SlideShare a Scribd company logo
1 of 9
Download to read offline
1
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
รหัสวิชา ง33201-33202 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 5- 6
ปีการศึกษา 2561
ชื่อโครงงาน ทาความเข้าใจอาการแพ้คาเฟอีน
ชื่อผู้ทาโครงงาน
นางสาว เบญจมา ชูชาติ เลขที่ 1 ชั้น ม.6 ห้อง 10
ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2561
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
2
ใบงาน
การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
สมาชิกในกลุ่ม
1 นางสาวเบญจมา ชูชขาติ เลขที่ 1 ม. 6/10
คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้
ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย)
ทาความเข้าใจอาการแพ้คาเฟอีน
ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ)
secured caffeine alllergy
ประเภทโครงงาน ด้านการศึกษา
ชื่อผู้ทาโครงงาน นางสาวเบญจมา ชูชาติ
ชื่อที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ชื่อที่ปรึกษาร่วม -
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2561
ที่มาและความสาคัญของโครงงาน
เนื่องจากปัจจุบันมีร้านชาและกาแฟเปิดขายอยู่ทั่วไปในทุกท้องที่ของจังหวัดเชียงใหม่ เป็นจานวนมาก ซึ่ง
เป็นผลมาจากการที่ประชาชนชาวชียงใหม่ชอบดื่มชา แต่มีบุคคลบางประเภทเมื่อลองรับประทานชาหรือกาแฟ เกิด
อาการ ผดผื่นขึ้นตามตัว คันปาก ปวดศรีษะรวมถึงอาการเป็นลม ผู้จัดทาจึงศึกษาข้อมูลเกี่ยวกับอาการเหล่านี้ จึง
พบว่า อาการเหล่านี้เรียกว่า อาการแพ้คาเฟอีน ผู้จัดทาจึงเกิดแนวคิดเผยแพร่อาการแพ้คาเฟอีนให้คนทั่วไปและคนที่
สนใจได้รู้จักและศึกษาหาทางป้องกันหรือแก้ไขปัญหาอาการแพ้คาเฟอีนไม่ให้มีอาการช็อคหนัก อีกทั้งตัวผู้จัดทามี
อาการแพ้คาเฟอีน จึงเป็นเหตุให้ผู้จัดทาตัดสินใจเลือกหัวข้อนี้ เพราะไม่เพียงแค่ผู้จัดทาที่ได้รับความรู้ความเข้าใจ
เท่านั้น แต่ผู้จัดทายังสามารถเผยแพร่ความรู้เรื่องนี้ให้แก่บุคคลอื่นๆได้อีกด้วย
วัตถุประสงค์
1.เพื่อศึกษาและทาความเข้าใจอาการแพ้คาเฟอีน
2. เพื่อศึกษาวิธีระงับอาการแพ้คาเฟอีน
3. เพื่อเผยแพร่ข้อมูลให้แก่ผู้สนใจ
3
ขอบเขตโครงงาน
1.รู้จักคาเฟอีน
2.ฤทธิ์ของคาเฟอีน
3.อาการแพ้คาเฟอีน
4.วิธีรักษาหรือระงับอาการแพ้คาเฟอีน
หลักการและทฤษฎี
มีคนจานวนไม่น้อยที่ดื่มกาแฟในตอนเช้าเพื่อทาให้ตาสว่าง ซึ่งสารคาเฟอีนที่พบได้ในกาแฟจะไปกระตุ้นระบบ
ประสาทส่วนกลาง นอกจากนี้เรายังพบสารคาเฟอีนได้ในใบชาและฝักโกโก้ ซึ่งมีการประมาณไว้ว่า 90% ของชาว
อเมริกาเหนือทานคาเฟอีนทุกวัน แม้ว่าคาเฟอีนจะปลอดภัยสาหรับคนส่วนมาก แต่ก็มีบางคนที่แพ้เจ้าสารชนิดนี้ค่ะ
สาหรับบทความในวันนี้ เราจะพาคุณไปดูอาการของคนที่แพ้คาเฟอีน สาเหตุ และวิธีรักษา
ฤทธิ์ของคาเฟอีน
คาเฟอีนเป็นสารกระตุ้นจากธรรมชาติที่ส่งผลต่อสมองและระบบประสาทส่วนกลาง ทาให้คนรู้สึกตื่นตัวและมีสมาธิ
มากขึ้น นอกจากนี้มีคนจานวนมากเชื่อว่าการดื่มกาแฟในระหว่างวันทางานสามารถทาให้พวกเขาทางานได้มากขึ้น
อย่างไรก็ตาม ปริมาณของคาเฟอีนต่อวันที่คนส่วนมากดื่มแล้วปลอดภัยก็คือ 400 มิลลิกรัม หรือเทียบเท่าประมาณ 4
แก้ว แต่บางคนก็อาจมีความไวต่อคาเฟอีนและมีบางอาการ เช่น หัวใจเต้นเร็ว วิตกกังวล กระตุก ปวดศีรษะ มีปัญหา
กับการนอน ท้องไส้ปั่นป่วน ฯลฯ
อาการของคนที่แพ้คาเฟอีน
คนที่แพ้คาเฟอีนจะแสดงบางอาการออกมา ตัวอย่างเช่น เป็นลมพิษ ริมฝีปากหรือลิ้นบวม คันปาก ริมฝีปาก และลิ้น
อาการเหล่านี้อาจเกิดขึ้นภายในชั่วโมงเดียวกับที่ทานคาเฟอีน นอกจากนี้บางคนอาจแสดงปฏิกิริยาที่บ่งบอกถึงการแพ้
อย่างรุนแรง ซึ่งจะเรียกว่า Anaphylactic Shock แต่มันก็พบได้ไม่บ่อยสักเท่าไร ซึ่งผู้แพ้จะมีใบหน้าบวมอย่างรุนแรง
โดยประกอบไปด้วยดวงตา ริมฝีปาก ใบหน้า และลิ้น มีปัญหากับการหายใจ มีปัญหากับการพูด หายใจเสียงฟืดฟาด
ไอ คลื่นไส้ ปวดท้อง อาเจียน หัวใจเต้นเร็ว เวียนศีรษะ
4
สาเหตุที่ทาให้แพ้คาเฟอีน?
ร่างกายของคนที่แพ้คาเฟอีนจะมองว่าคาเฟอีนเป็นตัวบุกรุก เมื่อพวกเขาทานอาหารที่มีคาเฟอีน ร่างกายจะผลิต
แอนติบอดีที่เรียกว่า Immunoglobin E. ซึ่งแอนติบอดีจะกระตุ้นเซลล์ให้หลั่งสารฮีสตามีนออกมาเพื่อกาจัดโมเลกุลที่
มันเข้าใจผิดว่าทาให้เกิดอันตรายต่อร่างกาย และโมเลกุลเหล่านี้ก็คือ สารก่อภูมิแพ้ (Allergens) ส่งผลให้เกิดการ
อักเสบ ซึ่งสามารถนาไปสู่การเกิดลมพิษ คัน และบวม
 ผลของคาเฟอีนต่อร่างกาย
ผลต่อสมอง
คาเฟอีนจะเป็นสารที่กระตุ้นสมอง ทาให้ผู้บริโภค มีความตื่นตัว ความคิดฉับไว ไม่ง่วงนอน กระปรี้กระเปร่า รู้สึกมี
พลัง ทางานได้นาน ขนาดของคาเฟอีน ที่เริ่มมีฤทธิ์ ในการกระตุ้นสมอง คือ 40 มิลลิกรัม ขึ้นไป ปัจจุบันในวงการ
ธุรกิจมักจะเรียกเครื่องดื่มผสมคาเฟอีน ว่าเครื่องดื่มชูกาลัง แสดงให้เห็นภาพของการ เสริมสร้างพละกาลัง ดื่มแล้วไม่
ง่วง มีเรี่ยวแรง สามารถทางานได้มากๆ แม้ว่าจะรู้สึกอ่อนเพลียเหนื่อยล้าและง่วงนอนเพียงใด
คา เฟอีนในขนาดสูงจะทาให้นอนไม่หลับ ลดระยะเวลาหลับและหลับไม่สนิท มือสั่น เกิดอาการวิตกกังวล คาเฟอีนใน
ขนาดที่เป็นพิษอาจทาให้ชักได้ คาเฟอีนเสริมฤทธิ์ยาระงับปวด เช่น แอสไพริน พาราเซตามอลและยังเสริมฤทธิ์ยา
ระงับอาการปวดศีรษะชนิด ไมเกรนได้แต่ไม่มีฤทธิ์เพิ่มความจาและอาจทาให้การตอบสนองของร่างกายช้าลงได้
ผลต่อระบบไหลเวียนโลหิต
คาเฟอีนกระตุ้นการหลั่งอะดรีนาลีน และโดปามีน
ฤทธิ์กระตุ้นการหลั่งอะดรีนาลีน ทา ให้หัวใจเต้นเร็วขึ้น ใจสั่น ความดันโลหิตสูง ตับเร่งผลิตน้าตาลเข้าสู่กระแสเลือด
เร็วขึ้น กล้ามเนื้อตื่นตัวพร้อมทางาน ทาให้เป็นเหมือนยาชูกาลัง คาเฟอีนทาให้หัวใจเต้นช้าลงเล็กน้อยในชั่วโมงแรก
และเต้นเร็วขึ้นในชั่วโมงที่ 2 และ 3 ความดันโลหิตจะเพิ่มขึ้นประมาณ 5-10 มิลลิเมตรปรอทและเพิ่มขึ้นนาน
ประมาณ 2-3 ชั่วโมง แต่จะมีการทนต่อผลของคาเฟอีนที่เกิดกับระบบหัวใจและหลอดเลือดได้ในผู้ที่รับ คาเฟอีนเป็น
ประจาส่วนฤทธิ์กระตุ้นการหลั่งโดปามีนทาให้รู้สึกผ่อนคลายสบายใจ สุขลึกๆ เชื่อว่าเป็นสาเหตุสาคัญทาให้ติด
คาเฟอีน
ขณะ นี้ยังไม่มีหลักฐานว่าคาเฟอีนเป็นสาเหตุทาให้เกิดโรคความดันโลหิตสูง โรคหัวใจเต้นผิดจังหวะ โรคหัวใจขาด
เลือด โรคหลอดโลหิตลี้ยงหัวใจอุดตันและโรคของระบบไหลเวียนโลหิตอื่นๆรวมทั้งไม่ได้ ทาให้อัตราการเสียชีวิตจาก
โรคระบบไหลเวียนโลหิตเพิ่มมากกว่าผู้ที่ไม่ได้ บริโภคคาเฟอีนอย่างไรก็ตามการบริโภคคาเฟอีนในขนาดสูงเกินไปอาจ
ไม่ดีต่อระบบ ไหลเวียนโลหิตในระยะยาวได้
5
ผลต่อการนอนหลับ
ผล ของคาเฟอีนต่อการนอนหลับมีความชัดเจนต่อผลต่อพฤติกรรม และอารมณ์มาก กล่าวคือคาเฟอีน จะเพิ่ม
ระยะเวลาที่ใช้ก่อนหลับให้ยาวนานมากขึ้นและลดระยะเวลาในการนอนหลับ ให้สั้นลง โดยผลเช่นนี้อาจเกิดขึ้นได้จาก
การดื่มกาแฟที่ชงแก่ๆ เพียงถ้วยเดียวก่อนนอน 1ชั่วโมงเท่านั้น
ทาไมดื่มกาแฟแล้วไม่ง่วง
คาเฟอีนมีลักษณะทางเคมีที่สาคัญประการหนึ่ง คล้ายกับสารที่ชื่อ อดีโนซีน( adenosine) และเข้าไปจับกับตัวรับ(
receptor ) ตัวเดียวกันซึ่งสารadenosine เป็น สารเคมีที่สร้างขึ้นในสมอง มีฤทธิ์ทาให้รู้สึกง่วงนอนดังนั้นเมื่อบริโภค
เครื่องดื่มประเภท ชาและกาแฟหรือเครื่องดื่มผสมคาเฟอีนเข้าไปสมองจะเข้าใจว่าเป็น adenosine เนื่อง จากตัวรับ
ของอดีโนซีนทาปฏิกิริยาจับกับคาเฟอีน กลไกดังกล่าวทาให้สมองขาดสารที่ทาให้รู้สึกง่วงนอน ร่างกายจึงรู้สึกไม่ง่วง
และรู้สึกกระปรี้กระเปร่ามีกาลังวังชายิ่งขึ้น
Synder และ Lader( ปี2529)ยังได้อ้างถึงการศึกษานักวิทยาศาสตร์ของญี่ปุ่นว่าคาเฟอีน ขนาด 150 มก. ทาให้ผู้รับ
การทดลองใช้เวลาเฉลี่ย 2.1 ชม. จึงจะหลับและหลับเป็นเวลาเฉลี่ยเพียง4.6 ชม. เมื่อเทียบกับผู้ที่ไม่ได้รับคาเฟอีน ซึ่ง
ใช้เวลาเพียง29 นาที และนอนหลับได้นานถึง 7.4 ชม.เมื่อ ทาการวัดคลื่นสมองของผู้ที่ได้รับคาเฟอีนก็พบลักษณะที่
แตกต่างจากการนอนหลับ ปกติ นอกจากนี้ยังตื่นง่ายเมื่อมีเสียงดัง นอนกระสับกระส่ายและทาให้คุณภาพในการนอน
หลับลดลง
การดื่มกาแฟทั้งชนิดธรรมดาและชนิดสกัดจากคาเฟอีนออก จะเพิ่มการหลั่งของกรดและน้าย่อยในกระเพาะอาหารสูง
กว่าคาเฟอีนถึง 2 เท่า ผู้ที่เป็นโรคแผลในกระเพาะอาหารหรือลาไส้จึงควรหลีกเลี่ยงการดื่มกาแฟทุก ชนิด รวมทั้ง
เครื่องดื่มหรืออาหารที่มีคาเฟอีนเป็นส่วนประกอบ
ผลต่อระบบทางเดินอาหาร
การดื่มกาแฟทั้งชนิดธรรมดาหรือชนิดที่สกัดจากคาเฟอีนออกจะเพิ่มการหลั่งของกรดและน้าย่อยในกระเพาะอาหาร
สูงกว่าคาเฟอีนถึง 2 เท่า ผู้ที่เป็นโรคแผลในกระเพาะอาหารหรือลาไส้จึงควรหลีกเลี่ยงการดื่มกาแฟทุก ชนิด รวมทั้ง
เครื่องดื่มหรืออาหารที่มีคาเฟอีนเป็นส่วนประกอบ
ผลต่อระบบกระดูก
แม้ ว่าจะมีรายงานในระยะแรกว่าการดื่มกาแฟทาให้ร่างการสูญเสียแคลเซียม ซึ่งอาจทาให้กระดูกเปราะบางและหัก
ง่าย โดยอ้างอิงฤทธิ์ของคาเฟอีนในการเพิ่มการขับแคลเซียมออกทางปัสสาวะ อย่างไรก็ตาม รายงานส่วนใหญ่ที่พบว่า
การดื่มกาแฟทาให้มีการสูญเสียแคลเซียม กระดูกเปราะบาง กระดูกหักง่ายนั้น มักจะการควบคุมปัจจัยเสี่ยงต่างๆ ไม่
รัดกุมเพียงพอ เช่นการที่ผู้เข้าร่วม โครงการวิจัย ดื่มนมหรือได้รับแคลเซียมน้อย หรือมีการสูบบุรี่ งานวิจัยในระยะ
หลังที่ควบคุมปัจจัยเสี่ยงอย่างรัดกุมพบว่าการดื่มกาแฟหรือ เครื่องดื่มที่มีคาเฟอีน ไม่ทาให้มีการเสียสมดุล ของ
แคลเซียมในร่างกายไม่ทาให้กระดูกเปราะบางและหักง่าย
6
ผลต่อระบบสืบพันธุ์
สาร เคมีที่มนุษย์ได้บริโภคเป็นจานวนมาก เช่น แอลกอฮอล์ ในเครื่องดื่มล้วนแต่มีหลักฐานว่าก่อให้เกิดผลต่อระบบ
สืบพันธุ์โดยเฉพาะ ความผิดปกติของทารกในครรภ์ จากการศึกษาของ Kirkinen ในปี 2526 ถึงผลกระทบของ
คาเฟอีนต่อระบบไหลเวียนโลหิต เมื่อให้คาเฟอีนครั้งเดียวในขนาด 200 มก. แก่สตรีมีครรภ์ ในระยะ 2 เดือนสุดท้าย
ของการตั้งครรภ์ พบว่า คาเฟอีนไม่เปลี่ยนแปลงอัตราการเต้นของหัวใจและความดันโลหิตของมารดาและ อัตราการ
เต้นของหัวใจของทารกในครรภ์
ในปีเดียวกันนี้ Wilson และคณะได้ศึกษาในแกะที่ตั้งครรภ์ พบว่าคาเฟอีน ในขนาด 3.5 และ 35 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม
ลด การไหลเวียนโลหิตไปยังมดลูกเป็นเวลาเพียงครึ่งชั่วโมงเท่านั้น ข้อมูลชี้ให้เห็นว่าผลต่อการไหลเวียนโลหิตไปยัง
มดลูกไม่น่าเป็นสาเหตุที่คา เฟอีนจะก่อให้เกิดความผิดปกติของทารกได้
Linn และคณะ (ปี 2525)รายงานว่าการดื่มกาแฟไม่เกินวันละ 4 ถ้วย ในช่วง 3 เดือนแรกของการตั้งครรภ์ ไม่ทาให้
ทารกที่คลอดออกมามีความพิการ Kurppa และคณะ (2526) ได้ขยายการศึกษานี้ให้กว้างขึ้นทั่งประเทศฟินแลนด์
โดยเปรียบเทียบระหว่างมารดาของทารกที่มีความพิการแต่กาเนิด กับมารดาของทารกปกติ ซึ่งคลอดในเวลาและใน
เขตเดียวกันพบว่า ปริมาณการดื่มกาแฟในระหว่างตั้งครรภ์น้อยลงทั้งสองกลุ่ม โดย ร้อยละ 26.5 ของมารดาทั้งหมด
ยังคงดื่มกาแฟ อย่างน้อยวันละ 4 ถ้วย ร้อยละ 7.2 ดื่มอย่างน้อยวันละ 7 ถ้วย และร้อยละ 3.5 ดื่มวันละ10 ถ้วย หรือ
มากกว่านั้นแลจากการวิเคราะห์ข้อมูลดังกล่าว ในเชิงสถิติแล้วยังสรุปได้ว่าการดื่มกาแฟ ไม่เพิ่มอัตราการเสี่ยงต่อการ
เกิดความพิการของทารก
คาเฟอีนทาให้สัตว์ทดลองหลายชนิดโดยเฉพาะหนูขาวคลอดลูกออกมาพิการแต่ผลดัง
กล่าวไม่เกิดขึ้นในคนซึ่งอาจมีสาเหตุจากความแตกต่างกันในด้านสายพันธุ์และความแตกต่างกันของการได้รับคาเฟอีน
ของคนและสัตว์ทดลอง
ขณะ นี้หลักฐานที่มีอยู่ชี้ว่า คาเฟอีนไม่มีผลกระทบต่อการตั้งครรภ์ในด้านการเจริญเติบโตของทารกในครรภ์ น้าหนัก
ตัว และความผิดปกติของทารกแรกคลอด การแท้งบุตร และการตั้งครรภ์ ยากรวมทั้งผลต่อการพัฒนาการของเด็กทั้ง
ทางร่างกายและระบบประสาทยังไม่มีข้อ ยุติชัดเจนแต่ผลงานวิจัยส่วนใหญ่ชี้ว่าคาเฟอีนไม่ทาให้เกิดผลเสียต่อการตั้ง
ครรภ์และในรายงานพบว่าคาเฟอีนทาให้เกิดผลเสียต่อการตั้งครรภ์นั้นมักจะมี สาเหตุจากการควบคุมปัจจัยเสี่ยงอื่นๆ
ไม่เพียงพอ แม้ว่าการได้รับคาเฟอีนหรือการดื่มตามลาพังจะไม่เป็นอันตรายต่อการตั้งครรภ์ แต่คาเฟอีนอาจเสริม
ความเป็นพิษของยาหรือสารบางชนิดต่อทารกในครรภ์ ดังนั้นเพื่อความปลอดภัยสูงสุดในระหว่างตั้งครรภ์ควร
ระมัดระวังการดื่ม เครื่องดื่มและการบริโภคอาหารที่มีคาเฟอีน
ผลต่อการเกิดมะเร็ง
แม้ ว่าจะมีงานวิจัยทางระบาดวิทยาในระยะแรกชี้ว่า การดื่มเครื่องดื่มที่มีคาเฟอีนมีความสัมพันธ์กับการเกิดมะเร็ง
หลายชนิด ในงานวิจัยที่ชี้ว่ามีความสัมพันธ์ระหว่างการดื่มเครื่องดื่มที่มีคาเฟอี นกับการเกิดมะเร็งนั้นส่วนใหญ่ผลที่
7
เกิดขึ้นไม่สัมพันธ์กับปริมาณการดื่ม เครื่องดื่มเหล่านี้จึงทาให้ไม่สามารถระบุได้ว่าคาเฟอีนเป็นสาเหตุในการ เพิ่มอัตรา
เสี่ยงของการเกิดมะเร็งและงานวิจัยในจานวนมากในระยะหลังกลับไม่พบ ว่าการดื่มเครื่องดื่มที่มีคาเฟอีนมีผลต่อการ
เกิดมะเร็งดังนั้นสภาวิจัยแห่ง ชาติประเทศสหรัฐอเมริกา ( National Research Council ในปี 2532 ) จึงรายงานว่า
ไม่มีหลักฐานที่น่าเชื่อถือได้ว่าคาเฟอีนมีความสัมพันธ์กบการเกิดมะเร็งไม่ว่าจะเป็นมะเร็งชนิดใดนอกจากนั้นในปี
2534 คณะกรรมการด้านการแพทย์และวิทยาศาสตร์
( Cancer Society s Medical and Scientific Committee, 2534 ) ได้สรุปว่าไม่มีหลักฐานบ่งชี้เพียงพอว่าคาเฟอีน
เป็นปัจจัยเสี่ยงของโรคมะเร็งในคน
การแพ้คาเฟอีน
คา เฟอีน หรือผงกาแฟ อาจทาให้เกิดการแพ้ได้โดยแสดงอาการคัน ผิวหนังร้อนแดง มีผื่นคัน คล้ายลมพิษ อุบัติการณ์
ของการเกิดอาการแพ้ค่อนข้างต่า และรักษาโดยใช้ยาแก้แพ้ ผู้ที่มีอาการแพ้เหล่านี้ไม่ควรบริโภคอาหารหรือเครื่องดื่ม
ที่มีคาเฟอีน รวมทั้งไม่ควรทางานที่ต้องสัมผัสกับคาเฟอีนหรือผงกาแฟ
การป้องกัน
หากรู้ตัวว่าแพ้คาเฟอีน วิธีที่ดีที่สุดที่จะป้องกันไม่ให้เกิดอาการแพ้ก็คือ การหลีกเลี่ยงการทานอาหารชนิดใดๆ ก็ตามที่
มีคาเฟอีน สาหรับอาหารที่มีคาเฟอีน เช่น กาแฟ ชา ช็อกโกแลต เครื่องดื่มชูกาลัง ฯลฯ ถ้าไม่แน่ใจว่าอาหารที่จะทาน
มีคาเฟอีนหรือไม่ ให้คุณอ่านฉลากก่อนทานค่ะ
อย่างไรก็ตาม หลายคนอาจจาเป็นต้องพึ่งกาแฟเพื่อให้ตัวเองมีสมาธิและกระตือรือร้นในระหว่างวัน ซึ่งคาเฟอีนเป็น
สารเสพติดประเภทหนึ่ง หากเลิกแบบหักดิบ มันก็อาจทาให้เกิดอาการขาดยา ซึ่งประกอบไปด้วย การมีอาการสั่น
ปวดศีรษะ หงุดหงิด รู้สึกเหนื่อย ฯลฯ แต่เมื่อผ่านไป 1 สัปดาห์ อาการเหล่านี้จะหายไป สาหรับวิธีอื่นๆ ที่ช่วยทาให้
ตื่นตัวแทนคาเฟอีน ตัวอย่างเช่น การพักจากหน้าจออุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ ออกไปเดินเล่นช่วงพักกลางวัน ดื่มน้า
ปริมาณมาก นอนให้เพียงพอ ทานอาหารที่ดีต่อสุขภาพ เป็นต้น
8
วิธีดาเนินงาน
แนวทางการดาเนินงาน
-ปรึกษาเลือกหัวข้อ
-นาเสนอหัวข้อกับครูผู้สอน
-ศึกษารวบรวมข้อมูล
-จัดทารายงาน
-นาเสนอครู
-ปรับปรุงและแก้ไข
เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้
-อินเทอร์เน็ต
-หนังสือที่เกี่ยวข้อง
-คอมพิวเตอร์
-โทรศัพท์
งบประมาณ
120 บาท
ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน
ลาดับ
ที่
ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ
1 2 3 4 5 6 7 8 9
1
0
1
1
12
1
3
1
4
1
5
16 17
1 คิดหัวข้อโครงงาน
2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล
3 จัดทาโครงร่างงาน
4 ปฏิบัติการสร้างโครงงาน
5 ปรับปรุงทดสอบ
6 การทาเอกสารรายงาน
7 ประเมินผลงาน
8 นาเสนอโครงงาน
9
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.ผู้จัดทามีความเข้าใจในหัวข้อที่สนใจมากขึ้น
2.สามารถนาไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวันได้จริง
3.สามารถนาความรู้ไปเผยแพร่ให้บุคคลที่สนใจหรือคนทั่วไปได้
สถานที่ดาเนินการ
1.ห้องคอมพิวเตอร์โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย
2.ห้องสมุด โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย
กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง
1.กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
แหล่งอ้างอิง
อาการแพ้คาเฟอีนเป็นอย่างไร?(2558). [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก
https://www.honestdocs.co/what-is-caffeine-allergy (วันที่ค้นข้อมูล : 19 กันยายายน 2561)
แพ้คาเฟอีนเหรอ(2558). [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก
http://coffeeteasweets.com/%E0%B9%81%E0%B8%9E%E0%B9%89%E0%B8%84%E0%B8%B2%E0
%B9%80%E0%B8%9F%E0%B8%AD%E0%B8%B5%E0%B8%99-
%E0%B8%AB%E0%B8%A3%E0%B8%AD/ (วันที่ค้นข้อมูล : 19 กันยายายน 2561)

More Related Content

What's hot

โครงร่างโครงงานคอม
โครงร่างโครงงานคอมโครงร่างโครงงานคอม
โครงร่างโครงงานคอม
noeiinoii
 
โครงงาน สมุนไพรลดความอ้วน
โครงงาน สมุนไพรลดความอ้วนโครงงาน สมุนไพรลดความอ้วน
โครงงาน สมุนไพรลดความอ้วน
Mai Natthida
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
Boonyarat Thongyoung
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
Boonyarat Thongyoung
 
โครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงานโครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงาน
Umaporn Maneesatjang
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
Sarunporn Kapbai
 

What's hot (19)

Rabies
RabiesRabies
Rabies
 
แบบโครงงาน Primrata
แบบโครงงาน Primrataแบบโครงงาน Primrata
แบบโครงงาน Primrata
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
แบบร่างโครงงาน
แบบร่างโครงงานแบบร่างโครงงาน
แบบร่างโครงงาน
 
แบบร่างโครงงาน
แบบร่างโครงงานแบบร่างโครงงาน
แบบร่างโครงงาน
 
2562 final-project social-addict
2562 final-project social-addict2562 final-project social-addict
2562 final-project social-addict
 
2562 final-project
2562 final-project2562 final-project
2562 final-project
 
โรคซึมเศร้า
โรคซึมเศร้าโรคซึมเศร้า
โรคซึมเศร้า
 
อินเทอร์เน็ตและการใช้งาน
อินเทอร์เน็ตและการใช้งานอินเทอร์เน็ตและการใช้งาน
อินเทอร์เน็ตและการใช้งาน
 
Final1
Final1Final1
Final1
 
โครงร่างโครงงานคอม
โครงร่างโครงงานคอมโครงร่างโครงงานคอม
โครงร่างโครงงานคอม
 
2561 project07
2561 project07 2561 project07
2561 project07
 
โครงงาน สมุนไพรลดความอ้วน
โครงงาน สมุนไพรลดความอ้วนโครงงาน สมุนไพรลดความอ้วน
โครงงาน สมุนไพรลดความอ้วน
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
โครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงานโครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงาน
 
2559 project
2559 project 2559 project
2559 project
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 

Similar to Kk

2562 final-projectpongpat40-190923163452
2562 final-projectpongpat40-1909231634522562 final-projectpongpat40-190923163452
2562 final-projectpongpat40-190923163452
ssuserc41687
 
2562 final-project 16-pimolpa
2562 final-project 16-pimolpa2562 final-project 16-pimolpa
2562 final-project 16-pimolpa
LomipNekcihc
 
Depression of thai people
Depression of thai peopleDepression of thai people
Depression of thai people
Nantharat Pansara
 

Similar to Kk (20)

Oh good
Oh goodOh good
Oh good
 
Oh good
Oh goodOh good
Oh good
 
กิจกรรมที่ 5
กิจกรรมที่ 5กิจกรรมที่ 5
กิจกรรมที่ 5
 
2562 final-projectpongpat40-190923163452
2562 final-projectpongpat40-1909231634522562 final-projectpongpat40-190923163452
2562 final-projectpongpat40-190923163452
 
ใบงานที่ 5 โครงงาน
ใบงานที่ 5 โครงงานใบงานที่ 5 โครงงาน
ใบงานที่ 5 โครงงาน
 
2562 final-project 12-matave
2562 final-project 12-matave2562 final-project 12-matave
2562 final-project 12-matave
 
หน่อไม้ฝรั่ง
หน่อไม้ฝรั่งหน่อไม้ฝรั่ง
หน่อไม้ฝรั่ง
 
หน่อไม้ฝรั่ง
หน่อไม้ฝรั่งหน่อไม้ฝรั่ง
หน่อไม้ฝรั่ง
 
2562 final-project 10
2562 final-project 102562 final-project 10
2562 final-project 10
 
2562 final-project 16-pimolpa
2562 final-project 16-pimolpa2562 final-project 16-pimolpa
2562 final-project 16-pimolpa
 
โครงงานคอมพิวเตอร
โครงงานคอมพิวเตอรโครงงานคอมพิวเตอร
โครงงานคอมพิวเตอร
 
Depression of thai people
Depression of thai peopleDepression of thai people
Depression of thai people
 
Project1
Project1Project1
Project1
 
Project1
Project1Project1
Project1
 
2561 project (6)
2561 project  (6)2561 project  (6)
2561 project (6)
 
Com term2
Com term2Com term2
Com term2
 
Asdfghj
AsdfghjAsdfghj
Asdfghj
 
ปลาตีน
ปลาตีนปลาตีน
ปลาตีน
 
2562 final-project 10
2562 final-project 102562 final-project 10
2562 final-project 10
 
Comdaniel
ComdanielComdaniel
Comdaniel
 

Kk

  • 1. 1 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ รหัสวิชา ง33201-33202 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 5- 6 ปีการศึกษา 2561 ชื่อโครงงาน ทาความเข้าใจอาการแพ้คาเฟอีน ชื่อผู้ทาโครงงาน นางสาว เบญจมา ชูชาติ เลขที่ 1 ชั้น ม.6 ห้อง 10 ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2561 โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
  • 2. 2 ใบงาน การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์ สมาชิกในกลุ่ม 1 นางสาวเบญจมา ชูชขาติ เลขที่ 1 ม. 6/10 คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้ ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย) ทาความเข้าใจอาการแพ้คาเฟอีน ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ) secured caffeine alllergy ประเภทโครงงาน ด้านการศึกษา ชื่อผู้ทาโครงงาน นางสาวเบญจมา ชูชาติ ชื่อที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ชื่อที่ปรึกษาร่วม - ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2561 ที่มาและความสาคัญของโครงงาน เนื่องจากปัจจุบันมีร้านชาและกาแฟเปิดขายอยู่ทั่วไปในทุกท้องที่ของจังหวัดเชียงใหม่ เป็นจานวนมาก ซึ่ง เป็นผลมาจากการที่ประชาชนชาวชียงใหม่ชอบดื่มชา แต่มีบุคคลบางประเภทเมื่อลองรับประทานชาหรือกาแฟ เกิด อาการ ผดผื่นขึ้นตามตัว คันปาก ปวดศรีษะรวมถึงอาการเป็นลม ผู้จัดทาจึงศึกษาข้อมูลเกี่ยวกับอาการเหล่านี้ จึง พบว่า อาการเหล่านี้เรียกว่า อาการแพ้คาเฟอีน ผู้จัดทาจึงเกิดแนวคิดเผยแพร่อาการแพ้คาเฟอีนให้คนทั่วไปและคนที่ สนใจได้รู้จักและศึกษาหาทางป้องกันหรือแก้ไขปัญหาอาการแพ้คาเฟอีนไม่ให้มีอาการช็อคหนัก อีกทั้งตัวผู้จัดทามี อาการแพ้คาเฟอีน จึงเป็นเหตุให้ผู้จัดทาตัดสินใจเลือกหัวข้อนี้ เพราะไม่เพียงแค่ผู้จัดทาที่ได้รับความรู้ความเข้าใจ เท่านั้น แต่ผู้จัดทายังสามารถเผยแพร่ความรู้เรื่องนี้ให้แก่บุคคลอื่นๆได้อีกด้วย วัตถุประสงค์ 1.เพื่อศึกษาและทาความเข้าใจอาการแพ้คาเฟอีน 2. เพื่อศึกษาวิธีระงับอาการแพ้คาเฟอีน 3. เพื่อเผยแพร่ข้อมูลให้แก่ผู้สนใจ
  • 3. 3 ขอบเขตโครงงาน 1.รู้จักคาเฟอีน 2.ฤทธิ์ของคาเฟอีน 3.อาการแพ้คาเฟอีน 4.วิธีรักษาหรือระงับอาการแพ้คาเฟอีน หลักการและทฤษฎี มีคนจานวนไม่น้อยที่ดื่มกาแฟในตอนเช้าเพื่อทาให้ตาสว่าง ซึ่งสารคาเฟอีนที่พบได้ในกาแฟจะไปกระตุ้นระบบ ประสาทส่วนกลาง นอกจากนี้เรายังพบสารคาเฟอีนได้ในใบชาและฝักโกโก้ ซึ่งมีการประมาณไว้ว่า 90% ของชาว อเมริกาเหนือทานคาเฟอีนทุกวัน แม้ว่าคาเฟอีนจะปลอดภัยสาหรับคนส่วนมาก แต่ก็มีบางคนที่แพ้เจ้าสารชนิดนี้ค่ะ สาหรับบทความในวันนี้ เราจะพาคุณไปดูอาการของคนที่แพ้คาเฟอีน สาเหตุ และวิธีรักษา ฤทธิ์ของคาเฟอีน คาเฟอีนเป็นสารกระตุ้นจากธรรมชาติที่ส่งผลต่อสมองและระบบประสาทส่วนกลาง ทาให้คนรู้สึกตื่นตัวและมีสมาธิ มากขึ้น นอกจากนี้มีคนจานวนมากเชื่อว่าการดื่มกาแฟในระหว่างวันทางานสามารถทาให้พวกเขาทางานได้มากขึ้น อย่างไรก็ตาม ปริมาณของคาเฟอีนต่อวันที่คนส่วนมากดื่มแล้วปลอดภัยก็คือ 400 มิลลิกรัม หรือเทียบเท่าประมาณ 4 แก้ว แต่บางคนก็อาจมีความไวต่อคาเฟอีนและมีบางอาการ เช่น หัวใจเต้นเร็ว วิตกกังวล กระตุก ปวดศีรษะ มีปัญหา กับการนอน ท้องไส้ปั่นป่วน ฯลฯ อาการของคนที่แพ้คาเฟอีน คนที่แพ้คาเฟอีนจะแสดงบางอาการออกมา ตัวอย่างเช่น เป็นลมพิษ ริมฝีปากหรือลิ้นบวม คันปาก ริมฝีปาก และลิ้น อาการเหล่านี้อาจเกิดขึ้นภายในชั่วโมงเดียวกับที่ทานคาเฟอีน นอกจากนี้บางคนอาจแสดงปฏิกิริยาที่บ่งบอกถึงการแพ้ อย่างรุนแรง ซึ่งจะเรียกว่า Anaphylactic Shock แต่มันก็พบได้ไม่บ่อยสักเท่าไร ซึ่งผู้แพ้จะมีใบหน้าบวมอย่างรุนแรง โดยประกอบไปด้วยดวงตา ริมฝีปาก ใบหน้า และลิ้น มีปัญหากับการหายใจ มีปัญหากับการพูด หายใจเสียงฟืดฟาด ไอ คลื่นไส้ ปวดท้อง อาเจียน หัวใจเต้นเร็ว เวียนศีรษะ
  • 4. 4 สาเหตุที่ทาให้แพ้คาเฟอีน? ร่างกายของคนที่แพ้คาเฟอีนจะมองว่าคาเฟอีนเป็นตัวบุกรุก เมื่อพวกเขาทานอาหารที่มีคาเฟอีน ร่างกายจะผลิต แอนติบอดีที่เรียกว่า Immunoglobin E. ซึ่งแอนติบอดีจะกระตุ้นเซลล์ให้หลั่งสารฮีสตามีนออกมาเพื่อกาจัดโมเลกุลที่ มันเข้าใจผิดว่าทาให้เกิดอันตรายต่อร่างกาย และโมเลกุลเหล่านี้ก็คือ สารก่อภูมิแพ้ (Allergens) ส่งผลให้เกิดการ อักเสบ ซึ่งสามารถนาไปสู่การเกิดลมพิษ คัน และบวม  ผลของคาเฟอีนต่อร่างกาย ผลต่อสมอง คาเฟอีนจะเป็นสารที่กระตุ้นสมอง ทาให้ผู้บริโภค มีความตื่นตัว ความคิดฉับไว ไม่ง่วงนอน กระปรี้กระเปร่า รู้สึกมี พลัง ทางานได้นาน ขนาดของคาเฟอีน ที่เริ่มมีฤทธิ์ ในการกระตุ้นสมอง คือ 40 มิลลิกรัม ขึ้นไป ปัจจุบันในวงการ ธุรกิจมักจะเรียกเครื่องดื่มผสมคาเฟอีน ว่าเครื่องดื่มชูกาลัง แสดงให้เห็นภาพของการ เสริมสร้างพละกาลัง ดื่มแล้วไม่ ง่วง มีเรี่ยวแรง สามารถทางานได้มากๆ แม้ว่าจะรู้สึกอ่อนเพลียเหนื่อยล้าและง่วงนอนเพียงใด คา เฟอีนในขนาดสูงจะทาให้นอนไม่หลับ ลดระยะเวลาหลับและหลับไม่สนิท มือสั่น เกิดอาการวิตกกังวล คาเฟอีนใน ขนาดที่เป็นพิษอาจทาให้ชักได้ คาเฟอีนเสริมฤทธิ์ยาระงับปวด เช่น แอสไพริน พาราเซตามอลและยังเสริมฤทธิ์ยา ระงับอาการปวดศีรษะชนิด ไมเกรนได้แต่ไม่มีฤทธิ์เพิ่มความจาและอาจทาให้การตอบสนองของร่างกายช้าลงได้ ผลต่อระบบไหลเวียนโลหิต คาเฟอีนกระตุ้นการหลั่งอะดรีนาลีน และโดปามีน ฤทธิ์กระตุ้นการหลั่งอะดรีนาลีน ทา ให้หัวใจเต้นเร็วขึ้น ใจสั่น ความดันโลหิตสูง ตับเร่งผลิตน้าตาลเข้าสู่กระแสเลือด เร็วขึ้น กล้ามเนื้อตื่นตัวพร้อมทางาน ทาให้เป็นเหมือนยาชูกาลัง คาเฟอีนทาให้หัวใจเต้นช้าลงเล็กน้อยในชั่วโมงแรก และเต้นเร็วขึ้นในชั่วโมงที่ 2 และ 3 ความดันโลหิตจะเพิ่มขึ้นประมาณ 5-10 มิลลิเมตรปรอทและเพิ่มขึ้นนาน ประมาณ 2-3 ชั่วโมง แต่จะมีการทนต่อผลของคาเฟอีนที่เกิดกับระบบหัวใจและหลอดเลือดได้ในผู้ที่รับ คาเฟอีนเป็น ประจาส่วนฤทธิ์กระตุ้นการหลั่งโดปามีนทาให้รู้สึกผ่อนคลายสบายใจ สุขลึกๆ เชื่อว่าเป็นสาเหตุสาคัญทาให้ติด คาเฟอีน ขณะ นี้ยังไม่มีหลักฐานว่าคาเฟอีนเป็นสาเหตุทาให้เกิดโรคความดันโลหิตสูง โรคหัวใจเต้นผิดจังหวะ โรคหัวใจขาด เลือด โรคหลอดโลหิตลี้ยงหัวใจอุดตันและโรคของระบบไหลเวียนโลหิตอื่นๆรวมทั้งไม่ได้ ทาให้อัตราการเสียชีวิตจาก โรคระบบไหลเวียนโลหิตเพิ่มมากกว่าผู้ที่ไม่ได้ บริโภคคาเฟอีนอย่างไรก็ตามการบริโภคคาเฟอีนในขนาดสูงเกินไปอาจ ไม่ดีต่อระบบ ไหลเวียนโลหิตในระยะยาวได้
  • 5. 5 ผลต่อการนอนหลับ ผล ของคาเฟอีนต่อการนอนหลับมีความชัดเจนต่อผลต่อพฤติกรรม และอารมณ์มาก กล่าวคือคาเฟอีน จะเพิ่ม ระยะเวลาที่ใช้ก่อนหลับให้ยาวนานมากขึ้นและลดระยะเวลาในการนอนหลับ ให้สั้นลง โดยผลเช่นนี้อาจเกิดขึ้นได้จาก การดื่มกาแฟที่ชงแก่ๆ เพียงถ้วยเดียวก่อนนอน 1ชั่วโมงเท่านั้น ทาไมดื่มกาแฟแล้วไม่ง่วง คาเฟอีนมีลักษณะทางเคมีที่สาคัญประการหนึ่ง คล้ายกับสารที่ชื่อ อดีโนซีน( adenosine) และเข้าไปจับกับตัวรับ( receptor ) ตัวเดียวกันซึ่งสารadenosine เป็น สารเคมีที่สร้างขึ้นในสมอง มีฤทธิ์ทาให้รู้สึกง่วงนอนดังนั้นเมื่อบริโภค เครื่องดื่มประเภท ชาและกาแฟหรือเครื่องดื่มผสมคาเฟอีนเข้าไปสมองจะเข้าใจว่าเป็น adenosine เนื่อง จากตัวรับ ของอดีโนซีนทาปฏิกิริยาจับกับคาเฟอีน กลไกดังกล่าวทาให้สมองขาดสารที่ทาให้รู้สึกง่วงนอน ร่างกายจึงรู้สึกไม่ง่วง และรู้สึกกระปรี้กระเปร่ามีกาลังวังชายิ่งขึ้น Synder และ Lader( ปี2529)ยังได้อ้างถึงการศึกษานักวิทยาศาสตร์ของญี่ปุ่นว่าคาเฟอีน ขนาด 150 มก. ทาให้ผู้รับ การทดลองใช้เวลาเฉลี่ย 2.1 ชม. จึงจะหลับและหลับเป็นเวลาเฉลี่ยเพียง4.6 ชม. เมื่อเทียบกับผู้ที่ไม่ได้รับคาเฟอีน ซึ่ง ใช้เวลาเพียง29 นาที และนอนหลับได้นานถึง 7.4 ชม.เมื่อ ทาการวัดคลื่นสมองของผู้ที่ได้รับคาเฟอีนก็พบลักษณะที่ แตกต่างจากการนอนหลับ ปกติ นอกจากนี้ยังตื่นง่ายเมื่อมีเสียงดัง นอนกระสับกระส่ายและทาให้คุณภาพในการนอน หลับลดลง การดื่มกาแฟทั้งชนิดธรรมดาและชนิดสกัดจากคาเฟอีนออก จะเพิ่มการหลั่งของกรดและน้าย่อยในกระเพาะอาหารสูง กว่าคาเฟอีนถึง 2 เท่า ผู้ที่เป็นโรคแผลในกระเพาะอาหารหรือลาไส้จึงควรหลีกเลี่ยงการดื่มกาแฟทุก ชนิด รวมทั้ง เครื่องดื่มหรืออาหารที่มีคาเฟอีนเป็นส่วนประกอบ ผลต่อระบบทางเดินอาหาร การดื่มกาแฟทั้งชนิดธรรมดาหรือชนิดที่สกัดจากคาเฟอีนออกจะเพิ่มการหลั่งของกรดและน้าย่อยในกระเพาะอาหาร สูงกว่าคาเฟอีนถึง 2 เท่า ผู้ที่เป็นโรคแผลในกระเพาะอาหารหรือลาไส้จึงควรหลีกเลี่ยงการดื่มกาแฟทุก ชนิด รวมทั้ง เครื่องดื่มหรืออาหารที่มีคาเฟอีนเป็นส่วนประกอบ ผลต่อระบบกระดูก แม้ ว่าจะมีรายงานในระยะแรกว่าการดื่มกาแฟทาให้ร่างการสูญเสียแคลเซียม ซึ่งอาจทาให้กระดูกเปราะบางและหัก ง่าย โดยอ้างอิงฤทธิ์ของคาเฟอีนในการเพิ่มการขับแคลเซียมออกทางปัสสาวะ อย่างไรก็ตาม รายงานส่วนใหญ่ที่พบว่า การดื่มกาแฟทาให้มีการสูญเสียแคลเซียม กระดูกเปราะบาง กระดูกหักง่ายนั้น มักจะการควบคุมปัจจัยเสี่ยงต่างๆ ไม่ รัดกุมเพียงพอ เช่นการที่ผู้เข้าร่วม โครงการวิจัย ดื่มนมหรือได้รับแคลเซียมน้อย หรือมีการสูบบุรี่ งานวิจัยในระยะ หลังที่ควบคุมปัจจัยเสี่ยงอย่างรัดกุมพบว่าการดื่มกาแฟหรือ เครื่องดื่มที่มีคาเฟอีน ไม่ทาให้มีการเสียสมดุล ของ แคลเซียมในร่างกายไม่ทาให้กระดูกเปราะบางและหักง่าย
  • 6. 6 ผลต่อระบบสืบพันธุ์ สาร เคมีที่มนุษย์ได้บริโภคเป็นจานวนมาก เช่น แอลกอฮอล์ ในเครื่องดื่มล้วนแต่มีหลักฐานว่าก่อให้เกิดผลต่อระบบ สืบพันธุ์โดยเฉพาะ ความผิดปกติของทารกในครรภ์ จากการศึกษาของ Kirkinen ในปี 2526 ถึงผลกระทบของ คาเฟอีนต่อระบบไหลเวียนโลหิต เมื่อให้คาเฟอีนครั้งเดียวในขนาด 200 มก. แก่สตรีมีครรภ์ ในระยะ 2 เดือนสุดท้าย ของการตั้งครรภ์ พบว่า คาเฟอีนไม่เปลี่ยนแปลงอัตราการเต้นของหัวใจและความดันโลหิตของมารดาและ อัตราการ เต้นของหัวใจของทารกในครรภ์ ในปีเดียวกันนี้ Wilson และคณะได้ศึกษาในแกะที่ตั้งครรภ์ พบว่าคาเฟอีน ในขนาด 3.5 และ 35 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม ลด การไหลเวียนโลหิตไปยังมดลูกเป็นเวลาเพียงครึ่งชั่วโมงเท่านั้น ข้อมูลชี้ให้เห็นว่าผลต่อการไหลเวียนโลหิตไปยัง มดลูกไม่น่าเป็นสาเหตุที่คา เฟอีนจะก่อให้เกิดความผิดปกติของทารกได้ Linn และคณะ (ปี 2525)รายงานว่าการดื่มกาแฟไม่เกินวันละ 4 ถ้วย ในช่วง 3 เดือนแรกของการตั้งครรภ์ ไม่ทาให้ ทารกที่คลอดออกมามีความพิการ Kurppa และคณะ (2526) ได้ขยายการศึกษานี้ให้กว้างขึ้นทั่งประเทศฟินแลนด์ โดยเปรียบเทียบระหว่างมารดาของทารกที่มีความพิการแต่กาเนิด กับมารดาของทารกปกติ ซึ่งคลอดในเวลาและใน เขตเดียวกันพบว่า ปริมาณการดื่มกาแฟในระหว่างตั้งครรภ์น้อยลงทั้งสองกลุ่ม โดย ร้อยละ 26.5 ของมารดาทั้งหมด ยังคงดื่มกาแฟ อย่างน้อยวันละ 4 ถ้วย ร้อยละ 7.2 ดื่มอย่างน้อยวันละ 7 ถ้วย และร้อยละ 3.5 ดื่มวันละ10 ถ้วย หรือ มากกว่านั้นแลจากการวิเคราะห์ข้อมูลดังกล่าว ในเชิงสถิติแล้วยังสรุปได้ว่าการดื่มกาแฟ ไม่เพิ่มอัตราการเสี่ยงต่อการ เกิดความพิการของทารก คาเฟอีนทาให้สัตว์ทดลองหลายชนิดโดยเฉพาะหนูขาวคลอดลูกออกมาพิการแต่ผลดัง กล่าวไม่เกิดขึ้นในคนซึ่งอาจมีสาเหตุจากความแตกต่างกันในด้านสายพันธุ์และความแตกต่างกันของการได้รับคาเฟอีน ของคนและสัตว์ทดลอง ขณะ นี้หลักฐานที่มีอยู่ชี้ว่า คาเฟอีนไม่มีผลกระทบต่อการตั้งครรภ์ในด้านการเจริญเติบโตของทารกในครรภ์ น้าหนัก ตัว และความผิดปกติของทารกแรกคลอด การแท้งบุตร และการตั้งครรภ์ ยากรวมทั้งผลต่อการพัฒนาการของเด็กทั้ง ทางร่างกายและระบบประสาทยังไม่มีข้อ ยุติชัดเจนแต่ผลงานวิจัยส่วนใหญ่ชี้ว่าคาเฟอีนไม่ทาให้เกิดผลเสียต่อการตั้ง ครรภ์และในรายงานพบว่าคาเฟอีนทาให้เกิดผลเสียต่อการตั้งครรภ์นั้นมักจะมี สาเหตุจากการควบคุมปัจจัยเสี่ยงอื่นๆ ไม่เพียงพอ แม้ว่าการได้รับคาเฟอีนหรือการดื่มตามลาพังจะไม่เป็นอันตรายต่อการตั้งครรภ์ แต่คาเฟอีนอาจเสริม ความเป็นพิษของยาหรือสารบางชนิดต่อทารกในครรภ์ ดังนั้นเพื่อความปลอดภัยสูงสุดในระหว่างตั้งครรภ์ควร ระมัดระวังการดื่ม เครื่องดื่มและการบริโภคอาหารที่มีคาเฟอีน ผลต่อการเกิดมะเร็ง แม้ ว่าจะมีงานวิจัยทางระบาดวิทยาในระยะแรกชี้ว่า การดื่มเครื่องดื่มที่มีคาเฟอีนมีความสัมพันธ์กับการเกิดมะเร็ง หลายชนิด ในงานวิจัยที่ชี้ว่ามีความสัมพันธ์ระหว่างการดื่มเครื่องดื่มที่มีคาเฟอี นกับการเกิดมะเร็งนั้นส่วนใหญ่ผลที่
  • 7. 7 เกิดขึ้นไม่สัมพันธ์กับปริมาณการดื่ม เครื่องดื่มเหล่านี้จึงทาให้ไม่สามารถระบุได้ว่าคาเฟอีนเป็นสาเหตุในการ เพิ่มอัตรา เสี่ยงของการเกิดมะเร็งและงานวิจัยในจานวนมากในระยะหลังกลับไม่พบ ว่าการดื่มเครื่องดื่มที่มีคาเฟอีนมีผลต่อการ เกิดมะเร็งดังนั้นสภาวิจัยแห่ง ชาติประเทศสหรัฐอเมริกา ( National Research Council ในปี 2532 ) จึงรายงานว่า ไม่มีหลักฐานที่น่าเชื่อถือได้ว่าคาเฟอีนมีความสัมพันธ์กบการเกิดมะเร็งไม่ว่าจะเป็นมะเร็งชนิดใดนอกจากนั้นในปี 2534 คณะกรรมการด้านการแพทย์และวิทยาศาสตร์ ( Cancer Society s Medical and Scientific Committee, 2534 ) ได้สรุปว่าไม่มีหลักฐานบ่งชี้เพียงพอว่าคาเฟอีน เป็นปัจจัยเสี่ยงของโรคมะเร็งในคน การแพ้คาเฟอีน คา เฟอีน หรือผงกาแฟ อาจทาให้เกิดการแพ้ได้โดยแสดงอาการคัน ผิวหนังร้อนแดง มีผื่นคัน คล้ายลมพิษ อุบัติการณ์ ของการเกิดอาการแพ้ค่อนข้างต่า และรักษาโดยใช้ยาแก้แพ้ ผู้ที่มีอาการแพ้เหล่านี้ไม่ควรบริโภคอาหารหรือเครื่องดื่ม ที่มีคาเฟอีน รวมทั้งไม่ควรทางานที่ต้องสัมผัสกับคาเฟอีนหรือผงกาแฟ การป้องกัน หากรู้ตัวว่าแพ้คาเฟอีน วิธีที่ดีที่สุดที่จะป้องกันไม่ให้เกิดอาการแพ้ก็คือ การหลีกเลี่ยงการทานอาหารชนิดใดๆ ก็ตามที่ มีคาเฟอีน สาหรับอาหารที่มีคาเฟอีน เช่น กาแฟ ชา ช็อกโกแลต เครื่องดื่มชูกาลัง ฯลฯ ถ้าไม่แน่ใจว่าอาหารที่จะทาน มีคาเฟอีนหรือไม่ ให้คุณอ่านฉลากก่อนทานค่ะ อย่างไรก็ตาม หลายคนอาจจาเป็นต้องพึ่งกาแฟเพื่อให้ตัวเองมีสมาธิและกระตือรือร้นในระหว่างวัน ซึ่งคาเฟอีนเป็น สารเสพติดประเภทหนึ่ง หากเลิกแบบหักดิบ มันก็อาจทาให้เกิดอาการขาดยา ซึ่งประกอบไปด้วย การมีอาการสั่น ปวดศีรษะ หงุดหงิด รู้สึกเหนื่อย ฯลฯ แต่เมื่อผ่านไป 1 สัปดาห์ อาการเหล่านี้จะหายไป สาหรับวิธีอื่นๆ ที่ช่วยทาให้ ตื่นตัวแทนคาเฟอีน ตัวอย่างเช่น การพักจากหน้าจออุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ ออกไปเดินเล่นช่วงพักกลางวัน ดื่มน้า ปริมาณมาก นอนให้เพียงพอ ทานอาหารที่ดีต่อสุขภาพ เป็นต้น
  • 8. 8 วิธีดาเนินงาน แนวทางการดาเนินงาน -ปรึกษาเลือกหัวข้อ -นาเสนอหัวข้อกับครูผู้สอน -ศึกษารวบรวมข้อมูล -จัดทารายงาน -นาเสนอครู -ปรับปรุงและแก้ไข เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้ -อินเทอร์เน็ต -หนังสือที่เกี่ยวข้อง -คอมพิวเตอร์ -โทรศัพท์ งบประมาณ 120 บาท ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน ลาดับ ที่ ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 1 0 1 1 12 1 3 1 4 1 5 16 17 1 คิดหัวข้อโครงงาน 2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล 3 จัดทาโครงร่างงาน 4 ปฏิบัติการสร้างโครงงาน 5 ปรับปรุงทดสอบ 6 การทาเอกสารรายงาน 7 ประเมินผลงาน 8 นาเสนอโครงงาน
  • 9. 9 ผลที่คาดว่าจะได้รับ 1.ผู้จัดทามีความเข้าใจในหัวข้อที่สนใจมากขึ้น 2.สามารถนาไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวันได้จริง 3.สามารถนาความรู้ไปเผยแพร่ให้บุคคลที่สนใจหรือคนทั่วไปได้ สถานที่ดาเนินการ 1.ห้องคอมพิวเตอร์โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย 2.ห้องสมุด โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง 1.กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ แหล่งอ้างอิง อาการแพ้คาเฟอีนเป็นอย่างไร?(2558). [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก https://www.honestdocs.co/what-is-caffeine-allergy (วันที่ค้นข้อมูล : 19 กันยายายน 2561) แพ้คาเฟอีนเหรอ(2558). [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก http://coffeeteasweets.com/%E0%B9%81%E0%B8%9E%E0%B9%89%E0%B8%84%E0%B8%B2%E0 %B9%80%E0%B8%9F%E0%B8%AD%E0%B8%B5%E0%B8%99- %E0%B8%AB%E0%B8%A3%E0%B8%AD/ (วันที่ค้นข้อมูล : 19 กันยายายน 2561)