันโลหิต นิยามเรื่องความดันโลหิต
ซึ่งการเกิดโรคความดันโลหิตสูงแล้วยังเกิดโรคแทรกซ้อนอีกมากมาย
เพราะหัวใจทาหน้าที่บีบตัวไล่เลือดไปเลี้ยงเนื้อเยื่อและอวัยวะต่างๆโดยไปตามหลอดเลือด
ความดันคือแรงดันของเลือด กระทาต่อผนังหลอดเลือดจะมีสองค่าคือขณะที่หัวใจบีบตัวเรียกเรียก systolic
และขณะหัวใจคลายตัวเรียก diastolic ดังนั้นความดันของคนจะมีสองค่าเสมอคือ systolic/diastolic ซึ่งจะเขียน
120/80 มม.ปรอท ยิ่งความดันโลหิตสูงเท่าใดก็จะเกิดโรคแทรกซ้อนได้มากขึ้น เช่น เส้นเลือดหัวใจตีบ หัวใจโต
หัวใจวาย พบว่าความดันโลหิตsystolic ที่เพิ่มขึ้นทุก 20 มม.ปรอท และความดันโลหิต diastolicที่เพิ่มขึ้น 10
มม.ปรอท จะเพิ่มความเสี่ยงต่อโรคหัวใจขาดเลือดเพิ่มขึ้น 2 เท่า ความดันของคนเปลี่ยนแปลงได้ตลอด
ซึ่งมีหลายโรคแทรกซ้อนที่เกิดขึ้น เช่น การเกิดโรคหัวใจเฉียบพลัน heart attack
การเกิดโรคหัวใจแบบปัจจุบันอาจจะเกิดจากการที่กล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือดซึ่งจะมีอาการที่สาคัญคือเจ็บหน้าอก
หรือหมดสติ หรืออาจจะมีอาการใจสั่นเนื่องจากหัวใจเต้นผิดปกติ บางท่านอาจจะมาด้วยหัวใจเต้นสั่นพริ้ว
หัวใจโต
ความดันโลหิตสูงทาให้กล้ามเนื้อหัวใจหนา และหัวใจโตขึ้น ถ้าหัวใจทางานไม่ไหวเกิดหัวใจวายได้
การเกิดโรคหลอดเลือดสมอง (stroke) เมื่อหลอดเลือดแดงตีบอาจเกิดจากเลือดไปเลี้ยงสมองไม่พอ
เนื่องจากลิ่มเลือดไปอุดหลอดเลือดแดงที่ตีบ (thrombotic
stroke )หรือเกิดจากหลอดเลือดสมองแตก (hemorrhagic stroke)
ซึ่งสิ่งที่กล่าวมาข้างต้นจึงเป็นเหตุผลที่ทาให้เลือกทาโครงงานเรื่องโรคความดันโลหิตสูง
เพราะโรคนี้สามารถเกิดได้กับทุกคน
เพราะทุกคนนั้นมีความดันโลหิตซึ่งทุกคนต้องตระหนักและปฏิบัติตนเพื่อไม่ให้เกิดโรคความดันโลหิตสูง
จึงได้จัดทาโครงงานนี้ขึ้น
วัตถุประสงค์ (สิ่งที่ต้องการในการทาโครงงาน ระบุเป็นข้อ)
1.เพื่อศึกษาที่มาของโรคความดันโลหิตสูง
2.เพื่อศึกษาอาการของโรคความดันโลหิตสูง
3.เพื่อให้ผู้คนรู้จักป้องกันและรักษาโรคความดันโลหิตสูง
4.เพื่อให้ผู้คนส่วนใหญ่ได้ตระหนักถึงความร้ายแรงของโรคนี้
ขอบเขตโครงงาน (คุณลักษณะ ขอบเขต เงื่อนไขและข้อจากัดของการทาโครงงาน)
ผู้ที่สนใจหรือมีอาการเสี่ยงต่อการเกิดโรคความดันโลหิตสูง (HYPERTENSION)
หลักการและทฤษฎี (ความรู้ หลักการ หรือทฤษฎีที่สนับสนุนการทาโครงงาน)
ความดันโลหิตสูง (อังกฤษ: hypertension)
เป็นโรคเรื้อรังชนิดหนึ่งที่ผู้ป่วยมีความดันเลือดในหลอดเลือดแดงสูงกว่าปกติตลอดเวลา ความดันเลือดประกอ
บด้วยสองค่า ได้แก่
ความดันช่วงหัวใจบีบและความดันช่วงหัวใจคลาย ซึ่งเป็นความดันสูงสุดและต่าสุดในระบบหลอดเลือดแดงตาม
4
ลาดับ ความดันช่วงหัวใจบีบเกิดเมื่อหัวใจห้องล่างซ้ายบีบตัวมากที่สุด
ความดันช่วงหัวใจคลายเกิดเมื่อหัวใจห้องล่างซ้ายคลายตัวมากที่สุดก่อนการบีบตัวครั้งถัดไป
ความดันเลือดปกติขณะพักอยู่ในช่วง 100–140 มิลลิเมตรปรอทในช่วงหัวใจบีบ และ 60–90
มิลลิเมตรปรอทในช่วงหัวใจคลาย ความดันโลหิตสูงหมายถึง ความดันเลือดมากกว่าหรือเท่ากับ 140/90
มิลลิเมตรปรอทตลอดเวลา ส่วนในเด็กจะใช้ตัวเลขต่างไป
ปกติความดันโลหิตสูงไม่ก่อให้เกิดอาการในทีแรก
แต่ความดันโลหิตสูงต่อเนื่องเมื่อผ่านไปเป็นปัจจัยเสี่ยงสาคัญของโรคหัวใจเหตุความดันโลหิตสูง โรคหลอดเลือ
ดหัวใจ โรคหลอดเลือดสมอง ท่อเลือดแดงโป่งพอง โรคหลอดเลือดแดงส่วนปลาย และโรคไตเรื้อรัง
ความดันโลหิตสูงแบ่งออกเป็นความดันโลหิตสูงปฐมภูมิ
(ไม่ทราบสาเหตุ) และความดันโลหิตสูงแบบทุติยภูมิ ผู้ป่วยส่วนใหญ่ราวร้อยละ 90–95
จัดเป็นความดันโลหิตสูงปฐมภูมิ หมายถึงมีความดันโลหิตสูงโดยไม่มีเหตุพื้นเดิมชัดเจน ที่เหลืออีกร้อยละ 5–
10 จัดเป็นความดันโลหิตสูงแบบทุติยภูมิมักมีสาเหตุที่สามารถบอกได้ เช่น
โรคไตเรื้อรัง ท่อเลือดแดงหรือหลอดเลือดแดงไตตีบแคบ หรือโรคของต่อมไร้ท่อ เช่น แอลโดสเตอโรน
คอร์ติซอลหรือแคทิโคลามีนเกิน
อาหารและการเปลี่ยนวิถีชีวิตสามารถช่วยควบคุมความดันเลือดและลดความเสี่ยงของภาวะแทรกซ้อนต่อสุขภ
าพ แม้การรักษาด้วยยายังมักจาเป็นในผู้ที่การเปลี่ยนแปลงวิถีชีวิตยังไม่พอหรือไม่ได้ผล
การรักษาความดันในหลอดเลือดแดงสูงปานกลาง (นิยามเป็น >160/100 มิลลิเมตรปรอท)
ด้วยยาสัมพันธ์กับการคาดหมายคงชีพที่เพิ่มขึ้นประโยชน์ของการรักษาความดันเลือดระหว่าง 140/90 ถึง
160/100 มิลลิเมตรปรอทไม่ค่อยชัดเจน บางบทปริทัศน์ว่าไม่มีประโยชน์ แต่บ้างก็ว่ามี
อาการและอาการแสดง
ความดันโลหิตสูงมักไม่ค่อยสัมพันธ์กับอาการใด ๆ ส่วนใหญ่มักตรวจพบจากการตรวจคัดโรค
หรือเมื่อมาพบแพทย์ด้วยอีกปัญหาที่ไม่เกี่ยวข้องกัน
ผู้ป่วยความดันโลหิตสูงจานวนหนึ่งมักบอกอาการปวดศีรษะโดยเฉพาะบริเวณท้ายทอยในช่วงเช้า เวียนศีรษะ
รู้สึกหมุน มีเสียงหึ่ง ๆ
ในหู หน้ามืดหรือเป็นลมอย่างไรก็ตามอาการดังกล่าวอาจสัมพันธ์กับความวิตกกังวลมากกว่าจากความดันเลือด
สูงเอง
ในการตรวจร่างกาย
ผูความดันโลหิตสูงอาจสัมพันธ์กับการมีการเปลี่ยนแปลงในก้นตาเห็นได้จากการส่องตรวจในตา (ophthalmosc
opy) ความรุนแรงของการเปลี่ยนแปลงที่ตรงแบบของโรคจอตาเหตุความดันโลหิตสูงมีการแบ่งเกรดตั้งแต่ 1–4
เกรด 1 และ 2 อาจแยกได้ยาก ความรุนแรงของโรคจอตาสัมพันธ์อย่างหยาบ ๆ
กับระยะเวลาและ/หรือความรุนแรงของความดันโลหิตสูง
ความดันโลหิตสูงแบบทุติยภูมิ หมายถึงความดันโลหิตสูงที่สามารถระบุสาเหตุที่ทาให้เกิดได้
เช่น โรคไตหรือโรคต่อมไร้ท่อ ผู้ป่วยจะมีอาการและอาการแสดงบางอย่างที่บ่งบอกว่าเป็นความดันโลหิตสูงแบ
บทุติยภูมิ เช่น สงสัยกลุ่มอาการคุชชิง (Cushing's syndrome) หากมีอาการอ้วนเฉพาะลาตัวแต่แขนขาลีบ
(truncal obesity) ความไม่ทนกลูโคส (glucose intolerance) หน้าบวมกลม (moon facies)
5
ไขมันสะสมเป็นหนอกที่หลังและคอ (buffalo hump) และริ้วลายสีม่วงที่ท้อง (purple
striae) ภาวะต่อมไทรอยด์ทางานเกินมักเป็นสาเหตุของน้าหนักลดแต่มีความอยากอาหารเพิ่ม
อัตราหัวใจเต้นเร็ว ตาโปนและอาการสั่น หลอดเลือดแดงไตตีบ (RAS) อาจสัมพันธ์กับเสียงบรุยต์(bruit)
ที่ท้องเฉพาะที่ด้านซ้ายหรือขวาของแนวกลาง (RAS ข้างเดียว) หรือทั้งสองตาแหน่ง (RAS
สองข้าง) ท่อเลือดแดงแคบ (aortic coarctation)
บ่อยครั้งก่อให้เกิดความดันเลือดลดลงในขาเมื่อเทียบกับแขนและ/หรือไม่มีชีพจรหลอดเลือดแดงต้นขาหรือมีแต่
ช้า ฟีโอโครโมไซโตมา (pheochromocytoma)
อาจเป็นสาเหตุของช่วงความดันโลหิตสูงเฉียบพพลันร่วมกับปวดศีรษะ ใจสั่น ดูซีดและมีเหงื่อออกมาก
ความดันโลหิตสูงวิกฤต
ซึ่งที่ระดับความดันเลือดดังกล่าวมีความเสี่ยงสูงที่จะเกิดภาวะแทรกซ้อนได้
ผู้ป่วยที่ความดันโลหิตสูงระดับนี้อาจไม่มีอาการ หรือมีรายงานว่าปวดศีรษะ (ราวร้อยละ
22) และเวียนศีรษะมากกว่าประชากรทั่วไป[8] อาการอื่นๆ ที่เกิดร่วมกับภาวะความดันโลหิตสูงวิกฤต เช่น
ตาพร่ามองภาพไม่ชัด
หรือหายใจเหนื่อยหอบจากหัวใจล้มเหลว หรือรู้สึกไม่สบายดัวเนื่องจากไตวาย ผู้ป่วยความดันโลหิตสูงวิกฤตส่
วนใหญ่ทราบอยู่แล้วว่าเป็นโรคความดันโลหิตสูงแต่มีสิ่งกระตุ้นเข้ามาทาให้ความดันเลือดสูงขึ้นทันที ความดันโ
ลหิตสูงวิกฤตแบ่งออกได้เป็นสองประเภท คือ ความดันโลหิตสูงฉุกเฉิน (hypertensive emergency)
และความดันโลหิตสูงเร่งด่วน (hypertensive urgency)
ซึ่งต่างกันตรงที่มีอาการแสดงของอวัยวะถูกทาลายหรือไม่
ความดันโลหิตสูงฉุกเฉิน (hypertensive emergency)
เป็นภาวะที่วินิจฉัยเมื่อมีความดันโลหิตสูงอย่างรุนแรงจนอวัยวะตั้งแต่ 1 อย่างขึ้นไปถูกทาลาย
ตัวอย่างเช่น โรคสมองจากความดันโลหิตสูง (hypertensive encephalopathy)
เกิดจากสมองบวมและเสียการทางาน จะมีอาการปวดศีรษะและระดับความรู้สึกตัวเปลี่ยนแปลง เช่น ซึม สับสน
อาการแสดงของอวัยวะเป้าหมายถูกทาลายที่ตา ได้แก่ จานประสาทตาบวม (papilloedema)
และ/หรือมีเลือดออกและของเหลวซึมที่ก้นตา
อาการเจ็บหน้าอกอาจแสดงถึงกล้ามเนื้อหัวใจเสียหายซึ่งอาจดาเนินต่อไปเป็นกล้ามเนื้อหัวใจตายหรือเกิดการ
ฉีกเซาะของผนังหลอดเลือดแดงใหญ่เอออร์ตา อาการหายใจลาบาก ไอ
เสมหะมีเลือดปนเป็นอาการแสดงของปอดบวมน้า (pulmonary edema)
เนื่องจากหัวใจห้องล่างซ้ายล้มเหลว กล่าวคือหัวใจห้องล่างซ้ายไม่สามารถสูบฉีดเลือดจากปอดไปยังระบบหลอ
ดเลือดแดงได้เพียงพออาจเกิดไตเสียหายเฉียบพลัน และโลหิตจางจากเม็ดเลือดแดงแตกชนิดไมโครแองจีโอพา
ติก (การทาลายเม็ดเลือดแดงชนิดหนึ่ง) เมื่อเกิดภาวะนี้จาเป็นต้องรีบลดความดันโลหิตเพื่อหยุดยั้งความเสียห
ายของอวัยวะเป้าหมาย
ในทางตรงข้ามหากผู้ป่วยมีความดันโลหิตสูงกว่า 180/100
มิลลิเมตรปรอทแต่ไม่พบความเสียหายของอวัยวะเป้าหมายจะเรียกภาวะนี้ว่า ความดันโลหิตสูงเร่งด่วน (hyper
tensive urgency)
6
ยังไม่มีหลักฐานยืนยันถึงความจาเป็นต้องรีบลดความดันโลหิตในผู้ป่วยกลุ่มนี้หากไม่มีการทาลายอวัยวะ
และการลดความดันโลหิตอย่างรวดเร็วก็ไม่ได้ปราศจากความเสี่ยงในภาวะนี้สามารถค่อยๆ
ลดความดันโลหิตลงด้วยยาลดความดันชนิดรับประทานให้กลับสู่ระดับปกติใน 24 ถึง 48 ชั่วโมง
ในสตรีตั้งครรภ์
สตรีตั้งครรภ์มีภาวะความดันโลหิตสูงราวร้อยละ 8-
10หญิงที่มีความดันโลหิตสูงขณะตั้งครรภ์ส่วนใหญ่มักเป็นความดันโลหิตสูงปฐมภูมิอยู่ก่อนแล้ว
ความดันโลหิตสูงในระหว่างตั้งครรภ์อาจเป็นอาการแสดงแรกของโรคพิษแห่งครรภ์ระยะก่อนชัก (pre-
eclampsia) ซึ่งเป็นภาวะทางสูติศาสตร์ที่ร้ายแรง
เกิดในช่วงครึ่งหลังของการตั้งครรภ์และระยะหลังคลอดโรคพิษแห่งครรภ์ระยะก่อนชักเป็นภาวะที่มีความดันโล
หิตสูงและมีโปรตีนในปัสสาวะพบราวร้อยละ 5 ของการตั้งครรภ์ และเป็นสาเหตุราวร้อยละ 16
ของการเสียชีวิตของมารดาทั่วโลก โรคพิษแห่งครรภ์ระยะก่อนชักเพิ่มความเสี่ยงของการตายปริกาเนิดเป็นสอง
เท่า โดยทั่วไปแล้วโรคนี้ไม่มีอาการและตรวจพบได้จากการฝากครรภ์เป็นประจา
อาการของโรคนี้ที่พบได้บ่อยคือปวดศีรษะ ตาพร่ามัว (มักเห็นแสงวูบวาบ) ปวดจุกแน่นลิ้นปี่ และบวม
โรคพิษแห่งครรภ์ระยะก่อนชักบางครั้งจะดาเนินต่อไปเป็นโรคร้ายแรงถึงแก่ชีวิตเรียกว่าโรคพิษแห่งครรภ์ระยะ
ชัก (eclampsia)
ซึ่งมีภาวะความดันโลหิตสูงฉุกเฉินร่วมกับภาวะแทรกซ้อนรุนแรงหลายอย่างเช่นมองภาพไม่เห็น สมองบวม ชั
ก ไตวาย ปอดบวมน้า และมีภาวะเลือดแข็งตัวในหลอดเลือดแบบแพร่กระจาย (disseminated intravascular
coagulation; ความผิดปกติของการแข็งตัวของเลือดอย่างหนึ่ง)
ในทารกและเด็ก
ความดันโลหิตสูงในทารกแรกเกิดและทารกอาจมาด้วยเลี้ยงไม่โต ชัก งอแงร้องกวน ง่วงซึม และหายใจลาบาก
ความดันโลหิตสูงในเด็กอาจทาให้ปวดศีรษะ อ่อนล้า เลี้ยงไม่โต มองภาพไม่ชัด เลือดกาเดาออก และใบหน้าเป็
นอัมพาต
วิธีรักษา
โรคความดันโลหิตสูงเป็นโรคเรื้อรัง ซึ่งหมายถึงเป็นโรคที่รักษาให้หายยาก
แต่สามารถรักษาควบคุมได้เสมอเมื่อรักษาควบคุมอาการตั้งแต่แรก ปฏิบัติตามแพทย์ พยาบาลแนะนา
และกินยาอย่างถูกต้อง ครบถ้วน ไม่ขาดยา
แต่ถ้า ดูแล รักษา ควบคุมโรคได้ไม่ดี ผลข้างเคียงที่เกิดขึ้นมักรุนแรง
เช่น โรคหลอดเลือดหัวใจ โรคหลอดเลือดสมอง โรคไตเรื้อรัง ซึ่งส่งผลถึงความพิการและเสียชีวิตได้
นอกจากนั้นคือ โรคหลอดเลือดของจอตา และของประสาทตาซึ่งอาจส่งผลให้ตาบอดได้
อนึ่ง โรคความดันโลหิตสูงแบ่งตามความรุนแรงของโรค (ตามความดันโลหิต) จากรุนแรงน้อยไปหามาก
ได้ดังนี้้
- ความดันโลหิตในผู้มีแนวโน้มจะเป็นโรคความดันโลหิตสูง คือ 120-139/80-89 มม.ปรอท
(แนวทางการรักษา คือการปรับพฤติกรรมการใช้ชีวิต ทั้งนี้แพทย์มักยังไม่ให้ลดความดันโลหิต)
- โรคความดันโลหิตสูงระยะ 1 คือ ความดันโลหิตอยู่ในช่วง 140-159/90-99 มม.ปรอท
7
- โรคความดันโลหิตสูงระยะ 2 คือ ความดันโลหิตตั้งแต่ 160/100 มม.ปรอทขึ้นไป
- โรคความดันโลหิตสูงที่ต้องพบแพทย์ใน 24 ชั่วโมง คือ ความดันโลหิตสูงตั้งแต่ 180/110
มม.ปรอทขึ้นไป เพราะอาจเป็นอันตรายถึงชีวิตได้ อาจจากโรคหัวใจ สมอง ไต ล้มเหลว
- โรคความดันโลหิตสูงที่ต้องพบแพทย์ฉุกเฉิน คือ ความดันโลหิตสูงตั้งแต่ 220/140 มม.ปรอทขึ้นไป
เพราะเป็นอันตรายถึงชีวิตได้ จากการทางานล้มเหลวของอวัยวะสาคัญต่างๆ เช่น หัวใจ สมอง และไต
การป้องกัน
เนื่องจากภาระโรคจากความดันโลหิตสูงพบมากในผู้ป่วยที่ไม่ทราบว่าเป็นความดันโลหิตสูง
ดังนั้นกลยุทธ์ประชากรจึงจาเป็นต้องลดผลที่ตามมาจากความดันโลหิตสูงและลดความจาเป็นในการรักษาด้วย
ยาลดความดันโลหิตแนะนาให้ลดความดันเลือดด้วยการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมก่อนเริ่มการรักษาด้วยยา
ทั้งแนวทางเวชปฏิบัติของสมาคมความดันโลหิตสูงสหราชอาณาจักร ค.ศ. 2004 (BHS
IV) โปรแกรมการให้การศึกษาผู้ป่วยความดันโลหิตสูงแห่งชาติสหรัฐอเมริกา ค.ศ.
2002และแนวทางการรักษาของสมาคมความดันโลหิตสูงแห่งประเทศไทย (พ.ศ.
2555) แนะนาให้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อป้องกันความดันโลหิตสูงด้วยวิธีดังนี้
- ควบคุมน้าหนักให้เป็นปกติในผู้ใหญ่ (ให้ดัชนีมวลกายอยู่ที่ 18.5-23 กิโลกรัม/ตารางเมตร)
- จากัดโซเดียมในอาหารให้น้อยกว่า 100 มิลลิโมลต่อวัน (น้อยกว่า 6 กรัมของโซเดียมคลอไรด์ต่อวัน
หรือน้อยกว่า 2.4 กรัมของโซเดียมต่อวัน)
- ออกกาลังกายชนิดแอโรบิกอย่างสม่าเสมอ เช่นการเดินเร็วๆ อย่างน้อย 30 นาทีต่อวัน
เกือบทุกวันในสัปดาห์
- ลดการดื่มแอลกอฮอล์ ไม่เกิน 2 drink/วันในผู้ชาย และไม่เกิน 1 drink/วันในผู้หญิง (1 drink
เทียบเท่ากับสุรา (40%) 44 มิลลิลิตร, เบียร์ (5%) 355 มิลลิลิตร หรือไวน์ (12%) 148 มิลลิลิตร)
- รับประทานผักและผลไม้มากๆ (อย่างน้อย 5 ส่วนต่อวัน)
การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมอย่างมีประสิทธิภาพสามารถลดความดันโลหิตได้เทียบเท่ากับการใช้ยาลดความดันโ
ลหิต การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมร่วมกันตั้งแต่สองอย่างขึ้นไปจะยิ่งให้ผลที่ดีมากขึ้น
วิธีดาเนินงาน
แนวทางการดาเนินงาน
___________________________________________________________________
___________________________________________________________________
เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้
___________________________________________________________________
___________________________________________________________________
___________________________________________________________________
8
งบประมาณ
___________________________________________________________________
___________________________________________________________________
___________________________________________________________________
__________________________________________________________________
___________________________________________________________________
ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน
ลาดั
บ
ที่
ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอ
บ
1 2 3 4 5 6 7 8 9
1
0
1
1
12
1
3
1
4
1
5
16 17
1 คิดหัวข้อโครงงาน
2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล
3 จัดทาโครงร่างงาน
4 ปฏิบัติการสร้างโครงงาน
5 ปรับปรุงทดสอบ
6 การทาเอกสารรายงาน
7 ประเมินผลงาน
8 นาเสนอโครงงาน
ผลที่คาดว่าจะได้รับ (ผลลัพธ์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดการทาโครงงาน)
_________________________________________________________________________
9
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
สถานที่ดาเนินการ
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
แหล่งอ้างอิง (เอกสาร หรือแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ที่นามาใช้การทาโครงงาน)
http://haamor.com/th/%E0%B8%84%E0%B8%A7%E0%B8%B2%E0%B8%A1%E0%B8%94%E0%B8
%B1%E0%B8%99%E0%B9%82%E0%B8%A5%E0%B8%AB%E0%B8%B4%E0%B8%95%E0%B8%A
A%E0%B8%B9%E0%B8%87/#article106
http://siamhealth.net/public_html/Disease/heart_disease/Hypertension/index.htm
https://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%84%E0%B8%A7%E0%B8%B2%E0%B8%A1%E0%B8%94%E0
%B8%B1%E0%B8%99%E0%B9%82%E0%B8%A5%E0%B8%AB%E0%B8%B4%E0%B8%95%E0%B
8%AA%E0%B8%B9%E0%B8%87

More Related Content

Similar to โครงงานคอมพิวเตอร

Similar to โครงงานคอมพิวเตอร (20)

กิจกรรมที่ 5
กิจกรรมที่ 5กิจกรรมที่ 5
กิจกรรมที่ 5
 
2560 project 2
2560 project  22560 project  2
2560 project 2
 
2560 project (1)
2560 project  (1)2560 project  (1)
2560 project (1)
 
Kk
KkKk
Kk
 
2562 final-projectpongpat40-190923163452
2562 final-projectpongpat40-1909231634522562 final-projectpongpat40-190923163452
2562 final-projectpongpat40-190923163452
 
กิจกรรมที่5 หลักทรัพย์
กิจกรรมที่5 หลักทรัพย์กิจกรรมที่5 หลักทรัพย์
กิจกรรมที่5 หลักทรัพย์
 
Project1
Project1Project1
Project1
 
Project1
Project1Project1
Project1
 
คอม
คอมคอม
คอม
 
Depression of thai people
Depression of thai peopleDepression of thai people
Depression of thai people
 
Job
JobJob
Job
 
Hyper36
Hyper36Hyper36
Hyper36
 
ใบงานที่ 5
ใบงานที่ 5ใบงานที่ 5
ใบงานที่ 5
 
2557 โครงงาน3
2557 โครงงาน32557 โครงงาน3
2557 โครงงาน3
 
2557 โครงงาน3
2557 โครงงาน32557 โครงงาน3
2557 โครงงาน3
 
Final1
Final1Final1
Final1
 
2562 final-project
2562 final-project 2562 final-project
2562 final-project
 
2562 final-project 10
2562 final-project 102562 final-project 10
2562 final-project 10
 
101245
101245101245
101245
 
101245
101245101245
101245
 

โครงงานคอมพิวเตอร

  • 1. 1 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ รหัสวิชา ง33201-33202 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 6 ปีการศึกษา 2560 ชื่อโครงงาน โรคความดันโลหิตสูง (HYPERTENSION) ชื่อผู้ทาโครงงาน 1. นางสาวสิรภัทร ยานะ เลขที่ 30 ชั้น ม.6 ห้อง 7 ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2560 โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
  • 2. 2 ใบงาน การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์ สมาชิกในกลุ่ม .…… 1. นางสาวสิรภัทร ยานะ เลขที่ 30 คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้ ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย) โรคความดันโลหิตสูง ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ) HYPERTENSION ประเภทโครงงาน พัฒนาสื่อเพื่อความรู้ ชื่อผู้ทาโครงงาน นางสาวสิรภัทร ยานะ เลขที่ 30 ชั้น ม.6 ห้อง 7 ชื่อที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1 - 2 ที่มาและความสาคัญของโครงงาน (อธิบายถึงที่มา แนวคิด และเหตุผล ของการทาโครงงาน) ที่มาของโรคความดันโลหิตสูง หรือชื่อในภาษาอังกฤษเรียกว่า HYPERTENSION ซึ่งเกิดจากการที่ทุกคนมีความดันโลหิต เพราะความดันโลหิต จะเป็นแรงผลักดัน ให้เลือดไปเลี้ยงอวัยวะต่างๆของร่างกาย ดังนั้นทุกคนควรจะเรียนรู้เกี่ยวกับความดันโลหิต และรักษาให้ความดันโลหิตอยู่ในเกณฑ์ปกติ เพราะความดันโลหิตสูงจะทาให้เกิดหลอดแข็งและตีบ เมื่อหัวใจบีบตัวหัวใจจะบีบเลือดไปยังหลอดเลือดแดง ทาให้เกิดความดันโลหิตซึ่งเกิดจากการบีบตัวของหัวใจ และแรงต้านทานของหลอดเลือด หัวใจคนเราเต้น 60-80ครั้ง ความดันก็จะเพิ่มขณะที่หัวใจบีบตัว และลดลงขณะที่หัวใจคลายตัว ความดันโลหิตของคนเราไม่เท่ากันตลอดเวลาขึ้นกับท่า ความเครียด การออกกาลังกาย การนอนหลับ ค่าปกติของคนเราคือ 120/80 มิลิเมตรปรอท แต่ไม่ควรเกิน 140/90 หากสูงกว่านี้แสดงว่าคุณเป็นโรคความดันโลหิตสูงโรคความดันโลหิตสูงเป็นปัจจัยเสี่ยงทาให้เกิดโรคหัวใจ โรคไต โรคหลอดเลือดหัวใจตีบ โรคอัมพาต โรคหัวใจเป็นโรคที่มีอัตราตายสูง ดังนั้นการป้องกันความดันโลหิตสูง สามารถป้องกันอัตราการตายจากโรคหัวใจ และโรคอัมพาต
  • 3. 3 โรคความดันโลหิตสูงเป็นภัยเงียบ ที่คุกคามชีวิตของทุกท่านเนื่องจากไม่มีอาการเตือนดังนั้น การจะทราบว่าเป็นความดันโลหิตสูง จาเป็นต้องวัดความดันโลหิต นิยามเรื่องความดันโลหิต ซึ่งการเกิดโรคความดันโลหิตสูงแล้วยังเกิดโรคแทรกซ้อนอีกมากมาย เพราะหัวใจทาหน้าที่บีบตัวไล่เลือดไปเลี้ยงเนื้อเยื่อและอวัยวะต่างๆโดยไปตามหลอดเลือด ความดันคือแรงดันของเลือด กระทาต่อผนังหลอดเลือดจะมีสองค่าคือขณะที่หัวใจบีบตัวเรียกเรียก systolic และขณะหัวใจคลายตัวเรียก diastolic ดังนั้นความดันของคนจะมีสองค่าเสมอคือ systolic/diastolic ซึ่งจะเขียน 120/80 มม.ปรอท ยิ่งความดันโลหิตสูงเท่าใดก็จะเกิดโรคแทรกซ้อนได้มากขึ้น เช่น เส้นเลือดหัวใจตีบ หัวใจโต หัวใจวาย พบว่าความดันโลหิตsystolic ที่เพิ่มขึ้นทุก 20 มม.ปรอท และความดันโลหิต diastolicที่เพิ่มขึ้น 10 มม.ปรอท จะเพิ่มความเสี่ยงต่อโรคหัวใจขาดเลือดเพิ่มขึ้น 2 เท่า ความดันของคนเปลี่ยนแปลงได้ตลอด ซึ่งมีหลายโรคแทรกซ้อนที่เกิดขึ้น เช่น การเกิดโรคหัวใจเฉียบพลัน heart attack การเกิดโรคหัวใจแบบปัจจุบันอาจจะเกิดจากการที่กล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือดซึ่งจะมีอาการที่สาคัญคือเจ็บหน้าอก หรือหมดสติ หรืออาจจะมีอาการใจสั่นเนื่องจากหัวใจเต้นผิดปกติ บางท่านอาจจะมาด้วยหัวใจเต้นสั่นพริ้ว หัวใจโต ความดันโลหิตสูงทาให้กล้ามเนื้อหัวใจหนา และหัวใจโตขึ้น ถ้าหัวใจทางานไม่ไหวเกิดหัวใจวายได้ การเกิดโรคหลอดเลือดสมอง (stroke) เมื่อหลอดเลือดแดงตีบอาจเกิดจากเลือดไปเลี้ยงสมองไม่พอ เนื่องจากลิ่มเลือดไปอุดหลอดเลือดแดงที่ตีบ (thrombotic stroke )หรือเกิดจากหลอดเลือดสมองแตก (hemorrhagic stroke) ซึ่งสิ่งที่กล่าวมาข้างต้นจึงเป็นเหตุผลที่ทาให้เลือกทาโครงงานเรื่องโรคความดันโลหิตสูง เพราะโรคนี้สามารถเกิดได้กับทุกคน เพราะทุกคนนั้นมีความดันโลหิตซึ่งทุกคนต้องตระหนักและปฏิบัติตนเพื่อไม่ให้เกิดโรคความดันโลหิตสูง จึงได้จัดทาโครงงานนี้ขึ้น วัตถุประสงค์ (สิ่งที่ต้องการในการทาโครงงาน ระบุเป็นข้อ) 1.เพื่อศึกษาที่มาของโรคความดันโลหิตสูง 2.เพื่อศึกษาอาการของโรคความดันโลหิตสูง 3.เพื่อให้ผู้คนรู้จักป้องกันและรักษาโรคความดันโลหิตสูง 4.เพื่อให้ผู้คนส่วนใหญ่ได้ตระหนักถึงความร้ายแรงของโรคนี้ ขอบเขตโครงงาน (คุณลักษณะ ขอบเขต เงื่อนไขและข้อจากัดของการทาโครงงาน) ผู้ที่สนใจหรือมีอาการเสี่ยงต่อการเกิดโรคความดันโลหิตสูง (HYPERTENSION) หลักการและทฤษฎี (ความรู้ หลักการ หรือทฤษฎีที่สนับสนุนการทาโครงงาน) ความดันโลหิตสูง (อังกฤษ: hypertension) เป็นโรคเรื้อรังชนิดหนึ่งที่ผู้ป่วยมีความดันเลือดในหลอดเลือดแดงสูงกว่าปกติตลอดเวลา ความดันเลือดประกอ บด้วยสองค่า ได้แก่ ความดันช่วงหัวใจบีบและความดันช่วงหัวใจคลาย ซึ่งเป็นความดันสูงสุดและต่าสุดในระบบหลอดเลือดแดงตาม
  • 4. 4 ลาดับ ความดันช่วงหัวใจบีบเกิดเมื่อหัวใจห้องล่างซ้ายบีบตัวมากที่สุด ความดันช่วงหัวใจคลายเกิดเมื่อหัวใจห้องล่างซ้ายคลายตัวมากที่สุดก่อนการบีบตัวครั้งถัดไป ความดันเลือดปกติขณะพักอยู่ในช่วง 100–140 มิลลิเมตรปรอทในช่วงหัวใจบีบ และ 60–90 มิลลิเมตรปรอทในช่วงหัวใจคลาย ความดันโลหิตสูงหมายถึง ความดันเลือดมากกว่าหรือเท่ากับ 140/90 มิลลิเมตรปรอทตลอดเวลา ส่วนในเด็กจะใช้ตัวเลขต่างไป ปกติความดันโลหิตสูงไม่ก่อให้เกิดอาการในทีแรก แต่ความดันโลหิตสูงต่อเนื่องเมื่อผ่านไปเป็นปัจจัยเสี่ยงสาคัญของโรคหัวใจเหตุความดันโลหิตสูง โรคหลอดเลือ ดหัวใจ โรคหลอดเลือดสมอง ท่อเลือดแดงโป่งพอง โรคหลอดเลือดแดงส่วนปลาย และโรคไตเรื้อรัง ความดันโลหิตสูงแบ่งออกเป็นความดันโลหิตสูงปฐมภูมิ (ไม่ทราบสาเหตุ) และความดันโลหิตสูงแบบทุติยภูมิ ผู้ป่วยส่วนใหญ่ราวร้อยละ 90–95 จัดเป็นความดันโลหิตสูงปฐมภูมิ หมายถึงมีความดันโลหิตสูงโดยไม่มีเหตุพื้นเดิมชัดเจน ที่เหลืออีกร้อยละ 5– 10 จัดเป็นความดันโลหิตสูงแบบทุติยภูมิมักมีสาเหตุที่สามารถบอกได้ เช่น โรคไตเรื้อรัง ท่อเลือดแดงหรือหลอดเลือดแดงไตตีบแคบ หรือโรคของต่อมไร้ท่อ เช่น แอลโดสเตอโรน คอร์ติซอลหรือแคทิโคลามีนเกิน อาหารและการเปลี่ยนวิถีชีวิตสามารถช่วยควบคุมความดันเลือดและลดความเสี่ยงของภาวะแทรกซ้อนต่อสุขภ าพ แม้การรักษาด้วยยายังมักจาเป็นในผู้ที่การเปลี่ยนแปลงวิถีชีวิตยังไม่พอหรือไม่ได้ผล การรักษาความดันในหลอดเลือดแดงสูงปานกลาง (นิยามเป็น >160/100 มิลลิเมตรปรอท) ด้วยยาสัมพันธ์กับการคาดหมายคงชีพที่เพิ่มขึ้นประโยชน์ของการรักษาความดันเลือดระหว่าง 140/90 ถึง 160/100 มิลลิเมตรปรอทไม่ค่อยชัดเจน บางบทปริทัศน์ว่าไม่มีประโยชน์ แต่บ้างก็ว่ามี อาการและอาการแสดง ความดันโลหิตสูงมักไม่ค่อยสัมพันธ์กับอาการใด ๆ ส่วนใหญ่มักตรวจพบจากการตรวจคัดโรค หรือเมื่อมาพบแพทย์ด้วยอีกปัญหาที่ไม่เกี่ยวข้องกัน ผู้ป่วยความดันโลหิตสูงจานวนหนึ่งมักบอกอาการปวดศีรษะโดยเฉพาะบริเวณท้ายทอยในช่วงเช้า เวียนศีรษะ รู้สึกหมุน มีเสียงหึ่ง ๆ ในหู หน้ามืดหรือเป็นลมอย่างไรก็ตามอาการดังกล่าวอาจสัมพันธ์กับความวิตกกังวลมากกว่าจากความดันเลือด สูงเอง ในการตรวจร่างกาย ผูความดันโลหิตสูงอาจสัมพันธ์กับการมีการเปลี่ยนแปลงในก้นตาเห็นได้จากการส่องตรวจในตา (ophthalmosc opy) ความรุนแรงของการเปลี่ยนแปลงที่ตรงแบบของโรคจอตาเหตุความดันโลหิตสูงมีการแบ่งเกรดตั้งแต่ 1–4 เกรด 1 และ 2 อาจแยกได้ยาก ความรุนแรงของโรคจอตาสัมพันธ์อย่างหยาบ ๆ กับระยะเวลาและ/หรือความรุนแรงของความดันโลหิตสูง ความดันโลหิตสูงแบบทุติยภูมิ หมายถึงความดันโลหิตสูงที่สามารถระบุสาเหตุที่ทาให้เกิดได้ เช่น โรคไตหรือโรคต่อมไร้ท่อ ผู้ป่วยจะมีอาการและอาการแสดงบางอย่างที่บ่งบอกว่าเป็นความดันโลหิตสูงแบ บทุติยภูมิ เช่น สงสัยกลุ่มอาการคุชชิง (Cushing's syndrome) หากมีอาการอ้วนเฉพาะลาตัวแต่แขนขาลีบ (truncal obesity) ความไม่ทนกลูโคส (glucose intolerance) หน้าบวมกลม (moon facies)
  • 5. 5 ไขมันสะสมเป็นหนอกที่หลังและคอ (buffalo hump) และริ้วลายสีม่วงที่ท้อง (purple striae) ภาวะต่อมไทรอยด์ทางานเกินมักเป็นสาเหตุของน้าหนักลดแต่มีความอยากอาหารเพิ่ม อัตราหัวใจเต้นเร็ว ตาโปนและอาการสั่น หลอดเลือดแดงไตตีบ (RAS) อาจสัมพันธ์กับเสียงบรุยต์(bruit) ที่ท้องเฉพาะที่ด้านซ้ายหรือขวาของแนวกลาง (RAS ข้างเดียว) หรือทั้งสองตาแหน่ง (RAS สองข้าง) ท่อเลือดแดงแคบ (aortic coarctation) บ่อยครั้งก่อให้เกิดความดันเลือดลดลงในขาเมื่อเทียบกับแขนและ/หรือไม่มีชีพจรหลอดเลือดแดงต้นขาหรือมีแต่ ช้า ฟีโอโครโมไซโตมา (pheochromocytoma) อาจเป็นสาเหตุของช่วงความดันโลหิตสูงเฉียบพพลันร่วมกับปวดศีรษะ ใจสั่น ดูซีดและมีเหงื่อออกมาก ความดันโลหิตสูงวิกฤต ซึ่งที่ระดับความดันเลือดดังกล่าวมีความเสี่ยงสูงที่จะเกิดภาวะแทรกซ้อนได้ ผู้ป่วยที่ความดันโลหิตสูงระดับนี้อาจไม่มีอาการ หรือมีรายงานว่าปวดศีรษะ (ราวร้อยละ 22) และเวียนศีรษะมากกว่าประชากรทั่วไป[8] อาการอื่นๆ ที่เกิดร่วมกับภาวะความดันโลหิตสูงวิกฤต เช่น ตาพร่ามองภาพไม่ชัด หรือหายใจเหนื่อยหอบจากหัวใจล้มเหลว หรือรู้สึกไม่สบายดัวเนื่องจากไตวาย ผู้ป่วยความดันโลหิตสูงวิกฤตส่ วนใหญ่ทราบอยู่แล้วว่าเป็นโรคความดันโลหิตสูงแต่มีสิ่งกระตุ้นเข้ามาทาให้ความดันเลือดสูงขึ้นทันที ความดันโ ลหิตสูงวิกฤตแบ่งออกได้เป็นสองประเภท คือ ความดันโลหิตสูงฉุกเฉิน (hypertensive emergency) และความดันโลหิตสูงเร่งด่วน (hypertensive urgency) ซึ่งต่างกันตรงที่มีอาการแสดงของอวัยวะถูกทาลายหรือไม่ ความดันโลหิตสูงฉุกเฉิน (hypertensive emergency) เป็นภาวะที่วินิจฉัยเมื่อมีความดันโลหิตสูงอย่างรุนแรงจนอวัยวะตั้งแต่ 1 อย่างขึ้นไปถูกทาลาย ตัวอย่างเช่น โรคสมองจากความดันโลหิตสูง (hypertensive encephalopathy) เกิดจากสมองบวมและเสียการทางาน จะมีอาการปวดศีรษะและระดับความรู้สึกตัวเปลี่ยนแปลง เช่น ซึม สับสน อาการแสดงของอวัยวะเป้าหมายถูกทาลายที่ตา ได้แก่ จานประสาทตาบวม (papilloedema) และ/หรือมีเลือดออกและของเหลวซึมที่ก้นตา อาการเจ็บหน้าอกอาจแสดงถึงกล้ามเนื้อหัวใจเสียหายซึ่งอาจดาเนินต่อไปเป็นกล้ามเนื้อหัวใจตายหรือเกิดการ ฉีกเซาะของผนังหลอดเลือดแดงใหญ่เอออร์ตา อาการหายใจลาบาก ไอ เสมหะมีเลือดปนเป็นอาการแสดงของปอดบวมน้า (pulmonary edema) เนื่องจากหัวใจห้องล่างซ้ายล้มเหลว กล่าวคือหัวใจห้องล่างซ้ายไม่สามารถสูบฉีดเลือดจากปอดไปยังระบบหลอ ดเลือดแดงได้เพียงพออาจเกิดไตเสียหายเฉียบพลัน และโลหิตจางจากเม็ดเลือดแดงแตกชนิดไมโครแองจีโอพา ติก (การทาลายเม็ดเลือดแดงชนิดหนึ่ง) เมื่อเกิดภาวะนี้จาเป็นต้องรีบลดความดันโลหิตเพื่อหยุดยั้งความเสียห ายของอวัยวะเป้าหมาย ในทางตรงข้ามหากผู้ป่วยมีความดันโลหิตสูงกว่า 180/100 มิลลิเมตรปรอทแต่ไม่พบความเสียหายของอวัยวะเป้าหมายจะเรียกภาวะนี้ว่า ความดันโลหิตสูงเร่งด่วน (hyper tensive urgency)
  • 6. 6 ยังไม่มีหลักฐานยืนยันถึงความจาเป็นต้องรีบลดความดันโลหิตในผู้ป่วยกลุ่มนี้หากไม่มีการทาลายอวัยวะ และการลดความดันโลหิตอย่างรวดเร็วก็ไม่ได้ปราศจากความเสี่ยงในภาวะนี้สามารถค่อยๆ ลดความดันโลหิตลงด้วยยาลดความดันชนิดรับประทานให้กลับสู่ระดับปกติใน 24 ถึง 48 ชั่วโมง ในสตรีตั้งครรภ์ สตรีตั้งครรภ์มีภาวะความดันโลหิตสูงราวร้อยละ 8- 10หญิงที่มีความดันโลหิตสูงขณะตั้งครรภ์ส่วนใหญ่มักเป็นความดันโลหิตสูงปฐมภูมิอยู่ก่อนแล้ว ความดันโลหิตสูงในระหว่างตั้งครรภ์อาจเป็นอาการแสดงแรกของโรคพิษแห่งครรภ์ระยะก่อนชัก (pre- eclampsia) ซึ่งเป็นภาวะทางสูติศาสตร์ที่ร้ายแรง เกิดในช่วงครึ่งหลังของการตั้งครรภ์และระยะหลังคลอดโรคพิษแห่งครรภ์ระยะก่อนชักเป็นภาวะที่มีความดันโล หิตสูงและมีโปรตีนในปัสสาวะพบราวร้อยละ 5 ของการตั้งครรภ์ และเป็นสาเหตุราวร้อยละ 16 ของการเสียชีวิตของมารดาทั่วโลก โรคพิษแห่งครรภ์ระยะก่อนชักเพิ่มความเสี่ยงของการตายปริกาเนิดเป็นสอง เท่า โดยทั่วไปแล้วโรคนี้ไม่มีอาการและตรวจพบได้จากการฝากครรภ์เป็นประจา อาการของโรคนี้ที่พบได้บ่อยคือปวดศีรษะ ตาพร่ามัว (มักเห็นแสงวูบวาบ) ปวดจุกแน่นลิ้นปี่ และบวม โรคพิษแห่งครรภ์ระยะก่อนชักบางครั้งจะดาเนินต่อไปเป็นโรคร้ายแรงถึงแก่ชีวิตเรียกว่าโรคพิษแห่งครรภ์ระยะ ชัก (eclampsia) ซึ่งมีภาวะความดันโลหิตสูงฉุกเฉินร่วมกับภาวะแทรกซ้อนรุนแรงหลายอย่างเช่นมองภาพไม่เห็น สมองบวม ชั ก ไตวาย ปอดบวมน้า และมีภาวะเลือดแข็งตัวในหลอดเลือดแบบแพร่กระจาย (disseminated intravascular coagulation; ความผิดปกติของการแข็งตัวของเลือดอย่างหนึ่ง) ในทารกและเด็ก ความดันโลหิตสูงในทารกแรกเกิดและทารกอาจมาด้วยเลี้ยงไม่โต ชัก งอแงร้องกวน ง่วงซึม และหายใจลาบาก ความดันโลหิตสูงในเด็กอาจทาให้ปวดศีรษะ อ่อนล้า เลี้ยงไม่โต มองภาพไม่ชัด เลือดกาเดาออก และใบหน้าเป็ นอัมพาต วิธีรักษา โรคความดันโลหิตสูงเป็นโรคเรื้อรัง ซึ่งหมายถึงเป็นโรคที่รักษาให้หายยาก แต่สามารถรักษาควบคุมได้เสมอเมื่อรักษาควบคุมอาการตั้งแต่แรก ปฏิบัติตามแพทย์ พยาบาลแนะนา และกินยาอย่างถูกต้อง ครบถ้วน ไม่ขาดยา แต่ถ้า ดูแล รักษา ควบคุมโรคได้ไม่ดี ผลข้างเคียงที่เกิดขึ้นมักรุนแรง เช่น โรคหลอดเลือดหัวใจ โรคหลอดเลือดสมอง โรคไตเรื้อรัง ซึ่งส่งผลถึงความพิการและเสียชีวิตได้ นอกจากนั้นคือ โรคหลอดเลือดของจอตา และของประสาทตาซึ่งอาจส่งผลให้ตาบอดได้ อนึ่ง โรคความดันโลหิตสูงแบ่งตามความรุนแรงของโรค (ตามความดันโลหิต) จากรุนแรงน้อยไปหามาก ได้ดังนี้้ - ความดันโลหิตในผู้มีแนวโน้มจะเป็นโรคความดันโลหิตสูง คือ 120-139/80-89 มม.ปรอท (แนวทางการรักษา คือการปรับพฤติกรรมการใช้ชีวิต ทั้งนี้แพทย์มักยังไม่ให้ลดความดันโลหิต) - โรคความดันโลหิตสูงระยะ 1 คือ ความดันโลหิตอยู่ในช่วง 140-159/90-99 มม.ปรอท
  • 7. 7 - โรคความดันโลหิตสูงระยะ 2 คือ ความดันโลหิตตั้งแต่ 160/100 มม.ปรอทขึ้นไป - โรคความดันโลหิตสูงที่ต้องพบแพทย์ใน 24 ชั่วโมง คือ ความดันโลหิตสูงตั้งแต่ 180/110 มม.ปรอทขึ้นไป เพราะอาจเป็นอันตรายถึงชีวิตได้ อาจจากโรคหัวใจ สมอง ไต ล้มเหลว - โรคความดันโลหิตสูงที่ต้องพบแพทย์ฉุกเฉิน คือ ความดันโลหิตสูงตั้งแต่ 220/140 มม.ปรอทขึ้นไป เพราะเป็นอันตรายถึงชีวิตได้ จากการทางานล้มเหลวของอวัยวะสาคัญต่างๆ เช่น หัวใจ สมอง และไต การป้องกัน เนื่องจากภาระโรคจากความดันโลหิตสูงพบมากในผู้ป่วยที่ไม่ทราบว่าเป็นความดันโลหิตสูง ดังนั้นกลยุทธ์ประชากรจึงจาเป็นต้องลดผลที่ตามมาจากความดันโลหิตสูงและลดความจาเป็นในการรักษาด้วย ยาลดความดันโลหิตแนะนาให้ลดความดันเลือดด้วยการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมก่อนเริ่มการรักษาด้วยยา ทั้งแนวทางเวชปฏิบัติของสมาคมความดันโลหิตสูงสหราชอาณาจักร ค.ศ. 2004 (BHS IV) โปรแกรมการให้การศึกษาผู้ป่วยความดันโลหิตสูงแห่งชาติสหรัฐอเมริกา ค.ศ. 2002และแนวทางการรักษาของสมาคมความดันโลหิตสูงแห่งประเทศไทย (พ.ศ. 2555) แนะนาให้ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเพื่อป้องกันความดันโลหิตสูงด้วยวิธีดังนี้ - ควบคุมน้าหนักให้เป็นปกติในผู้ใหญ่ (ให้ดัชนีมวลกายอยู่ที่ 18.5-23 กิโลกรัม/ตารางเมตร) - จากัดโซเดียมในอาหารให้น้อยกว่า 100 มิลลิโมลต่อวัน (น้อยกว่า 6 กรัมของโซเดียมคลอไรด์ต่อวัน หรือน้อยกว่า 2.4 กรัมของโซเดียมต่อวัน) - ออกกาลังกายชนิดแอโรบิกอย่างสม่าเสมอ เช่นการเดินเร็วๆ อย่างน้อย 30 นาทีต่อวัน เกือบทุกวันในสัปดาห์ - ลดการดื่มแอลกอฮอล์ ไม่เกิน 2 drink/วันในผู้ชาย และไม่เกิน 1 drink/วันในผู้หญิง (1 drink เทียบเท่ากับสุรา (40%) 44 มิลลิลิตร, เบียร์ (5%) 355 มิลลิลิตร หรือไวน์ (12%) 148 มิลลิลิตร) - รับประทานผักและผลไม้มากๆ (อย่างน้อย 5 ส่วนต่อวัน) การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมอย่างมีประสิทธิภาพสามารถลดความดันโลหิตได้เทียบเท่ากับการใช้ยาลดความดันโ ลหิต การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมร่วมกันตั้งแต่สองอย่างขึ้นไปจะยิ่งให้ผลที่ดีมากขึ้น วิธีดาเนินงาน แนวทางการดาเนินงาน ___________________________________________________________________ ___________________________________________________________________ เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้ ___________________________________________________________________ ___________________________________________________________________ ___________________________________________________________________
  • 8. 8 งบประมาณ ___________________________________________________________________ ___________________________________________________________________ ___________________________________________________________________ __________________________________________________________________ ___________________________________________________________________ ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน ลาดั บ ที่ ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอ บ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 1 0 1 1 12 1 3 1 4 1 5 16 17 1 คิดหัวข้อโครงงาน 2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล 3 จัดทาโครงร่างงาน 4 ปฏิบัติการสร้างโครงงาน 5 ปรับปรุงทดสอบ 6 การทาเอกสารรายงาน 7 ประเมินผลงาน 8 นาเสนอโครงงาน ผลที่คาดว่าจะได้รับ (ผลลัพธ์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดการทาโครงงาน) _________________________________________________________________________
  • 9. 9 _________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________ สถานที่ดาเนินการ _________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________ กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง _________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________ แหล่งอ้างอิง (เอกสาร หรือแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ที่นามาใช้การทาโครงงาน) http://haamor.com/th/%E0%B8%84%E0%B8%A7%E0%B8%B2%E0%B8%A1%E0%B8%94%E0%B8 %B1%E0%B8%99%E0%B9%82%E0%B8%A5%E0%B8%AB%E0%B8%B4%E0%B8%95%E0%B8%A A%E0%B8%B9%E0%B8%87/#article106 http://siamhealth.net/public_html/Disease/heart_disease/Hypertension/index.htm https://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%84%E0%B8%A7%E0%B8%B2%E0%B8%A1%E0%B8%94%E0 %B8%B1%E0%B8%99%E0%B9%82%E0%B8%A5%E0%B8%AB%E0%B8%B4%E0%B8%95%E0%B 8%AA%E0%B8%B9%E0%B8%87