SlideShare a Scribd company logo
1 of 7
Download to read offline
1
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
รหัสวิชา ง33201-33202 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 6
ปีการศึกษา 2560
ชื่อโครงงาน
รถไฟฟ้าชิงกันเซ็ง
ชื่อผู้ทาโครงงาน
1 นาย ฐิติกรณ์ มูลลิ เลขที่ 37 ชั้น ม.6 ห้อง 11
2 นาย รณกฤต จินกระวี เลขที่ 43 ชั้น ม.6 ห้อง 11
ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2560
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
2
ใบงาน
การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
สมาชิกในกลุ่ม 2 คน
1นาย ฐิติกรณ์ มูลลิ เลขที่ 37
2นาย รณกฤต จินกระวี เลขที่ 43
คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้
ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย)
รถไฟชินคันเซ็น
ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ)
Shinkansen
ประเภทโครงงาน โครงงานศึกษาเพื่อการเรียนรู้
ชื่อผู้ทาโครงงาน 1 นาย ฐิติกรณ์ มูลลิ เลขที่ 37
2 นาย รณกฤต จินกระวี เลขที่ 43
ชื่อที่ปรึกษา อ.เขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2560
ที่มาและความสาคัญของโครงงาน (อธิบายถึงที่มา แนวคิด และเหตุผล ของการทาโครงงาน)
เนื่องด้วยกระผมและเพื่อนร่วมทาโครงงานอีก 1 คนได้ดูข่าวว่าจะมีโครงการจัดทารถไฟฟ้าความเร็วสูง
กรุงเทพ – โคราช ผมเลยสนใจ และหาที่มาของรถไฟฟ้าความเร็วสูง จึงไปเจอ “ชินคันเซ็น” รถไฟฟ้าความเร็ว
สูงของประเทศญี่ปุ่น ซึ้งทาให้พวกผมทั้ง 2 คนสนใจเป็นอย่างมาก เลยจัดทาโครงงานนี้ขึ้นมา เพื่อบอกข้อดี
ข้อเสียและขอมูลอีกหลายๆอย่างของมัน เช่น รถไฟชิงกันเซ็งให้บริการแก่ผู้โดยสารด้วยความเร็วสูงสุด 320
กม./ชั่วโมง แม้ว่าจะสามารถทาความเร็วได้สูงสุดถึง 443 กม./ชั่วโมงในการทดสอบเมื่อปี ค.ศ. 1996 และรถไฟ
ชิงกันเซ็งยังทาลายสถิติรถไฟที่วิ่งเร็วที่สุดในโลกด้วยความเร็วถึง 603 กม./ชั่วโมง ในการทดสอบขบวนแม็กเลฟ
เมื่อเดือนเมษายน ค.ศ. 2015
3
วัตถุประสงค์ (สิ่งที่ต้องการในการทาโครงงาน ระบุเป็นข้อ)
1. อยากให้ทุกคนได้เห็นถึงความสาคัญของ ชินคันเซ็น
2. อยากให้ผู้อ่านได้รู้ถึงประวัติของ ชินคันเซ็น
3. ทาโครงงานนี้เพื่อตัวเราเองจะได้ศึกษาสิ่งที่เราสนใจได้แบบเจาะลึก
ขอบเขตโครงงาน (คุณลักษณะ ขอบเขต เงื่อนไขและข้อจากัดของการทาโครงงาน)
ศึกษาประวัติความเป็นมา ใครเป็นคนคิด ใครเป็นคนสร้าง กฎหรือมารยาทในการขึ้น ชินคันเซ็น งบประมาน
การสร้าง ระยะเวลาการสร้าง ความเร็ว ของชินคันเซ็น
หลักการและทฤษฎี (ความรู้ หลักการ หรือทฤษฎีที่สนับสนุนการทาโครงงาน)
ชิงกันเซ็ง (ญี่ปุ่น: 新幹線 shinkansen ?, แปล: สายทางไกลสายใหม่) เป็นชื่อเรียกเครือข่ายรถไฟ
ความเร็วสูงในประเทศญี่ปุ่นซึ่งดาเนินงานโดย 4 กลุ่มบริษัทรถไฟญี่ปุ่น สายแรกที่เปิดใช้งานคือ โทไกโดะ ชิงกัน
เซ็ง (515.4 กม.) ในปี ค.ศ. 1964 จากนั้นเป็นต้นมา เครือข่ายรถไฟความเร็วสูงชิงกันเซ็งก็ได้ถูกขยายออกไปทั่ว
ประเทศ ด้วยระยะทางรวมกว่า 2,765 กม. และวิ่งด้วยความเร็ว 240–320 กม./ชั่วโมง นอกจากนี้ ยังมีสาย มินิ
ชิงกันเซ็ง สั้น ๆ ความยาว 10.3 กม. ที่วิ่งด้วยความเร็ว 130 กม./ชั่วโมง
รถไฟชิงกันเซ็งให้บริการแก่ผู้โดยสารด้วยความเร็วสูงสุด 320 กม./ชั่วโมง แม้ว่าจะสามารถทาความเร็วได้สูงสุด
ถึง 443 กม./ชั่วโมงในการทดสอบเมื่อปี ค.ศ. 1996 และรถไฟชิงกันเซ็งยังทาลายสถิติรถไฟที่วิ่งเร็วที่สุดในโลก
ด้วยความเร็วถึง 603 กม./ชั่วโมง ในการทดสอบขบวนแม็กเลฟ เมื่อเดือนเมษายน ค.ศ. 2015
วิธีดาเนินงาน
ประวัติ
รางรถไฟชิงกันเซ็ง เป็นรางที่มีความกว้างมาตรฐาน (standard gauge)
รถไฟที่วิ่งด้วยความเร็วสูงของญี่ปุ่น ได้ต้นแบบพัฒนามาจากรถไฟความเร็วสูง ซีเมนส์ ของ เยอรมนี ญี่ปุ่นมี
ความต้องการที่จะสร้างรางรถไฟที่รองรับรถไฟที่วิ่งด้วยความเร็วสูง จึงได้สร้างทางรถไฟมาเพื่อรถไฟความเร็วสูง
อย่างจริงจังโดยเฉพาะ เป็นประเทศแรกในโลก เนื่องจากภูมิประเทศของญี่ปุ่นจะเต็มไปด้วยภูเขามากมาย
เส้นทางรถไฟที่มีอยู่ในขณะนั้นจึงมีความกว้างแบบแคบ คือ 1,067 มิลลิเมตร ซึ่งทาให้ต้องวางเส้นทางรถไฟที่คด
เคี้ยวและรถไฟไม่สามารถเร่งให้มีความเร็วสูงกว่านี้ได้ ต่อมา ญี่ปุ่นมีความต้องการสร้างระบบรถไฟความเร็วสูง
มากกว่าความต้องการสร้างของประเทศที่มีระบบรางรถไฟความกว้างมาตรฐานอยู่แล้วและญี่ปุ่นนั้นก็มีศักยภาพ
ในการปรับปรุงระบบรถไฟให้ทันสมัยมากกว่าอีก
4
จุดประสงค์แรก
ชื่อเรียกอีกชื่อที่คุ้นหูกันดีสาหรับชิงกันเซ็งนี้ก็คือ รถไฟหัวกระสุน (bullet train) ซึ่งเป็นความหมายของคาใน
ภาษาญี่ปุ่นว่า ดังงัง เร็ชชะ (弾丸列車) ต่อมาชื่อนี้ได้นามาเรียกเป็นชื่อเล่นของโครงการตั้งแต่ตอนเริ่มต้น
ปรึกษาหารือความเป็นไปได้ของโครงการในราวทศวรรษที่ 1930 ชื่อนี้ได้มาจากลักษณะของหัวรถจักรที่มี
ลักษณะคล้ายกับหัวกระสุนปืนและยังมีความเร็วสูงเหมือนกระสุนปืนนั่นเอง
คาว่า "ชิงกันเซ็ง" มีการนามาใช้อย่างเป็นทางการเมื่อปี พ.ศ. 2433 (ค.ศ. 1940) เพื่อใช้เรียกเส้นทางทางเดิน
รถไฟโดยสาร/สินค้าจากกรุงโตเกียวไปยังชิโมะโนะเซะกิที่จะสร้างขึ้นในสมัยนั้น โดยการใช้พลังงานไอน้าและหัว
รถจักรไฟฟ้าที่สามารถเร่งความเร็วได้ถึง 200 กิโลเมตรต่อชั่วโมง หลังจากนั้นสามปี รัฐมนตรีรถไฟได้ผลักดันให้
เกิดโครงการขยายทางรถไฟไปสู่กรุงปักกิ่ง (โดยการเจาะอุโมงค์ผ่านคาบสมุทรเกาหลี) หรือยาวไปจนถึงสิงคโปร์
เลยทีเดียว ไปจนถึงการสร้างทางรถไฟเชื่อมกับทางรถไฟสายไซบีเรียนของรัสเซียและทางรถไฟสายอื่น ๆ ของ
เอเชีย แต่ต่อมา แผนนี้ได้มีการยกเลิกในปี พ.ศ. 2436 (ค.ศ. 1943) และสภาวะของญี่ปุ่นในสงครามโลกครั้งที่ 2
กาลังตกเป็นฝ่ายเสียเปรียบ อย่างไรก็ตาม โครงสร้างบางส่วนก็ได้รับการพัฒนาต่อ เช่น อุโมงค์บางส่วนได้มาการ
นามาใช้สาหรับชิงกันเซ็งในปัจจุบันนับตั้งแต่มีการสร้างครั้งแรกในช่วงสงคราม
การก่อสร้าง
ไฟล์:Mountfujijapan.jpg
ภูเขาไฟฟูจิกับรถไฟชิงกันเซ็ง ในช่วงดอกซากุระบาน
หลังจากสงครามโลกครั้งที่ 2 ได้สิ้นสุดลง รถไฟความเร็วสูงก็ได้เลือนหายไปจากความทรงจาของคนญี่ปุ่นเป็น
เวลาหลายปี ต่อมากลางทศวรรษที่ 1950 ทางรถไฟสายหลักโทไกโดะก็ถูกใช้งานมาจนเต็มขีดความสามารถแล้ว
รัฐมนตรีรถไฟของญี่ปุ่นจึงได้ตัดสินใจกลับมาทบทวนโครงการชิงกันเซ็งอีกครั้ง รัฐบาลได้อนุมัติโครงการเมื่อปี
1953 การก่อสร้างทางรถไฟส่วนแรกของ โทไกโดะ ชิงกันเซ็ง ระหว่างกรุงโตเกียวไปยังโอซะกะก็ได้เริ่มต้นขึ้นเมื่อ
ปี พ.ศ. 2502 การก่อสร้างทางรถไฟครั้งนี้ ญี่ปุ่นจาเป็นต้องกู้เงินจากธนาคารโลกเป็นจานวนเงิน 30 ล้าน
ดอลลาร์สหรัฐ ต่อมาในปี 1962 ได้มีพิธีเปิดการทดสอบระบบเพื่อการขนสินค้าเป็นครั้งแรกในบางส่วนของ
เส้นทางนี้ ที่เมืองโอะดะวะระ จังหวัดคะนะงะวะ
โทไกโดะ ชิงกันเซ็ง ได้เปิดใช้บริการครั้งแรกเมื่อวันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2507 (ค.ศ. 1964) ซึ่งทันเวลาสาหรับการ
แข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อน 1964 ณ กรุงโตเกียวพอดี ซึ่งนับว่าประสบความสาเร็จทันทีทีเปิดใช้บริการ โดยมี
จานวนผู้โดยสารถึง 100 ล้านคนในเวลาน้อยกว่า 3 ปีคือวันที่ 13 กรกฎาคม พ.ศ. 2510 (ค.ศ. 1967) และยอด
ผู้โดยสารรวมมีจานวนถึง 1,000 ล้านคนในปี 1976 และรถไฟขบวนโดยสาร 16 ตู้ก็ได้นามาจัดแสดงในงาน
นิทรรศการปี 70 ที่โอซะกะ
5
รถไฟชิงกันเซ็งขบวนแรกวิ่งด้วยความเร็วสูงสุดถึง 210 กิโลเมตรต่อชั่วโมง[1] หลังจากนั้นก็เพิ่มเป็น 220
กิโลเมตรต่อชั่วโมง รถไฟบางขบวนที่มีรูปร่างเป็นหัวกระสุนนั้นยังมีการใช้งานอยู่ในปัจจุบัน และหัวรถจักรคัน
หนึ่งในจานวนนี้ปัจจุบันได้นาไปแสดงที่พิพิธภัณฑ์รถไฟแห่งชาติ ที่เมืองยอร์ค สหราชอาณาจักร
การต่อขยายเส้นทาง
หลังจากในช่วงแรกประสบความสาเร็จ จึงพร้อมที่จะต่อขยายเส้นทางเดินรถไฟออกไปทางตะวันตก โดยมี
จุดหมายไปยังฮิโระชิมะและฟุกุโอะกะ (ซันโย ชิงกันเซ็ง) จนแล้วเสร็จในปี 1975
คาคุเออิ ทานากะ อดีตนายกรัฐมนตรีญี่ปุ่นได้ให้การสนับสนุนอย่างมาก รัฐบาลชุดนี้ตั้งเป้าว่าจะต่อขยายราง
รถไฟที่มีอยู่ให้กลายเป็นรางรถไฟรางคู่ขนานครอบคลุมพื้นที่ทั่วประเทศ เส้นทางใหม่ 2 แห่งแรกคือ โทโฮคุ ชิง
กันเซ็ง และโจเอสึ ชิงกันเซ็ง ทั้งสองเส้นทางนี้สร้างขึ้นตามแผนการของรัฐบาลชุดนี้ หลังจากนั้นแผนการต่อ
ขยายในเส้นทางอื่น ๆ ก็ถูกระงับชั่วคราวหรือถูกยกเลิกไปทั้งหมดขณะที่กิจการรถไฟแห่งชาติเริ่มเข้าสู่ภาวะเป็น
หนี้มหาศาลเนื่องจากค่าใช้จ่ายในการก่อสร้างเครือข่ายชิงกันเซ็งทั่วประเทศนั้นเป็นตัวเลขที่สูงมากทีเดียว ในราว
ทศวรรษที่ 1930 การรถไฟญี่ปุ่นอยู่ในภาวะเกือบจะล้มละลาย จนนาไปสู่การเปลี่ยนแปลงเป็นหน่วยงานเอกชน
ในที่สุด เมื่อปี 1937
อย่างไรก็ตาม โครงการพัฒนารถไฟชิงกันเซ็งก็ได้ดาเนินการมาโดยตลอด มีต้นแบบรถที่มีลักษณะเฉพาะของแต่
ละรุ่นออกมาเสมอ ตอนนี้ รถไฟชิงกันเซ็งสามารถทาความเร็วได้ถึง 300 กิโลเมตรต่อชั่วโมง ก้าวขึ้นมาเทียบเท่า
รถไฟความเร็วสูงระดับโลกไม่ว่าจะเป็น TGV ของฝรั่งเศส, TAV ของอิตาลี, AVE ของอิตาลี และ ICE ของ
เยอรมนี
นอกจากนั้น ตั้งแต่ปี 1970 ญี่ปุ่นยังได้พัฒนาชุโอะ ชิงกันเซ็ง ซึ่งเป็นรถไฟพลังแม่เหล็ก (แม็กเลฟ) ที่พัฒนามา
จากรถไฟความเร็วสูงพลังแม่เหล็ก (Maglev) ของเยอรมนี โดยกาหนดว่าจะวิ่งจากโตเกียวไปยังโอซะกะ ในวันที่
2 ธันวาคม ปี 2003 รถไฟพลังแม่เหล็กขนาดสามตู้รถไฟ ชื่อ JR-Maglev MLX01
สถิติด้านความปลอดภัย
ระหว่างการใช้งานกว่า 40 ปีเต็ม จานวนยอดผู้โดยสารกว่า 6 ล้านคนมาแล้ว ชิงกันเซ็งก็ไม่เคยมีประวัติว่ามี
ผู้โดยสารเสียชีวิตเนื่องจากรถไฟตกรางหรือรถไฟชนกันเลย (รวมไปถึงอุบัติเหตุแผ่นดินไหวและพายุไต้ฝุ่นด้วย) มี
เพียงการบาดเจ็บและการเสียชีวิตจากประตูรถไฟงับผู้โดยสารหรือสัมภาระของผู้โดยสารเท่านั้น เนื่องจากมี
เจ้าหน้าที่ดูแลความปลอดภัยอยู่เป็นจานวนมากที่สถานีเพื่อป้องกันการเกิดเหตุร้ายขึ้น อย่างไรก็ตาม ก็เคยมี
ประวัติผู้โดยสารฆ่าตัวตายด้วยการกระโดดลงไปในรางขณะที่รถไฟกาลังเทียบชานชาลาหรือกระโดดออกจาก
รถไฟก่อนที่รถไฟจะจอด
6
ชิงกันเซ็งช่วงที่กาลังรับส่งผู้โดยสารนั้นเคยตกรางเพียงครั้งเดียวเท่านั้น ซึ่งเกิดขึ้นเมื่อเกิดแผ่นดินไหวในชูเอะสึ
เมื่อวันที่ 23 ตุลาคม ค.ศ. 2004 ตอนโดยสารจานวน 3 ตอนจากทั้งหมด 10 ตอนของรถไฟหมายเลข 325 สาย
โจเอ็ทสุ ชิงกันเซ็ง ตกรางใกล้ ๆ กับสถานีนะงะโอะกะ ในเมืองนะงะโอะกะ จังหวัดนีงะตะ แต่ผู้โดยสารทั้ง 154
คนไม่มีผู้ใดได้รับบาดเจ็บหรือเสียชีวิตแต่อย่างใด[1]PDF (43.3 KiB) ในช่วงที่เกิดเหตุการณ์แผ่นดินไหวนั้น
ระบบตรวจจับแผ่นดินไหวสามารถสั่งการให้รถไฟหยุดได้อย่างรวดเร็ว
ชิงกันเซ็งในอนาคต
ปัญหาอย่างหนึ่งของชิงกันเซ็งคือ ยิ่งเพิ่มความเร็วมากเท่าไหร่ก็ยิ่งทาให้มีมลพิษทางเสียงมากขึ้นและแก้ไขได้ยาก
ขึ้นอีกด้วย การศึกษาวิจัยในปัจจุบันจึงมุ่งเน้นในเรื่องการลดเสียงดังที่เกิดขึ้น โดยเฉพาะอย่างยิ่ง เสียงที่เกิดขึ้นใน
อุโมงค์ หรือ tunnel boom อันเกิดจากการที่รถไฟวิ่งออกจากอุโมงค์ด้วยความเร็วสูง
บริษัทรถไฟญี่ปุ่นตะวันออกได้ประกาศว่ารถไฟขบวนใหม่สามารถวิ่งได้ด้วยความเร็วถึง 320 กิโลเมตรต่อชั่วโมง
และจะนามาใช้ในการเปิดตัวโทโฮคุ ชิงกันเซ็ง ซึ่งเป็นส่วนต่อขยายจากฮะชิโนะเฮะไปยังอะโอะโมะริในช่วงต้นปี
2011 แต่จากการทดลองวิ่งรถไฟ Fastech 360 พบว่า ที่ความเร็ว 360 กิโลเมตรต่อชั่วโมงนั้นยังมีปัญหาอยู่ที่
มลพิษทางเสียง สายส่งเหนือรถไฟ และระยะหยุดรถ ซึ่งอาจจะเป็นข้อจากัดของการเทคโนโลยีชิงกันเซ็งใน
ปัจจุบันก็ว่าได้ ในที่สุด ก็มีการนาเอาเทคโนโลยีรถไฟพลังแม่เหล็กหรือเทคโนโลยีอื่นมาทดแทน หากสามารถวิ่ง
ได้ด้วยความเร็ว 320 กิโลเมตรต่อชั่วโมงจากอุตสึโนะมิยะไปยังอะโอะโมะริแล้วก็จะทาให้สามารถเดินทางจาก
โตเกียวไปยังอะโอะโมะริได้โดยใช้เวลาประมาณ 3 ชั่วโมงเท่านั้น (ระยะทางประมาณ 675 กิโลเมตรหรือ 419
ไมล์)
นอกจากนั้น ผู้บริหารของการรถไฟแห่งญี่ปุ่นสายกลางก็ได้ประกาศแผนการที่จะสร้างรถไฟพลังแม่เหล็ก ชูโอะ
ชิงกันเซ็ง ให้สามารถเดินทางจากโตเกียวไปยังนาโกย่าภายในเวลาไม่ถึง 1 ชั่วโมงให้ได้ (ระยะทางประมาณ 366
กิโลเมตรต่อชั่วโมง) ภายในปี 2027
7
ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน
ลาดับ
ที่
ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ
1 2 3 4 5 6 7 3 9
1
0
1
1
12
1
3
1
4
1
5
16 17
1 คิดหัวข้อโครงงาน ผู้จัดทา
2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล ผู้จัดทา
3 จัดทาโครงร่างงาน ผู้จัดทา
4 ปฏิบัติการสร้างโครงงาน ผู้จัดทา
5 ปรับปรุงทดสอบ ผู้จัดทา
6 การทาเอกสารรายงาน ผู้จัดทา
7 ประเมินผลงาน ผู้จัดทา
8 นาเสนอโครงงาน ผู้จัดทา
ผลที่คาดว่าจะได้รับ (ผลลัพธ์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดการทาโครงงาน)
คาดว่าการศึกษาการทาโครงงานที่กลุ่มของผมช่วยกันทามาทั้งหมดจะประสบผมสาเร็จ เป็นที่หน้าพึงพอใจแก่
อาจาร และเป็นที่ชื่นชอบของคนที่สนใจและเข้ามาอ่าน
สถานที่ดาเนินการ
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัยเชียงใหม่
กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาสารตร์ และการงานอาชีพและเทคโนโลยี
แหล่งอ้างอิง (เอกสาร หรือแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ที่นามาใช้การทาโครงงาน)
http://www.h2.dion.ne.jp/~dajf/byunbyun/speeds/schedule.htm
Hood, Christopher P. (2006). Shinkansen – From Bullet Train to Symbol of Modern Japan.
London: Routledge. ISBN 0-415-32052-6 (hb) or ISBN 0415444098. (pb)
Hood, Christopher P. (2007). Shinkansen – From Bullet Train to Symbol of Modern Japan.
Routledge, London. pp. 18–43. ISBN 9-78-0-415-32052-8.
Semmens, Peter (1997). High Speed in Japan: Shinkansen - The World's Busiest High-speed
Railway. Sheffield, UK: Platform 5 Publishing. ISBN 1-872524-88-5.

More Related Content

Similar to ชินกันเซน

โครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงานโครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงานSuphawit Rai
 
ออโรร่า
ออโรร่าออโรร่า
ออโรร่าstampst
 
งานคอม
งานคอมงานคอม
งานคอมThanapon777
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์Supakrit Chaiwong
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงานMunin Tarkang
 
2562 final-project 605-02
2562 final-project 605-022562 final-project 605-02
2562 final-project 605-02ssuser00a92d
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์mewlamun
 

Similar to ชินกันเซน (20)

โครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงานโครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงาน
 
ออโรร่า
ออโรร่าออโรร่า
ออโรร่า
 
งานคอม
งานคอมงานคอม
งานคอม
 
002
002002
002
 
Com project
Com projectCom project
Com project
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 
2562 final-project 605-02
2562 final-project 605-022562 final-project 605-02
2562 final-project 605-02
 
Project
ProjectProject
Project
 
อันนี้
อันนี้อันนี้
อันนี้
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
Mmmmmmmmmmmmmmmmmmmmmmmmmmmm
MmmmmmmmmmmmmmmmmmmmmmmmmmmmMmmmmmmmmmmmmmmmmmmmmmmmmmmm
Mmmmmmmmmmmmmmmmmmmmmmmmmmmm
 
2562 final-project 605-02
2562 final-project 605-022562 final-project 605-02
2562 final-project 605-02
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
2559 project
2559 project 2559 project
2559 project
 
ใหม่
ใหม่ใหม่
ใหม่
 
โครงงานคอม2
โครงงานคอม2โครงงานคอม2
โครงงานคอม2
 
ใหม่
ใหม่ใหม่
ใหม่
 

More from ธัญญลักษณ์ นาคคำ

แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์สมบูรณ์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์สมบูรณ์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์สมบูรณ์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์สมบูรณ์ธัญญลักษณ์ นาคคำ
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ธัญญลักษณ์ นาคคำ
 
ปานชีวา ธนัขขา เสร็จละเว้ยอิดอกกของจริง
ปานชีวา ธนัขขา เสร็จละเว้ยอิดอกกของจริงปานชีวา ธนัขขา เสร็จละเว้ยอิดอกกของจริง
ปานชีวา ธนัขขา เสร็จละเว้ยอิดอกกของจริงธัญญลักษณ์ นาคคำ
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ ธัญญลักษณ์ นาคคำ
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ ธัญญลักษณ์ นาคคำ
 
ใบงานแบบสำรวจและประวัติของ นายฐิติกรณ์-มูลลิ
ใบงานแบบสำรวจและประวัติของ นายฐิติกรณ์-มูลลิ ใบงานแบบสำรวจและประวัติของ นายฐิติกรณ์-มูลลิ
ใบงานแบบสำรวจและประวัติของ นายฐิติกรณ์-มูลลิ ธัญญลักษณ์ นาคคำ
 

More from ธัญญลักษณ์ นาคคำ (20)

2560 project -2 (1)
2560 project -2 (1)2560 project -2 (1)
2560 project -2 (1)
 
คอม
คอมคอม
คอม
 
โครงร่างโครงงานคอม
โครงร่างโครงงานคอมโครงร่างโครงงานคอม
โครงร่างโครงงานคอม
 
เสร็จค่ะคอม (1)
เสร็จค่ะคอม (1)เสร็จค่ะคอม (1)
เสร็จค่ะคอม (1)
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์สมบูรณ์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์สมบูรณ์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์สมบูรณ์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์สมบูรณ์
 
กิจกรรมที่4
กิจกรรมที่4กิจกรรมที่4
กิจกรรมที่4
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
กิจกรรมที่ 5
กิจกรรมที่ 5กิจกรรมที่ 5
กิจกรรมที่ 5
 
เสร็จค่ะคอม
เสร็จค่ะคอมเสร็จค่ะคอม
เสร็จค่ะคอม
 
ปานชีวา ธนัขขา เสร็จละเว้ยอิดอกกของจริง
ปานชีวา ธนัขขา เสร็จละเว้ยอิดอกกของจริงปานชีวา ธนัขขา เสร็จละเว้ยอิดอกกของจริง
ปานชีวา ธนัขขา เสร็จละเว้ยอิดอกกของจริง
 
โครงงานคอม กิจกรรม234
โครงงานคอม กิจกรรม234โครงงานคอม กิจกรรม234
โครงงานคอม กิจกรรม234
 
ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์
ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์
ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์
 
โปรเจคคอมโอเว่น
โปรเจคคอมโอเว่นโปรเจคคอมโอเว่น
โปรเจคคอมโอเว่น
 
โครงงานโบ๊ต
โครงงานโบ๊ตโครงงานโบ๊ต
โครงงานโบ๊ต
 
โครงงานคอมวอลเลย์บอล
โครงงานคอมวอลเลย์บอลโครงงานคอมวอลเลย์บอล
โครงงานคอมวอลเลย์บอล
 
งานอันวา
งานอันวางานอันวา
งานอันวา
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
ใบงานแบบสำรวจและประวัติของ นายฐิติกรณ์-มูลลิ
ใบงานแบบสำรวจและประวัติของ นายฐิติกรณ์-มูลลิ ใบงานแบบสำรวจและประวัติของ นายฐิติกรณ์-มูลลิ
ใบงานแบบสำรวจและประวัติของ นายฐิติกรณ์-มูลลิ
 
พรบ
พรบพรบ
พรบ
 

ชินกันเซน

  • 1. 1 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ รหัสวิชา ง33201-33202 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 6 ปีการศึกษา 2560 ชื่อโครงงาน รถไฟฟ้าชิงกันเซ็ง ชื่อผู้ทาโครงงาน 1 นาย ฐิติกรณ์ มูลลิ เลขที่ 37 ชั้น ม.6 ห้อง 11 2 นาย รณกฤต จินกระวี เลขที่ 43 ชั้น ม.6 ห้อง 11 ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2560 โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
  • 2. 2 ใบงาน การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์ สมาชิกในกลุ่ม 2 คน 1นาย ฐิติกรณ์ มูลลิ เลขที่ 37 2นาย รณกฤต จินกระวี เลขที่ 43 คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้ ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย) รถไฟชินคันเซ็น ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ) Shinkansen ประเภทโครงงาน โครงงานศึกษาเพื่อการเรียนรู้ ชื่อผู้ทาโครงงาน 1 นาย ฐิติกรณ์ มูลลิ เลขที่ 37 2 นาย รณกฤต จินกระวี เลขที่ 43 ชื่อที่ปรึกษา อ.เขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2560 ที่มาและความสาคัญของโครงงาน (อธิบายถึงที่มา แนวคิด และเหตุผล ของการทาโครงงาน) เนื่องด้วยกระผมและเพื่อนร่วมทาโครงงานอีก 1 คนได้ดูข่าวว่าจะมีโครงการจัดทารถไฟฟ้าความเร็วสูง กรุงเทพ – โคราช ผมเลยสนใจ และหาที่มาของรถไฟฟ้าความเร็วสูง จึงไปเจอ “ชินคันเซ็น” รถไฟฟ้าความเร็ว สูงของประเทศญี่ปุ่น ซึ้งทาให้พวกผมทั้ง 2 คนสนใจเป็นอย่างมาก เลยจัดทาโครงงานนี้ขึ้นมา เพื่อบอกข้อดี ข้อเสียและขอมูลอีกหลายๆอย่างของมัน เช่น รถไฟชิงกันเซ็งให้บริการแก่ผู้โดยสารด้วยความเร็วสูงสุด 320 กม./ชั่วโมง แม้ว่าจะสามารถทาความเร็วได้สูงสุดถึง 443 กม./ชั่วโมงในการทดสอบเมื่อปี ค.ศ. 1996 และรถไฟ ชิงกันเซ็งยังทาลายสถิติรถไฟที่วิ่งเร็วที่สุดในโลกด้วยความเร็วถึง 603 กม./ชั่วโมง ในการทดสอบขบวนแม็กเลฟ เมื่อเดือนเมษายน ค.ศ. 2015
  • 3. 3 วัตถุประสงค์ (สิ่งที่ต้องการในการทาโครงงาน ระบุเป็นข้อ) 1. อยากให้ทุกคนได้เห็นถึงความสาคัญของ ชินคันเซ็น 2. อยากให้ผู้อ่านได้รู้ถึงประวัติของ ชินคันเซ็น 3. ทาโครงงานนี้เพื่อตัวเราเองจะได้ศึกษาสิ่งที่เราสนใจได้แบบเจาะลึก ขอบเขตโครงงาน (คุณลักษณะ ขอบเขต เงื่อนไขและข้อจากัดของการทาโครงงาน) ศึกษาประวัติความเป็นมา ใครเป็นคนคิด ใครเป็นคนสร้าง กฎหรือมารยาทในการขึ้น ชินคันเซ็น งบประมาน การสร้าง ระยะเวลาการสร้าง ความเร็ว ของชินคันเซ็น หลักการและทฤษฎี (ความรู้ หลักการ หรือทฤษฎีที่สนับสนุนการทาโครงงาน) ชิงกันเซ็ง (ญี่ปุ่น: 新幹線 shinkansen ?, แปล: สายทางไกลสายใหม่) เป็นชื่อเรียกเครือข่ายรถไฟ ความเร็วสูงในประเทศญี่ปุ่นซึ่งดาเนินงานโดย 4 กลุ่มบริษัทรถไฟญี่ปุ่น สายแรกที่เปิดใช้งานคือ โทไกโดะ ชิงกัน เซ็ง (515.4 กม.) ในปี ค.ศ. 1964 จากนั้นเป็นต้นมา เครือข่ายรถไฟความเร็วสูงชิงกันเซ็งก็ได้ถูกขยายออกไปทั่ว ประเทศ ด้วยระยะทางรวมกว่า 2,765 กม. และวิ่งด้วยความเร็ว 240–320 กม./ชั่วโมง นอกจากนี้ ยังมีสาย มินิ ชิงกันเซ็ง สั้น ๆ ความยาว 10.3 กม. ที่วิ่งด้วยความเร็ว 130 กม./ชั่วโมง รถไฟชิงกันเซ็งให้บริการแก่ผู้โดยสารด้วยความเร็วสูงสุด 320 กม./ชั่วโมง แม้ว่าจะสามารถทาความเร็วได้สูงสุด ถึง 443 กม./ชั่วโมงในการทดสอบเมื่อปี ค.ศ. 1996 และรถไฟชิงกันเซ็งยังทาลายสถิติรถไฟที่วิ่งเร็วที่สุดในโลก ด้วยความเร็วถึง 603 กม./ชั่วโมง ในการทดสอบขบวนแม็กเลฟ เมื่อเดือนเมษายน ค.ศ. 2015 วิธีดาเนินงาน ประวัติ รางรถไฟชิงกันเซ็ง เป็นรางที่มีความกว้างมาตรฐาน (standard gauge) รถไฟที่วิ่งด้วยความเร็วสูงของญี่ปุ่น ได้ต้นแบบพัฒนามาจากรถไฟความเร็วสูง ซีเมนส์ ของ เยอรมนี ญี่ปุ่นมี ความต้องการที่จะสร้างรางรถไฟที่รองรับรถไฟที่วิ่งด้วยความเร็วสูง จึงได้สร้างทางรถไฟมาเพื่อรถไฟความเร็วสูง อย่างจริงจังโดยเฉพาะ เป็นประเทศแรกในโลก เนื่องจากภูมิประเทศของญี่ปุ่นจะเต็มไปด้วยภูเขามากมาย เส้นทางรถไฟที่มีอยู่ในขณะนั้นจึงมีความกว้างแบบแคบ คือ 1,067 มิลลิเมตร ซึ่งทาให้ต้องวางเส้นทางรถไฟที่คด เคี้ยวและรถไฟไม่สามารถเร่งให้มีความเร็วสูงกว่านี้ได้ ต่อมา ญี่ปุ่นมีความต้องการสร้างระบบรถไฟความเร็วสูง มากกว่าความต้องการสร้างของประเทศที่มีระบบรางรถไฟความกว้างมาตรฐานอยู่แล้วและญี่ปุ่นนั้นก็มีศักยภาพ ในการปรับปรุงระบบรถไฟให้ทันสมัยมากกว่าอีก
  • 4. 4 จุดประสงค์แรก ชื่อเรียกอีกชื่อที่คุ้นหูกันดีสาหรับชิงกันเซ็งนี้ก็คือ รถไฟหัวกระสุน (bullet train) ซึ่งเป็นความหมายของคาใน ภาษาญี่ปุ่นว่า ดังงัง เร็ชชะ (弾丸列車) ต่อมาชื่อนี้ได้นามาเรียกเป็นชื่อเล่นของโครงการตั้งแต่ตอนเริ่มต้น ปรึกษาหารือความเป็นไปได้ของโครงการในราวทศวรรษที่ 1930 ชื่อนี้ได้มาจากลักษณะของหัวรถจักรที่มี ลักษณะคล้ายกับหัวกระสุนปืนและยังมีความเร็วสูงเหมือนกระสุนปืนนั่นเอง คาว่า "ชิงกันเซ็ง" มีการนามาใช้อย่างเป็นทางการเมื่อปี พ.ศ. 2433 (ค.ศ. 1940) เพื่อใช้เรียกเส้นทางทางเดิน รถไฟโดยสาร/สินค้าจากกรุงโตเกียวไปยังชิโมะโนะเซะกิที่จะสร้างขึ้นในสมัยนั้น โดยการใช้พลังงานไอน้าและหัว รถจักรไฟฟ้าที่สามารถเร่งความเร็วได้ถึง 200 กิโลเมตรต่อชั่วโมง หลังจากนั้นสามปี รัฐมนตรีรถไฟได้ผลักดันให้ เกิดโครงการขยายทางรถไฟไปสู่กรุงปักกิ่ง (โดยการเจาะอุโมงค์ผ่านคาบสมุทรเกาหลี) หรือยาวไปจนถึงสิงคโปร์ เลยทีเดียว ไปจนถึงการสร้างทางรถไฟเชื่อมกับทางรถไฟสายไซบีเรียนของรัสเซียและทางรถไฟสายอื่น ๆ ของ เอเชีย แต่ต่อมา แผนนี้ได้มีการยกเลิกในปี พ.ศ. 2436 (ค.ศ. 1943) และสภาวะของญี่ปุ่นในสงครามโลกครั้งที่ 2 กาลังตกเป็นฝ่ายเสียเปรียบ อย่างไรก็ตาม โครงสร้างบางส่วนก็ได้รับการพัฒนาต่อ เช่น อุโมงค์บางส่วนได้มาการ นามาใช้สาหรับชิงกันเซ็งในปัจจุบันนับตั้งแต่มีการสร้างครั้งแรกในช่วงสงคราม การก่อสร้าง ไฟล์:Mountfujijapan.jpg ภูเขาไฟฟูจิกับรถไฟชิงกันเซ็ง ในช่วงดอกซากุระบาน หลังจากสงครามโลกครั้งที่ 2 ได้สิ้นสุดลง รถไฟความเร็วสูงก็ได้เลือนหายไปจากความทรงจาของคนญี่ปุ่นเป็น เวลาหลายปี ต่อมากลางทศวรรษที่ 1950 ทางรถไฟสายหลักโทไกโดะก็ถูกใช้งานมาจนเต็มขีดความสามารถแล้ว รัฐมนตรีรถไฟของญี่ปุ่นจึงได้ตัดสินใจกลับมาทบทวนโครงการชิงกันเซ็งอีกครั้ง รัฐบาลได้อนุมัติโครงการเมื่อปี 1953 การก่อสร้างทางรถไฟส่วนแรกของ โทไกโดะ ชิงกันเซ็ง ระหว่างกรุงโตเกียวไปยังโอซะกะก็ได้เริ่มต้นขึ้นเมื่อ ปี พ.ศ. 2502 การก่อสร้างทางรถไฟครั้งนี้ ญี่ปุ่นจาเป็นต้องกู้เงินจากธนาคารโลกเป็นจานวนเงิน 30 ล้าน ดอลลาร์สหรัฐ ต่อมาในปี 1962 ได้มีพิธีเปิดการทดสอบระบบเพื่อการขนสินค้าเป็นครั้งแรกในบางส่วนของ เส้นทางนี้ ที่เมืองโอะดะวะระ จังหวัดคะนะงะวะ โทไกโดะ ชิงกันเซ็ง ได้เปิดใช้บริการครั้งแรกเมื่อวันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ. 2507 (ค.ศ. 1964) ซึ่งทันเวลาสาหรับการ แข่งขันกีฬาโอลิมปิกฤดูร้อน 1964 ณ กรุงโตเกียวพอดี ซึ่งนับว่าประสบความสาเร็จทันทีทีเปิดใช้บริการ โดยมี จานวนผู้โดยสารถึง 100 ล้านคนในเวลาน้อยกว่า 3 ปีคือวันที่ 13 กรกฎาคม พ.ศ. 2510 (ค.ศ. 1967) และยอด ผู้โดยสารรวมมีจานวนถึง 1,000 ล้านคนในปี 1976 และรถไฟขบวนโดยสาร 16 ตู้ก็ได้นามาจัดแสดงในงาน นิทรรศการปี 70 ที่โอซะกะ
  • 5. 5 รถไฟชิงกันเซ็งขบวนแรกวิ่งด้วยความเร็วสูงสุดถึง 210 กิโลเมตรต่อชั่วโมง[1] หลังจากนั้นก็เพิ่มเป็น 220 กิโลเมตรต่อชั่วโมง รถไฟบางขบวนที่มีรูปร่างเป็นหัวกระสุนนั้นยังมีการใช้งานอยู่ในปัจจุบัน และหัวรถจักรคัน หนึ่งในจานวนนี้ปัจจุบันได้นาไปแสดงที่พิพิธภัณฑ์รถไฟแห่งชาติ ที่เมืองยอร์ค สหราชอาณาจักร การต่อขยายเส้นทาง หลังจากในช่วงแรกประสบความสาเร็จ จึงพร้อมที่จะต่อขยายเส้นทางเดินรถไฟออกไปทางตะวันตก โดยมี จุดหมายไปยังฮิโระชิมะและฟุกุโอะกะ (ซันโย ชิงกันเซ็ง) จนแล้วเสร็จในปี 1975 คาคุเออิ ทานากะ อดีตนายกรัฐมนตรีญี่ปุ่นได้ให้การสนับสนุนอย่างมาก รัฐบาลชุดนี้ตั้งเป้าว่าจะต่อขยายราง รถไฟที่มีอยู่ให้กลายเป็นรางรถไฟรางคู่ขนานครอบคลุมพื้นที่ทั่วประเทศ เส้นทางใหม่ 2 แห่งแรกคือ โทโฮคุ ชิง กันเซ็ง และโจเอสึ ชิงกันเซ็ง ทั้งสองเส้นทางนี้สร้างขึ้นตามแผนการของรัฐบาลชุดนี้ หลังจากนั้นแผนการต่อ ขยายในเส้นทางอื่น ๆ ก็ถูกระงับชั่วคราวหรือถูกยกเลิกไปทั้งหมดขณะที่กิจการรถไฟแห่งชาติเริ่มเข้าสู่ภาวะเป็น หนี้มหาศาลเนื่องจากค่าใช้จ่ายในการก่อสร้างเครือข่ายชิงกันเซ็งทั่วประเทศนั้นเป็นตัวเลขที่สูงมากทีเดียว ในราว ทศวรรษที่ 1930 การรถไฟญี่ปุ่นอยู่ในภาวะเกือบจะล้มละลาย จนนาไปสู่การเปลี่ยนแปลงเป็นหน่วยงานเอกชน ในที่สุด เมื่อปี 1937 อย่างไรก็ตาม โครงการพัฒนารถไฟชิงกันเซ็งก็ได้ดาเนินการมาโดยตลอด มีต้นแบบรถที่มีลักษณะเฉพาะของแต่ ละรุ่นออกมาเสมอ ตอนนี้ รถไฟชิงกันเซ็งสามารถทาความเร็วได้ถึง 300 กิโลเมตรต่อชั่วโมง ก้าวขึ้นมาเทียบเท่า รถไฟความเร็วสูงระดับโลกไม่ว่าจะเป็น TGV ของฝรั่งเศส, TAV ของอิตาลี, AVE ของอิตาลี และ ICE ของ เยอรมนี นอกจากนั้น ตั้งแต่ปี 1970 ญี่ปุ่นยังได้พัฒนาชุโอะ ชิงกันเซ็ง ซึ่งเป็นรถไฟพลังแม่เหล็ก (แม็กเลฟ) ที่พัฒนามา จากรถไฟความเร็วสูงพลังแม่เหล็ก (Maglev) ของเยอรมนี โดยกาหนดว่าจะวิ่งจากโตเกียวไปยังโอซะกะ ในวันที่ 2 ธันวาคม ปี 2003 รถไฟพลังแม่เหล็กขนาดสามตู้รถไฟ ชื่อ JR-Maglev MLX01 สถิติด้านความปลอดภัย ระหว่างการใช้งานกว่า 40 ปีเต็ม จานวนยอดผู้โดยสารกว่า 6 ล้านคนมาแล้ว ชิงกันเซ็งก็ไม่เคยมีประวัติว่ามี ผู้โดยสารเสียชีวิตเนื่องจากรถไฟตกรางหรือรถไฟชนกันเลย (รวมไปถึงอุบัติเหตุแผ่นดินไหวและพายุไต้ฝุ่นด้วย) มี เพียงการบาดเจ็บและการเสียชีวิตจากประตูรถไฟงับผู้โดยสารหรือสัมภาระของผู้โดยสารเท่านั้น เนื่องจากมี เจ้าหน้าที่ดูแลความปลอดภัยอยู่เป็นจานวนมากที่สถานีเพื่อป้องกันการเกิดเหตุร้ายขึ้น อย่างไรก็ตาม ก็เคยมี ประวัติผู้โดยสารฆ่าตัวตายด้วยการกระโดดลงไปในรางขณะที่รถไฟกาลังเทียบชานชาลาหรือกระโดดออกจาก รถไฟก่อนที่รถไฟจะจอด
  • 6. 6 ชิงกันเซ็งช่วงที่กาลังรับส่งผู้โดยสารนั้นเคยตกรางเพียงครั้งเดียวเท่านั้น ซึ่งเกิดขึ้นเมื่อเกิดแผ่นดินไหวในชูเอะสึ เมื่อวันที่ 23 ตุลาคม ค.ศ. 2004 ตอนโดยสารจานวน 3 ตอนจากทั้งหมด 10 ตอนของรถไฟหมายเลข 325 สาย โจเอ็ทสุ ชิงกันเซ็ง ตกรางใกล้ ๆ กับสถานีนะงะโอะกะ ในเมืองนะงะโอะกะ จังหวัดนีงะตะ แต่ผู้โดยสารทั้ง 154 คนไม่มีผู้ใดได้รับบาดเจ็บหรือเสียชีวิตแต่อย่างใด[1]PDF (43.3 KiB) ในช่วงที่เกิดเหตุการณ์แผ่นดินไหวนั้น ระบบตรวจจับแผ่นดินไหวสามารถสั่งการให้รถไฟหยุดได้อย่างรวดเร็ว ชิงกันเซ็งในอนาคต ปัญหาอย่างหนึ่งของชิงกันเซ็งคือ ยิ่งเพิ่มความเร็วมากเท่าไหร่ก็ยิ่งทาให้มีมลพิษทางเสียงมากขึ้นและแก้ไขได้ยาก ขึ้นอีกด้วย การศึกษาวิจัยในปัจจุบันจึงมุ่งเน้นในเรื่องการลดเสียงดังที่เกิดขึ้น โดยเฉพาะอย่างยิ่ง เสียงที่เกิดขึ้นใน อุโมงค์ หรือ tunnel boom อันเกิดจากการที่รถไฟวิ่งออกจากอุโมงค์ด้วยความเร็วสูง บริษัทรถไฟญี่ปุ่นตะวันออกได้ประกาศว่ารถไฟขบวนใหม่สามารถวิ่งได้ด้วยความเร็วถึง 320 กิโลเมตรต่อชั่วโมง และจะนามาใช้ในการเปิดตัวโทโฮคุ ชิงกันเซ็ง ซึ่งเป็นส่วนต่อขยายจากฮะชิโนะเฮะไปยังอะโอะโมะริในช่วงต้นปี 2011 แต่จากการทดลองวิ่งรถไฟ Fastech 360 พบว่า ที่ความเร็ว 360 กิโลเมตรต่อชั่วโมงนั้นยังมีปัญหาอยู่ที่ มลพิษทางเสียง สายส่งเหนือรถไฟ และระยะหยุดรถ ซึ่งอาจจะเป็นข้อจากัดของการเทคโนโลยีชิงกันเซ็งใน ปัจจุบันก็ว่าได้ ในที่สุด ก็มีการนาเอาเทคโนโลยีรถไฟพลังแม่เหล็กหรือเทคโนโลยีอื่นมาทดแทน หากสามารถวิ่ง ได้ด้วยความเร็ว 320 กิโลเมตรต่อชั่วโมงจากอุตสึโนะมิยะไปยังอะโอะโมะริแล้วก็จะทาให้สามารถเดินทางจาก โตเกียวไปยังอะโอะโมะริได้โดยใช้เวลาประมาณ 3 ชั่วโมงเท่านั้น (ระยะทางประมาณ 675 กิโลเมตรหรือ 419 ไมล์) นอกจากนั้น ผู้บริหารของการรถไฟแห่งญี่ปุ่นสายกลางก็ได้ประกาศแผนการที่จะสร้างรถไฟพลังแม่เหล็ก ชูโอะ ชิงกันเซ็ง ให้สามารถเดินทางจากโตเกียวไปยังนาโกย่าภายในเวลาไม่ถึง 1 ชั่วโมงให้ได้ (ระยะทางประมาณ 366 กิโลเมตรต่อชั่วโมง) ภายในปี 2027
  • 7. 7 ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน ลาดับ ที่ ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ 1 2 3 4 5 6 7 3 9 1 0 1 1 12 1 3 1 4 1 5 16 17 1 คิดหัวข้อโครงงาน ผู้จัดทา 2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล ผู้จัดทา 3 จัดทาโครงร่างงาน ผู้จัดทา 4 ปฏิบัติการสร้างโครงงาน ผู้จัดทา 5 ปรับปรุงทดสอบ ผู้จัดทา 6 การทาเอกสารรายงาน ผู้จัดทา 7 ประเมินผลงาน ผู้จัดทา 8 นาเสนอโครงงาน ผู้จัดทา ผลที่คาดว่าจะได้รับ (ผลลัพธ์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดการทาโครงงาน) คาดว่าการศึกษาการทาโครงงานที่กลุ่มของผมช่วยกันทามาทั้งหมดจะประสบผมสาเร็จ เป็นที่หน้าพึงพอใจแก่ อาจาร และเป็นที่ชื่นชอบของคนที่สนใจและเข้ามาอ่าน สถานที่ดาเนินการ โรงเรียนยุพราชวิทยาลัยเชียงใหม่ กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาสารตร์ และการงานอาชีพและเทคโนโลยี แหล่งอ้างอิง (เอกสาร หรือแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ที่นามาใช้การทาโครงงาน) http://www.h2.dion.ne.jp/~dajf/byunbyun/speeds/schedule.htm Hood, Christopher P. (2006). Shinkansen – From Bullet Train to Symbol of Modern Japan. London: Routledge. ISBN 0-415-32052-6 (hb) or ISBN 0415444098. (pb) Hood, Christopher P. (2007). Shinkansen – From Bullet Train to Symbol of Modern Japan. Routledge, London. pp. 18–43. ISBN 9-78-0-415-32052-8. Semmens, Peter (1997). High Speed in Japan: Shinkansen - The World's Busiest High-speed Railway. Sheffield, UK: Platform 5 Publishing. ISBN 1-872524-88-5.