SlideShare a Scribd company logo
1 of 7
Download to read offline
1
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
รหัสวิชา ง33201 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 5
ปีการศึกษา 2562
ชื่อโครงงาน การฝังเข็มรักษาโรค
ชื่อผู้ทาโครงงาน
นางสาว พิมพ์มาดา เรือนแก้ว เลขที่ 5 ชั้น ม.6 ห้อง 6
นางสาว ภัสสราภรณ์ ขัดทา เลขที่ 14 ชั้น ม.6 ห้อง 6
ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 62
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
2
ใบงาน
การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
สมาชิกในกลุ่ม
นางสาว พิมพ์มาดา เรือนแก้ว เลขที่ 5
นางสาว ภัสสราภรณ์ ขัดทา เลขที่ 14
คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้
ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย)
การฝังเข็มรักษาโรค
ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ)
Acupuncture treatment
ประเภทโครงงาน พัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา
ชื่อผู้ทาโครงงาน นางสาว พิมพ์มาดา เรือนแก้ว
นางสาว ภัสสราภรณ์ ขัดทา
ชื่อที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2562
ที่มาและความสาคัญของโครงงาน
ในปัจจุบันคงหลีกเลี่ยงไม่ได้ว่ากระแสนิยมด้านการรักษาด้วยการฝังเข็มนั้นได้ยายวงกว้างไปทั่วโลกไม่จาเพาะ
แต่ในทวีปเอเชียเท่านั้น หากแต่ยังได้รับความแพร่หลายไปถึงทวีปยุโรปและทวีปอื่นๆ ด้วยเช่นเดียวกัน ดังจะเห็นได้
จากองค์การอนามัยโลก (WHO) ได้ให้การรับรองการฝังเข็มว่าเป็นศาสตร์การรักษาอีกแขนงหนึ่งที่ให้ประสิทธิภาพได้
อย่างเด่นชัด ซึ่งในประเทศไทยเองนั้นก็ได้เล็งเห็นถึงคุณค่าและประโยชน์ของการใช้การฝังเข็มเพื่อมาดูแลรักษา
สุขภาพร่างกายและบาบัดโรคตามวิธีการรักษาแบบธรรมชาติบาบัดเช่นเดียวกัน จึงไม่แปลกที่โรงพยาบาลและคลินิก
ต่างๆได้มีการเลือกใช้การฝังเข็มเข้ามาเป็นส่วนหนึ่งของการรักษา ซึ่งจากสถิติของผู้ป่วยในปัจจุบันที่เข้ารับการรักษา
อาการปวดหลังด้วยวิธีการฝังเข็มนั้นมีเพิ่มมากขึ้นตามลาดับ เนื่องมาจากสภาพการดาเนินชีวิตประจาวันของผู้คนที่
ทาให้ร่างกายได้รับความเจ็บป่วย อาทิเช่น การนั่งทางานเป็นเวลานานๆ การยืนเป็นระยะเวลานาน การยกของ
การถือของหนัก หรือการนอนในท่าที่ไม่ถูกต้อง เป็นต้น ล้วนแต่ส่งผลกระทบต่อกล้ามเนื้อบริเวณคอ บ่า และ
โดยเฉพาะอย่างยิ่งบริเวณหลัง
3
ผู้จัดทาจึงได้เห็นถึงความสาคัญและได้ศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติมเกี่ยวกับการรักษาด้วยการฝังเข็มแบบจีน
ซึ่งการฝังเข็มเป็นศาสตร์อย่างหนึ่งในแพทย์แผนจีน ที่ชาวจีนใช้กันมานานกว่า 4000 ปี โดยมีหลักการคือการใช้เข็ม
ขนาดเล็กมาก ฝังตามจุดฝังเข็มของร่างกาย ซึ่งเป็นจุดที่มีพลังงานมากกว่าจุดอื่นๆเพื่อทาให้พลังงานและอวัยวะต่างๆ
ของร่างกายที่เสียสมดุลไป กลับมาอยู่ในภาวะสมดุลเป็นวิธีการแทงเข็มรักษาโรคด้วยการใช้เข็ม ซึ่งมีหลายขนาด แทง
ลงไปตรงตาแหน่งของจุดฝังเข็มตามอวัยวะต่างๆ ของร่างกาย โดยใช้หลักรักษาของแพทย์แผนจีน เพื่อปรับปรุงสมดุล
ของร่างกายยินและหยาง ผู้จัดทาได้สนใจศึกษาเรื่องการรักษาโดยการฝังเข็มแบบแพทย์แผนจีนเพื่อให้ได้ความรู้ และ
ประโยชน์ต่อไป
วัตถุประสงค์
1. เพื่อศึกษาประโยชน์ของการฝังเข็ม
2. เพื่อศึกษาวิธีการฝังเข็ม
3. เพื่อเป็นแนวทางหนึ่งในการรักษา
ขอบเขตโครงงาน
ศึกษาข้อมูลเรื่องการรักษาโรคโดยการฝังเข็มจากแหล่งข้อมูลต่างๆ คือ เว็บไซต์บนอินเทอร์เน็ต และ หนังสือ
ที่เกี่ยวข้อง
หลักการและทฤษฎี
การฝังเข็มเป็นศาสตร์การรักษาโรคและอาการต่าง ๆ ของจีนโบราณ ในทางกายภาพหรือทางสรีระวิทยาแล้ว เส้น
ลมปราณ (Meridian Line) ที่กล่าวอ้างในวิธีการรักษา รวมไปถึงกลไกลหรือวิธีการรักษายังไม่สามารถพิสูจน์ได้ด้วย
การแพทย์หรือวิทยาศาสตร์สมัยใหม่ ประสิทธิภาพในการรักษาอาจไม่ได้อยู่ที่การฝังเข็มอย่างเดียว แต่อาจเป็นผลมา
จากการกระตุ้นไฟฟ้าที่นามาใช้ร่วมกับการฝังเข็ม หรือในทางวิทยาศาสตร์เรียกว่า TENS (Transcutaneous
Electrical Nerve Stimulation) เป็นเครื่องที่ใช้ในการลดอาการปวดโดยการกระตุ้นเส้นประสาทผ่านทางผิวหนัง ซึ่ง
เป็นสิ่งที่มีการศึกษาที่ชัดเจนในปัจจุบัน
ประมาณปี 2014 ได้มีการอภิปรายเป็นลายลักษณ์อักษรในหัวข้อ การฝังเข็มสามารถรักษาโรคได้จริงหรือเป็นเพียง
อุปทานหมู่ โดยนักวิจัยเกี่ยวกับการฝังเข็มคือ Shu-Ming Wang (MD), Richard E. Harris (PhD), Yuan-Chi Lin
(MPH), Tong-Joo Gan (MD), Steven Novella (MD) และ David Colquhoun (PhD) มีการทาวิจัยทางคลินิก
เกี่ยวกับประสิทธิภาพในการฝังเข็ม ได้ผลสรุปของการวิจัยในครั้งนั้นว่า ประสิทธิภาพในการรักษาด้วยการฝังเข็มดู
เหมือนว่าจะมีเพียงน้อยนิดหรืออาจไม่สามารถรักษาโรคได้เลย อาจเป็นเพียงอุปทานหมู่
แพทย์และนักวิทยาศาสตร์หลายต่อหลายคนทาการศึกษาและอภิปรายเกี่ยวกับการฝังเข็ม แต่ยังไม่มีใคร
4
ที่สามารถเข้าใจเกี่ยวกับการฝังเข็มได้ทั้งหมด ว่าอะไรคือกลไกลการทางานของการฝังเข็ม ส่งผลต่อการไหลเวียนเลือด
ได้อย่างไร สามารถบรรเทาความเจ็บปวดจากอาการของโรคต่าง ๆ ได้จริงหรือไม่ ในปัจจุบันประสิทธิภาพของการ
ฝังเข็มยังไม่สามารถอธิบายได้ในทางวิทยาศาสตร์ระดับโมเลกุล แต่ดูเหมือนว่าอาการที่ดีขึ้นจะเป็นสิ่งที่ผู้ป่วยคิดไปเอง
ความเสี่ยงของการฝังเข็ม
การฝังเข็มเป็นการรักษาแบบแพทย์ทางเลือก แม้จะมีความเสี่ยงที่ต่า แต่ก็ไม่ควรเลือกใช้แทนการรักษาพยาบาล
ทั่วไป และควรปรึกษาแพทย์ก่อนการฝังเข็ม โดยเฉพาะผู้ป่วยที่มีโรคประจาตัว ผู้ที่มีอาการเจ็บป่วยอย่างรุนแรง หรือ
ผู้ที่เคยเข้ารับการรักษาด้วยวิธีการฝังเข้มแล้วอาการไม่ดีขึ้น โดยปกติการรักษาจะทาโดยแพทย์ที่จบทางด้านนี้โดยตรง
ต้องมีใบอนุญาตประกอบโรคศิลป์และเป็นแพทย์ที่มีประสบการณ์ ควรรีบไปพบแพทย์หากพบอาการเจ็บ เลือดออก
หรือมีอาการช้าในบริเวณจุดฝังเข็ม วิงเวียนศีรษะ จะเป็นลม และอาจเกิดความเสี่ยงหรือภาวะแทรกซ้อนจากการ
ฝังเข็มได้ในผู้ป่วยบางราย เช่น
 การติดเชื้อ เช่น ตับอักเสบ หรือเอชไอวี ในกรณีที่มีการใช้เข็มที่ไม่ผ่านการฆ่าเชื้อ หรือใช้เข็มซ้า
 อาการเจ็บหรืออาจทาให้เลือดออกหรือมีอาการช้าในบริเวณจุดฝังเข็ม โดยเฉพาะในผู้ที่มีภาวะเลือดออก
ผิดปกติ และผู้ที่รับประทานยาเจือจางเลือด เช่น วาร์ฟาริน (Warfarin) จะมีความเสี่ยงสูงกว่า
 อวัยวะภายในได้รับบาดเจ็บ โดยเฉพาะปอด ในกรณีที่มีการฝังเข็มลึกเกินไป แต่มักพบได้น้อยมากในแพทย์ที่
มีประสบการณ์
 ผู้ที่ใช้เครื่องกระตุ้นหัวใจ เพราะในการฝังเข็มอาจมีการกระตุ้นไฟฟ้าร่วมด้วย จะไปแทรกการทางานของ
เครื่องกระตุ้นหัวใจ
 หญิงตั้งครรภ์ การฝังเข็มบางรูปแบบ อาจไปกระตุ้นครรภ์มารดา และส่งผลต่อการคลอดบุตร
ขั้นตอนการฝังเข็ม
แต่ละคนจะมีวิธีการ ความถี่ และระยะเวลาในการรักษาไม่เท่ากัน ขึ้นอยู่กับอาการและความรุนแรง ของผู้ป่วยแต่ละ
ราย สาหรับโรคทั่วไปจะทาการรักษาประมาณ 6-8 ครั้ง แบ่งเป็น 1-2 ครั้งต่อสัปดาห์ ในครั้งแรกใช้เวลาประมาณ 60
นาที และจะใช้เวลาประมาณ 30 นาทีในครั้งต่อ ๆ ไป ขึ้นอยู่กับอาการของผู้ป่วย แพทย์จะทาการวินิจฉัยอาการของ
ผู้ป่วย ซักประวัติและตรวจร่างกาย จากนั้นจะส่งต่อไปยังแพทย์ฝังเข็ม (Acupuncturist) อาจมีการตรวจจังหวะชีพจร
ที่บริเวณข้อมือเพิ่มเติม และมีขั้นตอนการฝังเข็มและแนวทางในการฝังเข็มดังต่อไปนี้
 แพทย์จะบอกรายละเอียดเกี่ยวกับจุดฝังเข็ม อาจต้องมีการถอดเสื้อหรือเปลี่ยนชุดที่แพทย์เตรียมให้ในกรณีที่
ชุดของผู้ป่วยไม่เอื้ออานวยต่อการฝังเข็ม จากนั้นแพทย์จะให้ผู้ป่วยนั่งในท่าที่เหมาะสมหรือนอนลงบนเตียง
 แพทย์จะนาเข็มที่มีลักษณะบางมากและยาวประมาณ 2-3 เซนติเมตรสอดลงไปที่กล้ามเนื้อ ในจุดฝังเข็มต่าง
ๆ จานวนตั้งแต่ 5-20 เล่ม ในระหว่างที่แพทย์กาลังสอดเข็มลงไปที่กล้ามเนื้อ อาจทาให้รู้สึกชาหรือปวดอ่อน ๆ ถ้ารู้สึก
เจ็บมาก ควรรีบบอกแพทย์ทันที
 แพทย์อาจทาการหมุนเข็ม ให้ความร้อน หรือกระตุ้นด้วยกระแสไฟฟ้า (Electroacupuncture) ลงไปที่เข็ม
ร่วมด้วย
5
 แพทย์จะใช้เวลาประมาณ 10-20 นาที ก่อนดึงเข็มออก ในขณะที่ผู้ป่วยนอนผ่อนคลายอยู่บนเตียง จะไม่รู้สึก
เจ็บหรือปวดในระหว่างที่แพทย์กาลังดึงเข็มออก
อาการที่เชื่อว่าสามารถบรรเทาได้ด้วยการฝังเข็ม
ถึงแม้บางครั้งอาจจะบอกได้ยากว่าวิธีการรักษาในรูปแบบนี้ช่วยรักษาหรือบรรเทาอาการของโรคได้อย่างไร แต่ผู้ป่วย
หลายรายพบว่าความเจ็บปวดจากอาการต่าง ๆ ได้ทุเลาลงหลังเข้ารับการรักษา แพทย์อาจแนะนาให้ใช้วิธีการฝังเข็ม
ร่วมกับการรักษาแบบปกติ ในผู้ป่วยที่เป็นโรคหรือมีอาการดังต่อไปนี้
 อาการปวดเรื้องรัง เช่น ปวดหัว ไมเกรน ปวดฟัน ปวดคอ ปวดไหล่ ปวดหลัง ปวดกล้ามเนื้อ ปวดข้อ โรคข้อ
เข่าเสื่อม รวมไปถึงอาการปวดจากการผ่าตัด
 โรคมะเร็ง สามารถใช้การฝังเข็มเข้าร่วมกับการรักษาแบบปกติ เช่น การทาเคมีบาบัดหรือการทาคีโม การ
ฉายรังสี การผ่าตัด โดยอาจช่วยลดอาการคลื่นไส้และอาเจียนในระหว่างการรักษา
 ผู้หญิงบางคนอาจมีอาการปวดประจาเดือนแบบรุนแรง อาจใช้การฝังเข็มเป็นทางเลือกในการบรรเทาอาการ
ปวด
 ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพการตั้งครรภ์ในเพศหญิง โดยมีกรณีศึกษาหนึ่งได้บอกว่า การฝังเข็มจะช่วยให้ผ่อนคลาย
ความเครียดและเสริมการไหลเวียนของเลือดไปยังบริเวณมดลูก สามารถเพิ่มอัตราความเป็นไปได้ในการตั้งครรภ์
 ฟื้นฟูสมรรถภาพของสมองจากโรคหลอดเลือดสมอง
 โรคการกดทับของเส้นประสาทบริเวณข้อมือ ส่งผลให้เกิดอาการชา หรืออ่อนแรงที่บริเวณนิ้วและมือ
 หายใจลาบาก เจ็บหน้าอก และไอ ที่เป็นผลมาจากโรคหอบหืดหรือการติดเชื้อทางเดินหายใจ
วิธีดาเนินงาน
แนวทางการดาเนินงาน
1. ศึกษาหาข้อมูลเกี่ยวกับการรักษาโรคด้วยการฝังเข็ม ขั้นตอน และโรคที่สามารถรักษาด้วยการใงเข็มได้
2. สารวจสถิติของผู้ที่รับการรักษาโรคด้วยการฝังเข็มในแต่ละปี และแนวโน้มในอนาคตในการเพิ่มขึ้นหรือ
ลดลง
เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้
1.คอมพิวเตอร์
2.อินเตอร์เน็ต
3.หนังสือที่เกี่ยวข้อง
6
ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน
ลาดับ
ที่
ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ
1 2 3 4 5 6 7 8 9
1
0
1
1
12
1
3
1
4
1
5
16 17
1 คิดหัวข้อโครงงาน ภัสสราภรณ์
พิมพ์มาดา
2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล ภัสสราภรณ์
พิมพ์มาดา
3 จัดทาโครงร่างงาน ภัสสราภรณ์
พิมพ์มาดา
4 ปฏิบัติการสร้างโครงงาน ภัสสราภรณ์
พิมพ์มาดา
5 ปรับปรุงทดสอบ ภัสสราภรณ์
พิมพ์มาดา
6 การทาเอกสารรายงาน ภัสสราภรณ์
พิมพ์มาดา
7 ประเมินผลงาน ภัสสราภรณ์
พิมพ์มาดา
8 นาเสนอโครงงาน ภัสสราภรณ์
พิมพ์มาดา
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
ได้ทราบความหมายของการฝังเข็มว่าการฝังเข็มคืออะไร โรคที่สามารถรักษาได้ด้วยการฝังเข็ม ขั้นตอนของ
การฝังเข็ม ประโยชน์การฝังเข็ม ลักษณะของผู้ที่ไม่ควรฝังเข็ม
สถานที่ดาเนินการ
ห้องคอมพิวเตอร์โรงเรียนยุพราชวิยาลัย
กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง
1.กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ (ชีววิทยา)
2. กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ (เคมี)
7
แหล่งอ้างอิง
พบแพทย์.(2560).ฝังเข็มทางเลือกของการรักษา [ออนไลน์].เข้าถึง ได้จาก:
http://www.paolohospital.com/chockchai4/healtharticle/content-cc4-59/ (วันที่ ค้นข้อมูล 31 กันยายน
2562).
โรงพยาบาลวิภาวดี.(2559).ฝังเข็มคืออะไร[ออนไลน์].เข้าถึง ได้จาก:
https://www.vibhavadi.com/health514/ (วันที่ ค้นข้อมูล 31 กันยายน 2562).
กองบรรณาธิการ HONESTDOCS.(2562).การฝังเข็ม ทางเลือกในการรักษาโรคข้อเข่าเสื่อม [ออนไลน์].
เข้าถึง ได้จาก: https://www.honestdocs.co/acupuncture-alternative-to-osteoarthritis (วันที่ ค้นข้อมูล 31
กันยายน 2562).

More Related Content

What's hot

2562 final project 605 06
2562 final project 605 062562 final project 605 06
2562 final project 605 06KTPH2348
 
2562 final-project 14-610
2562 final-project 14-6102562 final-project 14-610
2562 final-project 14-610ssuser015151
 
แบบร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบร่างโครงงานคอมพิวเตอร์jungkookjin
 

What's hot (10)

Depression of thai people
Depression of thai peopleDepression of thai people
Depression of thai people
 
2562 final project 605 06
2562 final project 605 062562 final project 605 06
2562 final project 605 06
 
4
44
4
 
2562 final-project 14-610
2562 final-project 14-6102562 final-project 14-610
2562 final-project 14-610
 
AT1
AT1AT1
AT1
 
2562 final-project 12-matave
2562 final-project 12-matave2562 final-project 12-matave
2562 final-project 12-matave
 
computer
computercomputer
computer
 
แบบร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
2560 project
2560 project2560 project
2560 project
 
Web site
Web siteWeb site
Web site
 

Similar to Final1

Computer project
Computer projectComputer project
Computer projectMaryW6
 
แบบโครงร่าง โรคเบาหวาน
แบบโครงร่าง โรคเบาหวานแบบโครงร่าง โรคเบาหวาน
แบบโครงร่าง โรคเบาหวานDduang07
 
รักษาโรคมะเร็ง
รักษาโรคมะเร็งรักษาโรคมะเร็ง
รักษาโรคมะเร็งpornkanok02
 
โครงร่างงานคอมฝนอัง
โครงร่างงานคอมฝนอังโครงร่างงานคอมฝนอัง
โครงร่างงานคอมฝนอังSompor Sukaew
 
วิชญาพร1
วิชญาพร1วิชญาพร1
วิชญาพร1Wichayaporn02
 
2562 final-project1-18-vasaraj
2562 final-project1-18-vasaraj2562 final-project1-18-vasaraj
2562 final-project1-18-vasarajKUMBELL
 
โรคซึมเศร้า
โรคซึมเศร้าโรคซึมเศร้า
โรคซึมเศร้าNattanichaYRC
 
ยาเสพติดพิษของวัยรุ่น
ยาเสพติดพิษของวัยรุ่นยาเสพติดพิษของวัยรุ่น
ยาเสพติดพิษของวัยรุ่นKorakrit Jindadang
 
โรคติดต่อทางเพสสัมพันธุ์
โรคติดต่อทางเพสสัมพันธุ์โรคติดต่อทางเพสสัมพันธุ์
โรคติดต่อทางเพสสัมพันธุ์Pack Matapong
 
แบบเสนอโครงงาน (ล าส ด)
แบบเสนอโครงงาน (ล าส ด)แบบเสนอโครงงาน (ล าส ด)
แบบเสนอโครงงาน (ล าส ด)Nuties Electron
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์Sk'b Methasith
 

Similar to Final1 (20)

Computer project
Computer projectComputer project
Computer project
 
2557 โครงงาน3
2557 โครงงาน32557 โครงงาน3
2557 โครงงาน3
 
2557 โครงงาน3
2557 โครงงาน32557 โครงงาน3
2557 โครงงาน3
 
แบบโครงร่าง โรคเบาหวาน
แบบโครงร่าง โรคเบาหวานแบบโครงร่าง โรคเบาหวาน
แบบโครงร่าง โรคเบาหวาน
 
2560 project -1 new
2560 project -1 new2560 project -1 new
2560 project -1 new
 
รักษาโรคมะเร็ง
รักษาโรคมะเร็งรักษาโรคมะเร็ง
รักษาโรคมะเร็ง
 
Final Project computer_4
Final Project computer_4Final Project computer_4
Final Project computer_4
 
กิจกรรมที่ 5
กิจกรรมที่ 5กิจกรรมที่ 5
กิจกรรมที่ 5
 
โครงร่างงานคอมฝนอัง
โครงร่างงานคอมฝนอังโครงร่างงานคอมฝนอัง
โครงร่างงานคอมฝนอัง
 
2561 project com
2561 project com2561 project com
2561 project com
 
Work1.1
Work1.1Work1.1
Work1.1
 
วิชญาพร1
วิชญาพร1วิชญาพร1
วิชญาพร1
 
2562 final-project1-18-vasaraj
2562 final-project1-18-vasaraj2562 final-project1-18-vasaraj
2562 final-project1-18-vasaraj
 
โรคซึมเศร้า
โรคซึมเศร้าโรคซึมเศร้า
โรคซึมเศร้า
 
ยาเสพติดพิษของวัยรุ่น
ยาเสพติดพิษของวัยรุ่นยาเสพติดพิษของวัยรุ่น
ยาเสพติดพิษของวัยรุ่น
 
โรคติดต่อทางเพสสัมพันธุ์
โรคติดต่อทางเพสสัมพันธุ์โรคติดต่อทางเพสสัมพันธุ์
โรคติดต่อทางเพสสัมพันธุ์
 
แบบเสนอโครงงาน (ล าส ด)
แบบเสนอโครงงาน (ล าส ด)แบบเสนอโครงงาน (ล าส ด)
แบบเสนอโครงงาน (ล าส ด)
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
W.1
W.1W.1
W.1
 
AT1
AT1AT1
AT1
 

More from Patsarapronkhadta (7)

Final1
Final1Final1
Final1
 
Stray dog
Stray dogStray dog
Stray dog
 
300
300300
300
 
13
1313
13
 
14
1414
14
 
14
1414
14
 
presentation3
presentation3presentation3
presentation3
 

Final1

  • 1. 1 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ รหัสวิชา ง33201 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 5 ปีการศึกษา 2562 ชื่อโครงงาน การฝังเข็มรักษาโรค ชื่อผู้ทาโครงงาน นางสาว พิมพ์มาดา เรือนแก้ว เลขที่ 5 ชั้น ม.6 ห้อง 6 นางสาว ภัสสราภรณ์ ขัดทา เลขที่ 14 ชั้น ม.6 ห้อง 6 ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 62 โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
  • 2. 2 ใบงาน การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์ สมาชิกในกลุ่ม นางสาว พิมพ์มาดา เรือนแก้ว เลขที่ 5 นางสาว ภัสสราภรณ์ ขัดทา เลขที่ 14 คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้ ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย) การฝังเข็มรักษาโรค ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ) Acupuncture treatment ประเภทโครงงาน พัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา ชื่อผู้ทาโครงงาน นางสาว พิมพ์มาดา เรือนแก้ว นางสาว ภัสสราภรณ์ ขัดทา ชื่อที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2562 ที่มาและความสาคัญของโครงงาน ในปัจจุบันคงหลีกเลี่ยงไม่ได้ว่ากระแสนิยมด้านการรักษาด้วยการฝังเข็มนั้นได้ยายวงกว้างไปทั่วโลกไม่จาเพาะ แต่ในทวีปเอเชียเท่านั้น หากแต่ยังได้รับความแพร่หลายไปถึงทวีปยุโรปและทวีปอื่นๆ ด้วยเช่นเดียวกัน ดังจะเห็นได้ จากองค์การอนามัยโลก (WHO) ได้ให้การรับรองการฝังเข็มว่าเป็นศาสตร์การรักษาอีกแขนงหนึ่งที่ให้ประสิทธิภาพได้ อย่างเด่นชัด ซึ่งในประเทศไทยเองนั้นก็ได้เล็งเห็นถึงคุณค่าและประโยชน์ของการใช้การฝังเข็มเพื่อมาดูแลรักษา สุขภาพร่างกายและบาบัดโรคตามวิธีการรักษาแบบธรรมชาติบาบัดเช่นเดียวกัน จึงไม่แปลกที่โรงพยาบาลและคลินิก ต่างๆได้มีการเลือกใช้การฝังเข็มเข้ามาเป็นส่วนหนึ่งของการรักษา ซึ่งจากสถิติของผู้ป่วยในปัจจุบันที่เข้ารับการรักษา อาการปวดหลังด้วยวิธีการฝังเข็มนั้นมีเพิ่มมากขึ้นตามลาดับ เนื่องมาจากสภาพการดาเนินชีวิตประจาวันของผู้คนที่ ทาให้ร่างกายได้รับความเจ็บป่วย อาทิเช่น การนั่งทางานเป็นเวลานานๆ การยืนเป็นระยะเวลานาน การยกของ การถือของหนัก หรือการนอนในท่าที่ไม่ถูกต้อง เป็นต้น ล้วนแต่ส่งผลกระทบต่อกล้ามเนื้อบริเวณคอ บ่า และ โดยเฉพาะอย่างยิ่งบริเวณหลัง
  • 3. 3 ผู้จัดทาจึงได้เห็นถึงความสาคัญและได้ศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติมเกี่ยวกับการรักษาด้วยการฝังเข็มแบบจีน ซึ่งการฝังเข็มเป็นศาสตร์อย่างหนึ่งในแพทย์แผนจีน ที่ชาวจีนใช้กันมานานกว่า 4000 ปี โดยมีหลักการคือการใช้เข็ม ขนาดเล็กมาก ฝังตามจุดฝังเข็มของร่างกาย ซึ่งเป็นจุดที่มีพลังงานมากกว่าจุดอื่นๆเพื่อทาให้พลังงานและอวัยวะต่างๆ ของร่างกายที่เสียสมดุลไป กลับมาอยู่ในภาวะสมดุลเป็นวิธีการแทงเข็มรักษาโรคด้วยการใช้เข็ม ซึ่งมีหลายขนาด แทง ลงไปตรงตาแหน่งของจุดฝังเข็มตามอวัยวะต่างๆ ของร่างกาย โดยใช้หลักรักษาของแพทย์แผนจีน เพื่อปรับปรุงสมดุล ของร่างกายยินและหยาง ผู้จัดทาได้สนใจศึกษาเรื่องการรักษาโดยการฝังเข็มแบบแพทย์แผนจีนเพื่อให้ได้ความรู้ และ ประโยชน์ต่อไป วัตถุประสงค์ 1. เพื่อศึกษาประโยชน์ของการฝังเข็ม 2. เพื่อศึกษาวิธีการฝังเข็ม 3. เพื่อเป็นแนวทางหนึ่งในการรักษา ขอบเขตโครงงาน ศึกษาข้อมูลเรื่องการรักษาโรคโดยการฝังเข็มจากแหล่งข้อมูลต่างๆ คือ เว็บไซต์บนอินเทอร์เน็ต และ หนังสือ ที่เกี่ยวข้อง หลักการและทฤษฎี การฝังเข็มเป็นศาสตร์การรักษาโรคและอาการต่าง ๆ ของจีนโบราณ ในทางกายภาพหรือทางสรีระวิทยาแล้ว เส้น ลมปราณ (Meridian Line) ที่กล่าวอ้างในวิธีการรักษา รวมไปถึงกลไกลหรือวิธีการรักษายังไม่สามารถพิสูจน์ได้ด้วย การแพทย์หรือวิทยาศาสตร์สมัยใหม่ ประสิทธิภาพในการรักษาอาจไม่ได้อยู่ที่การฝังเข็มอย่างเดียว แต่อาจเป็นผลมา จากการกระตุ้นไฟฟ้าที่นามาใช้ร่วมกับการฝังเข็ม หรือในทางวิทยาศาสตร์เรียกว่า TENS (Transcutaneous Electrical Nerve Stimulation) เป็นเครื่องที่ใช้ในการลดอาการปวดโดยการกระตุ้นเส้นประสาทผ่านทางผิวหนัง ซึ่ง เป็นสิ่งที่มีการศึกษาที่ชัดเจนในปัจจุบัน ประมาณปี 2014 ได้มีการอภิปรายเป็นลายลักษณ์อักษรในหัวข้อ การฝังเข็มสามารถรักษาโรคได้จริงหรือเป็นเพียง อุปทานหมู่ โดยนักวิจัยเกี่ยวกับการฝังเข็มคือ Shu-Ming Wang (MD), Richard E. Harris (PhD), Yuan-Chi Lin (MPH), Tong-Joo Gan (MD), Steven Novella (MD) และ David Colquhoun (PhD) มีการทาวิจัยทางคลินิก เกี่ยวกับประสิทธิภาพในการฝังเข็ม ได้ผลสรุปของการวิจัยในครั้งนั้นว่า ประสิทธิภาพในการรักษาด้วยการฝังเข็มดู เหมือนว่าจะมีเพียงน้อยนิดหรืออาจไม่สามารถรักษาโรคได้เลย อาจเป็นเพียงอุปทานหมู่ แพทย์และนักวิทยาศาสตร์หลายต่อหลายคนทาการศึกษาและอภิปรายเกี่ยวกับการฝังเข็ม แต่ยังไม่มีใคร
  • 4. 4 ที่สามารถเข้าใจเกี่ยวกับการฝังเข็มได้ทั้งหมด ว่าอะไรคือกลไกลการทางานของการฝังเข็ม ส่งผลต่อการไหลเวียนเลือด ได้อย่างไร สามารถบรรเทาความเจ็บปวดจากอาการของโรคต่าง ๆ ได้จริงหรือไม่ ในปัจจุบันประสิทธิภาพของการ ฝังเข็มยังไม่สามารถอธิบายได้ในทางวิทยาศาสตร์ระดับโมเลกุล แต่ดูเหมือนว่าอาการที่ดีขึ้นจะเป็นสิ่งที่ผู้ป่วยคิดไปเอง ความเสี่ยงของการฝังเข็ม การฝังเข็มเป็นการรักษาแบบแพทย์ทางเลือก แม้จะมีความเสี่ยงที่ต่า แต่ก็ไม่ควรเลือกใช้แทนการรักษาพยาบาล ทั่วไป และควรปรึกษาแพทย์ก่อนการฝังเข็ม โดยเฉพาะผู้ป่วยที่มีโรคประจาตัว ผู้ที่มีอาการเจ็บป่วยอย่างรุนแรง หรือ ผู้ที่เคยเข้ารับการรักษาด้วยวิธีการฝังเข้มแล้วอาการไม่ดีขึ้น โดยปกติการรักษาจะทาโดยแพทย์ที่จบทางด้านนี้โดยตรง ต้องมีใบอนุญาตประกอบโรคศิลป์และเป็นแพทย์ที่มีประสบการณ์ ควรรีบไปพบแพทย์หากพบอาการเจ็บ เลือดออก หรือมีอาการช้าในบริเวณจุดฝังเข็ม วิงเวียนศีรษะ จะเป็นลม และอาจเกิดความเสี่ยงหรือภาวะแทรกซ้อนจากการ ฝังเข็มได้ในผู้ป่วยบางราย เช่น  การติดเชื้อ เช่น ตับอักเสบ หรือเอชไอวี ในกรณีที่มีการใช้เข็มที่ไม่ผ่านการฆ่าเชื้อ หรือใช้เข็มซ้า  อาการเจ็บหรืออาจทาให้เลือดออกหรือมีอาการช้าในบริเวณจุดฝังเข็ม โดยเฉพาะในผู้ที่มีภาวะเลือดออก ผิดปกติ และผู้ที่รับประทานยาเจือจางเลือด เช่น วาร์ฟาริน (Warfarin) จะมีความเสี่ยงสูงกว่า  อวัยวะภายในได้รับบาดเจ็บ โดยเฉพาะปอด ในกรณีที่มีการฝังเข็มลึกเกินไป แต่มักพบได้น้อยมากในแพทย์ที่ มีประสบการณ์  ผู้ที่ใช้เครื่องกระตุ้นหัวใจ เพราะในการฝังเข็มอาจมีการกระตุ้นไฟฟ้าร่วมด้วย จะไปแทรกการทางานของ เครื่องกระตุ้นหัวใจ  หญิงตั้งครรภ์ การฝังเข็มบางรูปแบบ อาจไปกระตุ้นครรภ์มารดา และส่งผลต่อการคลอดบุตร ขั้นตอนการฝังเข็ม แต่ละคนจะมีวิธีการ ความถี่ และระยะเวลาในการรักษาไม่เท่ากัน ขึ้นอยู่กับอาการและความรุนแรง ของผู้ป่วยแต่ละ ราย สาหรับโรคทั่วไปจะทาการรักษาประมาณ 6-8 ครั้ง แบ่งเป็น 1-2 ครั้งต่อสัปดาห์ ในครั้งแรกใช้เวลาประมาณ 60 นาที และจะใช้เวลาประมาณ 30 นาทีในครั้งต่อ ๆ ไป ขึ้นอยู่กับอาการของผู้ป่วย แพทย์จะทาการวินิจฉัยอาการของ ผู้ป่วย ซักประวัติและตรวจร่างกาย จากนั้นจะส่งต่อไปยังแพทย์ฝังเข็ม (Acupuncturist) อาจมีการตรวจจังหวะชีพจร ที่บริเวณข้อมือเพิ่มเติม และมีขั้นตอนการฝังเข็มและแนวทางในการฝังเข็มดังต่อไปนี้  แพทย์จะบอกรายละเอียดเกี่ยวกับจุดฝังเข็ม อาจต้องมีการถอดเสื้อหรือเปลี่ยนชุดที่แพทย์เตรียมให้ในกรณีที่ ชุดของผู้ป่วยไม่เอื้ออานวยต่อการฝังเข็ม จากนั้นแพทย์จะให้ผู้ป่วยนั่งในท่าที่เหมาะสมหรือนอนลงบนเตียง  แพทย์จะนาเข็มที่มีลักษณะบางมากและยาวประมาณ 2-3 เซนติเมตรสอดลงไปที่กล้ามเนื้อ ในจุดฝังเข็มต่าง ๆ จานวนตั้งแต่ 5-20 เล่ม ในระหว่างที่แพทย์กาลังสอดเข็มลงไปที่กล้ามเนื้อ อาจทาให้รู้สึกชาหรือปวดอ่อน ๆ ถ้ารู้สึก เจ็บมาก ควรรีบบอกแพทย์ทันที  แพทย์อาจทาการหมุนเข็ม ให้ความร้อน หรือกระตุ้นด้วยกระแสไฟฟ้า (Electroacupuncture) ลงไปที่เข็ม ร่วมด้วย
  • 5. 5  แพทย์จะใช้เวลาประมาณ 10-20 นาที ก่อนดึงเข็มออก ในขณะที่ผู้ป่วยนอนผ่อนคลายอยู่บนเตียง จะไม่รู้สึก เจ็บหรือปวดในระหว่างที่แพทย์กาลังดึงเข็มออก อาการที่เชื่อว่าสามารถบรรเทาได้ด้วยการฝังเข็ม ถึงแม้บางครั้งอาจจะบอกได้ยากว่าวิธีการรักษาในรูปแบบนี้ช่วยรักษาหรือบรรเทาอาการของโรคได้อย่างไร แต่ผู้ป่วย หลายรายพบว่าความเจ็บปวดจากอาการต่าง ๆ ได้ทุเลาลงหลังเข้ารับการรักษา แพทย์อาจแนะนาให้ใช้วิธีการฝังเข็ม ร่วมกับการรักษาแบบปกติ ในผู้ป่วยที่เป็นโรคหรือมีอาการดังต่อไปนี้  อาการปวดเรื้องรัง เช่น ปวดหัว ไมเกรน ปวดฟัน ปวดคอ ปวดไหล่ ปวดหลัง ปวดกล้ามเนื้อ ปวดข้อ โรคข้อ เข่าเสื่อม รวมไปถึงอาการปวดจากการผ่าตัด  โรคมะเร็ง สามารถใช้การฝังเข็มเข้าร่วมกับการรักษาแบบปกติ เช่น การทาเคมีบาบัดหรือการทาคีโม การ ฉายรังสี การผ่าตัด โดยอาจช่วยลดอาการคลื่นไส้และอาเจียนในระหว่างการรักษา  ผู้หญิงบางคนอาจมีอาการปวดประจาเดือนแบบรุนแรง อาจใช้การฝังเข็มเป็นทางเลือกในการบรรเทาอาการ ปวด  ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพการตั้งครรภ์ในเพศหญิง โดยมีกรณีศึกษาหนึ่งได้บอกว่า การฝังเข็มจะช่วยให้ผ่อนคลาย ความเครียดและเสริมการไหลเวียนของเลือดไปยังบริเวณมดลูก สามารถเพิ่มอัตราความเป็นไปได้ในการตั้งครรภ์  ฟื้นฟูสมรรถภาพของสมองจากโรคหลอดเลือดสมอง  โรคการกดทับของเส้นประสาทบริเวณข้อมือ ส่งผลให้เกิดอาการชา หรืออ่อนแรงที่บริเวณนิ้วและมือ  หายใจลาบาก เจ็บหน้าอก และไอ ที่เป็นผลมาจากโรคหอบหืดหรือการติดเชื้อทางเดินหายใจ วิธีดาเนินงาน แนวทางการดาเนินงาน 1. ศึกษาหาข้อมูลเกี่ยวกับการรักษาโรคด้วยการฝังเข็ม ขั้นตอน และโรคที่สามารถรักษาด้วยการใงเข็มได้ 2. สารวจสถิติของผู้ที่รับการรักษาโรคด้วยการฝังเข็มในแต่ละปี และแนวโน้มในอนาคตในการเพิ่มขึ้นหรือ ลดลง เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้ 1.คอมพิวเตอร์ 2.อินเตอร์เน็ต 3.หนังสือที่เกี่ยวข้อง
  • 6. 6 ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน ลาดับ ที่ ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 1 0 1 1 12 1 3 1 4 1 5 16 17 1 คิดหัวข้อโครงงาน ภัสสราภรณ์ พิมพ์มาดา 2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล ภัสสราภรณ์ พิมพ์มาดา 3 จัดทาโครงร่างงาน ภัสสราภรณ์ พิมพ์มาดา 4 ปฏิบัติการสร้างโครงงาน ภัสสราภรณ์ พิมพ์มาดา 5 ปรับปรุงทดสอบ ภัสสราภรณ์ พิมพ์มาดา 6 การทาเอกสารรายงาน ภัสสราภรณ์ พิมพ์มาดา 7 ประเมินผลงาน ภัสสราภรณ์ พิมพ์มาดา 8 นาเสนอโครงงาน ภัสสราภรณ์ พิมพ์มาดา ผลที่คาดว่าจะได้รับ ได้ทราบความหมายของการฝังเข็มว่าการฝังเข็มคืออะไร โรคที่สามารถรักษาได้ด้วยการฝังเข็ม ขั้นตอนของ การฝังเข็ม ประโยชน์การฝังเข็ม ลักษณะของผู้ที่ไม่ควรฝังเข็ม สถานที่ดาเนินการ ห้องคอมพิวเตอร์โรงเรียนยุพราชวิยาลัย กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง 1.กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ (ชีววิทยา) 2. กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ (เคมี)
  • 7. 7 แหล่งอ้างอิง พบแพทย์.(2560).ฝังเข็มทางเลือกของการรักษา [ออนไลน์].เข้าถึง ได้จาก: http://www.paolohospital.com/chockchai4/healtharticle/content-cc4-59/ (วันที่ ค้นข้อมูล 31 กันยายน 2562). โรงพยาบาลวิภาวดี.(2559).ฝังเข็มคืออะไร[ออนไลน์].เข้าถึง ได้จาก: https://www.vibhavadi.com/health514/ (วันที่ ค้นข้อมูล 31 กันยายน 2562). กองบรรณาธิการ HONESTDOCS.(2562).การฝังเข็ม ทางเลือกในการรักษาโรคข้อเข่าเสื่อม [ออนไลน์]. เข้าถึง ได้จาก: https://www.honestdocs.co/acupuncture-alternative-to-osteoarthritis (วันที่ ค้นข้อมูล 31 กันยายน 2562).