SlideShare a Scribd company logo
1 of 7
Download to read offline
1
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพวิเตอร์
รหัสวิชา ง33201-33202 ชื่อวิชา เทคโนโลยสีารสนเทศและการสื่อสาร 5- 6
ปีการศึกษา 2561
ชื่อโครงงาน รู้จักโรคเก๊าท์
ชื่อผู้ทำโครงงาน
นางสาวปิงปอง ดอกขาว เลขที่ 49 ชั้น ม.6 ห้อง 3
ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขอื่นทอง มลูวรรณ์
ระยะเวลาดำเนินงานภาคเริยนท่ิ1-2 ปีการศึกษำิ2561
โรงเรียนยุพราชวิทยาลิยิิจังหวิดเชิยงใหม่ สำนักงานเขตพื้นท่
การศึกษามัธยมศิึกษาเขติ34
2
ใบงาน
การจัดทำข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
สมาชิกในกลุ่ม
1.นางสาวปิงปอง ดอกขาว เลขที่ 49
2.นางสาวเบญจมาศ เรือนคา เลขที่ 21
คำชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้
ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย)
รู้จักโรคเก๊าท์
ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ)
I knowิabout Gout
ประเภทโครงงาน เพื่อการศึกษา
ชื่อผู้ทำโครงงาน นางสาว ปิงปอง ดอกขาว
ชื่อที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดำเนินงาน 3สัปดาห์
ที่มาและความสำคัญของโครงงาน
ปัจจุบันผู้คนมีปัญหาการเป็นโรคเก๊าท์และถือเป็นปัญหาสาธารณสุขที่พบมากขึ้นในประเทศไทยโดยจะพบ
มากในเพศชายมากกว่าเพศหญิงเกิดจากการที่ระดับของกรดยูริคสูงในเลือด กรดยูริกเกิดจากการย่อยสลายสารพิวรีน ซึ่ง
พบได้ในเนื้อสัตว์ ข้าวสาลี เครื่องในสัตว์ เช่น ตับ เซี่ยงจี้ เป็นต้น ร่าง กายจะย่อยพิวรีนจนกลายเป็นกรดยูริค และจะขับออกมาพร้อม
กับปัสสาวะ ในคนปกติกรดยูริคจะถูกสร้างขึ้นในอัตราช้าพอที่ไตจะขับออกได้หมดทันกับการ สร้างขึ้นพอดี ในคนที่เป็นโรคเก๊าท์
พบว่าเกิดความผิดปกติของกระบวนการใช้และขับถ่ายสารพิวรีน ซึ่งการสะสมกรดยูริคใน ร่างกายจำนวนมาก
โดยเฉลี่ยแล้วกรดยูริคจะตกผลึกเมื่อระดับของกรดยูริคในเลือดมากเกิน 6.8มิลลิกรัมต่อเดซิลิตร
การที่ร่างกายมีกรดยูริคสะสมมากกว่าปกติ เป็นระยะเวลานาน ก็จะไปตกตะกอนอยู่บริเวณรอบๆ ข้อ หรือภายในข้อ
ทำให้เกิดการอักเสบขึ้น เป็นอากรเจ็บปวดตามข้อต่อต่าง ๆ ตามร่างกายซ่ึงจะเกิดปัญหาการขยับร่างกาย เช่น การ
เดิน การวิ่งและการเป็นโรคเก๊าท์นั้นจะไม่สามารถรับประทานอาหารได้อย่างอุดมสมบูรณ์ จึงทำให้เกิดโรคแทรกซ้อน
ชนิดอื่นๆได้ ถ้ายังปล่อยให้เป็นโรคนี้นานๆ ก็จะทำให้อาการยิ่งทวีความรุนแรงมากขึ้นเรื่อยๆ จึงต้องหาวิธีการรักษาให้ถูก
วิธีและเร็วที่สุดเท่าที่จะทาได้และโรคเก๊าท์นั้นยังสามารถเป็นโรค ทางพันธุกรรมอีกด้วย จากที่กล่าวมาผู้จัดทาโครงงานจึงหวัง
ว่าโครงงานนี้จะเป็นประโยชน์แก่ผู้สนใจไม่มากก็น้อย
วัตถุประสงค์
1. เพื่อศึกษาเรื่องโรคเก๊าท์
2. เพื่อให้ความรู้เรื่องโรคเก๊าท์
3. เพื่อหลีกเลี่ยงสิ่งที่ทำแล้วเกิดเป็นโรคเก๊าท์
4. เพื่อสามารถรักษาโรคเก๊าท์ในระยะยาวได้
3
ขอบเขตโครงงาน
ผู้ที่เป็นโรค หรือ ผู้ที่สนใจ
หลักการและทฤษฎี
เก๊ำท์ (Gout) เป็นโรคข้ออักเสบที่ทาให้มีอาการปวดแสบร้อน บวม แดงตามข้อต่ออย่างเฉียบพลันเป็นระยะ
ๆ อาจเกิดขึ้นกับข้อต่อเดียวหรือหลายข้อต่อพร้อมกัน
อำกำรของโรคเก๊ำท์
อาการปวดอย่างรุนแรงตามข้อต่อเป็นอาการที่พบได้บ่อยที่สุด โดยเฉพาะนิ้วหัวแม่เท้า แต่ก็สามารถเกิดกับ
ข้อต่อหลายส่วนตามร่างกายได้ เช่น ข้อเท้า ข้อศอก หัวเข่า ข้อต่อกระดูกมือ หรือข้อมือ อาการปวดจะรุนแรงในช่วง
4-12 ชั่วโมงแรก จากนั้นจะเริ่มปวดน้อยลงและมีอาการดีขึ้นภายใน 7-10 วัน แต่ในบางรายอาจมีอาการปวดได้นาน
หลายวันจนถึงหลายสัปดาห์ นอกจากนี้ยังมีอาการอื่น ๆ ที่เกิดขึ้นได้ เช่น
ข้อต่อเกิดการอักเสบและติดเชื้อ อาจเกิดขึ้นกับข้อต่อเพียงข้อเดียวหรือหลายข้อต่อ จนทาให้ผิวหนังบริเวณนั้นเป็นสี
แดง บวมแดง และแสบร้อน
เคลื่อนไหวร่างกายได้ไม่สะดวกจากภาวะข้อติด ซึ่งเป็นสัญญาณบ่งบอกความรุนแรงของโรคที่เพิ่มมากขึ้น
ผิวหนังบริเวณข้อต่อเกิดการลอกหรือคันหลังจากอาการของโรคดีขึ้น
อาการของโรคเหล่านี้จะเกิดขึ้นอย่างเฉียบพลัน มักเป็น ๆ หาย ๆ จนกว่าจะได้รับการรักษา โดยมักเกิดขึ้นในเวลา
กลางคืนได้บ่อยกว่าช่วงเวลาอื่น อย่างไรก็ตามควรรีบไปพบแพทย์หากผู้ป่วยมีไข้ ปวดข้ออย่างรุนแรง จนทาให้
ผิวหนังบวมแดงและแสบร้อนขึ้น เพราะอาการปวดข้ออาจทาให้ผู้ป่วยเข้าใจผิดได้ว่าเป็นสัญญาณของโรคข้ออื่น ๆ
การปล่อยให้โรคพัฒนารุนแรงขึ้นโดยไม่ได้รับการรักษาอย่างถูกต้อง อาจนาไปสู่อาการปวดอย่างเรื้อรังและสร้าง
ความเสียหายให้กับข้อต่อได้
สำเหตุของโรคเก๊ำท์
โรคเก๊าท์เป็นผลมาจากภาวะกรดยูริกในเลือดสูง (Hyperuricemia) ซึ่งเป็นภาวะของร่างกายที่มีการสะสม
ของกรดยูริกในปริมาณที่มากเกินไป ทาให้เกิดการตกผลึกตามข้อต่าง ๆ จนเกิดอาการปวดบวมตามข้ออย่างรุนแรง
และอาการอื่น ๆ ของโรคตามมากรดยูริกเป็นสารเคมีชนิดหนึ่งในเลือดที่ได้มาจากการย่อยสลายสารพิวรีน
(Purines) ในเนื้อเยื่อทั่วร่างกายและอาหารที่รับประทานเข้าไป โดยร่างกายจะมีการปรับสมดุลของกรดยูริกด้วยการ
กรองจากไตก่อนมีการขับออกทางปัสสาวะและอุจจาระ เมื่อมีปริมาณกรดยูริกมากขึ้นจากการสร้างของร่างกาย จาก
การรับประทานอาหารที่มีสารพิวรีนสูง หรือไตมีความผิดปกติในการกรองสารพิวรีน มักนาไปสู่ภาวะกรดยูริกในเลือด
สูงได้ง่าย อย่างไรก็ตาม ยังไม่ทราบสาเหตุที่แน่ชัดของการเกิด แต่พบว่ามีปัจจัยหลายอย่างที่มีความเกี่ยวข้องกัน เช่น
การดื่มแอลกอฮอล์อย่างหนัก การรับประทานอาหารทีมีสารพิวรีนมากเกินไป เช่น สัตว์ปีก เครื่องในสัตว์ ยอดผัก กุ้ง
เคยหรือกะปิ ปลาซาร์ดีน หอยแมลงภู่ สารสกัดจากยีสต์ได้รับวิตามินซีไม่เพียงพอการดื่มน้าอัดลมเกินปริมาณที่พอดี
ต่อวัน ซึ่งมีการศึกษาพบว่าการดื่มน้าอัดลมประเภทที่มีน้าตาลฟรุกโตสอาจเพิ่มการสะสมกรดยูริกในเลือดได้สูงถึง
85% นอกจากนี้ยังรวมไปถึงผลไม้และน้าผลไม้บางชนิดที่มีน้าตาลฟรุกโตสอยู่มากอาการเจ็บป่วยที่มีผลต่อการ
เปลี่ยนแปลงเซลล์ในร่างกายอย่างรวดเร็ว เช่น โรคสะเก็ดเงินขั้นรุนแรง หรือความผิดปกติทางเลือดบางอย่าง
ยาบางประเภทที่ส่งผลต่อระดับกรดยูริกในร่างกาย เช่น ยาขับปัสสาวะ ยาเคมีบาบัดบางชนิด ยาแอสไพริน และยา
ลดความดันโลหิตบางชนิดโรคประจาตัวหรือสภาวะของร่างกายบางอย่าง เช่น ภาวะอ้วน โรคความดันโลหิตสูง ไขมัน
ในเลือดผิดปกติ ไตทางานผิดปกติ โรคเบาหวาน โรคพร่องเอนไซม์ ความผิดปกติของไขกระดูก โรคหลอดเลือผิดปกติ
มีประวัติบุคคลในครอบครัวเป็นโรคเก๊าท์ โดยพบว่า 1 ใน 5 ของผู้ป่วยโรคเก๊าท์จะมีบุคคลในครอบครัวเจ็บป่วย
4
การวินิจฉัยโรคเก๊าท์แพทย์จะมีการสอบถามอาการ ประวัติการเป็นโรคเก๊าท์ของบุคคลในครอบครัว การตรวจ
ร่างกายทั่วไป ตลอดจนดูสัญญาณบ่งบอกของโรคอื่น ๆ เพื่อใช้เป็นข้อมูลช่วยในการวินิจฉัยโรค หลังจากนั้นจะมีการ
ตรวจพิเศษเพิ่มเติมอื่น ๆ ตามดุลยพินิจของแพทย์ เช่น
 กำรเจำะข้อ มักถูกใช้เป็นวิธีหลักในการตรวจวินิจฉัย แพทย์จะนาเข็มเจาะบริเวณข้อที่มีอาการ เพื่อดูดเอา
น้าในข้อออกมาตรวจดูการสะสมของผลึกยูเรต (Urate Crystals) ภายใต้กล้องจุลทรรศน์การตรวจเลือด
เมื่อการตรวจวินิจฉัยโดยการเจาะข้อไม่สามารถทาได้ แพทย์อาจจะให้มีการเจาะเลือด เพื่อตรวจวัดระดับ
ของกรดยูริกและสารครีเอตินินว่าอยู่ในเกณฑ์ปกติหรือไม่ แต่วิธีนี้อาจเกิดความผิดพลาดได้ เช่น ผู้ป่วยบาง
รายมีระดับกรดยูริกสูงผิดปกติ แต่อาจไม่เป็นโรคเก๊าท์ หรือบางรายที่มีอาการของโรคก็อาจตรวจพบระดับ
กรดยูริกได้ในระดับปกติ
 กำรเอกซเรย์ การถ่ายเอกซเรย์บริเวณข้อที่มีอาการ เพื่อตรวจดูว่าเกิดการอักเสบตามข้อหรือไม่
 กำรอลตรำซำวด์ จะช่วยตรวจพบการสะสมของผลึกยูเรตตามข้อจนเป็นปุ่มนูนหรือก้อนที่เรียกว่า โทฟี่
(Tophi)
 เอกซเรย์คอมพวเตอร์หรือซทสแกน เพื่อตรวจหาการสะสมของผลึกยูเรตตามข้อ แต่มักเป็นวิธีที่ไม่ค่อย
นิยม และมีค่าใช้จ่ายสูงการตรวจปัสสาวะ เพื่อดูกรดยูริกที่ปะปนในน้าปัสสาวะ
กำรรกษำโรคเก๊ำท์
โรคเก๊าท์สามารถรักษาได้ด้วยการใช้ยาเป็นหลัก ซึ่งแพทย์จะพิจารณาดูจากหลายปัจจัยประกอบในการ
เลือกใช้ยาที่เหมาะสมกับแต่ละบุคคล ทั้งอาการของโรค สุขภาพโดยรวม หรือการพูดคุยกับผู้ป่วย ควบคู่กับการ
ปฏิบัติตนเพื่อเลี่ยงปัจจัยเสี่ยงของโรค ในบางรายที่ปล่อยให้โรคดาเนินไปอย่างต่อเนื่องเป็นระยะเวลานานโดยไม่ได้
รักษา แพทย์อาจใช้วิธีการผ่าตัดทดแทนการใช้ยา ซึ่งเป้าหมายของการรักษาจะช่วยในการบรรเทาอาการปวดให้
ลดลงอย่างรวดเร็ว และป้องกันไม่ให้เกิดอาการปวดของโรคเก๊าท์ในบริเวณข้ออื่น ๆ ในอนาคต รวมไปถึงลดความ
เสี่ยงต่อภาวะแทรกซ้อนจากโรค เช่น โครงสร้างข้อต่อผิดรูป ไตเกิดความผิดปกติการปฏิบัติตนเมื่อเป็นโรคเก๊าท์ การ
ปรับพฤติกรรมการใช้ชีวิตบางส่วนอาจมีส่วนช่วยให้อาการของโรคทุเลาลงได้ตามคาแนะนาต่อไปนี้
 ดื่มน้ามาก ๆ เพื่อช่วยให้ร่างกายขับกรดยูริกออกทางปัสสาวะ และไม่ทาให้เกิดการตกตะกอนในระบบ
ทางเดินปัสสาวะที่นาไปสู่การเกิดนิ่วในไต
 หลีกเลี่ยงหรือจากัดการดื่มแอลกอฮอล์ให้อยู่ในปริมาณที่พอดี
 ควรหลีกเลี่ยงการดื่มน้าอัดลมหรือเครื่องดื่มที่มีความหวานมาก โดยเฉพาะเครื่องดื่มที่มีส่วนผสมของ
น้าตาลฟรุกโตส
 หลีกเลี่ยงการรับประทานอาหารที่มีกรดยูริกสูง เช่น เครื่องในสัตว์ อาหารทะเล สัตว์ปีก ถั่วบางชนิด สาร
สกัดจากยีสต์ แต่อาจทดแทนด้วยโปรตีนที่ได้จากผลิตภัณฑ์นมที่มีไขมันต่า
 ผู้ที่มีภาวะอ้วนควรลดน้าหนักให้อยู่ในเกณฑ์มาตรฐาน แต่ไม่ควรอดอาหารหรือลดน้าหนักรวดเร็วจนเกินไป
 การดูแลเพื่อลดอาการปวด ผู้ป่วยสามารถบรรเทาอาการปวดในเบื้องต้นได้ด้วยการหยุดเคลื่อนไหวบริเวณที่
มีอาการปวดอย่างน้อย 24 ชั่วโมงหลังมีอาการ โดยพยายามยกบริเวณข้อต่อที่ปวดให้อยู่สูง หากมีอาการ
บวมแดงอาจบรรเทาด้วยการประคบน้าแข็ง หรือรับประทานยาในกลุ่มยาแก้ปวด ยาลดไข้ และยาต้านการ
อักเสบชนิดไม่ใช่สเตียรอยด์ แต่ควรหลีกเลี่ยงการรับประทานแอสไพริน
กำรรกษำด้วยกำรใช้ยำ เป็นการใช้ยาในการบรรเทาอาการของโรคให้ลดลงและช่วยป้องกันอาการของโรคที่อาจ
กาเริบขึ้นในอนาคต ซึ่งตัวยาที่ใช้รักษาโรคเก๊าท์มีอยู่หลายกลุ่ม เช่น
5
ยาต้านอักเสบชนิดไม่ใช่สเตียรอยด์ (Non-steroidal Anti-inflammatory Drugs: NSAIDs) หรือที่รู้จักกันดีว่า
ยาเอ็นเสด ซึ่งอาจเป็นยาที่หาซื้อได้ทั่วไป เช่น ยาไอบูโปรเฟน (Ibuprofen) ยานาพรอกเซน (Naproxen) หรือ
แพทย์สั่งจ่าย เช่น ยาอินโดเมธาซิน (Indomethacin) ยาเซเลโคซิบ (Celecoxib) หากผู้ป่วยมีอาการรุนแรง
แพทย์อาจสั่งจ่ายยาในปริมาณที่สูงขึ้น แล้วค่อยลดปริมาณการใช้ยาลง เพื่อช่วยป้องกันอาการของโรคในอนาคต แต่
ผลข้างเคียงของยากลุ่มนี้อาจส่งผลให้ผู้ป่วยมีอาการปวดท้อง เกิดภาวะเลือดออก และแผลในกระเพาะอาหารได้
ยาโคลชิซิน (Colchicine) แพทย์จะสั่งจ่ายยาโคลชิซินเพื่อช่วยบรรเทาอาการปวดจากโรคได้อย่างมีประสิทธิภาพ
โดยในช่วงแรกอาจมีการใช้ยาในปริมาณที่สูงก่อนจะลดปริมาณยาลงเมื่ออาการปวดของผู้ป่วยทุเลาลง แต่ผลข้างเคียง
ของการใช้ยาชนิดนี้อาจส่งผลให้เกิดอาการคลื่นไส้ อาเจียน หรือท้องเสีย
ยาคอร์ติโคสเตียรอยด์ (Corticosteroids) โดยทั่วไปมักใช้ในกรณีที่ผู้ป่วยไม่สามารถใช้ยาต้านอักเสบหรือยาโคล
ชิซินได้ เพื่อช่วยควบคุมการอักเสบและอาการปวดของโรค มีทั้งรูปแบบยาเม็ดและยาฉีด ผลข้างเคียงของยาอาจทา
ให้ระดับน้าตาลในเลือดและความดันโลหิตตสูงขึ้น มีอารมณ์แปรปรวน
ในกรณีที่ผู้ป่วยมีอาการของโรคเกิดขึ้นนาน ๆ ครั้ง หรือไม่บ่อย แต่มีความรุนแรงค่อนข้างมาก แพทย์อาจสั่งจ่ายยาก
ลุ่มอื่นที่ช่วยลดภาวะแทรกซ้อนจากโรคเก๊าท์ เช่น
ยายับยั้งการสร้างกรดยูริก (Xanthine Oxidase Inhibitors) เป็นยาที่ช่วยจากัดการผลิตกรดยูริกของร่างกาย เช่น
ยาอัลโลพูรินอล (Allopurinol) ยาฟีบัคโซสตัต (Febuxostat) ซึ่งจะช่วยให้ระดับกรดยูริกในเลือดลดลงและเสี่ยง
ต่อการเกิดอาการของโรคน้อยลงเช่นกัน แต่อาจส่งผลข้างเคียงให้เกิดผื่น คลื่นไส้ และลดการทางานของตับ
ยาช่วยขับกรดยูริก เป็นยาที่ช่วยเพิ่มการทางานของไตให้มีการขับกรดยูริกออกมากับปัสสาวะมากขึ้น เช่น โพรเบเน
ซิด (Probenecid) ซึ่งทาให้กรดยูริกในเลือดมีปริมาณลดลงและเสี่ยงต่อการเกิดอาการของโรคลดลงเช่นกัน แต่อาจ
ส่งผลให้ผู้ป่วยมีผื่นขึ้น ปวดท้อง หรือเกิดนิ่วในไต ที่เป็นผลข้างเคียงของการใช้ยา
การผ่าตัด มักใช้ในกรณีที่อาการของโรคมีการพัฒนาจนรุนแรงขึ้นกลายเป็นปุ่มนูนหรือก้อนโทฟี่ เนื่องจากการสะสม
ของผลึกยูเรตตามเนื้อเยื่อและข้อต่อต่าง ๆ และการรักษาด้วยยาไม่ได้ผลดีเท่าที่ควร
ภำวะแทรกซ้อนของโรคเก๊ำท์
โรคเก๊าท์สามารถพัฒนาอาการของโรคให้รุนแรงมากขึ้นเมื่อไม่มีการรักษาอย่างต่อเนื่อง ผู้ป่วยบางรายอาจมี
อาการของโรคบ่อยมากขึ้นไปจนถึงการเกิดก้อนโทฟี่หรือปุ่มนูนใต้ผิวหนังในหลายส่วนของร่างกาย เช่น ตามนิ้วมือ
เท้า ข้อศอก หรือเอ็นร้อยหวาย แต่โดยปกติมักไม่ก่ออาการเจ็บปวด แต่เมื่ออาการของโรคกาเริบอาจทาให้เกิดการ
ติดเชื้อ ปวดตามข้อ ข้อต่อบิดเบี้ยวจนผิดรูปไปจากเดิม นอกจากนี้ยังมีโอกาสเกิดนิ่วในไตจากการสะสมของผลึกยูเรต
ในระบบทางเดินปัสสาวะของผู้ป่วยโรคเก๊าท์ ซึ่งอาจนาไปสู่การทางานของไตที่ปกติหรือเกิดภาวะไตวาย
กำรป้องกนโรคเก๊ำท์
โรคเก๊าท์ยังไม่สามารถป้องกันได้โดยตรง เนื่องจากการสะสมของผลึกยูเรตทีละน้อยในข้อต่อและเนื้อเยื่อ
รอบ ๆ เป็นเวลานานหลายปี จึงทาให้ทราบได้ยากว่าระดับกรดยูริกในเลือดอยู่เท่าใดจนกระทั่งเริ่มมีอาการของโรค
แสดงขึ้นมา อีกทั้งสาเหตุที่ทาให้กรดยูริกเพิ่มขึ้นนั้นมาจากหลายปัจจัยและสรุปได้ไม่ชัดเจน
การป้องกันจึงเป็นการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเช่นเดียวกับการปฏิบัติตนของผู้ป่วยที่เป็นโรค เพื่อช่วยลดความเสี่ยงของ
โรคลง เช่น หลีกเลี่ยงการรับประทานอาหารที่มีสารพิวรีนสูง โดยเฉพาะ อาหารทะเล เครื่องในสัตว์ และสัตว์ปีก ดื่ม
น้าให้เพียงพอ ควบคุมน้าหนักตัวให้อยู่ในเกณฑ์มาตรฐาน จากัดการดื่มแอลกอฮอล์และน้าอัดลม
6
วิธีดำเนินงาน
แนวทางการดำเนินงาน
___________________________________________________________________
___________________________________________________________________
เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้
___________________________________________________________________
___________________________________________________________________
___________________________________________________________________
งบประมาณ
___________________________________________________________________
___________________________________________________________________
___________________________________________________________________
__________________________________________________________________
ขั้นตอนและแผนดำเนนงำน
ลำดบ
ท่
ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ
1 2 3 4 5 6 7 8 9 1 1 12 1 1 1 16
17
0 1 3 4 5
1 คิดหัวข้อโครงงาน
2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมลู
3 จัดทำโครงร่างงาน
4 ปฏิบัติการสราึงโครงงาน
5 ปรับปรุงทดสอบ
6 การทำเอกสารรายงาน
7 ประเมินผลงาน
8 นำเสนอโครงงาน
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
ได้รู้ข้อมูลเกี่ยวกับโรคเก๊าท์ สามารถเลือกประพฤติตนเพื่อไม่ให้เป็นโรคนี้ได้ และสารถหาวิธีรักษาในระยะ
ยาวได้ ไม่ต้องกลับมาเป็นโรคนี้อีก
สถานที่ดำเนินการ
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
7
กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
แหล่งอ้างอิง (เอกสาร หรือแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ที่นำมาใช้การทำโครงงาน)
Honestdocs.//2561//โรคเก๊าท์//( ออนไลน์)
Nathanael Faibis.//2561//เก๊ำท์//(ออนไลน์)

More Related Content

What's hot

2562 final-project by-surabadee
2562 final-project by-surabadee2562 final-project by-surabadee
2562 final-project by-surabadeeNKSJT
 
ศาสตร์และศิลป์ การสื่อสารข้อมูลเรื่องยา
ศาสตร์และศิลป์ การสื่อสารข้อมูลเรื่องยาศาสตร์และศิลป์ การสื่อสารข้อมูลเรื่องยา
ศาสตร์และศิลป์ การสื่อสารข้อมูลเรื่องยาUtai Sukviwatsirikul
 
2562-final-project
 2562-final-project  2562-final-project
2562-final-project mew46716
 
วิจัยด้านโรคซึมเศร้า
วิจัยด้านโรคซึมเศร้าวิจัยด้านโรคซึมเศร้า
วิจัยด้านโรคซึมเศร้าNodChaa
 
เรื่องปัญหาน้ำท่วม
เรื่องปัญหาน้ำท่วมเรื่องปัญหาน้ำท่วม
เรื่องปัญหาน้ำท่วมพัน พัน
 
Is เรื่องวิชาที่นักเรียน ม.ปลาย แผนการเรียน วิทยาศาสตร์ – คณิตศาสตร์
Is เรื่องวิชาที่นักเรียน ม.ปลาย  แผนการเรียน  วิทยาศาสตร์ – คณิตศาสตร์Is เรื่องวิชาที่นักเรียน ม.ปลาย  แผนการเรียน  วิทยาศาสตร์ – คณิตศาสตร์
Is เรื่องวิชาที่นักเรียน ม.ปลาย แผนการเรียน วิทยาศาสตร์ – คณิตศาสตร์Rossarin Nhoo-ied
 
IS เรื่องวิชาที่นักเรียน ม.ปลาย สาย วิทยาศาสตร์ – คณิตศาสตร์
IS เรื่องวิชาที่นักเรียน ม.ปลาย  สาย วิทยาศาสตร์ – คณิตศาสตร์IS เรื่องวิชาที่นักเรียน ม.ปลาย  สาย วิทยาศาสตร์ – คณิตศาสตร์
IS เรื่องวิชาที่นักเรียน ม.ปลาย สาย วิทยาศาสตร์ – คณิตศาสตร์Rossarin Nhoo-ied
 
Animaltherapy
AnimaltherapyAnimaltherapy
Animaltherapysiradamew
 
Is 2 เรื่องร้านค้าสหกรณ์
Is 2 เรื่องร้านค้าสหกรณ์Is 2 เรื่องร้านค้าสหกรณ์
Is 2 เรื่องร้านค้าสหกรณ์Ocean'Funny Haha
 
รักษาโรคมะเร็ง
รักษาโรคมะเร็งรักษาโรคมะเร็ง
รักษาโรคมะเร็งpornkanok02
 
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการใช้ภาษาต่างประเทศ(อังกฤษ)
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการใช้ภาษาต่างประเทศ(อังกฤษ)รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการใช้ภาษาต่างประเทศ(อังกฤษ)
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการใช้ภาษาต่างประเทศ(อังกฤษ)Wichai Likitponrak
 
ใบงานแบบสำรวจและประวัติ
ใบงานแบบสำรวจและประวัติใบงานแบบสำรวจและประวัติ
ใบงานแบบสำรวจและประวัติNuttanicha Ardharn
 
ใบงานที่ 5
ใบงานที่ 5ใบงานที่ 5
ใบงานที่ 5Ffim Radchasan
 
ใบงานที่1 แบบสำรวจตัวเอง
ใบงานที่1 แบบสำรวจตัวเองใบงานที่1 แบบสำรวจตัวเอง
ใบงานที่1 แบบสำรวจตัวเองtanchanok manoonchai
 

What's hot (19)

2562 final-project by-surabadee
2562 final-project by-surabadee2562 final-project by-surabadee
2562 final-project by-surabadee
 
ศาสตร์และศิลป์ การสื่อสารข้อมูลเรื่องยา
ศาสตร์และศิลป์ การสื่อสารข้อมูลเรื่องยาศาสตร์และศิลป์ การสื่อสารข้อมูลเรื่องยา
ศาสตร์และศิลป์ การสื่อสารข้อมูลเรื่องยา
 
2562-final-project
 2562-final-project  2562-final-project
2562-final-project
 
วิจัยด้านโรคซึมเศร้า
วิจัยด้านโรคซึมเศร้าวิจัยด้านโรคซึมเศร้า
วิจัยด้านโรคซึมเศร้า
 
เรื่องปัญหาน้ำท่วม
เรื่องปัญหาน้ำท่วมเรื่องปัญหาน้ำท่วม
เรื่องปัญหาน้ำท่วม
 
Is เรื่องวิชาที่นักเรียน ม.ปลาย แผนการเรียน วิทยาศาสตร์ – คณิตศาสตร์
Is เรื่องวิชาที่นักเรียน ม.ปลาย  แผนการเรียน  วิทยาศาสตร์ – คณิตศาสตร์Is เรื่องวิชาที่นักเรียน ม.ปลาย  แผนการเรียน  วิทยาศาสตร์ – คณิตศาสตร์
Is เรื่องวิชาที่นักเรียน ม.ปลาย แผนการเรียน วิทยาศาสตร์ – คณิตศาสตร์
 
IS เรื่องวิชาที่นักเรียน ม.ปลาย สาย วิทยาศาสตร์ – คณิตศาสตร์
IS เรื่องวิชาที่นักเรียน ม.ปลาย  สาย วิทยาศาสตร์ – คณิตศาสตร์IS เรื่องวิชาที่นักเรียน ม.ปลาย  สาย วิทยาศาสตร์ – คณิตศาสตร์
IS เรื่องวิชาที่นักเรียน ม.ปลาย สาย วิทยาศาสตร์ – คณิตศาสตร์
 
Animaltherapy
AnimaltherapyAnimaltherapy
Animaltherapy
 
2562 final-project -3-kheng
2562 final-project -3-kheng2562 final-project -3-kheng
2562 final-project -3-kheng
 
Is 2 เรื่องร้านค้าสหกรณ์
Is 2 เรื่องร้านค้าสหกรณ์Is 2 เรื่องร้านค้าสหกรณ์
Is 2 เรื่องร้านค้าสหกรณ์
 
รักษาโรคมะเร็ง
รักษาโรคมะเร็งรักษาโรคมะเร็ง
รักษาโรคมะเร็ง
 
113
113113
113
 
งานนำเสนอวิจัย(แฟ้มงาน)
งานนำเสนอวิจัย(แฟ้มงาน)งานนำเสนอวิจัย(แฟ้มงาน)
งานนำเสนอวิจัย(แฟ้มงาน)
 
4
44
4
 
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการใช้ภาษาต่างประเทศ(อังกฤษ)
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการใช้ภาษาต่างประเทศ(อังกฤษ)รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการใช้ภาษาต่างประเทศ(อังกฤษ)
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการใช้ภาษาต่างประเทศ(อังกฤษ)
 
ใบงานแบบสำรวจและประวัติ
ใบงานแบบสำรวจและประวัติใบงานแบบสำรวจและประวัติ
ใบงานแบบสำรวจและประวัติ
 
ใบงานที่ 5
ใบงานที่ 5ใบงานที่ 5
ใบงานที่ 5
 
วิจัยในชั้นเรียน ครู เจี๊ยบ
วิจัยในชั้นเรียน ครู เจี๊ยบวิจัยในชั้นเรียน ครู เจี๊ยบ
วิจัยในชั้นเรียน ครู เจี๊ยบ
 
ใบงานที่1 แบบสำรวจตัวเอง
ใบงานที่1 แบบสำรวจตัวเองใบงานที่1 แบบสำรวจตัวเอง
ใบงานที่1 แบบสำรวจตัวเอง
 

Similar to Asdfghj

Similar to Asdfghj (20)

Com term2
Com term2Com term2
Com term2
 
2560 project (1)
2560 project  (1)2560 project  (1)
2560 project (1)
 
แมวบำบัดซึมเศร้า
แมวบำบัดซึมเศร้าแมวบำบัดซึมเศร้า
แมวบำบัดซึมเศร้า
 
หน่อไม้ฝรั่ง
หน่อไม้ฝรั่งหน่อไม้ฝรั่ง
หน่อไม้ฝรั่ง
 
หน่อไม้ฝรั่ง
หน่อไม้ฝรั่งหน่อไม้ฝรั่ง
หน่อไม้ฝรั่ง
 
2560 project 2
2560 project  22560 project  2
2560 project 2
 
2562 final-project 23-40
2562 final-project 23-402562 final-project 23-40
2562 final-project 23-40
 
2561 project com
2561 project com2561 project com
2561 project com
 
Com555
Com555Com555
Com555
 
Final Project computer_4
Final Project computer_4Final Project computer_4
Final Project computer_4
 
Computer project
Computer projectComputer project
Computer project
 
AT1
AT1AT1
AT1
 
W.1
W.1W.1
W.1
 
Tuangtham Sura M.6/9 No.37
Tuangtham Sura M.6/9 No.37Tuangtham Sura M.6/9 No.37
Tuangtham Sura M.6/9 No.37
 
กิจกรรมที่5
กิจกรรมที่5กิจกรรมที่5
กิจกรรมที่5
 
5
55
5
 
Depression of thai people
Depression of thai peopleDepression of thai people
Depression of thai people
 
กิจกรรมที่ 5
กิจกรรมที่ 5กิจกรรมที่ 5
กิจกรรมที่ 5
 
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
Projectm6 2-2554
Projectm6 2-2554Projectm6 2-2554
Projectm6 2-2554
 

Asdfghj

  • 1. 1 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพวิเตอร์ รหัสวิชา ง33201-33202 ชื่อวิชา เทคโนโลยสีารสนเทศและการสื่อสาร 5- 6 ปีการศึกษา 2561 ชื่อโครงงาน รู้จักโรคเก๊าท์ ชื่อผู้ทำโครงงาน นางสาวปิงปอง ดอกขาว เลขที่ 49 ชั้น ม.6 ห้อง 3 ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขอื่นทอง มลูวรรณ์ ระยะเวลาดำเนินงานภาคเริยนท่ิ1-2 ปีการศึกษำิ2561 โรงเรียนยุพราชวิทยาลิยิิจังหวิดเชิยงใหม่ สำนักงานเขตพื้นท่ การศึกษามัธยมศิึกษาเขติ34
  • 2. 2 ใบงาน การจัดทำข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์ สมาชิกในกลุ่ม 1.นางสาวปิงปอง ดอกขาว เลขที่ 49 2.นางสาวเบญจมาศ เรือนคา เลขที่ 21 คำชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้ ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย) รู้จักโรคเก๊าท์ ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ) I knowิabout Gout ประเภทโครงงาน เพื่อการศึกษา ชื่อผู้ทำโครงงาน นางสาว ปิงปอง ดอกขาว ชื่อที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดำเนินงาน 3สัปดาห์ ที่มาและความสำคัญของโครงงาน ปัจจุบันผู้คนมีปัญหาการเป็นโรคเก๊าท์และถือเป็นปัญหาสาธารณสุขที่พบมากขึ้นในประเทศไทยโดยจะพบ มากในเพศชายมากกว่าเพศหญิงเกิดจากการที่ระดับของกรดยูริคสูงในเลือด กรดยูริกเกิดจากการย่อยสลายสารพิวรีน ซึ่ง พบได้ในเนื้อสัตว์ ข้าวสาลี เครื่องในสัตว์ เช่น ตับ เซี่ยงจี้ เป็นต้น ร่าง กายจะย่อยพิวรีนจนกลายเป็นกรดยูริค และจะขับออกมาพร้อม กับปัสสาวะ ในคนปกติกรดยูริคจะถูกสร้างขึ้นในอัตราช้าพอที่ไตจะขับออกได้หมดทันกับการ สร้างขึ้นพอดี ในคนที่เป็นโรคเก๊าท์ พบว่าเกิดความผิดปกติของกระบวนการใช้และขับถ่ายสารพิวรีน ซึ่งการสะสมกรดยูริคใน ร่างกายจำนวนมาก โดยเฉลี่ยแล้วกรดยูริคจะตกผลึกเมื่อระดับของกรดยูริคในเลือดมากเกิน 6.8มิลลิกรัมต่อเดซิลิตร การที่ร่างกายมีกรดยูริคสะสมมากกว่าปกติ เป็นระยะเวลานาน ก็จะไปตกตะกอนอยู่บริเวณรอบๆ ข้อ หรือภายในข้อ ทำให้เกิดการอักเสบขึ้น เป็นอากรเจ็บปวดตามข้อต่อต่าง ๆ ตามร่างกายซ่ึงจะเกิดปัญหาการขยับร่างกาย เช่น การ เดิน การวิ่งและการเป็นโรคเก๊าท์นั้นจะไม่สามารถรับประทานอาหารได้อย่างอุดมสมบูรณ์ จึงทำให้เกิดโรคแทรกซ้อน ชนิดอื่นๆได้ ถ้ายังปล่อยให้เป็นโรคนี้นานๆ ก็จะทำให้อาการยิ่งทวีความรุนแรงมากขึ้นเรื่อยๆ จึงต้องหาวิธีการรักษาให้ถูก วิธีและเร็วที่สุดเท่าที่จะทาได้และโรคเก๊าท์นั้นยังสามารถเป็นโรค ทางพันธุกรรมอีกด้วย จากที่กล่าวมาผู้จัดทาโครงงานจึงหวัง ว่าโครงงานนี้จะเป็นประโยชน์แก่ผู้สนใจไม่มากก็น้อย วัตถุประสงค์ 1. เพื่อศึกษาเรื่องโรคเก๊าท์ 2. เพื่อให้ความรู้เรื่องโรคเก๊าท์ 3. เพื่อหลีกเลี่ยงสิ่งที่ทำแล้วเกิดเป็นโรคเก๊าท์ 4. เพื่อสามารถรักษาโรคเก๊าท์ในระยะยาวได้
  • 3. 3 ขอบเขตโครงงาน ผู้ที่เป็นโรค หรือ ผู้ที่สนใจ หลักการและทฤษฎี เก๊ำท์ (Gout) เป็นโรคข้ออักเสบที่ทาให้มีอาการปวดแสบร้อน บวม แดงตามข้อต่ออย่างเฉียบพลันเป็นระยะ ๆ อาจเกิดขึ้นกับข้อต่อเดียวหรือหลายข้อต่อพร้อมกัน อำกำรของโรคเก๊ำท์ อาการปวดอย่างรุนแรงตามข้อต่อเป็นอาการที่พบได้บ่อยที่สุด โดยเฉพาะนิ้วหัวแม่เท้า แต่ก็สามารถเกิดกับ ข้อต่อหลายส่วนตามร่างกายได้ เช่น ข้อเท้า ข้อศอก หัวเข่า ข้อต่อกระดูกมือ หรือข้อมือ อาการปวดจะรุนแรงในช่วง 4-12 ชั่วโมงแรก จากนั้นจะเริ่มปวดน้อยลงและมีอาการดีขึ้นภายใน 7-10 วัน แต่ในบางรายอาจมีอาการปวดได้นาน หลายวันจนถึงหลายสัปดาห์ นอกจากนี้ยังมีอาการอื่น ๆ ที่เกิดขึ้นได้ เช่น ข้อต่อเกิดการอักเสบและติดเชื้อ อาจเกิดขึ้นกับข้อต่อเพียงข้อเดียวหรือหลายข้อต่อ จนทาให้ผิวหนังบริเวณนั้นเป็นสี แดง บวมแดง และแสบร้อน เคลื่อนไหวร่างกายได้ไม่สะดวกจากภาวะข้อติด ซึ่งเป็นสัญญาณบ่งบอกความรุนแรงของโรคที่เพิ่มมากขึ้น ผิวหนังบริเวณข้อต่อเกิดการลอกหรือคันหลังจากอาการของโรคดีขึ้น อาการของโรคเหล่านี้จะเกิดขึ้นอย่างเฉียบพลัน มักเป็น ๆ หาย ๆ จนกว่าจะได้รับการรักษา โดยมักเกิดขึ้นในเวลา กลางคืนได้บ่อยกว่าช่วงเวลาอื่น อย่างไรก็ตามควรรีบไปพบแพทย์หากผู้ป่วยมีไข้ ปวดข้ออย่างรุนแรง จนทาให้ ผิวหนังบวมแดงและแสบร้อนขึ้น เพราะอาการปวดข้ออาจทาให้ผู้ป่วยเข้าใจผิดได้ว่าเป็นสัญญาณของโรคข้ออื่น ๆ การปล่อยให้โรคพัฒนารุนแรงขึ้นโดยไม่ได้รับการรักษาอย่างถูกต้อง อาจนาไปสู่อาการปวดอย่างเรื้อรังและสร้าง ความเสียหายให้กับข้อต่อได้ สำเหตุของโรคเก๊ำท์ โรคเก๊าท์เป็นผลมาจากภาวะกรดยูริกในเลือดสูง (Hyperuricemia) ซึ่งเป็นภาวะของร่างกายที่มีการสะสม ของกรดยูริกในปริมาณที่มากเกินไป ทาให้เกิดการตกผลึกตามข้อต่าง ๆ จนเกิดอาการปวดบวมตามข้ออย่างรุนแรง และอาการอื่น ๆ ของโรคตามมากรดยูริกเป็นสารเคมีชนิดหนึ่งในเลือดที่ได้มาจากการย่อยสลายสารพิวรีน (Purines) ในเนื้อเยื่อทั่วร่างกายและอาหารที่รับประทานเข้าไป โดยร่างกายจะมีการปรับสมดุลของกรดยูริกด้วยการ กรองจากไตก่อนมีการขับออกทางปัสสาวะและอุจจาระ เมื่อมีปริมาณกรดยูริกมากขึ้นจากการสร้างของร่างกาย จาก การรับประทานอาหารที่มีสารพิวรีนสูง หรือไตมีความผิดปกติในการกรองสารพิวรีน มักนาไปสู่ภาวะกรดยูริกในเลือด สูงได้ง่าย อย่างไรก็ตาม ยังไม่ทราบสาเหตุที่แน่ชัดของการเกิด แต่พบว่ามีปัจจัยหลายอย่างที่มีความเกี่ยวข้องกัน เช่น การดื่มแอลกอฮอล์อย่างหนัก การรับประทานอาหารทีมีสารพิวรีนมากเกินไป เช่น สัตว์ปีก เครื่องในสัตว์ ยอดผัก กุ้ง เคยหรือกะปิ ปลาซาร์ดีน หอยแมลงภู่ สารสกัดจากยีสต์ได้รับวิตามินซีไม่เพียงพอการดื่มน้าอัดลมเกินปริมาณที่พอดี ต่อวัน ซึ่งมีการศึกษาพบว่าการดื่มน้าอัดลมประเภทที่มีน้าตาลฟรุกโตสอาจเพิ่มการสะสมกรดยูริกในเลือดได้สูงถึง 85% นอกจากนี้ยังรวมไปถึงผลไม้และน้าผลไม้บางชนิดที่มีน้าตาลฟรุกโตสอยู่มากอาการเจ็บป่วยที่มีผลต่อการ เปลี่ยนแปลงเซลล์ในร่างกายอย่างรวดเร็ว เช่น โรคสะเก็ดเงินขั้นรุนแรง หรือความผิดปกติทางเลือดบางอย่าง ยาบางประเภทที่ส่งผลต่อระดับกรดยูริกในร่างกาย เช่น ยาขับปัสสาวะ ยาเคมีบาบัดบางชนิด ยาแอสไพริน และยา ลดความดันโลหิตบางชนิดโรคประจาตัวหรือสภาวะของร่างกายบางอย่าง เช่น ภาวะอ้วน โรคความดันโลหิตสูง ไขมัน ในเลือดผิดปกติ ไตทางานผิดปกติ โรคเบาหวาน โรคพร่องเอนไซม์ ความผิดปกติของไขกระดูก โรคหลอดเลือผิดปกติ มีประวัติบุคคลในครอบครัวเป็นโรคเก๊าท์ โดยพบว่า 1 ใน 5 ของผู้ป่วยโรคเก๊าท์จะมีบุคคลในครอบครัวเจ็บป่วย
  • 4. 4 การวินิจฉัยโรคเก๊าท์แพทย์จะมีการสอบถามอาการ ประวัติการเป็นโรคเก๊าท์ของบุคคลในครอบครัว การตรวจ ร่างกายทั่วไป ตลอดจนดูสัญญาณบ่งบอกของโรคอื่น ๆ เพื่อใช้เป็นข้อมูลช่วยในการวินิจฉัยโรค หลังจากนั้นจะมีการ ตรวจพิเศษเพิ่มเติมอื่น ๆ ตามดุลยพินิจของแพทย์ เช่น  กำรเจำะข้อ มักถูกใช้เป็นวิธีหลักในการตรวจวินิจฉัย แพทย์จะนาเข็มเจาะบริเวณข้อที่มีอาการ เพื่อดูดเอา น้าในข้อออกมาตรวจดูการสะสมของผลึกยูเรต (Urate Crystals) ภายใต้กล้องจุลทรรศน์การตรวจเลือด เมื่อการตรวจวินิจฉัยโดยการเจาะข้อไม่สามารถทาได้ แพทย์อาจจะให้มีการเจาะเลือด เพื่อตรวจวัดระดับ ของกรดยูริกและสารครีเอตินินว่าอยู่ในเกณฑ์ปกติหรือไม่ แต่วิธีนี้อาจเกิดความผิดพลาดได้ เช่น ผู้ป่วยบาง รายมีระดับกรดยูริกสูงผิดปกติ แต่อาจไม่เป็นโรคเก๊าท์ หรือบางรายที่มีอาการของโรคก็อาจตรวจพบระดับ กรดยูริกได้ในระดับปกติ  กำรเอกซเรย์ การถ่ายเอกซเรย์บริเวณข้อที่มีอาการ เพื่อตรวจดูว่าเกิดการอักเสบตามข้อหรือไม่  กำรอลตรำซำวด์ จะช่วยตรวจพบการสะสมของผลึกยูเรตตามข้อจนเป็นปุ่มนูนหรือก้อนที่เรียกว่า โทฟี่ (Tophi)  เอกซเรย์คอมพวเตอร์หรือซทสแกน เพื่อตรวจหาการสะสมของผลึกยูเรตตามข้อ แต่มักเป็นวิธีที่ไม่ค่อย นิยม และมีค่าใช้จ่ายสูงการตรวจปัสสาวะ เพื่อดูกรดยูริกที่ปะปนในน้าปัสสาวะ กำรรกษำโรคเก๊ำท์ โรคเก๊าท์สามารถรักษาได้ด้วยการใช้ยาเป็นหลัก ซึ่งแพทย์จะพิจารณาดูจากหลายปัจจัยประกอบในการ เลือกใช้ยาที่เหมาะสมกับแต่ละบุคคล ทั้งอาการของโรค สุขภาพโดยรวม หรือการพูดคุยกับผู้ป่วย ควบคู่กับการ ปฏิบัติตนเพื่อเลี่ยงปัจจัยเสี่ยงของโรค ในบางรายที่ปล่อยให้โรคดาเนินไปอย่างต่อเนื่องเป็นระยะเวลานานโดยไม่ได้ รักษา แพทย์อาจใช้วิธีการผ่าตัดทดแทนการใช้ยา ซึ่งเป้าหมายของการรักษาจะช่วยในการบรรเทาอาการปวดให้ ลดลงอย่างรวดเร็ว และป้องกันไม่ให้เกิดอาการปวดของโรคเก๊าท์ในบริเวณข้ออื่น ๆ ในอนาคต รวมไปถึงลดความ เสี่ยงต่อภาวะแทรกซ้อนจากโรค เช่น โครงสร้างข้อต่อผิดรูป ไตเกิดความผิดปกติการปฏิบัติตนเมื่อเป็นโรคเก๊าท์ การ ปรับพฤติกรรมการใช้ชีวิตบางส่วนอาจมีส่วนช่วยให้อาการของโรคทุเลาลงได้ตามคาแนะนาต่อไปนี้  ดื่มน้ามาก ๆ เพื่อช่วยให้ร่างกายขับกรดยูริกออกทางปัสสาวะ และไม่ทาให้เกิดการตกตะกอนในระบบ ทางเดินปัสสาวะที่นาไปสู่การเกิดนิ่วในไต  หลีกเลี่ยงหรือจากัดการดื่มแอลกอฮอล์ให้อยู่ในปริมาณที่พอดี  ควรหลีกเลี่ยงการดื่มน้าอัดลมหรือเครื่องดื่มที่มีความหวานมาก โดยเฉพาะเครื่องดื่มที่มีส่วนผสมของ น้าตาลฟรุกโตส  หลีกเลี่ยงการรับประทานอาหารที่มีกรดยูริกสูง เช่น เครื่องในสัตว์ อาหารทะเล สัตว์ปีก ถั่วบางชนิด สาร สกัดจากยีสต์ แต่อาจทดแทนด้วยโปรตีนที่ได้จากผลิตภัณฑ์นมที่มีไขมันต่า  ผู้ที่มีภาวะอ้วนควรลดน้าหนักให้อยู่ในเกณฑ์มาตรฐาน แต่ไม่ควรอดอาหารหรือลดน้าหนักรวดเร็วจนเกินไป  การดูแลเพื่อลดอาการปวด ผู้ป่วยสามารถบรรเทาอาการปวดในเบื้องต้นได้ด้วยการหยุดเคลื่อนไหวบริเวณที่ มีอาการปวดอย่างน้อย 24 ชั่วโมงหลังมีอาการ โดยพยายามยกบริเวณข้อต่อที่ปวดให้อยู่สูง หากมีอาการ บวมแดงอาจบรรเทาด้วยการประคบน้าแข็ง หรือรับประทานยาในกลุ่มยาแก้ปวด ยาลดไข้ และยาต้านการ อักเสบชนิดไม่ใช่สเตียรอยด์ แต่ควรหลีกเลี่ยงการรับประทานแอสไพริน กำรรกษำด้วยกำรใช้ยำ เป็นการใช้ยาในการบรรเทาอาการของโรคให้ลดลงและช่วยป้องกันอาการของโรคที่อาจ กาเริบขึ้นในอนาคต ซึ่งตัวยาที่ใช้รักษาโรคเก๊าท์มีอยู่หลายกลุ่ม เช่น
  • 5. 5 ยาต้านอักเสบชนิดไม่ใช่สเตียรอยด์ (Non-steroidal Anti-inflammatory Drugs: NSAIDs) หรือที่รู้จักกันดีว่า ยาเอ็นเสด ซึ่งอาจเป็นยาที่หาซื้อได้ทั่วไป เช่น ยาไอบูโปรเฟน (Ibuprofen) ยานาพรอกเซน (Naproxen) หรือ แพทย์สั่งจ่าย เช่น ยาอินโดเมธาซิน (Indomethacin) ยาเซเลโคซิบ (Celecoxib) หากผู้ป่วยมีอาการรุนแรง แพทย์อาจสั่งจ่ายยาในปริมาณที่สูงขึ้น แล้วค่อยลดปริมาณการใช้ยาลง เพื่อช่วยป้องกันอาการของโรคในอนาคต แต่ ผลข้างเคียงของยากลุ่มนี้อาจส่งผลให้ผู้ป่วยมีอาการปวดท้อง เกิดภาวะเลือดออก และแผลในกระเพาะอาหารได้ ยาโคลชิซิน (Colchicine) แพทย์จะสั่งจ่ายยาโคลชิซินเพื่อช่วยบรรเทาอาการปวดจากโรคได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยในช่วงแรกอาจมีการใช้ยาในปริมาณที่สูงก่อนจะลดปริมาณยาลงเมื่ออาการปวดของผู้ป่วยทุเลาลง แต่ผลข้างเคียง ของการใช้ยาชนิดนี้อาจส่งผลให้เกิดอาการคลื่นไส้ อาเจียน หรือท้องเสีย ยาคอร์ติโคสเตียรอยด์ (Corticosteroids) โดยทั่วไปมักใช้ในกรณีที่ผู้ป่วยไม่สามารถใช้ยาต้านอักเสบหรือยาโคล ชิซินได้ เพื่อช่วยควบคุมการอักเสบและอาการปวดของโรค มีทั้งรูปแบบยาเม็ดและยาฉีด ผลข้างเคียงของยาอาจทา ให้ระดับน้าตาลในเลือดและความดันโลหิตตสูงขึ้น มีอารมณ์แปรปรวน ในกรณีที่ผู้ป่วยมีอาการของโรคเกิดขึ้นนาน ๆ ครั้ง หรือไม่บ่อย แต่มีความรุนแรงค่อนข้างมาก แพทย์อาจสั่งจ่ายยาก ลุ่มอื่นที่ช่วยลดภาวะแทรกซ้อนจากโรคเก๊าท์ เช่น ยายับยั้งการสร้างกรดยูริก (Xanthine Oxidase Inhibitors) เป็นยาที่ช่วยจากัดการผลิตกรดยูริกของร่างกาย เช่น ยาอัลโลพูรินอล (Allopurinol) ยาฟีบัคโซสตัต (Febuxostat) ซึ่งจะช่วยให้ระดับกรดยูริกในเลือดลดลงและเสี่ยง ต่อการเกิดอาการของโรคน้อยลงเช่นกัน แต่อาจส่งผลข้างเคียงให้เกิดผื่น คลื่นไส้ และลดการทางานของตับ ยาช่วยขับกรดยูริก เป็นยาที่ช่วยเพิ่มการทางานของไตให้มีการขับกรดยูริกออกมากับปัสสาวะมากขึ้น เช่น โพรเบเน ซิด (Probenecid) ซึ่งทาให้กรดยูริกในเลือดมีปริมาณลดลงและเสี่ยงต่อการเกิดอาการของโรคลดลงเช่นกัน แต่อาจ ส่งผลให้ผู้ป่วยมีผื่นขึ้น ปวดท้อง หรือเกิดนิ่วในไต ที่เป็นผลข้างเคียงของการใช้ยา การผ่าตัด มักใช้ในกรณีที่อาการของโรคมีการพัฒนาจนรุนแรงขึ้นกลายเป็นปุ่มนูนหรือก้อนโทฟี่ เนื่องจากการสะสม ของผลึกยูเรตตามเนื้อเยื่อและข้อต่อต่าง ๆ และการรักษาด้วยยาไม่ได้ผลดีเท่าที่ควร ภำวะแทรกซ้อนของโรคเก๊ำท์ โรคเก๊าท์สามารถพัฒนาอาการของโรคให้รุนแรงมากขึ้นเมื่อไม่มีการรักษาอย่างต่อเนื่อง ผู้ป่วยบางรายอาจมี อาการของโรคบ่อยมากขึ้นไปจนถึงการเกิดก้อนโทฟี่หรือปุ่มนูนใต้ผิวหนังในหลายส่วนของร่างกาย เช่น ตามนิ้วมือ เท้า ข้อศอก หรือเอ็นร้อยหวาย แต่โดยปกติมักไม่ก่ออาการเจ็บปวด แต่เมื่ออาการของโรคกาเริบอาจทาให้เกิดการ ติดเชื้อ ปวดตามข้อ ข้อต่อบิดเบี้ยวจนผิดรูปไปจากเดิม นอกจากนี้ยังมีโอกาสเกิดนิ่วในไตจากการสะสมของผลึกยูเรต ในระบบทางเดินปัสสาวะของผู้ป่วยโรคเก๊าท์ ซึ่งอาจนาไปสู่การทางานของไตที่ปกติหรือเกิดภาวะไตวาย กำรป้องกนโรคเก๊ำท์ โรคเก๊าท์ยังไม่สามารถป้องกันได้โดยตรง เนื่องจากการสะสมของผลึกยูเรตทีละน้อยในข้อต่อและเนื้อเยื่อ รอบ ๆ เป็นเวลานานหลายปี จึงทาให้ทราบได้ยากว่าระดับกรดยูริกในเลือดอยู่เท่าใดจนกระทั่งเริ่มมีอาการของโรค แสดงขึ้นมา อีกทั้งสาเหตุที่ทาให้กรดยูริกเพิ่มขึ้นนั้นมาจากหลายปัจจัยและสรุปได้ไม่ชัดเจน การป้องกันจึงเป็นการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเช่นเดียวกับการปฏิบัติตนของผู้ป่วยที่เป็นโรค เพื่อช่วยลดความเสี่ยงของ โรคลง เช่น หลีกเลี่ยงการรับประทานอาหารที่มีสารพิวรีนสูง โดยเฉพาะ อาหารทะเล เครื่องในสัตว์ และสัตว์ปีก ดื่ม น้าให้เพียงพอ ควบคุมน้าหนักตัวให้อยู่ในเกณฑ์มาตรฐาน จากัดการดื่มแอลกอฮอล์และน้าอัดลม
  • 6. 6 วิธีดำเนินงาน แนวทางการดำเนินงาน ___________________________________________________________________ ___________________________________________________________________ เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้ ___________________________________________________________________ ___________________________________________________________________ ___________________________________________________________________ งบประมาณ ___________________________________________________________________ ___________________________________________________________________ ___________________________________________________________________ __________________________________________________________________ ขั้นตอนและแผนดำเนนงำน ลำดบ ท่ ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 1 1 12 1 1 1 16 17 0 1 3 4 5 1 คิดหัวข้อโครงงาน 2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมลู 3 จัดทำโครงร่างงาน 4 ปฏิบัติการสราึงโครงงาน 5 ปรับปรุงทดสอบ 6 การทำเอกสารรายงาน 7 ประเมินผลงาน 8 นำเสนอโครงงาน ผลที่คาดว่าจะได้รับ ได้รู้ข้อมูลเกี่ยวกับโรคเก๊าท์ สามารถเลือกประพฤติตนเพื่อไม่ให้เป็นโรคนี้ได้ และสารถหาวิธีรักษาในระยะ ยาวได้ ไม่ต้องกลับมาเป็นโรคนี้อีก สถานที่ดำเนินการ _________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________