SlideShare a Scribd company logo
1 of 10
Download to read offline
1
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
รหัสวิชา ง33201-33202 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 6
ปีการศึกษา 2560
ชื่อโครงงาน หัวใจลอยได้เพราะบอลลูนจริงหรือไม่?
ชื่อผู้ทาโครงงาน
นางสาว ชญาณิศ แก้วจันทร์กมล เลขที่ 7 ชั้น 6 ห้อง 13
ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงานร่วม คุณครู สมจิต
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2560
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
2
ใบงาน
การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
สมาชิกในกลุ่ม
1. นางสาว ชญาณิศ แก้วจันทร์กมล เลขที่ 7
คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้
ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย)
หัวใจลอยได้เพราะบอลลูนจริงหรือไม่?
ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ)
How coronary angioplasty is carried out
ประเภทโครงงาน สื่อพัฒนาเพื่อการศึกษา
ชื่อผู้ทาโครงงาน นางสาว ชญาณิศ แก้วจันทร์กมล
ชื่อที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ชื่อที่ปรึกษาร่วม คุณครู สมจิต
ระยะเวลาดาเนินงาน เทอมที่ 1-2
ที่มาและความสาคัญของโครงงาน(อธิบายถึงที่มา แนวคิด และเหตุผล ของการทาโครงงาน)
ปัจจุบันคนไทยกาลังเผชิญกับปัญหาโรคหัวใจขาดเลือดหรือที่เรียกว่าโรคหัวใจตีบ เป็นอาการหลักของ
โรคหัวใจในคนกลุ่มปัจจุบันมากยิ่งขึ้นทุกวัน ปัจจุบันที่เทคนิคทางวิทยาศาสตร์ที่เรียกว่าการรักษาโดยการทา
บอลลูนหัวใจ การใส่สายสวนหลอดเลือดหัวใจ เป็นการช่วยไม่ให้หลอดเลือดอุดตัน ทาให้เลือดไหลได้สะดวก
ยิ่งขึ้น หลอดเลือดหัวใจคือหลอดเลือดที่เลี้ยงกล้ามเนื้อหัวใจ เมื่อเวลาผ่านไปไขมันในหลอดเลือดเกาะตัวกันทาให้
หลอดเลือดแคบลงซึ่งเรียกว่าหลอดเลือดตีบ ปริมาณเลือดและออกซิเจนที่ไปเลี้ยงกล้ามเนื้อหัวใจจึงได้ลดลง อาจ
ทาให้เกิดอาการเจ็บหน้าอกได้การใส่สายสวนหลอดเลือดหัวใจเป็นการเปิดทางเส้นเลือดที่แคบให้เลือดไหลได้
สะดวกมากขึ้น เพื่อที่จะนาเลือดและออกซิเจนไปเลี้ยงกล้ามเนื้อหัวใจได้อย่างเพียงพอ ในระหว่างขั้นตอนการทา
แพทย์จะใส่บอลลูนเล็กๆ และใส่ขดลวดเพื่อให้หลอดเลือดเปิด ดังนั้นผู้จัดทาโครงงานจึงเห็นถึงความสาคัญของ
โรคหัวใจหรือหลอดเลือดหัวใจตีบที่พบได้กับคนทุกเพศทุกวัยจริงๆ ให้ตระหนักถึงความสาคัญของการรักษาที่
ทันท่วงที การดูแลผู้ป่วย ผลข้างเคียงการทา โดยเฉพาะคนที่ที่กาลังเข้าสู่สังคมที่โรคร้ายแรง 5 โรคหลักกาลังทาลาย
ความสุขของพวกเรา
3
วัตถุประสงค์ (สิ่งที่ต้องการในการทาโครงงาน ระบุเป็นข้อ)
1. เพื่อให้ตระหนักถึงโรคหัวใจที่ทุกคนสามารถเป็นได้
2. เพื่อให้ทุกคนรู้ที่มาของโรคหัวใจ
3. เพื่อให้ทุกคนสามารถทาความเข้าใจและรักษาได้ทันเวลา
ขอบเขตโครงงาน(คุณลักษณะ ขอบเขต เงื่อนไขและข้อจากัดของการทาโครงงาน)
1. ที่มาของโรคหัวใจตีบ
2. การใส่สายสวนหลอดเลือดหัวใจ
3. ทางเลือกอื่น ๆ ในการรักษาที่ไม่ต้องใส่สายสวนหลอดเลือดหัวใจ
4. การเตรียมความพร้อมสาหรับการใส่สายสวนหลอดเลือดหัวใจ
5. สิ่งที่เกิดขึ้นระหว่างการใส่สายสวนหลอดเลือดหัวใจ
6. ทาบอลลูนหัวใจ ค่าใช้จ่ายสูงไหม เบิกประกันสังคมได้หรือไม่
หลักการและทฤษฎี(ความรู้ หลักการ หรือทฤษฎีที่สนับสนุนการทาโครงงาน)
โครงงาน การใส่สายสวนหลอดเลือดหัวใจ (การทาบอลลูน)
การใส่สายสวนหลอดเลือดหัวใจ�
การใส่สายสวนหลอดเลือดหัวใจ ( Coronary angioplasty) เป็นการช่วยไม่ให้หลอดเลือดอุดตัน ทาให้เลือด
ไหลได้สะดวกยิ่งขึ้น หลอดเลือดหัวใจคือหลอดเลือดที่เลี้ยงกล้ามเนื้อหัวใจ เมื่อเวลาผ่านไปไขมันในหลอดเลือด
เกาะตัวกันทาให้หลอดเลือดแคบลงซึ่งเรียกว่าหลอดเลือดตีบ ปริมาณเลือดและออกซิเจนที่ไปเลี้ยงกล้ามเนื้อหัวใจ
จึงลดลง อาจทาให้เกิดอาการเจ็บหน้าอกได้(angina) การใส่สายสวนหลอดเลือดหัวใจเป็นการเปิดทางเส้นเลือดที่
แคบให้เลือดไหลได้สะดวกมากขึ้นเพื่อที่จะนาเลือดและออกซิเจนไปเลี้ยงกล้ามเนื้อหัวใจได้อย่างเพียงพอ ใน
ระหว่างขั้นตอนการทาแพทย์จะใส่บอลลูนเล็กๆ และใส่ขดลวดเพื่อให้หลอดเลือดเปิด
☀ ทางเลือกอื่น ๆ ในการรักษาที่ไม่ต้องใส่สายสวนหลอดเลือดหัวใจ
หากมีอาการเจ็บหน้าอกเป็นประจา เช่นเมื่อออกกาลังกาย ควบคุมอาการโดยการใช้ยาและการเปลี่ยนแปลงวิถีใน
การดาเนินชีวิตประจาวัน โดยการออกกาลังกายแบบหลากหลายวิธี หยุดสูบบุหรี่และลดน้าหนัก หากมีอาการเจ็บ
หน้าอกอย่างรุนแรงและคาดเดาไม่ได้หรือมีอาการหัวใจวาย แพทย์จะแนะนาให้ผ่าตัดทาทางเบี่ยงหลอดเลือดหัวใจ
(Coronary artery bypass graft, CABG) หรือเมื่อหลอดเลือดมีจุดแคบหลายจุดมากเกินไป หรือเมื่อหลอดเลือดไม่
เหมาะกับการใส่สายสวนขยายหลอดเลือดหัวใจ
☔ การเตรียมความพร้อมสาหรับการใส่สายสวนหลอดเลือดหัวใจ
4
งดสูบบุหรี่เพื่อลดความเสี่ยงของการปิดกั้นหลอดเลือดแดงและการที่ร่างกายกลับสู่สภาวะปกติได้ช้าลง หากเป็น
การสวนหัวใจที่มีการวางแผนไว้ก็สามารถกลับบ้านในวันเดียวกันได้แต่บางคนต้องพักค้างคืนในโรงพยาบาล 1
คืนก่อนกลับบ้าน การทาหัตถการชนิดนี้อาจจะทาภายใต้การให้ยาชาเฉพาะที่ซึ่งจะต้องฉีดยาชาเฉพาะที่บริเวณขา
หนีบหรือแขน ความรู้สึกในบริเวณนี้จะถูกบล็อกอย่างสมบูรณ์ ในช่วงระหว่างทาหัตถการจะรู้สึกตัว นอกจากนี้
อาจได้รับยากล่อมประสาทซึ่งจะช่วยให้ผ่อนคลาย ไม่กินหรือดื่มอะไรประมาณสี่ชั่วโมงก่อนทาหัตถการ ให้หยุด
ใช้ยาบางอย่างเช่น warfarin 1-2 วันก่อนที่จะทาหัตถการ พยาบาลจะตรวจสอบอัตราการเต้นของหัวใจ ความดัน
โลหิตและทดสอบปัสสาวะ โกนบริเวณขาหนีบบริเวณที่จะใส่เข็ม
☆ สิ่งที่เกิดขึ้นระหว่างการใส่สายสวนหลอดเลือดหัวใจ
จะต้องทาในห้องห้องปฏิบัติการ catheterization ใช้เวลาประมาณ 30 นาที หรือมากว่านี้ ขึ้นอยู่กับจานวนของ
หลอดเลือดแดงที่ต้องได้รับการรักษาอาจได้รับยา heparin ในระหว่างขั้นตอนการทาเพื่อช่วยหยุดการแข็งตัวของ
เลือด นอกจากนี้ยังอาจได้รับยาต้านเกล็ดเลือดเช่นแอสไพรินเพื่อช่วยให้เลือดไม่เหนียวเกินไปซึ่งจะช่วยลดความ
เสี่ยงของการเกิดลิ่มเลือดในผนังหลอดเลือดแดง
แพทย์จะทาการเปิดเส้นเลือดบริเวณขาหนีบหรือข้อมือแล้วใส่ท่อยึดไว้หลังจากนั้นจะใส่สายสวนเข้าไปในหลอด
เลือดแดงที่นาไปสู่หัวใจ เมื่อสายสวนอยู่ในตาแหน่งที่ต้องการแพทย์จะทาการฉีดสีเพื่อ x-ray ดูตาแหน่งที่อุดตัน
ของหลอดเลือด แพทย์จะใช้ภาพ X-ray ในการนาทางลวดนาลงในสายสวน เมื่อลวดนาผ่านพื้นที่แคบหรือถูกปิด
กั้นก็จะใส่บอลลูนขนาดเล็ก (โดยปกติเส้นผ่าศูนย์กลาง ประมาณ 2 ถึง 3 ซม.) ตามแนวลวดนาตลอดแนวพื้นที่ที่
ตีบหรืออุดตัน บอลลูนจะพองเบา ๆ เพื่อกดไขมันให้แบนลงลง ทาให้หลอดเลือดแดงกว้างขึ้นและช่วยให้เลือด
ไหลเวียนได้ง่ายขึ้น
แพทย์อาจฉีดสีลงสายสวนเพื่อตรวจสอบว่าเส้นเลือดแดงได้เปิดขึ้นมากน้อยเพียงใด ถ้าเปิดพอแล้วก็จะปล่อยลม
บอลลูนและนาบอลลูนพร้อมกับลวดนาและสายสวนออก ขณะที่บอลลูนพองตัวในหลอดเลือดแดงอาจจะมีอาการ
เจ็บหน้าอก ซึ่งอาการนี้จะดีขึ้นอย่างรวดเร็วเมื่อบอลลูนถูกปล่อยลมแล้ว แพทย์อาจใส่ขดลวดที่มีลักษณะหลอดลวด
ตาข่ายขนาดเล็กมากเพื่อให้หลอดเลือดที่ถูกขยายแล้วเปิดอยู่ตลอดหลังบอลลูนถูกเอาออกไป ขดลวดโลหะโดย
ปกติเป็นขดลวดโลหะเปล่า ในขณะที่บางอันมีการเคลือบยาและเรียกว่าขดลวดเคลือบยา ยาจะถูกปล่อยออกช้า ๆ
ลงในหลอดเลือดแดงเพื่อป้องกันการอุดกั้นอีกครั้ง เมื่อขั้นตอนเสร็จสิ้นการแพทย์จะเอาสายสวนหลอดเลือดแดง
ออก พยาบาลจะกดแน่นบนแผลประมาณ 20 นาทีเพื่อให้แน่ใจว่าหลอดเลือดแดงปิดและหยุดเลือดออกใด ๆ ปลั๊ก
คอลลาเจนหรืออุปกรณ์ที่คล้ายกันสามารถนามาใช้ในการปิดผนึกหลุมในหลอดเลือดแดง
🌅 สิ่งที่คาดหวังหลังจากนั้น
หลังจากสวนหัวใจจะต้องพักผ่อนสักครู่ พยาบาลจะวัดความดันโลหิตและชีพจรอย่างสม่าเสมอ และจะตรวจสอบ
บาดแผลเพื่อดูว่าเลือดยังไหลอยู่หรือไม่ หากดาเนินสวนหัวใจการผ่านขาหนีบจะต้องนอนหงายบนเตียงสองสาม
5
ชั่วโมง หากดาเนินการผ่านข้อมือก็จะสามารถที่จะลุกนั่งได้ไม่นาน จะต้องจัดให้มีคนพากลับบ้าน และควร
พยายามที่จะมีคนอยู่ด้วยตลอดสาหรับ 24 ชั่วโมงแรก
หากได้รับยาระงับความรู้สึก จะต้องไม่ขับรถ ไม่ดื่ม และลงนามในเอกสารทางกฎหมาย ภายใน 24 ชั่วโมงหลัง
จากนั้น
✨ การพักฟื้น
หากปวด สามารถใช้ยาแก้ปวดพาราเซตามอล (acetaminophen) หรือ ibuprofen ได้ เมื่อกลับบ้านตรวจสอบ
บาดแผลอย่างสม่าเสมอ อาจจะต้องมีช้าบาง แต่ถ้าอาการบวมพัฒนาไปพบแพทย์ทันที ถ้าแผลจะเริ่มมีเลือดออก กด
แผลให้แน่น และติดต่อโรงพยาบาลทันที
การพักฟื้นมักจะใช้เวลาประมาณหนึ่งสัปดาห์ แตกต่างกันระหว่างบุคคล ดังนั้นจึงเป็นสิ่งสาคัญที่จะปฏิบัติตาม
คาแนะนาของแพทย์
ไม่ควรยกของหนักสาหรับสัปดาห์แรกหลังจากสวนหัวใจ และไม่ขับรถอย่างน้อยหนึ่งสัปดาห์
🌍 ผลข้างเคียง
อาจจะมีอาการเจ็บหน้าอกบาง ๆ หรือรู้สึกไม่สบาย แจ้งให้แพทย์หรือพยาบาลหากเกิดเหตุการณ์นี้ อาจจะมีอาการ
ปวดหรือรอยช้าที่ใส่สายสวน
♑ ภาวะแทรกซ้อน
เลือดออกจากแผล เส้นเลือดที่รับการรักษาด้วยการใส่ขดลวดจะกลายเป็นแคบอีกครั้ง แพ้สีย้อมที่ใช้ในระหว่าง
ขั้นตอน หลอดเลือดหัวใจเส้นที่เพิ่งทาอาจจะกลายเป็นที่ถูกปิดกั้นอย่างสมบูรณ์ในระหว่างหรือหลังจาก ปลายของ
สายสวนอาจทาให้ก้อนเลือดหรือไขมันจากผนังของหลอดเลือดหลดซึ่งอาจปิดกั้นหลอดเลือดแดงนาไปสู่โรคหัวใจ
วายหรือโรคหลอดเลือดสมอง เส้นเลือดได้รับการปฏิบัติสามารถฉีกขาดในระหว่างขั้นตอน
🌜บอลลูนหัวใจ หนึ่งทางเลือกในการรักษาโรคหัวใจที่อยากให้มาทาความรู้จักการทาบอลลูนหัวใจกันสักหน่อย
การรักษาโรคหัวใจด้วยการทาบอลลูนหัวใจยังคงมีข้อสงสัยในประเด็นนี้อยู่มากมาย ไม่ว่าจะเป็นผลข้างเคียงจาก
การทาบอลลูนหัวใจ ค่าใช้จ่าย หรือบางคนก็สงสัยว่าการทาบอลลูนหัวใจจะอันตรายไหม งั้นวันนี้เรามาศึกษากัน
ดีกว่าค่ะว่า การทาบอลลูนหัวใจ คืออะไร และเป็นยังไงกันแน่
6
บอลลูนหัวใจ คืออะไร
การทาบอลลูนหัวใจ (percutaneous transluminal coronary Angioplasty :PTCA) หรือในภาษาอังกฤษอีกชื่อ
หนึ่งว่า Balloon angioplasty คือ กรรมวิธีที่ใช้เครื่องมือชิ้นเล็กที่มีบอลลูนติดอยู่ตรงปลายท่อเล็ก ๆ สอดเข้าไปผ่าน
เส้นเลือดใหญ่ที่บริเวณแขนหรือขา ซึ่งจะใช้การเอกซเรย์เป็นตัวนาทางเพื่อสอดท่อบอลลูนเข้าไปถึงหลอดเลือด
หัวใจที่ตีบแคบ และเมื่อหัวบอลลูนได้เข้าไปถึงจุดดังกล่าวแล้ว แพทย์จะทาการปล่อยลมให้บอลลูนพองตัวขึ้น
ส่งผลให้เส้นเลือดที่ตีบแคบขยายตัวกว้างขึ้น และในขณะเดียวกัน แพทย์ก็จะสอดโลหะที่เป็นลวด (stent) วางไว้ใน
ตาแหน่งเส้นเลือดที่ตีบแคบ เพื่อให้ตัวขดลวดกางออกทาหน้าที่เป็นโครงให้เส้นเลือดอยู่ในลักษณะขยายออก
ตลอดเวลา ซึ่งตัวขดลวดนี้จะอาบด้วยยา จึงสามารถลดอัตราการตีบตัวของเส้นเลือดได้อีกทางหนึ่ง
การทาบอลลูนหัวใจ เป็นวิธีรักษาโรคหัวใจชนิดไหนบ้างการทาบอลลูนหัวใจเป็นหนึ่งในทางเลือกรักษาโรคหัวใจ
ได้โดยจะใช้รักษาโรคหัวใจชนิดดังต่อไปนี้
1.โรคหลอดเลือดหัวใจตีบ
2.โรคลิ้นหัวใจตีบ
3.กล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด
ทาบอลลูนหัวใจ ค่าใช้จ่ายสูงไหม เบิกประกันสังคมได้หรือไม่
ในกรณีที่เป็นผู้ประกันตนและใช้สิทธิประกันสังคม สามารถเบิกจ่ายค่าทาบอลลูนหัวใจได้ตามจริง โดยไม่
เกิน 20,000 บาทต่อราย (ในกรณีรักษาโรคลิ้นหัวใจ โดยใช้สายบอลลูนผ่านทางผิวหนัง) และสาหรับการขยาย
หลอดเลือดหัวใจโดยการใช้บอลลูนอย่างเดียว สามารถเบิกค่าใช่จ่ายได้เท่าที่จ่ายจริงตามความจาเป็น แต่ไม่เกินครั้ง
ละ 30,000 บาทต่อราย และสามารถใช้สิทธิ์ได้ไม่เกิน 2 ครั้ง
ทว่าหากไม่มีสิทธิประกันสังคม การทาบอลลูนหัวใจจะมีค่าใช้จ่ายอยู่ที่ประมาณ 80,000-1,000,000 บาท
ขึ้นอยู่กับแต่ละโรงพยาบาล รวมทั้งอุปกรณ์ในการรักษา (ขดลวดธรรมดาหรือขวดลวดเคลือบตัวยา)
บอลลูนหัวใจ บัตรทองใช้ได้หรือเปล่า
สาหรับคนที่ถือบัตรทอง ก็สามารถเข้ารับการรักษาโดยการทาบอลลูนหัวใจได้เช่นกัน แต่ทั้งนี้ก็ต้องเข้ารับ
การรักษาในโรงพยาบาลที่ตัวเองถือสิทธิ์ ซึ่งหากทางโรงพยาบาลมีความพร้อมในการรักษาก็สามารถทาบอลลูน
หัวใจให้ได้ทว่าหากทางโรงพยาบาลไม่มีความพร้อมก็อาจต้องทาเรื่องขอส่งตัวผู้ป่วยไปยังโรงพยาบาลอื่นที่
สะดวกในการทาบอลลูนหัวใจต่อไป
บอลลูนหัวใจ อยู่ได้กี่ปี
7
การทาบอลลูนหัวใจเพื่อขยายหลอดเลือดหัวใจในแต่ละครั้ง หากไม่ได้ใส่ขดลวด (stent) ในกรณีนี้เส้นเลือด
อาจกลับไปตีบตันขึ้นได้ราว ๆ 30-40% ภายในระยะเวลา 6 เดือน แต่หากใส่ขดลวดเคลือบยาจะมีโอกาสหลอด
เลือดกลับไปตีบตันประมาณ 10% แต่ทั้งนี้ก็ขึ้นอยู่กับการดูแลตัวเองหลังทาบอลลูนหัวใจของผู้ป่วยเองด้วย
การทาบอลลูนหัวใจ อันตรายไหม
แม้การทาบอลลูนหัวใจจะเป็นทางเลือกของการรักษาโรคหลอดเลือดหัวใจตีบที่ง่าย สะดวก เพราะไม่ต้อง
ผ่าตัด และการทาบอลลูนหัวใจมีความเสี่ยงน้อยเพียง 1% แต่ก็ยังคงมีความเสี่ยงของการทาบอลลูนหัวใจอยู่บ้าง
โดยภาวะเสี่ยงของการทาบอลลูนหัวใจอาจมีดังต่อไปนี้
- แพ้สารทึบแสงที่แพทย์ทาการฉีดเข้าเส้นเลือดก่อนทาบอลลูนหัวใจ
- ผู้ป่วยเกิดภาวะเลือดออกและมีการอักเสบตรงบริเวณสอดสายบอลลูน
- เส้นเลือดที่แขน ขา บริเวณที่สอดสายบอลลูนเกิดการอุดตัน
- บางรายอาจเกิดภาวะหลอดเลือดหัวใจหรือกล้ามเนื้อหัวใจทะลุในระหว่างทาการสอดใส่ท่อบอลลูนเข้าไป
ในเส้นเลือด
อย่างไรก็ตาม การทาบอลลูนหัวใจภายใต้ความดูแลของแพทย์ผู้เชี่ยวชาญ ร่วมกับการปฏิบัติตัวตามที่แพทย์
แนะนา ก็จะช่วยลดความเสี่ยงดังกล่าวได้พอสมควรนะคะ
บอลลูนหัวใจ ผลข้างเคียงมีไหม
หากผู้ป่วยไม่มีอาการแทรกซ้อนดังกล่าว การทาบอลลูนหัวใจอาจไม่มีผลข้างเคียงที่น่ากังวลสักเท่าไร และ
การทาบอลลูนหัวใจยังใช้เวลาพักฟื้นเพียง 1-2 วัน และหากร่างกายหลังทาบอลลูนหัวใจไม่มีความผิดปกติที่น่าเป็น
ห่วง ผู้ป่วยก็สามารถกลับไปใช้ชีวิตตามปกติได้
การปฏิบัติตัวหลังทาบอลลูนหัวใจ
1. ผู้ป่วยไม่ควรลุกจากเตียง และไม่งอแขนหรือขาด้านที่แทงเส้นเลือดเป็นเวลาอย่างน้อย 6 ชั่วโมง
2. หากพบว่าบริเวณที่แทงเส้นเลือดบวม หรือขาข้างที่แทงเส้นเลือดซีดหรือเย็นกว่าปกติ ควรแจ้งให้พยาบาล
ทราบ
3. ถ้าผู้ป่วยรู้สึกตัวดี ไม่มีอาการคลื่นไส้อาเจียน ให้รับประทานอาหารได้ตามความเหมาะสม
4. ถ้าปวดแผล สามารถรับประทานยาแก้ปวดได้
5. ในระยะแรก การทากิจวัตรประจาวันอาจทาไห้เหนื่อยได้ดังนั้นควรพักผ่อนครั้งละ 20-30 นาที วันละ 2
ครั้งในเวลากลางวัน ไม่จาเป็นต้องนอนพักแค่นั่งพักก็เพียงพอ และพยายามนอนหลับให้ได้8-10 ชั่วโมงต่อวัน
6. ควรหลีกเลี่ยงอาหารคอเลสเตอรอลสูง เช่น ไข่แดง เครื่องในสัตว์อาหารทะเล เป็นต้น
7. ควรงดชา กาแฟ และน้าอัดลม เครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์และควรงดสูบบุหรี่
8
8. หลีกเลี่ยงอาหารที่ทาให้น้าตาลในเลือดสูง เช่น ข้าวเหนียวทุเรียน ทองหยิบ ทองหยอด ทุเรียน ลาไย เป็น
ต้น
9. ถ้าต้องใช้น้ามันปรุงอาหารควรเลือกใช้น้ามันพืชแทนเนยหรือน้ามันจากสัตว์หรือให้วิธีลวก ต้ม นึ่ง และ
อบแทนการทอด
10. ควรรับประทานผักทุกชนิด และผลไม้ที่ไม่มีรสหวานจัด เช่น มะละกอ พุทรา แอปเปิล ฝรั่ง เป็นต้น
11. ในระยะ 6 เดือนแรก เป็นช่วงสาคัญ ผู้ป่วยควรกินยาและปฏิบัติตัวตามที่แพทย์สั่งอย่างเคร่งครัด รวมทั้ง
ไปพบหมอตามนัดอย่าให้ขาด
การทาบอลลูนหัวใจกับการทาบายพาสต่างกันอย่างไร
นอกจากการทาบอลลูนหัวใจแล้ว การรักษาโรคหลอดเลือดหัวใจตีบสามารถรักษาได้ด้วยการทาบายพาส ซึ่ง
การทาบอลลูนหัวใจจะมีข้อดีตรงที่ทาง่ายกว่า ไม่ต้องผ่าตัด ค่าใช้จ่ายน้อยกว่าการทาบายพาส ใช้เวลาพักฟื้นสั้นกว่า
และมีผลข้างเคียงน้อยกว่า ทว่าการทาบอลลูนหัวใจอาจกลับมามีอาการซ้าได้อีก
ส่วนการทาบายพาสมีขั้นตอนยุ่งยากกว่า ค่ารักษาสูงกว่า พักฟื้นนานกว่า และผลข้างเคียงในการรักษา
มากกว่า แต่โอกาสกลับมาป่วยซ้าก็น้อยกว่า
วิธีดาเนินงาน
แนวทางการดาเนินงาน
___________________________________________________________________
___________________________________________________________________
เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้
___________________________________________________________________
___________________________________________________________________
___________________________________________________________________
งบประมาณ
___________________________________________________________________
___________________________________________________________________
___________________________________________________________________
__________________________________________________________________
___________________________________________________________________
9
ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน
ลาดับ
ที่
ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17
1 คิดหัวข้อโครงงาน
2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล
3 จัดทาโครงร่างงาน
4 ปฏิบัติการสร้างโครงงาน
5 ปรับปรุงทดสอบ
6 การทาเอกสารรายงาน
7 ประเมินผลงาน
8 นาเสนอโครงงาน
ผลที่คาดว่าจะได้รับ (ผลลัพธ์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดการทาโครงงาน)
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
สถานที่ดาเนินการ
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
10
กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
แหล่งอ้างอิง (เอกสาร หรือแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ที่นามาใช้การทาโครงงาน)
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________

More Related Content

What's hot

แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์bamhattamanee
 
ใบงานที่ 5 โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ไข้เลือดออก
ใบงานที่ 5 โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ไข้เลือดออกใบงานที่ 5 โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ไข้เลือดออก
ใบงานที่ 5 โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ไข้เลือดออกselenagomezz
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์Boonyarat Thongyoung
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์Boonyarat Thongyoung
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์Boonyarat Thongyoung
 
มะพร้าวลดน้ำหนัก
มะพร้าวลดน้ำหนักมะพร้าวลดน้ำหนัก
มะพร้าวลดน้ำหนักWi Nit
 
2561 project07
2561 project07 2561 project07
2561 project07 PPhumin
 
2562 final-project 255555
2562 final-project 2555552562 final-project 255555
2562 final-project 255555Mai Lovelove
 
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ งานคู่
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ งานคู่โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ งานคู่
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ งานคู่ทาม ได้ไหมดาว
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project dreamee
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์Polly Rockheels
 

What's hot (14)

แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
ใบงานที่ 5 โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ไข้เลือดออก
ใบงานที่ 5 โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ไข้เลือดออกใบงานที่ 5 โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ไข้เลือดออก
ใบงานที่ 5 โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ไข้เลือดออก
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
2561 project (1)
2561 project  (1)2561 project  (1)
2561 project (1)
 
มะพร้าวลดน้ำหนัก
มะพร้าวลดน้ำหนักมะพร้าวลดน้ำหนัก
มะพร้าวลดน้ำหนัก
 
2561 project07
2561 project07 2561 project07
2561 project07
 
2562 final-project 255555
2562 final-project 2555552562 final-project 255555
2562 final-project 255555
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
 
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ งานคู่
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ งานคู่โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ งานคู่
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ งานคู่
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
2560 project 20
2560 project 202560 project 20
2560 project 20
 

Similar to บอลลูนหัวใจ2560 project

Project com
Project comProject com
Project comWuLizhu
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์2793233922
 
ใบงานที่ 4
ใบงานที่ 4ใบงานที่ 4
ใบงานที่ 4cardphone
 
2561 project-16
2561 project-162561 project-16
2561 project-16asirwa04
 
เห็ดหลินจือแดงต้านมะเร็ง
เห็ดหลินจือแดงต้านมะเร็งเห็ดหลินจือแดงต้านมะเร็ง
เห็ดหลินจือแดงต้านมะเร็ง0910797083
 
เห็ดหลินจือแดงต้านมะเร็ง
เห็ดหลินจือแดงต้านมะเร็งเห็ดหลินจือแดงต้านมะเร็ง
เห็ดหลินจือแดงต้านมะเร็ง0910797083
 
อภิสิทธิ์ ดวงแสง
อภิสิทธิ์ ดวงแสงอภิสิทธิ์ ดวงแสง
อภิสิทธิ์ ดวงแสงapisitpai
 
โครงงานคู่เห็ดหลินจือแดงต้านมะเร็ง
โครงงานคู่เห็ดหลินจือแดงต้านมะเร็งโครงงานคู่เห็ดหลินจือแดงต้านมะเร็ง
โครงงานคู่เห็ดหลินจือแดงต้านมะเร็ง0910797083
 
โรคไมเกรน
โรคไมเกรนโรคไมเกรน
โรคไมเกรนotakublack1
 
แบบโครงงาน Primrata
แบบโครงงาน Primrataแบบโครงงาน Primrata
แบบโครงงาน Primratachayanit kaewjankamol
 
งานชิ้นที่5
งานชิ้นที่5งานชิ้นที่5
งานชิ้นที่5hazama02
 
2560 project fewnew22
2560 project fewnew222560 project fewnew22
2560 project fewnew22Aom Nachanok
 
เห็ดหลินจือแดงต้านมะเร็ง
เห็ดหลินจือแดงต้านมะเร็งเห็ดหลินจือแดงต้านมะเร็ง
เห็ดหลินจือแดงต้านมะเร็ง0910797083
 
2561 project sirithip
2561 project  sirithip2561 project  sirithip
2561 project sirithipNewTF
 

Similar to บอลลูนหัวใจ2560 project (20)

2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
 
Project com
Project comProject com
Project com
 
Diabetes
DiabetesDiabetes
Diabetes
 
Diabetes
DiabetesDiabetes
Diabetes
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
ใบงานที่ 4
ใบงานที่ 4ใบงานที่ 4
ใบงานที่ 4
 
Yoga
YogaYoga
Yoga
 
2561 project-16
2561 project-162561 project-16
2561 project-16
 
เห็ดหลินจือแดงต้านมะเร็ง
เห็ดหลินจือแดงต้านมะเร็งเห็ดหลินจือแดงต้านมะเร็ง
เห็ดหลินจือแดงต้านมะเร็ง
 
เห็ดหลินจือแดงต้านมะเร็ง
เห็ดหลินจือแดงต้านมะเร็งเห็ดหลินจือแดงต้านมะเร็ง
เห็ดหลินจือแดงต้านมะเร็ง
 
อภิสิทธิ์ ดวงแสง
อภิสิทธิ์ ดวงแสงอภิสิทธิ์ ดวงแสง
อภิสิทธิ์ ดวงแสง
 
โครงงานคู่เห็ดหลินจือแดงต้านมะเร็ง
โครงงานคู่เห็ดหลินจือแดงต้านมะเร็งโครงงานคู่เห็ดหลินจือแดงต้านมะเร็ง
โครงงานคู่เห็ดหลินจือแดงต้านมะเร็ง
 
โรคไมเกรน
โรคไมเกรนโรคไมเกรน
โรคไมเกรน
 
แบบโครงงาน Primrata
แบบโครงงาน Primrataแบบโครงงาน Primrata
แบบโครงงาน Primrata
 
งานชิ้นที่5
งานชิ้นที่5งานชิ้นที่5
งานชิ้นที่5
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
 
2560 project fewnew22
2560 project fewnew222560 project fewnew22
2560 project fewnew22
 
2560 project .doc2
2560 project .doc22560 project .doc2
2560 project .doc2
 
เห็ดหลินจือแดงต้านมะเร็ง
เห็ดหลินจือแดงต้านมะเร็งเห็ดหลินจือแดงต้านมะเร็ง
เห็ดหลินจือแดงต้านมะเร็ง
 
2561 project sirithip
2561 project  sirithip2561 project  sirithip
2561 project sirithip
 

More from chayanit kaewjankamol

ขั้นตอนการทำโครงงานคอมพิวเตอร์
ขั้นตอนการทำโครงงานคอมพิวเตอร์ขั้นตอนการทำโครงงานคอมพิวเตอร์
ขั้นตอนการทำโครงงานคอมพิวเตอร์chayanit kaewjankamol
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์chayanit kaewjankamol
 
พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ฉบับ 2560
พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ฉบับ 2560พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ฉบับ 2560
พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ฉบับ 2560chayanit kaewjankamol
 
1 ใบงานสำรวจตนเอง m6
1 ใบงานสำรวจตนเอง m61 ใบงานสำรวจตนเอง m6
1 ใบงานสำรวจตนเอง m6chayanit kaewjankamol
 
ใบงานสำรวจตนเอง M6 (1)
ใบงานสำรวจตนเอง M6 (1)ใบงานสำรวจตนเอง M6 (1)
ใบงานสำรวจตนเอง M6 (1)chayanit kaewjankamol
 
ใบงานสำรวจตนเอง M6
ใบงานสำรวจตนเอง M6ใบงานสำรวจตนเอง M6
ใบงานสำรวจตนเอง M6chayanit kaewjankamol
 

More from chayanit kaewjankamol (8)

ขั้นตอนการทำโครงงานคอมพิวเตอร์
ขั้นตอนการทำโครงงานคอมพิวเตอร์ขั้นตอนการทำโครงงานคอมพิวเตอร์
ขั้นตอนการทำโครงงานคอมพิวเตอร์
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
TCAS
TCASTCAS
TCAS
 
พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ฉบับ 2560
พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ฉบับ 2560พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ฉบับ 2560
พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ฉบับ 2560
 
1 ใบงานสำรวจตนเอง m6
1 ใบงานสำรวจตนเอง m61 ใบงานสำรวจตนเอง m6
1 ใบงานสำรวจตนเอง m6
 
ใบงานสำรวจตนเอง M6 (1)
ใบงานสำรวจตนเอง M6 (1)ใบงานสำรวจตนเอง M6 (1)
ใบงานสำรวจตนเอง M6 (1)
 
ใบงานสำรวจตนเอง M6
ใบงานสำรวจตนเอง M6ใบงานสำรวจตนเอง M6
ใบงานสำรวจตนเอง M6
 
ใบงาน ที่ 1
ใบงาน ที่ 1ใบงาน ที่ 1
ใบงาน ที่ 1
 

บอลลูนหัวใจ2560 project

  • 1. 1 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ รหัสวิชา ง33201-33202 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 6 ปีการศึกษา 2560 ชื่อโครงงาน หัวใจลอยได้เพราะบอลลูนจริงหรือไม่? ชื่อผู้ทาโครงงาน นางสาว ชญาณิศ แก้วจันทร์กมล เลขที่ 7 ชั้น 6 ห้อง 13 ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงานร่วม คุณครู สมจิต ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2560 โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
  • 2. 2 ใบงาน การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์ สมาชิกในกลุ่ม 1. นางสาว ชญาณิศ แก้วจันทร์กมล เลขที่ 7 คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้ ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย) หัวใจลอยได้เพราะบอลลูนจริงหรือไม่? ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ) How coronary angioplasty is carried out ประเภทโครงงาน สื่อพัฒนาเพื่อการศึกษา ชื่อผู้ทาโครงงาน นางสาว ชญาณิศ แก้วจันทร์กมล ชื่อที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ชื่อที่ปรึกษาร่วม คุณครู สมจิต ระยะเวลาดาเนินงาน เทอมที่ 1-2 ที่มาและความสาคัญของโครงงาน(อธิบายถึงที่มา แนวคิด และเหตุผล ของการทาโครงงาน) ปัจจุบันคนไทยกาลังเผชิญกับปัญหาโรคหัวใจขาดเลือดหรือที่เรียกว่าโรคหัวใจตีบ เป็นอาการหลักของ โรคหัวใจในคนกลุ่มปัจจุบันมากยิ่งขึ้นทุกวัน ปัจจุบันที่เทคนิคทางวิทยาศาสตร์ที่เรียกว่าการรักษาโดยการทา บอลลูนหัวใจ การใส่สายสวนหลอดเลือดหัวใจ เป็นการช่วยไม่ให้หลอดเลือดอุดตัน ทาให้เลือดไหลได้สะดวก ยิ่งขึ้น หลอดเลือดหัวใจคือหลอดเลือดที่เลี้ยงกล้ามเนื้อหัวใจ เมื่อเวลาผ่านไปไขมันในหลอดเลือดเกาะตัวกันทาให้ หลอดเลือดแคบลงซึ่งเรียกว่าหลอดเลือดตีบ ปริมาณเลือดและออกซิเจนที่ไปเลี้ยงกล้ามเนื้อหัวใจจึงได้ลดลง อาจ ทาให้เกิดอาการเจ็บหน้าอกได้การใส่สายสวนหลอดเลือดหัวใจเป็นการเปิดทางเส้นเลือดที่แคบให้เลือดไหลได้ สะดวกมากขึ้น เพื่อที่จะนาเลือดและออกซิเจนไปเลี้ยงกล้ามเนื้อหัวใจได้อย่างเพียงพอ ในระหว่างขั้นตอนการทา แพทย์จะใส่บอลลูนเล็กๆ และใส่ขดลวดเพื่อให้หลอดเลือดเปิด ดังนั้นผู้จัดทาโครงงานจึงเห็นถึงความสาคัญของ โรคหัวใจหรือหลอดเลือดหัวใจตีบที่พบได้กับคนทุกเพศทุกวัยจริงๆ ให้ตระหนักถึงความสาคัญของการรักษาที่ ทันท่วงที การดูแลผู้ป่วย ผลข้างเคียงการทา โดยเฉพาะคนที่ที่กาลังเข้าสู่สังคมที่โรคร้ายแรง 5 โรคหลักกาลังทาลาย ความสุขของพวกเรา
  • 3. 3 วัตถุประสงค์ (สิ่งที่ต้องการในการทาโครงงาน ระบุเป็นข้อ) 1. เพื่อให้ตระหนักถึงโรคหัวใจที่ทุกคนสามารถเป็นได้ 2. เพื่อให้ทุกคนรู้ที่มาของโรคหัวใจ 3. เพื่อให้ทุกคนสามารถทาความเข้าใจและรักษาได้ทันเวลา ขอบเขตโครงงาน(คุณลักษณะ ขอบเขต เงื่อนไขและข้อจากัดของการทาโครงงาน) 1. ที่มาของโรคหัวใจตีบ 2. การใส่สายสวนหลอดเลือดหัวใจ 3. ทางเลือกอื่น ๆ ในการรักษาที่ไม่ต้องใส่สายสวนหลอดเลือดหัวใจ 4. การเตรียมความพร้อมสาหรับการใส่สายสวนหลอดเลือดหัวใจ 5. สิ่งที่เกิดขึ้นระหว่างการใส่สายสวนหลอดเลือดหัวใจ 6. ทาบอลลูนหัวใจ ค่าใช้จ่ายสูงไหม เบิกประกันสังคมได้หรือไม่ หลักการและทฤษฎี(ความรู้ หลักการ หรือทฤษฎีที่สนับสนุนการทาโครงงาน) โครงงาน การใส่สายสวนหลอดเลือดหัวใจ (การทาบอลลูน) การใส่สายสวนหลอดเลือดหัวใจ� การใส่สายสวนหลอดเลือดหัวใจ ( Coronary angioplasty) เป็นการช่วยไม่ให้หลอดเลือดอุดตัน ทาให้เลือด ไหลได้สะดวกยิ่งขึ้น หลอดเลือดหัวใจคือหลอดเลือดที่เลี้ยงกล้ามเนื้อหัวใจ เมื่อเวลาผ่านไปไขมันในหลอดเลือด เกาะตัวกันทาให้หลอดเลือดแคบลงซึ่งเรียกว่าหลอดเลือดตีบ ปริมาณเลือดและออกซิเจนที่ไปเลี้ยงกล้ามเนื้อหัวใจ จึงลดลง อาจทาให้เกิดอาการเจ็บหน้าอกได้(angina) การใส่สายสวนหลอดเลือดหัวใจเป็นการเปิดทางเส้นเลือดที่ แคบให้เลือดไหลได้สะดวกมากขึ้นเพื่อที่จะนาเลือดและออกซิเจนไปเลี้ยงกล้ามเนื้อหัวใจได้อย่างเพียงพอ ใน ระหว่างขั้นตอนการทาแพทย์จะใส่บอลลูนเล็กๆ และใส่ขดลวดเพื่อให้หลอดเลือดเปิด ☀ ทางเลือกอื่น ๆ ในการรักษาที่ไม่ต้องใส่สายสวนหลอดเลือดหัวใจ หากมีอาการเจ็บหน้าอกเป็นประจา เช่นเมื่อออกกาลังกาย ควบคุมอาการโดยการใช้ยาและการเปลี่ยนแปลงวิถีใน การดาเนินชีวิตประจาวัน โดยการออกกาลังกายแบบหลากหลายวิธี หยุดสูบบุหรี่และลดน้าหนัก หากมีอาการเจ็บ หน้าอกอย่างรุนแรงและคาดเดาไม่ได้หรือมีอาการหัวใจวาย แพทย์จะแนะนาให้ผ่าตัดทาทางเบี่ยงหลอดเลือดหัวใจ (Coronary artery bypass graft, CABG) หรือเมื่อหลอดเลือดมีจุดแคบหลายจุดมากเกินไป หรือเมื่อหลอดเลือดไม่ เหมาะกับการใส่สายสวนขยายหลอดเลือดหัวใจ ☔ การเตรียมความพร้อมสาหรับการใส่สายสวนหลอดเลือดหัวใจ
  • 4. 4 งดสูบบุหรี่เพื่อลดความเสี่ยงของการปิดกั้นหลอดเลือดแดงและการที่ร่างกายกลับสู่สภาวะปกติได้ช้าลง หากเป็น การสวนหัวใจที่มีการวางแผนไว้ก็สามารถกลับบ้านในวันเดียวกันได้แต่บางคนต้องพักค้างคืนในโรงพยาบาล 1 คืนก่อนกลับบ้าน การทาหัตถการชนิดนี้อาจจะทาภายใต้การให้ยาชาเฉพาะที่ซึ่งจะต้องฉีดยาชาเฉพาะที่บริเวณขา หนีบหรือแขน ความรู้สึกในบริเวณนี้จะถูกบล็อกอย่างสมบูรณ์ ในช่วงระหว่างทาหัตถการจะรู้สึกตัว นอกจากนี้ อาจได้รับยากล่อมประสาทซึ่งจะช่วยให้ผ่อนคลาย ไม่กินหรือดื่มอะไรประมาณสี่ชั่วโมงก่อนทาหัตถการ ให้หยุด ใช้ยาบางอย่างเช่น warfarin 1-2 วันก่อนที่จะทาหัตถการ พยาบาลจะตรวจสอบอัตราการเต้นของหัวใจ ความดัน โลหิตและทดสอบปัสสาวะ โกนบริเวณขาหนีบบริเวณที่จะใส่เข็ม ☆ สิ่งที่เกิดขึ้นระหว่างการใส่สายสวนหลอดเลือดหัวใจ จะต้องทาในห้องห้องปฏิบัติการ catheterization ใช้เวลาประมาณ 30 นาที หรือมากว่านี้ ขึ้นอยู่กับจานวนของ หลอดเลือดแดงที่ต้องได้รับการรักษาอาจได้รับยา heparin ในระหว่างขั้นตอนการทาเพื่อช่วยหยุดการแข็งตัวของ เลือด นอกจากนี้ยังอาจได้รับยาต้านเกล็ดเลือดเช่นแอสไพรินเพื่อช่วยให้เลือดไม่เหนียวเกินไปซึ่งจะช่วยลดความ เสี่ยงของการเกิดลิ่มเลือดในผนังหลอดเลือดแดง แพทย์จะทาการเปิดเส้นเลือดบริเวณขาหนีบหรือข้อมือแล้วใส่ท่อยึดไว้หลังจากนั้นจะใส่สายสวนเข้าไปในหลอด เลือดแดงที่นาไปสู่หัวใจ เมื่อสายสวนอยู่ในตาแหน่งที่ต้องการแพทย์จะทาการฉีดสีเพื่อ x-ray ดูตาแหน่งที่อุดตัน ของหลอดเลือด แพทย์จะใช้ภาพ X-ray ในการนาทางลวดนาลงในสายสวน เมื่อลวดนาผ่านพื้นที่แคบหรือถูกปิด กั้นก็จะใส่บอลลูนขนาดเล็ก (โดยปกติเส้นผ่าศูนย์กลาง ประมาณ 2 ถึง 3 ซม.) ตามแนวลวดนาตลอดแนวพื้นที่ที่ ตีบหรืออุดตัน บอลลูนจะพองเบา ๆ เพื่อกดไขมันให้แบนลงลง ทาให้หลอดเลือดแดงกว้างขึ้นและช่วยให้เลือด ไหลเวียนได้ง่ายขึ้น แพทย์อาจฉีดสีลงสายสวนเพื่อตรวจสอบว่าเส้นเลือดแดงได้เปิดขึ้นมากน้อยเพียงใด ถ้าเปิดพอแล้วก็จะปล่อยลม บอลลูนและนาบอลลูนพร้อมกับลวดนาและสายสวนออก ขณะที่บอลลูนพองตัวในหลอดเลือดแดงอาจจะมีอาการ เจ็บหน้าอก ซึ่งอาการนี้จะดีขึ้นอย่างรวดเร็วเมื่อบอลลูนถูกปล่อยลมแล้ว แพทย์อาจใส่ขดลวดที่มีลักษณะหลอดลวด ตาข่ายขนาดเล็กมากเพื่อให้หลอดเลือดที่ถูกขยายแล้วเปิดอยู่ตลอดหลังบอลลูนถูกเอาออกไป ขดลวดโลหะโดย ปกติเป็นขดลวดโลหะเปล่า ในขณะที่บางอันมีการเคลือบยาและเรียกว่าขดลวดเคลือบยา ยาจะถูกปล่อยออกช้า ๆ ลงในหลอดเลือดแดงเพื่อป้องกันการอุดกั้นอีกครั้ง เมื่อขั้นตอนเสร็จสิ้นการแพทย์จะเอาสายสวนหลอดเลือดแดง ออก พยาบาลจะกดแน่นบนแผลประมาณ 20 นาทีเพื่อให้แน่ใจว่าหลอดเลือดแดงปิดและหยุดเลือดออกใด ๆ ปลั๊ก คอลลาเจนหรืออุปกรณ์ที่คล้ายกันสามารถนามาใช้ในการปิดผนึกหลุมในหลอดเลือดแดง 🌅 สิ่งที่คาดหวังหลังจากนั้น หลังจากสวนหัวใจจะต้องพักผ่อนสักครู่ พยาบาลจะวัดความดันโลหิตและชีพจรอย่างสม่าเสมอ และจะตรวจสอบ บาดแผลเพื่อดูว่าเลือดยังไหลอยู่หรือไม่ หากดาเนินสวนหัวใจการผ่านขาหนีบจะต้องนอนหงายบนเตียงสองสาม
  • 5. 5 ชั่วโมง หากดาเนินการผ่านข้อมือก็จะสามารถที่จะลุกนั่งได้ไม่นาน จะต้องจัดให้มีคนพากลับบ้าน และควร พยายามที่จะมีคนอยู่ด้วยตลอดสาหรับ 24 ชั่วโมงแรก หากได้รับยาระงับความรู้สึก จะต้องไม่ขับรถ ไม่ดื่ม และลงนามในเอกสารทางกฎหมาย ภายใน 24 ชั่วโมงหลัง จากนั้น ✨ การพักฟื้น หากปวด สามารถใช้ยาแก้ปวดพาราเซตามอล (acetaminophen) หรือ ibuprofen ได้ เมื่อกลับบ้านตรวจสอบ บาดแผลอย่างสม่าเสมอ อาจจะต้องมีช้าบาง แต่ถ้าอาการบวมพัฒนาไปพบแพทย์ทันที ถ้าแผลจะเริ่มมีเลือดออก กด แผลให้แน่น และติดต่อโรงพยาบาลทันที การพักฟื้นมักจะใช้เวลาประมาณหนึ่งสัปดาห์ แตกต่างกันระหว่างบุคคล ดังนั้นจึงเป็นสิ่งสาคัญที่จะปฏิบัติตาม คาแนะนาของแพทย์ ไม่ควรยกของหนักสาหรับสัปดาห์แรกหลังจากสวนหัวใจ และไม่ขับรถอย่างน้อยหนึ่งสัปดาห์ 🌍 ผลข้างเคียง อาจจะมีอาการเจ็บหน้าอกบาง ๆ หรือรู้สึกไม่สบาย แจ้งให้แพทย์หรือพยาบาลหากเกิดเหตุการณ์นี้ อาจจะมีอาการ ปวดหรือรอยช้าที่ใส่สายสวน ♑ ภาวะแทรกซ้อน เลือดออกจากแผล เส้นเลือดที่รับการรักษาด้วยการใส่ขดลวดจะกลายเป็นแคบอีกครั้ง แพ้สีย้อมที่ใช้ในระหว่าง ขั้นตอน หลอดเลือดหัวใจเส้นที่เพิ่งทาอาจจะกลายเป็นที่ถูกปิดกั้นอย่างสมบูรณ์ในระหว่างหรือหลังจาก ปลายของ สายสวนอาจทาให้ก้อนเลือดหรือไขมันจากผนังของหลอดเลือดหลดซึ่งอาจปิดกั้นหลอดเลือดแดงนาไปสู่โรคหัวใจ วายหรือโรคหลอดเลือดสมอง เส้นเลือดได้รับการปฏิบัติสามารถฉีกขาดในระหว่างขั้นตอน 🌜บอลลูนหัวใจ หนึ่งทางเลือกในการรักษาโรคหัวใจที่อยากให้มาทาความรู้จักการทาบอลลูนหัวใจกันสักหน่อย การรักษาโรคหัวใจด้วยการทาบอลลูนหัวใจยังคงมีข้อสงสัยในประเด็นนี้อยู่มากมาย ไม่ว่าจะเป็นผลข้างเคียงจาก การทาบอลลูนหัวใจ ค่าใช้จ่าย หรือบางคนก็สงสัยว่าการทาบอลลูนหัวใจจะอันตรายไหม งั้นวันนี้เรามาศึกษากัน ดีกว่าค่ะว่า การทาบอลลูนหัวใจ คืออะไร และเป็นยังไงกันแน่
  • 6. 6 บอลลูนหัวใจ คืออะไร การทาบอลลูนหัวใจ (percutaneous transluminal coronary Angioplasty :PTCA) หรือในภาษาอังกฤษอีกชื่อ หนึ่งว่า Balloon angioplasty คือ กรรมวิธีที่ใช้เครื่องมือชิ้นเล็กที่มีบอลลูนติดอยู่ตรงปลายท่อเล็ก ๆ สอดเข้าไปผ่าน เส้นเลือดใหญ่ที่บริเวณแขนหรือขา ซึ่งจะใช้การเอกซเรย์เป็นตัวนาทางเพื่อสอดท่อบอลลูนเข้าไปถึงหลอดเลือด หัวใจที่ตีบแคบ และเมื่อหัวบอลลูนได้เข้าไปถึงจุดดังกล่าวแล้ว แพทย์จะทาการปล่อยลมให้บอลลูนพองตัวขึ้น ส่งผลให้เส้นเลือดที่ตีบแคบขยายตัวกว้างขึ้น และในขณะเดียวกัน แพทย์ก็จะสอดโลหะที่เป็นลวด (stent) วางไว้ใน ตาแหน่งเส้นเลือดที่ตีบแคบ เพื่อให้ตัวขดลวดกางออกทาหน้าที่เป็นโครงให้เส้นเลือดอยู่ในลักษณะขยายออก ตลอดเวลา ซึ่งตัวขดลวดนี้จะอาบด้วยยา จึงสามารถลดอัตราการตีบตัวของเส้นเลือดได้อีกทางหนึ่ง การทาบอลลูนหัวใจ เป็นวิธีรักษาโรคหัวใจชนิดไหนบ้างการทาบอลลูนหัวใจเป็นหนึ่งในทางเลือกรักษาโรคหัวใจ ได้โดยจะใช้รักษาโรคหัวใจชนิดดังต่อไปนี้ 1.โรคหลอดเลือดหัวใจตีบ 2.โรคลิ้นหัวใจตีบ 3.กล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด ทาบอลลูนหัวใจ ค่าใช้จ่ายสูงไหม เบิกประกันสังคมได้หรือไม่ ในกรณีที่เป็นผู้ประกันตนและใช้สิทธิประกันสังคม สามารถเบิกจ่ายค่าทาบอลลูนหัวใจได้ตามจริง โดยไม่ เกิน 20,000 บาทต่อราย (ในกรณีรักษาโรคลิ้นหัวใจ โดยใช้สายบอลลูนผ่านทางผิวหนัง) และสาหรับการขยาย หลอดเลือดหัวใจโดยการใช้บอลลูนอย่างเดียว สามารถเบิกค่าใช่จ่ายได้เท่าที่จ่ายจริงตามความจาเป็น แต่ไม่เกินครั้ง ละ 30,000 บาทต่อราย และสามารถใช้สิทธิ์ได้ไม่เกิน 2 ครั้ง ทว่าหากไม่มีสิทธิประกันสังคม การทาบอลลูนหัวใจจะมีค่าใช้จ่ายอยู่ที่ประมาณ 80,000-1,000,000 บาท ขึ้นอยู่กับแต่ละโรงพยาบาล รวมทั้งอุปกรณ์ในการรักษา (ขดลวดธรรมดาหรือขวดลวดเคลือบตัวยา) บอลลูนหัวใจ บัตรทองใช้ได้หรือเปล่า สาหรับคนที่ถือบัตรทอง ก็สามารถเข้ารับการรักษาโดยการทาบอลลูนหัวใจได้เช่นกัน แต่ทั้งนี้ก็ต้องเข้ารับ การรักษาในโรงพยาบาลที่ตัวเองถือสิทธิ์ ซึ่งหากทางโรงพยาบาลมีความพร้อมในการรักษาก็สามารถทาบอลลูน หัวใจให้ได้ทว่าหากทางโรงพยาบาลไม่มีความพร้อมก็อาจต้องทาเรื่องขอส่งตัวผู้ป่วยไปยังโรงพยาบาลอื่นที่ สะดวกในการทาบอลลูนหัวใจต่อไป บอลลูนหัวใจ อยู่ได้กี่ปี
  • 7. 7 การทาบอลลูนหัวใจเพื่อขยายหลอดเลือดหัวใจในแต่ละครั้ง หากไม่ได้ใส่ขดลวด (stent) ในกรณีนี้เส้นเลือด อาจกลับไปตีบตันขึ้นได้ราว ๆ 30-40% ภายในระยะเวลา 6 เดือน แต่หากใส่ขดลวดเคลือบยาจะมีโอกาสหลอด เลือดกลับไปตีบตันประมาณ 10% แต่ทั้งนี้ก็ขึ้นอยู่กับการดูแลตัวเองหลังทาบอลลูนหัวใจของผู้ป่วยเองด้วย การทาบอลลูนหัวใจ อันตรายไหม แม้การทาบอลลูนหัวใจจะเป็นทางเลือกของการรักษาโรคหลอดเลือดหัวใจตีบที่ง่าย สะดวก เพราะไม่ต้อง ผ่าตัด และการทาบอลลูนหัวใจมีความเสี่ยงน้อยเพียง 1% แต่ก็ยังคงมีความเสี่ยงของการทาบอลลูนหัวใจอยู่บ้าง โดยภาวะเสี่ยงของการทาบอลลูนหัวใจอาจมีดังต่อไปนี้ - แพ้สารทึบแสงที่แพทย์ทาการฉีดเข้าเส้นเลือดก่อนทาบอลลูนหัวใจ - ผู้ป่วยเกิดภาวะเลือดออกและมีการอักเสบตรงบริเวณสอดสายบอลลูน - เส้นเลือดที่แขน ขา บริเวณที่สอดสายบอลลูนเกิดการอุดตัน - บางรายอาจเกิดภาวะหลอดเลือดหัวใจหรือกล้ามเนื้อหัวใจทะลุในระหว่างทาการสอดใส่ท่อบอลลูนเข้าไป ในเส้นเลือด อย่างไรก็ตาม การทาบอลลูนหัวใจภายใต้ความดูแลของแพทย์ผู้เชี่ยวชาญ ร่วมกับการปฏิบัติตัวตามที่แพทย์ แนะนา ก็จะช่วยลดความเสี่ยงดังกล่าวได้พอสมควรนะคะ บอลลูนหัวใจ ผลข้างเคียงมีไหม หากผู้ป่วยไม่มีอาการแทรกซ้อนดังกล่าว การทาบอลลูนหัวใจอาจไม่มีผลข้างเคียงที่น่ากังวลสักเท่าไร และ การทาบอลลูนหัวใจยังใช้เวลาพักฟื้นเพียง 1-2 วัน และหากร่างกายหลังทาบอลลูนหัวใจไม่มีความผิดปกติที่น่าเป็น ห่วง ผู้ป่วยก็สามารถกลับไปใช้ชีวิตตามปกติได้ การปฏิบัติตัวหลังทาบอลลูนหัวใจ 1. ผู้ป่วยไม่ควรลุกจากเตียง และไม่งอแขนหรือขาด้านที่แทงเส้นเลือดเป็นเวลาอย่างน้อย 6 ชั่วโมง 2. หากพบว่าบริเวณที่แทงเส้นเลือดบวม หรือขาข้างที่แทงเส้นเลือดซีดหรือเย็นกว่าปกติ ควรแจ้งให้พยาบาล ทราบ 3. ถ้าผู้ป่วยรู้สึกตัวดี ไม่มีอาการคลื่นไส้อาเจียน ให้รับประทานอาหารได้ตามความเหมาะสม 4. ถ้าปวดแผล สามารถรับประทานยาแก้ปวดได้ 5. ในระยะแรก การทากิจวัตรประจาวันอาจทาไห้เหนื่อยได้ดังนั้นควรพักผ่อนครั้งละ 20-30 นาที วันละ 2 ครั้งในเวลากลางวัน ไม่จาเป็นต้องนอนพักแค่นั่งพักก็เพียงพอ และพยายามนอนหลับให้ได้8-10 ชั่วโมงต่อวัน 6. ควรหลีกเลี่ยงอาหารคอเลสเตอรอลสูง เช่น ไข่แดง เครื่องในสัตว์อาหารทะเล เป็นต้น 7. ควรงดชา กาแฟ และน้าอัดลม เครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์และควรงดสูบบุหรี่
  • 8. 8 8. หลีกเลี่ยงอาหารที่ทาให้น้าตาลในเลือดสูง เช่น ข้าวเหนียวทุเรียน ทองหยิบ ทองหยอด ทุเรียน ลาไย เป็น ต้น 9. ถ้าต้องใช้น้ามันปรุงอาหารควรเลือกใช้น้ามันพืชแทนเนยหรือน้ามันจากสัตว์หรือให้วิธีลวก ต้ม นึ่ง และ อบแทนการทอด 10. ควรรับประทานผักทุกชนิด และผลไม้ที่ไม่มีรสหวานจัด เช่น มะละกอ พุทรา แอปเปิล ฝรั่ง เป็นต้น 11. ในระยะ 6 เดือนแรก เป็นช่วงสาคัญ ผู้ป่วยควรกินยาและปฏิบัติตัวตามที่แพทย์สั่งอย่างเคร่งครัด รวมทั้ง ไปพบหมอตามนัดอย่าให้ขาด การทาบอลลูนหัวใจกับการทาบายพาสต่างกันอย่างไร นอกจากการทาบอลลูนหัวใจแล้ว การรักษาโรคหลอดเลือดหัวใจตีบสามารถรักษาได้ด้วยการทาบายพาส ซึ่ง การทาบอลลูนหัวใจจะมีข้อดีตรงที่ทาง่ายกว่า ไม่ต้องผ่าตัด ค่าใช้จ่ายน้อยกว่าการทาบายพาส ใช้เวลาพักฟื้นสั้นกว่า และมีผลข้างเคียงน้อยกว่า ทว่าการทาบอลลูนหัวใจอาจกลับมามีอาการซ้าได้อีก ส่วนการทาบายพาสมีขั้นตอนยุ่งยากกว่า ค่ารักษาสูงกว่า พักฟื้นนานกว่า และผลข้างเคียงในการรักษา มากกว่า แต่โอกาสกลับมาป่วยซ้าก็น้อยกว่า วิธีดาเนินงาน แนวทางการดาเนินงาน ___________________________________________________________________ ___________________________________________________________________ เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้ ___________________________________________________________________ ___________________________________________________________________ ___________________________________________________________________ งบประมาณ ___________________________________________________________________ ___________________________________________________________________ ___________________________________________________________________ __________________________________________________________________ ___________________________________________________________________
  • 9. 9 ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน ลาดับ ที่ ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 1 คิดหัวข้อโครงงาน 2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล 3 จัดทาโครงร่างงาน 4 ปฏิบัติการสร้างโครงงาน 5 ปรับปรุงทดสอบ 6 การทาเอกสารรายงาน 7 ประเมินผลงาน 8 นาเสนอโครงงาน ผลที่คาดว่าจะได้รับ (ผลลัพธ์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดการทาโครงงาน) _________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________ สถานที่ดาเนินการ _________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________
  • 10. 10 กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง _________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________ แหล่งอ้างอิง (เอกสาร หรือแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ที่นามาใช้การทาโครงงาน) _________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________