SlideShare a Scribd company logo
1 of 18
Download to read offline
1
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
รหัสวิชา ง33201 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 5
ปีการศึกษา 2562
ชื่อโครงงาน โรคอัลไซเมอร์ (Alzheimer's Disease)
ชื่อผู้ทาโครงงาน
ชื่อ นางสาว สาวณี เลาว้าง เลขที่ 35 ชั้น ม.6 ห้อง 9
ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 62
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
2
ใบงาน
การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
สมาชิกในกลุ่ม
นางสาว สาวณี เลาว้าง เลขที่35 ชั้น ม.6 ห้อง9
คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้
ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย)
โรคอัลไซเมอร์
ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ)
Alzheimer's Disease
ประเภทโครงงาน พัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา
ชื่อผู้ทาโครงงาน นางสาว สาวณี เลาว้าง เลขที่35 ชั้น ม.6 ห้อง9
ชื่อที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ชื่อที่ปรึกษาร่วม -
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2562
ที่มาและความสาคัญของโครงงาน (อธิบายถึงที่มา แนวคิด และเหตุผล ของการทาโครงงาน)
การเพิ่มขึ้นของสัดส่วนประชากรผู้สูงอายุเป็นสถาณการณ์ที่ทุกประเทศทั่วโลกกาลังเผชิญซึ่ง
ประเทศไทยก็นับเป็นอีกหนึ่งประเทศที่กาลังก้าวเข้าสู่การเป็นสังคมผู้สูงอายุโดยพบว่า สัดส่วนประชากรของ
ผู้สูงอายุเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง ได้คาดการณ์ว่าจะมีจานวนเพิ่มขึ้นถึง 20.5 ล้านคน หรือร้อยละ25ของจานวน
ประชากรทั้งหมดในปี พ.ศ.2583 (สานักคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ,2558) จาก
แนวโน้มของผู้สูงอายุที่เพิ่มมากขึ้นนามาซึ่งภาวะเสี่ยงและปัญหาด้านสุขภาพของผู้สูงอายุที่เพิ่มมากขึ้นอย่าง
หลีกเลี่ยงไม่ได้ เนื่องจากผู้สูงอายุเป็นวัยแห่งความเสื่อมถอยในทุก ๆ ด้าน ซึ่งจากการศึกษาทางการแพทย์
หนึ่งในปัญหาด้านสุขภาพที่พบบ่อยในผู้สูงอายุคือโรคอัลไซเมอร์ โรคนี้เกิดจากความเสื่อมถอยของการทางาน
ของสมองทาให้มีปัญหาในการจดจา การคิด จนขั้นรุนแรงคือไม่สามารถสนทนาตอบโต้หรือมีการตอบสนองต่อ
สิ่งรอบข้างได้ โรคนี้ไม่ใช่ความเสื่อมตามธรรมชาติดังนั้นไม่ใช่ว่าจะเกิดกับผู้สูงอายุทุกคน แต่ก็ส่งผลกระทบต่อ
ชีวิตประจาวันของผู้ป่วยอย่างรุนแรง เช่น การรับประทานอาหาร การอาบน้าแต่งตัว และการเข้าห้องน้าทา
ธุระส่วนตัว และเนื่องมาจากครอบครัวของผู้จัดทามีผู้สูงอายุที่กาลังป่วยเป็นโรคอัลไซเมอร์ในระยะเริ่มต้น จึงมี
ความสนใจที่จะศึกษาโรคนี้และแนวทางการรักษาและต้องการเผยแพร่ข้อมูลนี้ให้กับผู้ที่กาลังสนใจหรือมีความ
เป็นไปได้ว่าจะได้รับผลกระทบจากโรคอัลไซเมอร์ให้ทราบเพื่อแนวทางป้องกัน
3
วัตถุประสงค์ (สิ่งที่ต้องการในการทาโครงงาน ระบุเป็นข้อ)
1.เพื่อศึกษาความรู้เกี่ยวกับโรคอัลไซเมอร์
2.เพื่อศึกษาวิธีการดูแลรักษา
3.เพื่อเป็นสื่อเผยแพร่ข้อมูลความรู้ที่ถูกต้องเกี่ยวกับโรคอัลไซเมอร์
4.เพื่อป้องกันควบคุมไม่ให้เกิดโรคอัลไซเมอร์กับผู้สูงอายุที่มีอัตราเพิ่มมากขึ้นในอนาคต
ขอบเขตโครงงาน (คุณลักษณะ ขอบเขต เงื่อนไขและข้อจากัดของการทาโครงงาน)
โครงงานเรื่องโรคอัลไซเมอร์ มีเนื้อหาเกี่ยวกับความรู้ทั่วไปของโรคอัลไซเมอร์ คือ สาเหตุ อาการ
ผลกระทบ การวินิจฉัย วิธีการดูแลรักษาการป้องกัน และยังมีบทความที่น่าสนใจเกี่ยวกับแนวโน้มของการ
รักษาโรคอัลไซเมอร์ให้หายขาด ผู้ทาการศึกษาเป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา
2562 โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย ซึ่งมีระยะเวลาดาเนินโครงงาน 29 สิงหาคม – 14 กันยายน 2562
หลักการและทฤษฎี (ความรู้ หลักการ หรือทฤษฎีที่สนับสนุนการทาโครงงาน)
สาเหตุ
อัลไซเมอร์เกิดจากการฝ่อตัวของสมองซึ่งจะส่งผลกระทบต่อโครงสร้างและการทางานของสมอง
บริเวณนั้น ๆ ส่วนสาเหตุที่สมองฝ่อตัวลงนี้ยังไม่เป็นที่ทราบแน่ชัด จากการสังเกตสมองของผู้ป่วยอัลไซเมอร์
พบว่ามีความผิดปกติที่คาดว่าจะเป็นสัญลักษณ์บ่งบอกถึงโรค คือมีการสะสมของอะไมลอยด์พลัค (Amyloid
Plaques) ซึ่งเป็นสารโปรตีนผิดปกติชนิดหนึ่ง มีกลุ่มใยประสาทที่พันกัน (Neurofibrillary Tangles) และสาร
สื่อประสาทอะซีติลโคลีน (Acetylcholine) ในสมองที่ไม่สมดุลกัน นอกจากนี้ยังพบว่าเส้นเลือดในสมองของ
ผู้ป่วยโรคนี้มักค่อย ๆ ถูกทาลายลง ทั้งหมดนี้ส่งผลให้ประสิทธิภาพของเซลล์ประสาทลดลงและถูกทาลายทีละ
น้อย และเมื่อเวลาผ่านไป ความเสียหายที่เกิดขึ้นจึงแพร่กระจายไปสู่สมองหลาย ๆ ส่วน ซึ่งบริเวณที่จะได้รับ
ผลกระทบเป็นส่วนแรกก็คือสมองที่ทาหน้าที่ด้านความทรงจา
นอกจากสาเหตุที่คาดการณ์ข้างต้น ปัจจัยอื่น ๆ ที่อาจมีส่วนเพิ่มความเสี่ยงต่อการเกิดโรคอัลไซเมอร์ยังมี ดังนี้
อายุ นับเป็นปัจจัยสาคัญที่สุดที่มีส่วนทาให้เกิดการพัฒนาของโรค โดยโอกาสเสี่ยงเป็นอัลไซเมอร์จะ
เพิ่มขึ้นเป็น 2 เท่า ทุก ๆ 5 ปี หลังจากที่อายุล่วงผ่าน 65 ปีไปแล้ว ทั้งนี้ก็ไม่ใช่แค่ผู้สูงอายุเท่านั้นที่จะเกิด
โรคนี้ได้ เพราะประมาณ 1 ใน 20 ของผู้ป่วยก็มีอายุไม่เกิน 65 ปี โดยเป็นโรคอัลไซเมอร์ชนิดเกิดเร็วที่พบ
ได้ในผู้ที่อายุตั้งแต่ประมาณ 40 ปี
4
ประวัติของบุคคลในครอบครัว พันธุกรรมเป็นอีกสาเหตุหนึ่งที่เพิ่มความเสี่ยงต่อโรคอัลไซเมอร์ กระนั้นก็มี
โอกาสเกิดขึ้นได้น้อยแม้จะมีผู้ป่วยในครอบครัว แต่หากพบว่าสมาชิกในครอบครัวหลายคนประสบกับโรค
ควรต้องรับการปรึกษากับแพทย์ถึงความเสี่ยงต่อโรคนี้เมื่ออายุมากขึ้น
กลุ่มอาการดาวน์ เป็นผู้ป่วยที่มีความเสี่ยงต่อการเกิดโรคอัลไซเมอร์สูง เนื่องจากความผิดปกติทาง
พันธุกรรมที่เป็นสาเหตุของกลุ่มอาการดาวน์นั้นสามารถทาให้เกิดการสะสมของอะไมลอยด์ขึ้นในสมองจน
นาไปสู่โรคอัลไซเมอร์ได้ในบางราย
ได้รับบาดเจ็บที่ศีรษะ ผู้ที่เคยได้รับบาดเจ็บที่ศีรษะอย่างรุนแรงจะยิ่งเสี่ยงพัฒนาไปเป็นโรคอัลไซเมอร์
ยิ่งขึ้น
โรคหลอดเลือดหัวใจ โรคนี้มีปัจจัยการเกิดมาจากพฤติกรรมการใช้ชีวิตที่ไม่เหมาะสม ทางที่ดีควร
ปรับเปลี่ยนด้วยการเลิกสูบบุหรี่ รับประทานอาหารมีประโยชน์ รักษาน้าหนักให้ไม่มากเกิน ดื่ม
แอลกอฮอล์ให้น้อยลง และตรวจสุขภาพเป็นประจา เพื่อป้องกันโรคหลอดเลือดหัวใจและโรคอัลไซเมอร์
ไปในคราวเดียวกัน
อาการของอัลไซเมอร์
อาการเริ่มแรกของโรคอัลไซเมอร์อาจมีอาการหลงลืมหรือภาวะสับสนที่ค่อย ๆ พัฒนาไปอย่างช้า
ๆ โดยใช้เวลาหลายปี ซึ่งบางครั้งมีความคล้ายคลึงกับโรคอื่นจนทาให้เกิดความสับสน และอาจเข้าใจผิดไปว่า
เป็นเพียงอาการหลงลืมเมื่ออายุมากขึ้น ทั้งนี้อาการในผู้ป่วยแต่ละรายก็พัฒนาช้าเร็วแตกต่างกัน ทาให้สามารถ
คาดเดาได้ยากว่าอาการจะแย่ลงเมื่อใด
อาการของโรคอัลไซเมอร์โดยทั่วไปสามารถแบ่งได้เป็น 3 ระยะ ดังนี้
ระยะเริ่มต้น อาการในช่วงต้นของผู้ป่วยโรคอัลไซเมอร์แต่ละรายจะแตกต่างกันไป โดยสัญญาณแรกที่มักพบได้
ก็คืออาการหลงลืมที่อาจส่งผลให้ผู้ป่วยเผชิญกับสถานการณ์ต่อไปนี้
ลืมบทสนทนาหรือเหตุการณ์ที่เพิ่งเกิดขึ้น
วางของผิดที่ อาจไปวางในที่ที่ไม่น่าจะไปวางไว้
ลืมหรือนึกชื่อสถานที่ สิ่งของไม่ออก
ทาอะไรซ้า ๆ ย้า ๆ เช่น ถามซ้าคาถามเดิมหลายครั้ง
ต้องใช้เวลาในการทากิจวัตรประจาวันนานขึ้นกว่าปกติ
ความสามารถในการตัดสินใจต่า การตัดสินใจกลายเป็นเรื่องยาก
ปรับตัวเข้ากับสิ่งแวดล้อมได้น้อยลง มีความลังเลที่จะทาสิ่งใหม่ ๆ มากขึ้น
5
อารมณ์แปรปรวนบ่อยครั้ง เช่น หงุดหงิด กระวนกระวาย วิตกกังวลกว่าปกติ หรือมีอาการสับสนเป็น
ช่วงๆ
ระยะกลาง เมื่ออาการของโรคเริ่มพัฒนาถึงขั้นต่อมา ผู้ป่วยจะยิ่งมีปัญหาด้านความทรงจา ผู้ป่วยมักต้องได้รับ
ความช่วยเหลือในการใช้ชีวิตประจาวัน เช่น การรับประทานอาหาร การอาบน้าแต่งตัว และการเข้าห้องน้าทา
ธุระส่วนตัว โดยอาการที่แสดงเพิ่มขึ้นอาจมีดังนี้
การจาชื่อของคนรู้จักกลายเป็นเรื่องยากมากขึ้นทุกที พยายามนึกชื่อเพื่อนและครอบครัวแต่นึกไม่ออก
เกิดภาวะสับสนและสูญเสียการรับรู้ด้านสถานที่ เวลา และบุคคล เช่น หลงทาง หรือเดินไปเรื่อยเปื่อย
โดยไม่รู้วันเวลา
การทากิจวัตรประจาวันที่มีหลายขั้นตอนกลายเป็นเรื่องยากขึ้น เช่น การแต่งตัว
มีพฤติกรรมหมกมุ่น ทาอะไรซ้า ๆ หรือวู่วาม
ไม่สามารถเรียนรู้สิ่งใหม่ ๆ มีปัญหาในการรับมือกับสถานการณ์ที่ไม่คุ้นเคย
มีอาการหลงผิด เชื่อในเรื่องที่ไม่เป็นความจริงอย่างสนิทใจ รวมถึงอาจรู้สึกหวาดระแวงหรือสงสัยใน
ตัวผู้ดูแลหรือครอบครัวของตนเอง
มีปัญหาเกี่ยวกับการพูดหรือการใช้ภาษาสื่อสาร
มีปัญหาด้านการนอนหลับ
เกิดความเปลี่ยนแปลงทางอารมณ์ เช่น อารมณ์ไม่คงที่ แปรปรวนบ่อยครั้ง มีภาวะซึมเศร้า หรือวิตก
กังวล หงุดหงิด กระวนกระวายยิ่งขึ้นเรื่อย ๆ
ทางานที่ต้องใช้การกะระยะได้ลาบาก
มีอาการประสาทหลอน
ระยะปลาย ระยะที่อาการของโรครุนแรงขึ้นอย่างมากจนนาความเศร้าเสียใจและวิตกกังวลมาให้บุคคลใกล้ชิด
ในระยะนี้ผู้ป่วยอาจต้องได้รับการดูแลและให้ความช่วยเหลือตลอด ไม่ว่าจะเป็นการรับประทานอาหาร การ
เคลื่อนไหว หรือการเข้าห้องน้า
อาการหลงผิดหรือประสาทหลอนที่เป็น ๆ หาย ๆ กลับยิ่งแย่ลงเรื่อย ๆ
ผู้ป่วยอาจอาละวาด เรียกร้องความสนใจ และไม่ไว้วางใจผู้คนรอบข้าง
กลืนและรับประทานอาหารลาบาก
เปลี่ยนท่าทางหรือเคลื่อนไหวตัวเองลาบาก ต้องได้รับการช่วยเหลือ
น้าหนักลดลงมาก แม้จะรับประทานอาหารมากหรือพยายามเพิ่มน้าหนักแล้วก็ตาม
6
มีอาการชัก
กลั้นปัสสาวะหรืออุจจาระไม่อยู่
ค่อย ๆ สูญเสียความสามารถในการพูดลงไปทีละน้อยจนไม่สามารถสื่อสารได้
มีปัญหาด้านความทรงจาในระยะสั้นและระยะยาวอย่างร้ายแรง
อย่างไรก็ตาม บางครั้งอาการของโรคที่แย่ลงอย่างกะทันหัน อาจมีผลพวงมาจากการใช้ยา การติดเชื้อ โรค
หลอดเลือดในสมอง หรือภาวะสับสนเฉียบพลันที่เกิดแทรกขึ้นมาได้ ผู้ป่วยอัลไซเมอร์ที่สังเกตพบว่าอาการของ
ตนแย่ลงอย่างรวดเร็วควรไปพบแพทย์เพื่อตรวจรักษา
ส่วนผู้ที่มีความกังวลว่าตนเองอาจมีปัญหาด้านความทรงจาหรือเป็นโรคสมองเสื่อม หรือสงสัยว่าคนรอบข้างมี
อาการคล้ายข้างต้นก็ควรสนับสนุนให้ไปพบแพทย์เพื่อรับการตรวจรักษาเช่นกัน และถ้าเป็นไปได้ก็ควรเสนอตัว
ไปเป็นเพื่อนผู้ป่วยด้วย
ทั้งนี้ ปัญหาเกี่ยวกับความทรงจาไม่ได้มีสาเหตุมาจากโรคสมองเสื่อมเพียงอย่างเดียว แต่อาจเกิดขึ้นได้จาก
ภาวะซึมเศร้า ความเครียด ผลข้างเคียงจากยารักษาโรค หรือปัญหาสุขภาพอื่น ๆ ซึ่งแพทย์จะสามารถช่วย
ตรวจวินิจฉัยหาสาเหตุของอาการที่เกิดขึ้นได้
การแบ่งความรุนแรงของโรคอัลไซเมอร์
โรคอัลไซเมอร์ ก็เพื่อที่จะทราบว่าผู้ป่วยเป็นโรคนี้อยู่ในระยะไหน ข้อสาคัญของโรคนี้อาการอาจจะมีการข้าม
ระยะดังนั้นการที่จะบอกแน่ชัดคงจะทาได้ยาก
ระยะที่ 1
ระยะนี้จะเหมือนคนปกติ ไม่มีปัญหาเรื่องการสูญเสียความจา หรืออาการของโรคสมองเสื่อม
ระยะที่2
ระยะก่อนสมองเสื่อม ความบกพร่องพบได้ก่อนอาการอื่นได้แก่เรื่องความจาคือการสูญเสียความจา คือ
พยายามจาข้อมูลที่เรียนรู้เมื่อไม่นานมานี้ไม่ได้ และไม่สามารถรับข้อมูลใหม่ๆ ได้ การสูญเสียความจาจะเป็น
มากกว่าคนทั่วไป แต่ไม่รุนแรงมากนัก หลังจากนั้นจะมีการเสื่อมถอยของการสนทนา การเลือกใช้คา การ
ตัดสินใจอย่างมีเหตุผล มีการศึกษาพบว่าผู้ที่มีอาการดังกล่าวจะใช้เวลา 8 ปีจึงจะมีอาการที่จะวินิจฉัยว่าเป็น
โรคสมองเสื่อม
สูญเสียความจาในระยะสั้นเช่นจาไม่ได้ว่าสนทนาอะไร หรือก่อนหน้านี้มีเหตุการณ์อะไรเกิดขึ้นบ้าง
สูญเสียทักษะชีวิตประจาวันเช่น การใช้เครื่องโทรศัพท์ การใช้เครื่องไฟฟ้า ไม่แปรงฟัน หรือหวีผม
7
สับสนเรื่องสถานที่เช่น หลงทางแม้ว่าจะไปในที่ไม่ห่างไกลจากบ้าน หรือไว้ของผิดที่เช่นวางกุญแจไว้
ในตู้เย็น
มีปัญหาเรื่องการทาตามแผนงาน และการใช้เงิน ไม่สามารถซื้อของตามรายการ ไม่สามารถชาระเงิน
ตามใบเสร็จ
มีปัญหาเรื่องการใช้คาพูด การสนทนา เช่นไม่สามารถเรียกชื่อสิ่งของเช่น เก้าอี้ รถ
อารมณ์แปรปรวนโดยไม่มีเหตุผล
แยกตัวเอง ไม่คบหากับเพื่อนหรือครอบครัว ไม่มีงานอดิเรก ดูแต่ทีวี
มีปัญหาเรื่องการนอนหลับ
ระยะนี้เริ่มจะมีปัญหาเรื่องความจาเสื่อม มีปัญหาจาคาที่คุ้นเคยไม่ได้ หรือจาสถานที่คุ้นเคยไม่ได้
ระยะที่3
ระยะนี้คนใกล้ชิดเริ่มจะสังเกตว่าเริ่มมีปัญหาหลายประการ ผู้ป่วยโรคอัลไซเมอร์จะมีความบกพร่องของ
ความจา และการเรียนรู้จนสามารถวินิจฉัยอย่างแน่นอนได้ ผู้ป่วยบางส่วนมีปัญหาการใช้ภาษา การบริหารที่
ซับซ้อน ปัญหาทางภาษามีลักษณะเด่นคือการใช้คาให้กระชับให้สั้น และพูดหรือใช้ศัพท์ไม่ฉะฉานหรือคล่อง
เหมือนเดิม ซึ่งทาให้พูดหรือเขียนภาษาได้น้อยลง อาจพบความบกพร่องของการการเคลื่อนไหว ทาให้ผู้ป่วยดู
เงอะงะหรือซุ่มซ่าม และการวางแผนได้แก่
เริ่มมีปัญหาในการใช้คา หรือการชื่อสิ่งของ
เริ่มจะจาชื่อคนไม่ได้จึงมีปัญหาการแนะนาให้คน
เริ่มมีปัญหาเรื่องทักษะการเครื่องมือ เช่นโทรศัพท์ เครื่องใช้ไฟฟ้า การเข้าสังคม จาสิ่งที่เพิ่งอ่านไป
ไม่ได้
ไว้ของผิดที่ เช่นวางกุญแจไว้ในตู้เย็น
เริ่มมีปัญหาเรื่องการทาตามแผนงาน การประสานงาน เช่นการจัดเลี้ยง
ระยะที่4
ระยะนี้เป็นระยะที่เริ่มจะเป็นโรคสมองเสื่อมในระยะเริ่มต้น หากซักประวัติดีดีก็จะพบว่ามีหลายอาการที่เข้าได้
กับโรคสมองเสื่อม เช่น
ลืมเหตุการณ์ที่เพิ่งจะเกิดขึ้น
สูยเสียความสามารถทางจิตนาการ เช่นการนับเลขถอยหลังที่ละ7
8
สูญเสียทักษะที่ซับซ้อน เช่น การเตรียมอาหารเย็นสาหรับรับแขก การรับเงินทอนเงิน ทักษะการใช้
เครื่องไฟฟ้า
ลืมประวัติของคนรู้จัก
เริ่มมีอาการหงุดหงิดง่าย หรือเริ่มแยกตัวจากสังคม
ระยะที่5
ระยะนี้ผู้ป่วยเป็นโรคที่มีความรุนแรงปานกลาง จะพบความเสื่อมของสมองจนไม่สามารถทากิจกรรมต่างๆ ได้
ด้วยตนเอง ญาติจะสังเหตเห็นชัดเจนเกี่ยวกับเรื่องการสูญเสียความจา ความคิด การพูดปรากฏชัดเจน
เนื่องจากไม่สามารถนึกหาคาศัพท์ได้ การเคลื่อนไหวที่ซับซ้อนจะลดลง ทาให้ไม่สามารถทากิจกรรมใน
ชีวิตประจาวันส่วนใหญ่ได้อย่างปกตระยะนี้ผู้ป่วยจะต้องพึ่งญาติในการดูแลกิจวัตรประจาวัน
ผู้ที่ป่วยไม่สามารถจาบ้านเลขที่ตัวเอง หรือเบอร์โทรศัพท์ หรือชื่อโรงเรียนที่เคยเรียน
สับสนเรื่องวันและเวลา
มีปัญหาเรื่องการคิดในใจเช่นให้บอกตัวเลขถอยหลังตั้ง 40 โดยลบครั้งละ4
ต้องได้รับความช่วยเหลือในการเลือกเสื้อผ้าให้เหมาะกับอากาศหรือโอกาศ
ยังจาตัวเองและครอบครัวได้
ยังสามารถรับประทานอาหาร หรือเข้าห้องน้าด้วยตัวเองได้
มีปัญหาเกี่ยวกับใช้ชิวิตประจาวันเช่น การใส่เสื้อ การเข้าห้องน้า การเตรียมอาหาร
อาจจะมีหูแว่ว หรือเห็นภาพหลอน พูดคนเดียว
มีความหวาดกลัว หรือโกรธง่าย
อารมณ์แปรปรวน
ระยะที่6
ระยะนี้ผู้ที่เป็นโรคนี้มีอาการรุนแรงมากขึ้น สูญเสียความจามากขึ้น ผู้ป่วยจะพูดประโยคหรือวลีซ้า จนกระทั่ง
ไม่สามารถพูดได้เลย แม้ว่าผู้ป่วยจะไม่สามารถพูดจาตอบโต้เป็นภาษาได้ แต่อาจจะตอบสนองด้วยการแสดง
อารมณ์ มีการเปลี่ยนแปลงบุคคลิภาพต้องพึ่งพาผู้อื่นมากขึ้น ก้าวร้าว มีพฤติกรรมเปลี่ยนแปลง อาการแสดงที่
พบบ่อยคือการหนีออกจากบ้าน ความรู้สึกผิดปกติ สับสนหรือเห็นภาพหลอนในเวลากลางคืน หงุดหงิดโมโห
ง่าย และอารมณ์แปรปรวน เช่นร้องไห้ ก้าวร้าวอย่างไม่มีเหตุผล หรือดื้อต่อผู้ดูแล
ไม่สนใจสิ่งแวดล้อม จาเหตุการณ์เพิ่งเกิดไม่ได้
จาชื่อตัวเองได้แต่จาประวัติตัวเองไม่ได้
9
จาชื่อคนไม่ได้
มีปัญหาเรื่องการเลือกเสื้อผ้าต้องมีคนช่วย เช่นใส่ชุดชั้นในอยู่ด้านนอก ใส่รองเท้าผิดข้าง
หลับกลางวันและไม่ยอมหลับในเวลากลางคืน
ต้องมีคนช่วยเมื่อเข้าห้องน้า
ควบคุมขับถ่ายอุจาระและปัสสาวะไม่ได้ ขับถ่ายไม่เป็นที่เป็นทาง
มีบุคคลิกภาพเปลี่ยนไป มีการหลงผิด ทาบางอย่างซ้าเช่นเปิดปิดลิ้นชัก
หลงทางบ่อย
ระยะที่7
ระยะนี้เป็นระยะท้ายของโรคผู้ป่วยไม่สามารถตอบสนองต่อสิ่งแวดล้อม สื่อสารกับคนอื่นไม่ได้ ควบคุมการ
เคลื่อนไหวไม่ได้ มักจะพูดประโยคหรือวลีซ้าๆ ระยะนี้จะต้องมีคนดูแลทุกเรื่อง การเคลื่อนไหวร่างการมีปัญหา
นั่งเองไม่ได้ รับประทานอาหารเองไม่ได้
ผู้ป่วยไม่สามารถสื่อสารกับผู้อื่น จาคนไม่ได้
ไม่สามารถเดินได้
กลืนลาบาก
ไม่ยิ้ม
การวินิจฉัยอัลไซเมอร์
ยังไม่มีการวินิจฉัยอัลไซเมอร์ที่ยืนยันผลการตรวจได้แน่ชัดในปัจจุบัน การวินิจฉัยที่ถูกต้องและแม่นยา
ที่สุดจะทาได้ก็ต่อเมื่อผู้ป่วยเสียชีวิตไปแล้ว โดยเป็นการใช้กล้องจุลทรรศน์ส่องดูการสะสมของสารอะไมลอยด์
และกลุ่มใยประสาทที่พันกันในสมอง ซึ่งเป็นการตรวจที่อันตรายต่อผู้ป่วย จึงไม่นามาใช้เมื่อมีชีวิตอยู่
อย่างไรก็ตาม แพทย์จะใช้เครื่องมือและวิธีการตรวจที่หลากหลายเพื่อช่วยในการพิจารณาว่าปัญหาด้าน
ความทรงจาของผู้ป่วยนั้นเป็นอาการชนิดที่ “อาจเป็นโรคอัลไซเมอร์” (Possible Alzheimer’s Disease) ได้
หรือ “น่าจะเป็นโรคอัลไซเมอร์” (Probable Alzheimer’s Disease)
สาหรับการตรวจเบื้องต้นจะพิจารณาจากอาการที่ผู้ป่วยหรือคนใกล้ชิดแจ้งให้ทราบ และสอบถาม
ครอบครัวหรือคนรอบข้างของผู้ป่วยเกี่ยวกับสุขภาพโดยรวม ประวัติสุขภาพ ความสามารถในการใช้
ชีวิตประจาวัน พฤติกรรมและลักษณะนิสัยที่เปลี่ยนแปลงไปของผู้ป่วย รวมทั้งใช้การถามคาถามหรือทา
10
แบบทดสอบความจา การแก้ปัญหา การนับเลข หรือทักษะทางด้านภาษา เพื่อตรวจดูการทางานของสมองใน
แต่ละส่วนและพิจารณาว่าควรรับการตรวจเพิ่มเติมหรือส่งให้ผู้เชี่ยวชาญเฉพาะทางตรวจรักษาต่อไปหรือไม่
ขั้นต่อไปอาจเป็นการวินิจฉัยเพื่อแยกโรคอื่นที่สามารถทาให้ผู้ป่วยสูญเสียความทรงจาได้เช่นกัน ซึ่งมักจะ
ใช้วิธีต่อไปนี้
การตรวจร่างกายและประเมินระบบประสาท เป็นการตรวจสุขภาพทางระบบประสาทของผู้ป่วยด้วย
แบบทดสอบที่หลากหลาย เช่น การทดสอบปฏิกิริยาโต้กลับ ความแข็งแรงและตึงตัวของกล้ามเนื้อ
ความสามารถในการลุกจากเก้าอี้แล้วเดินไปยังอีกฝั่งของห้อง และตรวจดูประสาทสัมผัสทางการมองเห็นและ
การได้ยิน รวมถึงการประสานงานและความสมดุลของร่างกาย
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ จะใช้การตรวจเลือดเพื่อช่วยตรวจแยกโรคอื่น ๆ ที่เป็นสาเหตุของอาการสูญเสีย
ความทรงจาได้เช่นกัน เช่น โรคความผิดปกติของต่อมไทรอยด์ หรือโรคขาดวิตามินบางชนิด
การทดสอบสมรรถภาพทางจิตและการทางานของสมอง เป็นการตรวจสภาวะทางจิตโดยรวมเพื่อประเมิน
ทักษะด้านความทรงจาและความนึกคิด หลังจากนั้นแพทย์อาจเห็นควรให้มีการประเมินด้านนี้อย่างครอบคลุม
เพิ่มเติม ซึ่งการตรวจการทางานของสมองอย่างละเอียดนี้อาจช่วยให้แพทย์ทราบเกี่ยวกับระบบการทางาน
ทางด้านความคิดของผู้ป่วยเมื่อเปรียบเทียบกับคนอื่นที่มีอายุและระดับการศึกษาเดียวกันมากขึ้น
การถ่ายภาพสมอง การถ่ายภาพสมองจะถูกนามาใช้ตรวจหาความผิดปกติใด ๆ ที่สามารถสังเกตเห็นได้และ
บ่งบอกว่าสัมพันธ์กับโรคอื่น ๆ ที่ไม่ใช่อัลไซเมอร์ เช่น โรคหลอดเลือดในสมอง เนื้องอก หรือการได้รับบาดเจ็บ
ที่ศีรษะที่ล้วนอาจทาให้เกิดการเปลี่ยนแปลงด้านสมอง โดยเทคนิคการถ่ายภาพในสมองที่อาจนามาใช้มีดังนี้
การตรวจเอมอาร์ไอสแกน (MRI Scan) ใช้แยกโรคอื่น ๆ ที่เป็นสาเหตุของอาการผิดปกติทางความคิด
ความจาที่อาจเกิดขึ้น และยังอาจใช้วินิจฉัยดูการฝ่อตัวของสมองบริเวณที่สัมพันธ์กับการเกิดโรคอัลไซเมอร์
การตรวจซีทีสแกน (CT Scan) ช่วยในการถ่ายภาพวิเคราะห์ ณ จุดเวลาใดเวลาหนึ่งในสมอง และยังใช้เป็น
วิธีหลักในการแยกโรคที่มีสาเหตุเกิดจากเนื้องอกในสมอง โรคหลอดเลือดในสมอง และการได้รับบาดเจ็บที่
ศีรษะออกไป
การตรวจเพทสแกน (PET) เป็นเครื่องช่วยตรวจการทางานโดยรวมของสมองในหลาย ๆ บริเวณ โดยจะแสดง
ภาพสมองส่วนที่ทางานไม่ปกติ
11
การตรวจน้าในโพรงสมองและไขสันหลัง วิธีตรวจในกรณีพิเศษจะนามาใช้กับโรคสมองเสื่อมที่พัฒนาขึ้นอย่าง
รวดเร็วหรือเกิดขึ้นในช่วงอายุน้อย โดยเก็บตัวอย่างทดสอบจากน้าในไขสันหลังเพื่อหาตัวบ่งชี้ทางชีวภาพที่บ่ง
บอกถึงความเป็นไปได้ของการเกิดโรคอัลไซเมอร์
การรักษาอัลไซเมอร์
โดยการดูแลรักษาผู้ป่วยอัลไซเมอร์ที่สามารถทาได้มีดังนี้
การวางแผนดูแลผู้ป่วย
ผู้ป่วยที่วินิจฉัยแล้วว่าเป็นอัลไซเมอร์ควรได้รับการประเมินและการวางแผนล่วงหน้าสาหรับการดูแลด้าน
สุขภาพและด้านสังคมโดยแพทย์ร่วมกับสาขาวิชาชีพอื่น ๆ เพื่อให้แน่ใจว่าผู้ป่วยโรคนี้ได้รับการรักษาที่
ตอบสนองต่อความต้องการ โดยจะมีการพูดคุยสอบถามถึงสิ่งที่ผู้ป่วยหรือผู้ดูแลอาจต้องการความช่วยเหลือ
เช่น
การช่วยเหลือใดที่ตัวผู้ป่วยและผู้ดูแลต้องการเพื่อให้เกิดความสะดวกและเป็นอิสระเท่าที่จะทาได้
ควรมีการเปลี่ยนแปลงใด ๆ กับที่พักอาศัยเพื่อให้อยู่ได้อย่างสะดวกยิ่งขึ้นหรือไม่
ผู้ป่วยต้องการความช่วยเหลือด้านการเงินหรือไม่
สร้างสิ่งแวดล้อมที่ปลอดภัยสาหรับผู้ป่วย
การดูแลผู้ป่วยอัลไซเมอร์ควรมีการปรับสิ่งแวดล้อมในการใช้ชีวิตให้เอื้อต่อตัวผู้ป่วย รวมทั้งการสร้างนิสัยและ
กิจวัตรประจาวันที่ไม่จาเป็นต้องใช้การนึกหรือจาก็อาจทาให้ผู้ป่วยใช้ชีวิตได้ง่ายขึ้น ข้อปฏิบัติที่สามารถทาตาม
ได้มีดังต่อไปนี้
เก็บกระเป๋าสตางค์ กุญแจ โทรศัพท์มือถือ และของมีค่าอื่น ๆ ไว้ในที่เดียวกัน เพื่อป้องกันไม่ให้เกิด
การสูญหายหรือหาไม่พบ
สอบถามกับแพทย์ถึงวิธีการรับประทานยาที่ง่ายขึ้น โดยอาจรวมให้เหลือเพียงวันละ 1 ครั้ง เพื่อ
ป้องกันการลืมรับประทานยา
จัดการค่าใช้จ่ายต่าง ๆ เช่น ค่าน้า ค่าไฟ ให้จ่ายโดยระบบหักเงินอัตโนมัติ
พกโทรศัพท์ที่เปิดการระบุตาแหน่งจีพีเอส (GPS) ไว้ตลอดเวลา เผื่อในกรณีที่หลงทางหรือมีอาการ
สับสน เพื่อให้คนอื่น ๆ สามารถตามตาแหน่งที่อยู่ในโทรศัพท์มาได้ และควรบันทึกเบอร์โทรศัพท์และ
12
รายชื่อบุคคลสาคัญไว้ในที่ที่เห็นชัดเจนในโทรศัพท์ เพื่อผู้ป่วยจะได้ไม่ต้องพยายามนึกชื่อของผู้ที่
ต้องการโทร
การนัดหมายกับแพทย์ควรเป็นวันและเวลาที่ใกล้เคียงกับครั้งอื่น ๆ มากที่สุด
อาจมีปฏิทินหรือกระดานเขียนบันทึกกิจกรรมที่ต้องทาในแต่ละวันติดบ้านไว้ และเมื่อทากิจกรรมใด ๆ
เรียบร้อยแล้วก็ให้ขีดฆ่าออกเพื่อไม่ให้เกิดการหลงลืม
ตั้งนาฬิกาปลุกเตือนเวลาที่ต้องทากิจกรรมต่าง ๆ
กาจัดอุปกรณ์เครื่องเรือนที่ไม่จาเป็นออกจากบ้าน ไม่ให้ระเกะระกะและยุ่งเหยิง
ติดตั้งราวจับตามทางบันไดหรือในห้องน้า
ติดตั้งอุปกรณ์ป้องกันอันตราย เช่น เครื่องตรวจแก๊สรั่ว และเครื่องตรวจจับควันให้ทั่วบ้าน
เลือกรองเท้าที่ใส่แล้วสบายและมีความพอดีกับเท้า ไม่หลุดง่าย
อย่าให้มีกระจกอยู่ในบ้านมากเกินไป ผู้ป่วยโรคนี้อาจรู้สึกว่าภาพสะท้อนในกระจกนั้นน่ากลัวและทา
ให้รู้สึกสับสนได้
เก็บรูปถ่ายและสิ่งของที่มีความหมายต่อผู้ป่วยไว้ทั่ว ๆ บ้าน
อาจบอกรับหนังสือพิมพ์รายวันเพื่อใช้เป็นเครื่องเตือนวันและเวลา
เขียนบันทึกช่วยเตือนความจาแปะไว้ตามที่ต่าง ๆ เช่น บันทึกเตือนไม่ให้ลืมกุญแจเมื่อออกจากบ้าน
การออกกาลังกาย
เป็นสิ่งที่ดีต่อสุขภาพและควรปฏิบัติอย่างสม่าเสมอ ไม่เว้นแม้แต่ผู้ป่วยอัลไซเมอร์ โดยอาจให้ผู้ป่วยเดินเป็น
ประจาทุก ๆ วันเพื่อปรับอารมณ์ให้ดีขึ้น ส่งผลดีต่อการทางานของข้อต่อ กล้ามเนื้อ และหัวใจ นอกจากนี้ยัง
ช่วยให้นอนหลับดีและป้องกันอาการท้องผูกได้ด้วย ทั้งนี้ควรมีผู้ดูแลเดินไปพร้อมกับผู้ป่วยและจับตาดูไม่ให้
พลัดหลง ส่วนผู้ป่วยที่มีปัญหาด้านการเดินอาจขี่จักรยานอยู่กับที่หรือออกกาลังกายโดยวิธีนั่งบนเก้าอี้แทน
การรับประทานอาหาร
ผู้ป่วยโรคนี้อาจลืมรับประทานอาหาร หมดความสนใจในการรับประทานอาหาร เลือกรับประทานอาหารใน
สัดส่วนที่ไม่เหมาะสม หรือดื่มน้าไม่เพียงพอ ซึ่งจะทาให้เกิดภาวะขาดน้าและมีอาการท้องผูกได้ จึงควรเสริม
การรับประทานอาหารด้วยน้าปั่นจากผลไม้ผสมนมหรือโยเกิร์ตที่มีประโยชน์ต่อสุขภาพ มีแคลอรีสูง และอาจ
เพิ่มผงโปรตีนผสมลงไป นอกจากนี้ผู้ดูแลยังควรโน้มน้าวให้ผู้ป่วยดื่มน้าหลาย ๆ แก้วต่อวัน แต่ควรหลีกเลี่ยง
เครื่องดื่มที่มีคาเฟอีน เพราะจะส่งผลให้รู้สึกกระสับกระส่าย นอนไม่หลับ และไปกระตุ้นให้ปัสสาวะบ่อยขึ้น
13
การใช้ยารักษา
แพทย์อาจสั่งจ่ายยาเพื่อช่วยบรรเทาอาการบางชนิดและชะลอการพัฒนาของโรค โดยยาที่มักนามาใช้กับผู้ป่วย
โรคอัลไซเมอร์ระยะแรกไปถึงระยะที่อาการยังไม่รุนแรงคือยากลุ่มโคลีนเอสเทอเรส (Cholinesterase
Inhibitor) เช่น โดนีพีซิล กาแลนตามีน และไรวาสติกมีน ทั้งนี้ยาในกลุ่มนี้จะมีประสิทธิภาพการรักษาไม่
ต่างกัน เพียงแต่ผู้ป่วยบางรายอาจตอบสนองกับยาชนิดใดชนิดหนึ่งมากกว่าหรือได้รับผลข้างเคียงจากยาน้อย
กว่าชนิดอื่น ๆ และหากผู้ป่วยไม่สามารถรับประทานยากลุ่มนี้ได้ก็อาจให้ยาเมแมนทีนแทน ซึ่งยาตัวหลังนี้
สามารถใช้รักษาผู้ป่วยอัลไซเมอร์ในระยะท้ายได้เช่นกัน
ยาทางเลือก
ปัจจุบันมีอาหารเสริมและวิตามินหลากหลายชนิดที่มีการโฆษณาอย่างกว้างขวางถึงสรรพคุณในการช่วย
ส่งเสริมด้านความคิดและความทรงจา ป้องกันหรือชะลอการเกิดโรคอัลไซเมอร์ อย่างไรก็ดี ยังไม่มีหลักฐานที่
ยืนยันได้แน่ชัดว่าสารอาหารเหล่านี้จะเป็นประโยชน์ดังที่กล่าวอ้างหรือไม่ ซึ่งล่าสุดก็มีการวิจัยเกี่ยวกับการ
รักษาด้วยยาทางเลือกเหล่านี้
กรดไขมันโอเมก้า 3 เป็นสารอาหารที่พบในปลา อาจช่วยป้องกันการเสื่อมถอยทางสติปัญญา ทว่าการ
วิจัยเกี่ยวกับอาหารเสริมที่ทาจากไขมันปลา ไม่พบคุณประโยชน์ด้านนี้แต่อย่างใด
เคอร์คูมิน สมุนไพรที่ทามาจากขมิ้น มีคุณสมบัติต้านการอักเสบและมีสารต้านอนุมูลอิสระที่อาจส่งผล
ดีต่อกระบวนการของสารสื่อประสาทในสมอง แต่การวิจัยก็พบว่าสารนี้ไม่ได้มีประโยชน์ในการรักษา
โรคอัลไซเมอร์เช่นเดียวกัน
แปะก๊วย พืชที่ประกอบด้วยสารหลากหลายชนิด โดยการวิจัยครั้งสาคัญของสถาบันสุขภาพแห่งชาติ
ของสหรัฐอเมริกา (NIH) ผลปรากฏว่าแปะก๊วยไม่สามารถป้องกันหรือชะลออาการของโรคอัลไซเมอร์
ได้
วิตามินอี พบว่าไม่มีประสิทธิภาพในการป้องกันการเกิดอัลไซเมอร์ แต่การรับประทานวิตามินอีวันละ
2,000 หน่วยอาจช่วยชะลอการพัฒนาของโรคในผู้ป่วยโรคอัลไซเมอร์ได้ อย่างไรก็ตาม ผลการศึกษา
ยังไม่สามารถยืนยันได้ร้อยเปอร์เซ็นต์ มีเพียงผลการศึกษาบางส่วนที่พบว่าวิตามินอีมีประโยชน์จริง
นอกจากนี้ การรับประทานวิตามินอีวันละ 2,000 หน่วยก็ยังต้องมีการพิสูจน์เพิ่มเติมถึงความ
ปลอดภัยหากนามาใช้กับผู้ป่วยโรคสมองเสื่อม ก่อนที่จะมีการแนะนาให้นามาใช้อย่างแพร่หลาย
การบาบัดทางจิต
นอกจากการใช้ยา การบาบัดโดยนักจิตวิทยา เช่น การกระตุ้นสมอง ก็อาจช่วยปรับปรุงความสามารถด้าน
ความทรงจา ความสามารถทางภาษา และทักษะการแก้ปัญหาได้ รวมทั้งการบาบัดทางจิตวิทยาด้านอื่น ๆ เช่น
14
การบาบัดด้วยการปรับปลี่ยนความคิดและพฤติกรรม ดนตรีบาบัด ศิลปะบาบัด และการบาบัดด้วยการผ่อน
คลาย ที่อาจนามาใช้ช่วยรับมือกับภาวะซึมเศร้า ความวิตกกังวล การเกิดภาพหลอน อาการหลงผิด และ
พฤติกรรมไม่เหมาะสมที่เกิดขึ้นกับผู้ป่วยได้
การป้องกันโรคอัลไซเมอร์
จากการศึกษาทางระบาดวิทยา กิจกรรมที่ใช้ทักษะทางสติปัญญาเช่นเล่นหมากรุก หรือปฏิสัมพันธ์ทางสังคม
พบว่าช่วยลดความเสี่ยงของโรคอัลไซเมอร์ แม้จะไม่พบความสัมพันธ์เชิงเหตุผลก็ตาม
การศึกษาจากทั่วโลกเพื่อวัดการป้องกันหรือชะลอการเกิดโรคอัลไซเมอร์มักให้ผลการศึกษาที่ขัดแย้งกัน ใน
ปัจจุบันยังไม่มีหลักฐานแน่ชัดสนับสนุนว่ามีวิธีใดที่ป้องกันโรคอัลไซเมอร์อย่างมีประสิทธิผล อย่างไรก็ตาม
การศึกษาทางระบาดวิทยาหลายชิ้นแสดงความสัมพันธ์ของปัจจัยต่างๆ อาทิอาหาร โรคหลอดเลือดหัวใจ ยา
หรือกิจกรรมที่ใช้ทักษะทางสติปัญญา กับการลดความเสี่ยงเป็นโรคอัลไซเมอร์ แต่ยังจาเป็นต้องมีงานวิจัย
ต่อไปเพิ่มเติมเพื่ออธิบายบทบาทว่าปัจจัยเหล่านี้ลดอัตราการเกิดของโรคนี้ได้อย่างไร
ส่วนประกอบของอาหารเมดิเตอร์เรเนียน ได้แก่ ผักและผลไม้ ขนมปัง ข้าวสาลีและธัญพืชต่างๆน้ามันมะกอก
ปลา และไวน์แดง ทั้งหมดสามารถลดความเสี่ยงและช่วงเวลาการเป็นโรคอัลไซเมอร์
รับประทานอาหาร organic หลีกเลี่ยงอาหารที่ผ่านขบวนการผลิตเนื่องจากมีสารที่เป็นอันตรายต่อ
สมอง เช่น น้าตาล น้าตาลผลไม้ (แนะนาอย่ารับประทานเกินวันละ 25 กรัม) ยาฆ่าแมลง DDT
รับประทานเนื้อ นม ที่เลี้ยงด้วยหญ้า
ทดแทนน้าตาลด้วยไขมันที่มีคุณภาพ เช่น อะโวคาโด เนยที่ทาจากนมวัวที่เลี้ยงด้วยหญ้า น้ามัน
มะพร้าว ถั่วต่างๆ หลีกเลี่ยงอาหารที่มีไขมันทรานส์
หลีกเลี่ยงอาหารที่มี gluten(พบมากในแป้งสาลี) และ casein (พบมากใน นม pasteurized) gluten
จะกระตุ้นภูมิคุ้มกัน เกิดการอักเสบและภูมิคุ้มกันทาร้ายตัวเอง
รักษาสมดุลของเชื้อในลาไส้ โดยการหลีกเลี่ยงอาหารที่ผ่านขบวนการผลิต หลีกเลี่ยงน้าตาล อาหาร
ผ่านการปรับแต่พันธุกรรม ยาปฏิชีวนะน้าที่มีคลอรีน และรับ probiotic
ให้อดอาหารเป็นระยะ เนื่องจากเมื่อร่างกายขาดอาหารร่างกายใช้ Ketones มาให้พลังงานแทนซึ่งจะ
เป็นปัจจัยสาคัญในการป้องกันโรคอัลไซเมอร์
รับประทานอาหารที่มีกรดโฟลิกสูงได้แก่ ผักและผลไม้ และควรจะรับประทานผักสดมากกว่าสุข
ให้รับวิตามินดีให้เพียงพอ อาจจะโดยการรับประทานหรือการอาบแดด วิตามินดี จะลดการอักเสบซึ่ง
เป็นสาเหตุของโรคอัลไซเมอร์
15
หลีกเลี่ยงสารปรอท วัสดุที่ใช้อุดฟันจะมีสารปรอทประมาณร้อยละ50 ให้ปรึกษาทันฑแพทย์เกี่ยวกับ
วัสดุที่ใช้อุดฟัน
ลดการใช้สารที่มีอลูมิเนียม อลูมิเนียมเป็นส่วนประกอบสาคัญ ในยาดับกลิ่นกาย และวัคซีน
ลดการใช้ยา นอนหลับ ยาต้านโรคซึมเศร้า ยาลดไขมันกลุ่ม Statin
วิตามินหลายชนิดเช่น วิตามินบี12 วิตามินบี3 วิตามินซี หรือกรดโฟลิก ในบางงานวิจัยพบว่าช่วยลด
ความเสี่ยงของโรคอัลไซเมอร์ แต่ในบางการศึกษากล่าวว่าไม่พบผลของวิตามินต่อการเกิด หรือการ
ดาเนินโรคอย่างมีนัยสาคัญ ซ้ายังอาจทาให้เกิดผลข้างเคียงที่สาคัญ
สารเคอร์คิวมิน (curcumin) จากขมิ้นพบว่ามีประสิทธิผลบ้างในการป้องกันการทาลายสมองในหนู
ทดลอง
แม้ว่าปัจจัยเสี่ยงด้านโรคหลอดเลือดหัวใจ เช่น ภาวะเลือดมีคอเลสเทอรอลมาก ความดันโลหิตสูง
เบาหวาน และการสูบบุหรี่ จะเกี่ยวข้องกับความเสี่ยงต่อการเกิด และระยะเวลาการดาเนินโรคอัลไซ
เมอร์ หรือช่วยทาให้การดาเนินโรคอัลไซเมอร์ดีขึ้น
อย่างไรก็ตามการใช้ยากลุ่มยาแก้อักเสบชนิดไม่ใช่สเตรอยด์ (NSAIDs) เช่น แอสไพริน ไอบูโปรเฟน
ช่วยลดความเสี่ยงจะเป็นโรคอัลไซเมอร์ในบางคน
กิจกรรมที่ใช้ทักษะทางสติปัญญาเช่นอ่านหนังสือ เล่นหมากกระดาน เล่นปริศนาอักษรไขว้ เล่นดนตรี
หรือมีปฏิสัมพันธ์ทางสังคมช่วยชะลอการเกิดหรือลดความรุนแรงของโรคอัลไซเมอร์ การพูดได้สอง
ภาษาสามารถชะลอการเกิดโรคอัลไซเมอร์เช่นกัน
สรุปว่าไม่มีหลักฐานอันสอดคล้องกันหรือเชื่อได้ว่าแปะก๊วยให้ผลในการป้องกันความบกพร่องของการรู้ และ
การศึกษาล่าสุดสรุปว่าแปะก๊วยไม่มีผลในการลดอัตราอุบัติการณ์ของโรคอัลไซเมอร์
อาหารจะเพิ่มความเสี่ยงของการเกิดโรคอัลไซเมอร์ Alzheimer
จากการวิจัยพบว่าอาหารจะมีส่วนสาคัญของการเกิดโรคอัลไซเมอร์โดยเฉพาะอาหารที่ผ่านขบวนการผลิต ซึ่ง
จะมีไขมันที่ไม่เป็นผลดีต่อสุขภาพเป็นจานวนมากและมีไขมันที่ดีต่อสุขภาพลดลง และอาหารยังอุดมไปด้วย
อาหารจาพวกแป้ง ปัจจัยเหล่านี้จะเสริมกันทาให้เพิ่มความเสี่ยงต่อการเกิดโรคอัลไซเมอร์
ผู้ที่เสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจจะเสี่ยงต่อการเกิดโรคอัลไซเมอร์
ภาวะดื้อต่ออินซูลินจะเป็นความเสี่ยงของเกิดโรคหลอดเลือดแข็งซึ่งภาวะดังกล่าวจะพบในผู้ป่วยที่เป็น
โรคหัวใจและโรคอัลไซเมอร์ เชื่อว่า ผู้ที่สูบบุหรี่ ผู้ที่ดื่มสุรา เบาหวาน ผู้ที่น้าตาลในเลือดสูง และอ้วนจะเป็น
ความเสี่ยงร่วมของการเกิดโรคทั้งสอง
16
น้าตาลในเลือดสูงจะสัมพันธ์กับการเกิดโรคอัลไซเมอร์
มีการศึกษาตีพิมพ์ปี2013 พบว่าน้าตาลสูงจะมีความสัมพันธ์กับการเกิดโรคอัลไซเมอร์น้าตาลที่เหมาะสมอยู่
ระหว่าง 70-85 โดยไม่ควรเกิด 95 มก%
การออกกาลังกายทาให้โรคอัลไซเมอร์ดีขึ้น
มีการรายงานว่าการออกกาลังกายอย่างสม่าเสมอจะป้องกันสมองจากโรคสมองเสื่อและอัลไซเมอร์
ผู้ป่วยที่เริ่มเป็นโรคนี้หากออกกาลังกายอย่างสม่าเสมอจะพบว่าเรื่องความจาและอารมณ์ดีขึ้นเมื่อ
เทียบกับกลุ่มที่ไม่ออกกาลัง
พบว่าการออกกาลังแบบ aerobic สัปดาห์ละ 4 ครั้งติดต่อกันหกเดือนพบว่าระดับ tau tangles
(สารที่บ่งถึงโรคอัลไซเมอร์) ลดลงในกลุ่มที่ออกกาลังกาย
การออกกาลังกายทาให้ขบวนการเรียนรู้ การตัดสินใจ ดีขึ้น
การนอนหลับสนิทและพอเพียงจะช่วยป้องกันโรคได้
สมองของคนเราจะขับของเสียรวมทั้งproteins amyloid-beta ในช่วงที่หลับสนิทเซลล์สมองจะลดขนาดลงทา
ให้เกิดการขับของเสียดีขึ้นดังนั้นจึงต้องหลับสนิทอย่างเพียงพอ
เด็กวัยเรียนควรจะได้นอนวันละ 10-13 ชั่วโมง
ผู้ที่มีอายุ118-64 ปีควรจะนอนวันละ7-9 ชั่วโมง
ผู้ที่อายุมากกว่า 65 ปีนอนวันละ7-8 ชั่วโมง
วิธีดาเนินงาน
แนวทางการดาเนินงาน
- เลือกปัญหา/หัวข้อโครงงาน
- ศึกษารวบรวมข้อมูล
- จัดทารายงาน
- ปรับปรุงแก้ไข
- นาเสนอครู
เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้
- โปรแกรม ไมโครซอร์ฟเวิร์ด
17
งบประมาณ
-
ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน
ลาดั
บ
ที่
ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ
1 2 3 4 5 6 7 8 9
1
0
1
1
1
2
1
3
1
4
1
5
1
6
1
7
1 คิดหัวข้อโครงงาน
2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล
3 จัดทาโครงร่างงาน
4 ปฏิบัติการสร้าง
โครงงาน
5 ปรับปรุงทดสอบ
6 การทาเอกสารรายงาน
7 ประเมินผลงาน
8 นาเสนอโครงงาน
ผลที่คาดว่าจะได้รับ (ผลลัพธ์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดการทาโครงงาน)
1.มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคอัลไซเมอร์มากขึ้น
2.บุคคลทั่วไปได้ตระหนักถึงความสาคัญเห็นถึงผลกระทบที่ร้ายแรงของโรคอัลไซเมอร์เป็นแนวทางป้องกัน
ก่อนที่โรคนี้จะเกิดกับตนและคนรอบข้าง
3.บุคคลทั่วไปหรือผู้ที่ศึกษาได้รับข้อมูลที่ถูกต้องเกี่ยวกับโรคอัลไซเมอร์และนาไปปฏิบัติได้จริง
4.พัฒนาทักษะความสามารถในการสร้างเว็บบล็อก งานกราฟิก การใช้คอมพิวเตอร์ นาไปประยุกต์ใช้ใน
ชีวิตประจาวันได้
สถานที่ดาเนินการ
ห้องเรียนคอมพิวเตอร์ โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย 238 ถนนพระปกเกล้า ตาบลศรีภูมิ อาเภอเมือง
เชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่ 50200
กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง
1.กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
2.กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา
3.กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี
18
แหล่งอ้างอิง (เอกสาร หรือแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ที่นามาใช้การทาโครงงาน)
ทีมงานSiamhealth. (2562) โรคสมองเสื่อมอัลไซเมอร์. สืบค้นเมื่อ 1 กันยายน 2562, จากเว็บไซต์:
https://www.siamhealth.net/public_html/Disease/neuro/alzheimer/alzheimers.html
thitima. สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข(สวรส.). (2561) วิจัยประเมิน “ภาวะสมองเสื่อม” ความ
หวังใหม่ของผู้ป่วยเพื่อการป้องกัน–รักษาอัลไซเมอร์ที่แม่นยา. สืบค้นเมื่อ 1 กันยายน 2562, จากเว็บไซต์:
https://www.hsri.or.th/researcher/media/news/detail/9927
ทีมงานพบแพทย์. (2559) ความหมาย โรอัลไซเมอร์. สืบค้นเมื่อ 1 กันยายน 2562, จากเว็บไซต์:
https://www.pobpad.com

More Related Content

Similar to 2562 final-project 35-savanee_

โรคติดต่อทางเพสสัมพันธุ์
โรคติดต่อทางเพสสัมพันธุ์โรคติดต่อทางเพสสัมพันธุ์
โรคติดต่อทางเพสสัมพันธุ์
Pack Matapong
 
Depression of thai people
Depression of thai peopleDepression of thai people
Depression of thai people
Nantharat Pansara
 

Similar to 2562 final-project 35-savanee_ (20)

Com555
Com555Com555
Com555
 
Final project
Final projectFinal project
Final project
 
โรคติดต่อทางเพสสัมพันธุ์
โรคติดต่อทางเพสสัมพันธุ์โรคติดต่อทางเพสสัมพันธุ์
โรคติดต่อทางเพสสัมพันธุ์
 
งาน
งานงาน
งาน
 
งาน2
งาน2งาน2
งาน2
 
โครงงาน แพ้ภูมิตัวเอง ศัตตรูมืดในร่างกายคุณ
โครงงาน แพ้ภูมิตัวเอง ศัตตรูมืดในร่างกายคุณโครงงาน แพ้ภูมิตัวเอง ศัตตรูมืดในร่างกายคุณ
โครงงาน แพ้ภูมิตัวเอง ศัตตรูมืดในร่างกายคุณ
 
AT1
AT1AT1
AT1
 
2560 project
2560 project2560 project
2560 project
 
2562 final-project 45-ver2 (1)
2562 final-project 45-ver2 (1)2562 final-project 45-ver2 (1)
2562 final-project 45-ver2 (1)
 
2562 final-project
2562 final-project2562 final-project
2562 final-project
 
Com term2
Com term2Com term2
Com term2
 
Tuangtham Sura M.6/9 No.37
Tuangtham Sura M.6/9 No.37Tuangtham Sura M.6/9 No.37
Tuangtham Sura M.6/9 No.37
 
Hyper36
Hyper36Hyper36
Hyper36
 
วิชญาพร1
วิชญาพร1วิชญาพร1
วิชญาพร1
 
2562 final-project
2562 final-project  2562 final-project
2562 final-project
 
W.1
W.1W.1
W.1
 
Depression of thai people
Depression of thai peopleDepression of thai people
Depression of thai people
 
5
55
5
 
กิจกรรมที่5
กิจกรรมที่5กิจกรรมที่5
กิจกรรมที่5
 
Philophobia
PhilophobiaPhilophobia
Philophobia
 

2562 final-project 35-savanee_

  • 1. 1 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ รหัสวิชา ง33201 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 5 ปีการศึกษา 2562 ชื่อโครงงาน โรคอัลไซเมอร์ (Alzheimer's Disease) ชื่อผู้ทาโครงงาน ชื่อ นางสาว สาวณี เลาว้าง เลขที่ 35 ชั้น ม.6 ห้อง 9 ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 62 โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
  • 2. 2 ใบงาน การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์ สมาชิกในกลุ่ม นางสาว สาวณี เลาว้าง เลขที่35 ชั้น ม.6 ห้อง9 คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้ ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย) โรคอัลไซเมอร์ ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ) Alzheimer's Disease ประเภทโครงงาน พัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา ชื่อผู้ทาโครงงาน นางสาว สาวณี เลาว้าง เลขที่35 ชั้น ม.6 ห้อง9 ชื่อที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ชื่อที่ปรึกษาร่วม - ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2562 ที่มาและความสาคัญของโครงงาน (อธิบายถึงที่มา แนวคิด และเหตุผล ของการทาโครงงาน) การเพิ่มขึ้นของสัดส่วนประชากรผู้สูงอายุเป็นสถาณการณ์ที่ทุกประเทศทั่วโลกกาลังเผชิญซึ่ง ประเทศไทยก็นับเป็นอีกหนึ่งประเทศที่กาลังก้าวเข้าสู่การเป็นสังคมผู้สูงอายุโดยพบว่า สัดส่วนประชากรของ ผู้สูงอายุเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง ได้คาดการณ์ว่าจะมีจานวนเพิ่มขึ้นถึง 20.5 ล้านคน หรือร้อยละ25ของจานวน ประชากรทั้งหมดในปี พ.ศ.2583 (สานักคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ,2558) จาก แนวโน้มของผู้สูงอายุที่เพิ่มมากขึ้นนามาซึ่งภาวะเสี่ยงและปัญหาด้านสุขภาพของผู้สูงอายุที่เพิ่มมากขึ้นอย่าง หลีกเลี่ยงไม่ได้ เนื่องจากผู้สูงอายุเป็นวัยแห่งความเสื่อมถอยในทุก ๆ ด้าน ซึ่งจากการศึกษาทางการแพทย์ หนึ่งในปัญหาด้านสุขภาพที่พบบ่อยในผู้สูงอายุคือโรคอัลไซเมอร์ โรคนี้เกิดจากความเสื่อมถอยของการทางาน ของสมองทาให้มีปัญหาในการจดจา การคิด จนขั้นรุนแรงคือไม่สามารถสนทนาตอบโต้หรือมีการตอบสนองต่อ สิ่งรอบข้างได้ โรคนี้ไม่ใช่ความเสื่อมตามธรรมชาติดังนั้นไม่ใช่ว่าจะเกิดกับผู้สูงอายุทุกคน แต่ก็ส่งผลกระทบต่อ ชีวิตประจาวันของผู้ป่วยอย่างรุนแรง เช่น การรับประทานอาหาร การอาบน้าแต่งตัว และการเข้าห้องน้าทา ธุระส่วนตัว และเนื่องมาจากครอบครัวของผู้จัดทามีผู้สูงอายุที่กาลังป่วยเป็นโรคอัลไซเมอร์ในระยะเริ่มต้น จึงมี ความสนใจที่จะศึกษาโรคนี้และแนวทางการรักษาและต้องการเผยแพร่ข้อมูลนี้ให้กับผู้ที่กาลังสนใจหรือมีความ เป็นไปได้ว่าจะได้รับผลกระทบจากโรคอัลไซเมอร์ให้ทราบเพื่อแนวทางป้องกัน
  • 3. 3 วัตถุประสงค์ (สิ่งที่ต้องการในการทาโครงงาน ระบุเป็นข้อ) 1.เพื่อศึกษาความรู้เกี่ยวกับโรคอัลไซเมอร์ 2.เพื่อศึกษาวิธีการดูแลรักษา 3.เพื่อเป็นสื่อเผยแพร่ข้อมูลความรู้ที่ถูกต้องเกี่ยวกับโรคอัลไซเมอร์ 4.เพื่อป้องกันควบคุมไม่ให้เกิดโรคอัลไซเมอร์กับผู้สูงอายุที่มีอัตราเพิ่มมากขึ้นในอนาคต ขอบเขตโครงงาน (คุณลักษณะ ขอบเขต เงื่อนไขและข้อจากัดของการทาโครงงาน) โครงงานเรื่องโรคอัลไซเมอร์ มีเนื้อหาเกี่ยวกับความรู้ทั่วไปของโรคอัลไซเมอร์ คือ สาเหตุ อาการ ผลกระทบ การวินิจฉัย วิธีการดูแลรักษาการป้องกัน และยังมีบทความที่น่าสนใจเกี่ยวกับแนวโน้มของการ รักษาโรคอัลไซเมอร์ให้หายขาด ผู้ทาการศึกษาเป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2562 โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย ซึ่งมีระยะเวลาดาเนินโครงงาน 29 สิงหาคม – 14 กันยายน 2562 หลักการและทฤษฎี (ความรู้ หลักการ หรือทฤษฎีที่สนับสนุนการทาโครงงาน) สาเหตุ อัลไซเมอร์เกิดจากการฝ่อตัวของสมองซึ่งจะส่งผลกระทบต่อโครงสร้างและการทางานของสมอง บริเวณนั้น ๆ ส่วนสาเหตุที่สมองฝ่อตัวลงนี้ยังไม่เป็นที่ทราบแน่ชัด จากการสังเกตสมองของผู้ป่วยอัลไซเมอร์ พบว่ามีความผิดปกติที่คาดว่าจะเป็นสัญลักษณ์บ่งบอกถึงโรค คือมีการสะสมของอะไมลอยด์พลัค (Amyloid Plaques) ซึ่งเป็นสารโปรตีนผิดปกติชนิดหนึ่ง มีกลุ่มใยประสาทที่พันกัน (Neurofibrillary Tangles) และสาร สื่อประสาทอะซีติลโคลีน (Acetylcholine) ในสมองที่ไม่สมดุลกัน นอกจากนี้ยังพบว่าเส้นเลือดในสมองของ ผู้ป่วยโรคนี้มักค่อย ๆ ถูกทาลายลง ทั้งหมดนี้ส่งผลให้ประสิทธิภาพของเซลล์ประสาทลดลงและถูกทาลายทีละ น้อย และเมื่อเวลาผ่านไป ความเสียหายที่เกิดขึ้นจึงแพร่กระจายไปสู่สมองหลาย ๆ ส่วน ซึ่งบริเวณที่จะได้รับ ผลกระทบเป็นส่วนแรกก็คือสมองที่ทาหน้าที่ด้านความทรงจา นอกจากสาเหตุที่คาดการณ์ข้างต้น ปัจจัยอื่น ๆ ที่อาจมีส่วนเพิ่มความเสี่ยงต่อการเกิดโรคอัลไซเมอร์ยังมี ดังนี้ อายุ นับเป็นปัจจัยสาคัญที่สุดที่มีส่วนทาให้เกิดการพัฒนาของโรค โดยโอกาสเสี่ยงเป็นอัลไซเมอร์จะ เพิ่มขึ้นเป็น 2 เท่า ทุก ๆ 5 ปี หลังจากที่อายุล่วงผ่าน 65 ปีไปแล้ว ทั้งนี้ก็ไม่ใช่แค่ผู้สูงอายุเท่านั้นที่จะเกิด โรคนี้ได้ เพราะประมาณ 1 ใน 20 ของผู้ป่วยก็มีอายุไม่เกิน 65 ปี โดยเป็นโรคอัลไซเมอร์ชนิดเกิดเร็วที่พบ ได้ในผู้ที่อายุตั้งแต่ประมาณ 40 ปี
  • 4. 4 ประวัติของบุคคลในครอบครัว พันธุกรรมเป็นอีกสาเหตุหนึ่งที่เพิ่มความเสี่ยงต่อโรคอัลไซเมอร์ กระนั้นก็มี โอกาสเกิดขึ้นได้น้อยแม้จะมีผู้ป่วยในครอบครัว แต่หากพบว่าสมาชิกในครอบครัวหลายคนประสบกับโรค ควรต้องรับการปรึกษากับแพทย์ถึงความเสี่ยงต่อโรคนี้เมื่ออายุมากขึ้น กลุ่มอาการดาวน์ เป็นผู้ป่วยที่มีความเสี่ยงต่อการเกิดโรคอัลไซเมอร์สูง เนื่องจากความผิดปกติทาง พันธุกรรมที่เป็นสาเหตุของกลุ่มอาการดาวน์นั้นสามารถทาให้เกิดการสะสมของอะไมลอยด์ขึ้นในสมองจน นาไปสู่โรคอัลไซเมอร์ได้ในบางราย ได้รับบาดเจ็บที่ศีรษะ ผู้ที่เคยได้รับบาดเจ็บที่ศีรษะอย่างรุนแรงจะยิ่งเสี่ยงพัฒนาไปเป็นโรคอัลไซเมอร์ ยิ่งขึ้น โรคหลอดเลือดหัวใจ โรคนี้มีปัจจัยการเกิดมาจากพฤติกรรมการใช้ชีวิตที่ไม่เหมาะสม ทางที่ดีควร ปรับเปลี่ยนด้วยการเลิกสูบบุหรี่ รับประทานอาหารมีประโยชน์ รักษาน้าหนักให้ไม่มากเกิน ดื่ม แอลกอฮอล์ให้น้อยลง และตรวจสุขภาพเป็นประจา เพื่อป้องกันโรคหลอดเลือดหัวใจและโรคอัลไซเมอร์ ไปในคราวเดียวกัน อาการของอัลไซเมอร์ อาการเริ่มแรกของโรคอัลไซเมอร์อาจมีอาการหลงลืมหรือภาวะสับสนที่ค่อย ๆ พัฒนาไปอย่างช้า ๆ โดยใช้เวลาหลายปี ซึ่งบางครั้งมีความคล้ายคลึงกับโรคอื่นจนทาให้เกิดความสับสน และอาจเข้าใจผิดไปว่า เป็นเพียงอาการหลงลืมเมื่ออายุมากขึ้น ทั้งนี้อาการในผู้ป่วยแต่ละรายก็พัฒนาช้าเร็วแตกต่างกัน ทาให้สามารถ คาดเดาได้ยากว่าอาการจะแย่ลงเมื่อใด อาการของโรคอัลไซเมอร์โดยทั่วไปสามารถแบ่งได้เป็น 3 ระยะ ดังนี้ ระยะเริ่มต้น อาการในช่วงต้นของผู้ป่วยโรคอัลไซเมอร์แต่ละรายจะแตกต่างกันไป โดยสัญญาณแรกที่มักพบได้ ก็คืออาการหลงลืมที่อาจส่งผลให้ผู้ป่วยเผชิญกับสถานการณ์ต่อไปนี้ ลืมบทสนทนาหรือเหตุการณ์ที่เพิ่งเกิดขึ้น วางของผิดที่ อาจไปวางในที่ที่ไม่น่าจะไปวางไว้ ลืมหรือนึกชื่อสถานที่ สิ่งของไม่ออก ทาอะไรซ้า ๆ ย้า ๆ เช่น ถามซ้าคาถามเดิมหลายครั้ง ต้องใช้เวลาในการทากิจวัตรประจาวันนานขึ้นกว่าปกติ ความสามารถในการตัดสินใจต่า การตัดสินใจกลายเป็นเรื่องยาก ปรับตัวเข้ากับสิ่งแวดล้อมได้น้อยลง มีความลังเลที่จะทาสิ่งใหม่ ๆ มากขึ้น
  • 5. 5 อารมณ์แปรปรวนบ่อยครั้ง เช่น หงุดหงิด กระวนกระวาย วิตกกังวลกว่าปกติ หรือมีอาการสับสนเป็น ช่วงๆ ระยะกลาง เมื่ออาการของโรคเริ่มพัฒนาถึงขั้นต่อมา ผู้ป่วยจะยิ่งมีปัญหาด้านความทรงจา ผู้ป่วยมักต้องได้รับ ความช่วยเหลือในการใช้ชีวิตประจาวัน เช่น การรับประทานอาหาร การอาบน้าแต่งตัว และการเข้าห้องน้าทา ธุระส่วนตัว โดยอาการที่แสดงเพิ่มขึ้นอาจมีดังนี้ การจาชื่อของคนรู้จักกลายเป็นเรื่องยากมากขึ้นทุกที พยายามนึกชื่อเพื่อนและครอบครัวแต่นึกไม่ออก เกิดภาวะสับสนและสูญเสียการรับรู้ด้านสถานที่ เวลา และบุคคล เช่น หลงทาง หรือเดินไปเรื่อยเปื่อย โดยไม่รู้วันเวลา การทากิจวัตรประจาวันที่มีหลายขั้นตอนกลายเป็นเรื่องยากขึ้น เช่น การแต่งตัว มีพฤติกรรมหมกมุ่น ทาอะไรซ้า ๆ หรือวู่วาม ไม่สามารถเรียนรู้สิ่งใหม่ ๆ มีปัญหาในการรับมือกับสถานการณ์ที่ไม่คุ้นเคย มีอาการหลงผิด เชื่อในเรื่องที่ไม่เป็นความจริงอย่างสนิทใจ รวมถึงอาจรู้สึกหวาดระแวงหรือสงสัยใน ตัวผู้ดูแลหรือครอบครัวของตนเอง มีปัญหาเกี่ยวกับการพูดหรือการใช้ภาษาสื่อสาร มีปัญหาด้านการนอนหลับ เกิดความเปลี่ยนแปลงทางอารมณ์ เช่น อารมณ์ไม่คงที่ แปรปรวนบ่อยครั้ง มีภาวะซึมเศร้า หรือวิตก กังวล หงุดหงิด กระวนกระวายยิ่งขึ้นเรื่อย ๆ ทางานที่ต้องใช้การกะระยะได้ลาบาก มีอาการประสาทหลอน ระยะปลาย ระยะที่อาการของโรครุนแรงขึ้นอย่างมากจนนาความเศร้าเสียใจและวิตกกังวลมาให้บุคคลใกล้ชิด ในระยะนี้ผู้ป่วยอาจต้องได้รับการดูแลและให้ความช่วยเหลือตลอด ไม่ว่าจะเป็นการรับประทานอาหาร การ เคลื่อนไหว หรือการเข้าห้องน้า อาการหลงผิดหรือประสาทหลอนที่เป็น ๆ หาย ๆ กลับยิ่งแย่ลงเรื่อย ๆ ผู้ป่วยอาจอาละวาด เรียกร้องความสนใจ และไม่ไว้วางใจผู้คนรอบข้าง กลืนและรับประทานอาหารลาบาก เปลี่ยนท่าทางหรือเคลื่อนไหวตัวเองลาบาก ต้องได้รับการช่วยเหลือ น้าหนักลดลงมาก แม้จะรับประทานอาหารมากหรือพยายามเพิ่มน้าหนักแล้วก็ตาม
  • 6. 6 มีอาการชัก กลั้นปัสสาวะหรืออุจจาระไม่อยู่ ค่อย ๆ สูญเสียความสามารถในการพูดลงไปทีละน้อยจนไม่สามารถสื่อสารได้ มีปัญหาด้านความทรงจาในระยะสั้นและระยะยาวอย่างร้ายแรง อย่างไรก็ตาม บางครั้งอาการของโรคที่แย่ลงอย่างกะทันหัน อาจมีผลพวงมาจากการใช้ยา การติดเชื้อ โรค หลอดเลือดในสมอง หรือภาวะสับสนเฉียบพลันที่เกิดแทรกขึ้นมาได้ ผู้ป่วยอัลไซเมอร์ที่สังเกตพบว่าอาการของ ตนแย่ลงอย่างรวดเร็วควรไปพบแพทย์เพื่อตรวจรักษา ส่วนผู้ที่มีความกังวลว่าตนเองอาจมีปัญหาด้านความทรงจาหรือเป็นโรคสมองเสื่อม หรือสงสัยว่าคนรอบข้างมี อาการคล้ายข้างต้นก็ควรสนับสนุนให้ไปพบแพทย์เพื่อรับการตรวจรักษาเช่นกัน และถ้าเป็นไปได้ก็ควรเสนอตัว ไปเป็นเพื่อนผู้ป่วยด้วย ทั้งนี้ ปัญหาเกี่ยวกับความทรงจาไม่ได้มีสาเหตุมาจากโรคสมองเสื่อมเพียงอย่างเดียว แต่อาจเกิดขึ้นได้จาก ภาวะซึมเศร้า ความเครียด ผลข้างเคียงจากยารักษาโรค หรือปัญหาสุขภาพอื่น ๆ ซึ่งแพทย์จะสามารถช่วย ตรวจวินิจฉัยหาสาเหตุของอาการที่เกิดขึ้นได้ การแบ่งความรุนแรงของโรคอัลไซเมอร์ โรคอัลไซเมอร์ ก็เพื่อที่จะทราบว่าผู้ป่วยเป็นโรคนี้อยู่ในระยะไหน ข้อสาคัญของโรคนี้อาการอาจจะมีการข้าม ระยะดังนั้นการที่จะบอกแน่ชัดคงจะทาได้ยาก ระยะที่ 1 ระยะนี้จะเหมือนคนปกติ ไม่มีปัญหาเรื่องการสูญเสียความจา หรืออาการของโรคสมองเสื่อม ระยะที่2 ระยะก่อนสมองเสื่อม ความบกพร่องพบได้ก่อนอาการอื่นได้แก่เรื่องความจาคือการสูญเสียความจา คือ พยายามจาข้อมูลที่เรียนรู้เมื่อไม่นานมานี้ไม่ได้ และไม่สามารถรับข้อมูลใหม่ๆ ได้ การสูญเสียความจาจะเป็น มากกว่าคนทั่วไป แต่ไม่รุนแรงมากนัก หลังจากนั้นจะมีการเสื่อมถอยของการสนทนา การเลือกใช้คา การ ตัดสินใจอย่างมีเหตุผล มีการศึกษาพบว่าผู้ที่มีอาการดังกล่าวจะใช้เวลา 8 ปีจึงจะมีอาการที่จะวินิจฉัยว่าเป็น โรคสมองเสื่อม สูญเสียความจาในระยะสั้นเช่นจาไม่ได้ว่าสนทนาอะไร หรือก่อนหน้านี้มีเหตุการณ์อะไรเกิดขึ้นบ้าง สูญเสียทักษะชีวิตประจาวันเช่น การใช้เครื่องโทรศัพท์ การใช้เครื่องไฟฟ้า ไม่แปรงฟัน หรือหวีผม
  • 7. 7 สับสนเรื่องสถานที่เช่น หลงทางแม้ว่าจะไปในที่ไม่ห่างไกลจากบ้าน หรือไว้ของผิดที่เช่นวางกุญแจไว้ ในตู้เย็น มีปัญหาเรื่องการทาตามแผนงาน และการใช้เงิน ไม่สามารถซื้อของตามรายการ ไม่สามารถชาระเงิน ตามใบเสร็จ มีปัญหาเรื่องการใช้คาพูด การสนทนา เช่นไม่สามารถเรียกชื่อสิ่งของเช่น เก้าอี้ รถ อารมณ์แปรปรวนโดยไม่มีเหตุผล แยกตัวเอง ไม่คบหากับเพื่อนหรือครอบครัว ไม่มีงานอดิเรก ดูแต่ทีวี มีปัญหาเรื่องการนอนหลับ ระยะนี้เริ่มจะมีปัญหาเรื่องความจาเสื่อม มีปัญหาจาคาที่คุ้นเคยไม่ได้ หรือจาสถานที่คุ้นเคยไม่ได้ ระยะที่3 ระยะนี้คนใกล้ชิดเริ่มจะสังเกตว่าเริ่มมีปัญหาหลายประการ ผู้ป่วยโรคอัลไซเมอร์จะมีความบกพร่องของ ความจา และการเรียนรู้จนสามารถวินิจฉัยอย่างแน่นอนได้ ผู้ป่วยบางส่วนมีปัญหาการใช้ภาษา การบริหารที่ ซับซ้อน ปัญหาทางภาษามีลักษณะเด่นคือการใช้คาให้กระชับให้สั้น และพูดหรือใช้ศัพท์ไม่ฉะฉานหรือคล่อง เหมือนเดิม ซึ่งทาให้พูดหรือเขียนภาษาได้น้อยลง อาจพบความบกพร่องของการการเคลื่อนไหว ทาให้ผู้ป่วยดู เงอะงะหรือซุ่มซ่าม และการวางแผนได้แก่ เริ่มมีปัญหาในการใช้คา หรือการชื่อสิ่งของ เริ่มจะจาชื่อคนไม่ได้จึงมีปัญหาการแนะนาให้คน เริ่มมีปัญหาเรื่องทักษะการเครื่องมือ เช่นโทรศัพท์ เครื่องใช้ไฟฟ้า การเข้าสังคม จาสิ่งที่เพิ่งอ่านไป ไม่ได้ ไว้ของผิดที่ เช่นวางกุญแจไว้ในตู้เย็น เริ่มมีปัญหาเรื่องการทาตามแผนงาน การประสานงาน เช่นการจัดเลี้ยง ระยะที่4 ระยะนี้เป็นระยะที่เริ่มจะเป็นโรคสมองเสื่อมในระยะเริ่มต้น หากซักประวัติดีดีก็จะพบว่ามีหลายอาการที่เข้าได้ กับโรคสมองเสื่อม เช่น ลืมเหตุการณ์ที่เพิ่งจะเกิดขึ้น สูยเสียความสามารถทางจิตนาการ เช่นการนับเลขถอยหลังที่ละ7
  • 8. 8 สูญเสียทักษะที่ซับซ้อน เช่น การเตรียมอาหารเย็นสาหรับรับแขก การรับเงินทอนเงิน ทักษะการใช้ เครื่องไฟฟ้า ลืมประวัติของคนรู้จัก เริ่มมีอาการหงุดหงิดง่าย หรือเริ่มแยกตัวจากสังคม ระยะที่5 ระยะนี้ผู้ป่วยเป็นโรคที่มีความรุนแรงปานกลาง จะพบความเสื่อมของสมองจนไม่สามารถทากิจกรรมต่างๆ ได้ ด้วยตนเอง ญาติจะสังเหตเห็นชัดเจนเกี่ยวกับเรื่องการสูญเสียความจา ความคิด การพูดปรากฏชัดเจน เนื่องจากไม่สามารถนึกหาคาศัพท์ได้ การเคลื่อนไหวที่ซับซ้อนจะลดลง ทาให้ไม่สามารถทากิจกรรมใน ชีวิตประจาวันส่วนใหญ่ได้อย่างปกตระยะนี้ผู้ป่วยจะต้องพึ่งญาติในการดูแลกิจวัตรประจาวัน ผู้ที่ป่วยไม่สามารถจาบ้านเลขที่ตัวเอง หรือเบอร์โทรศัพท์ หรือชื่อโรงเรียนที่เคยเรียน สับสนเรื่องวันและเวลา มีปัญหาเรื่องการคิดในใจเช่นให้บอกตัวเลขถอยหลังตั้ง 40 โดยลบครั้งละ4 ต้องได้รับความช่วยเหลือในการเลือกเสื้อผ้าให้เหมาะกับอากาศหรือโอกาศ ยังจาตัวเองและครอบครัวได้ ยังสามารถรับประทานอาหาร หรือเข้าห้องน้าด้วยตัวเองได้ มีปัญหาเกี่ยวกับใช้ชิวิตประจาวันเช่น การใส่เสื้อ การเข้าห้องน้า การเตรียมอาหาร อาจจะมีหูแว่ว หรือเห็นภาพหลอน พูดคนเดียว มีความหวาดกลัว หรือโกรธง่าย อารมณ์แปรปรวน ระยะที่6 ระยะนี้ผู้ที่เป็นโรคนี้มีอาการรุนแรงมากขึ้น สูญเสียความจามากขึ้น ผู้ป่วยจะพูดประโยคหรือวลีซ้า จนกระทั่ง ไม่สามารถพูดได้เลย แม้ว่าผู้ป่วยจะไม่สามารถพูดจาตอบโต้เป็นภาษาได้ แต่อาจจะตอบสนองด้วยการแสดง อารมณ์ มีการเปลี่ยนแปลงบุคคลิภาพต้องพึ่งพาผู้อื่นมากขึ้น ก้าวร้าว มีพฤติกรรมเปลี่ยนแปลง อาการแสดงที่ พบบ่อยคือการหนีออกจากบ้าน ความรู้สึกผิดปกติ สับสนหรือเห็นภาพหลอนในเวลากลางคืน หงุดหงิดโมโห ง่าย และอารมณ์แปรปรวน เช่นร้องไห้ ก้าวร้าวอย่างไม่มีเหตุผล หรือดื้อต่อผู้ดูแล ไม่สนใจสิ่งแวดล้อม จาเหตุการณ์เพิ่งเกิดไม่ได้ จาชื่อตัวเองได้แต่จาประวัติตัวเองไม่ได้
  • 9. 9 จาชื่อคนไม่ได้ มีปัญหาเรื่องการเลือกเสื้อผ้าต้องมีคนช่วย เช่นใส่ชุดชั้นในอยู่ด้านนอก ใส่รองเท้าผิดข้าง หลับกลางวันและไม่ยอมหลับในเวลากลางคืน ต้องมีคนช่วยเมื่อเข้าห้องน้า ควบคุมขับถ่ายอุจาระและปัสสาวะไม่ได้ ขับถ่ายไม่เป็นที่เป็นทาง มีบุคคลิกภาพเปลี่ยนไป มีการหลงผิด ทาบางอย่างซ้าเช่นเปิดปิดลิ้นชัก หลงทางบ่อย ระยะที่7 ระยะนี้เป็นระยะท้ายของโรคผู้ป่วยไม่สามารถตอบสนองต่อสิ่งแวดล้อม สื่อสารกับคนอื่นไม่ได้ ควบคุมการ เคลื่อนไหวไม่ได้ มักจะพูดประโยคหรือวลีซ้าๆ ระยะนี้จะต้องมีคนดูแลทุกเรื่อง การเคลื่อนไหวร่างการมีปัญหา นั่งเองไม่ได้ รับประทานอาหารเองไม่ได้ ผู้ป่วยไม่สามารถสื่อสารกับผู้อื่น จาคนไม่ได้ ไม่สามารถเดินได้ กลืนลาบาก ไม่ยิ้ม การวินิจฉัยอัลไซเมอร์ ยังไม่มีการวินิจฉัยอัลไซเมอร์ที่ยืนยันผลการตรวจได้แน่ชัดในปัจจุบัน การวินิจฉัยที่ถูกต้องและแม่นยา ที่สุดจะทาได้ก็ต่อเมื่อผู้ป่วยเสียชีวิตไปแล้ว โดยเป็นการใช้กล้องจุลทรรศน์ส่องดูการสะสมของสารอะไมลอยด์ และกลุ่มใยประสาทที่พันกันในสมอง ซึ่งเป็นการตรวจที่อันตรายต่อผู้ป่วย จึงไม่นามาใช้เมื่อมีชีวิตอยู่ อย่างไรก็ตาม แพทย์จะใช้เครื่องมือและวิธีการตรวจที่หลากหลายเพื่อช่วยในการพิจารณาว่าปัญหาด้าน ความทรงจาของผู้ป่วยนั้นเป็นอาการชนิดที่ “อาจเป็นโรคอัลไซเมอร์” (Possible Alzheimer’s Disease) ได้ หรือ “น่าจะเป็นโรคอัลไซเมอร์” (Probable Alzheimer’s Disease) สาหรับการตรวจเบื้องต้นจะพิจารณาจากอาการที่ผู้ป่วยหรือคนใกล้ชิดแจ้งให้ทราบ และสอบถาม ครอบครัวหรือคนรอบข้างของผู้ป่วยเกี่ยวกับสุขภาพโดยรวม ประวัติสุขภาพ ความสามารถในการใช้ ชีวิตประจาวัน พฤติกรรมและลักษณะนิสัยที่เปลี่ยนแปลงไปของผู้ป่วย รวมทั้งใช้การถามคาถามหรือทา
  • 10. 10 แบบทดสอบความจา การแก้ปัญหา การนับเลข หรือทักษะทางด้านภาษา เพื่อตรวจดูการทางานของสมองใน แต่ละส่วนและพิจารณาว่าควรรับการตรวจเพิ่มเติมหรือส่งให้ผู้เชี่ยวชาญเฉพาะทางตรวจรักษาต่อไปหรือไม่ ขั้นต่อไปอาจเป็นการวินิจฉัยเพื่อแยกโรคอื่นที่สามารถทาให้ผู้ป่วยสูญเสียความทรงจาได้เช่นกัน ซึ่งมักจะ ใช้วิธีต่อไปนี้ การตรวจร่างกายและประเมินระบบประสาท เป็นการตรวจสุขภาพทางระบบประสาทของผู้ป่วยด้วย แบบทดสอบที่หลากหลาย เช่น การทดสอบปฏิกิริยาโต้กลับ ความแข็งแรงและตึงตัวของกล้ามเนื้อ ความสามารถในการลุกจากเก้าอี้แล้วเดินไปยังอีกฝั่งของห้อง และตรวจดูประสาทสัมผัสทางการมองเห็นและ การได้ยิน รวมถึงการประสานงานและความสมดุลของร่างกาย การตรวจทางห้องปฏิบัติการ จะใช้การตรวจเลือดเพื่อช่วยตรวจแยกโรคอื่น ๆ ที่เป็นสาเหตุของอาการสูญเสีย ความทรงจาได้เช่นกัน เช่น โรคความผิดปกติของต่อมไทรอยด์ หรือโรคขาดวิตามินบางชนิด การทดสอบสมรรถภาพทางจิตและการทางานของสมอง เป็นการตรวจสภาวะทางจิตโดยรวมเพื่อประเมิน ทักษะด้านความทรงจาและความนึกคิด หลังจากนั้นแพทย์อาจเห็นควรให้มีการประเมินด้านนี้อย่างครอบคลุม เพิ่มเติม ซึ่งการตรวจการทางานของสมองอย่างละเอียดนี้อาจช่วยให้แพทย์ทราบเกี่ยวกับระบบการทางาน ทางด้านความคิดของผู้ป่วยเมื่อเปรียบเทียบกับคนอื่นที่มีอายุและระดับการศึกษาเดียวกันมากขึ้น การถ่ายภาพสมอง การถ่ายภาพสมองจะถูกนามาใช้ตรวจหาความผิดปกติใด ๆ ที่สามารถสังเกตเห็นได้และ บ่งบอกว่าสัมพันธ์กับโรคอื่น ๆ ที่ไม่ใช่อัลไซเมอร์ เช่น โรคหลอดเลือดในสมอง เนื้องอก หรือการได้รับบาดเจ็บ ที่ศีรษะที่ล้วนอาจทาให้เกิดการเปลี่ยนแปลงด้านสมอง โดยเทคนิคการถ่ายภาพในสมองที่อาจนามาใช้มีดังนี้ การตรวจเอมอาร์ไอสแกน (MRI Scan) ใช้แยกโรคอื่น ๆ ที่เป็นสาเหตุของอาการผิดปกติทางความคิด ความจาที่อาจเกิดขึ้น และยังอาจใช้วินิจฉัยดูการฝ่อตัวของสมองบริเวณที่สัมพันธ์กับการเกิดโรคอัลไซเมอร์ การตรวจซีทีสแกน (CT Scan) ช่วยในการถ่ายภาพวิเคราะห์ ณ จุดเวลาใดเวลาหนึ่งในสมอง และยังใช้เป็น วิธีหลักในการแยกโรคที่มีสาเหตุเกิดจากเนื้องอกในสมอง โรคหลอดเลือดในสมอง และการได้รับบาดเจ็บที่ ศีรษะออกไป การตรวจเพทสแกน (PET) เป็นเครื่องช่วยตรวจการทางานโดยรวมของสมองในหลาย ๆ บริเวณ โดยจะแสดง ภาพสมองส่วนที่ทางานไม่ปกติ
  • 11. 11 การตรวจน้าในโพรงสมองและไขสันหลัง วิธีตรวจในกรณีพิเศษจะนามาใช้กับโรคสมองเสื่อมที่พัฒนาขึ้นอย่าง รวดเร็วหรือเกิดขึ้นในช่วงอายุน้อย โดยเก็บตัวอย่างทดสอบจากน้าในไขสันหลังเพื่อหาตัวบ่งชี้ทางชีวภาพที่บ่ง บอกถึงความเป็นไปได้ของการเกิดโรคอัลไซเมอร์ การรักษาอัลไซเมอร์ โดยการดูแลรักษาผู้ป่วยอัลไซเมอร์ที่สามารถทาได้มีดังนี้ การวางแผนดูแลผู้ป่วย ผู้ป่วยที่วินิจฉัยแล้วว่าเป็นอัลไซเมอร์ควรได้รับการประเมินและการวางแผนล่วงหน้าสาหรับการดูแลด้าน สุขภาพและด้านสังคมโดยแพทย์ร่วมกับสาขาวิชาชีพอื่น ๆ เพื่อให้แน่ใจว่าผู้ป่วยโรคนี้ได้รับการรักษาที่ ตอบสนองต่อความต้องการ โดยจะมีการพูดคุยสอบถามถึงสิ่งที่ผู้ป่วยหรือผู้ดูแลอาจต้องการความช่วยเหลือ เช่น การช่วยเหลือใดที่ตัวผู้ป่วยและผู้ดูแลต้องการเพื่อให้เกิดความสะดวกและเป็นอิสระเท่าที่จะทาได้ ควรมีการเปลี่ยนแปลงใด ๆ กับที่พักอาศัยเพื่อให้อยู่ได้อย่างสะดวกยิ่งขึ้นหรือไม่ ผู้ป่วยต้องการความช่วยเหลือด้านการเงินหรือไม่ สร้างสิ่งแวดล้อมที่ปลอดภัยสาหรับผู้ป่วย การดูแลผู้ป่วยอัลไซเมอร์ควรมีการปรับสิ่งแวดล้อมในการใช้ชีวิตให้เอื้อต่อตัวผู้ป่วย รวมทั้งการสร้างนิสัยและ กิจวัตรประจาวันที่ไม่จาเป็นต้องใช้การนึกหรือจาก็อาจทาให้ผู้ป่วยใช้ชีวิตได้ง่ายขึ้น ข้อปฏิบัติที่สามารถทาตาม ได้มีดังต่อไปนี้ เก็บกระเป๋าสตางค์ กุญแจ โทรศัพท์มือถือ และของมีค่าอื่น ๆ ไว้ในที่เดียวกัน เพื่อป้องกันไม่ให้เกิด การสูญหายหรือหาไม่พบ สอบถามกับแพทย์ถึงวิธีการรับประทานยาที่ง่ายขึ้น โดยอาจรวมให้เหลือเพียงวันละ 1 ครั้ง เพื่อ ป้องกันการลืมรับประทานยา จัดการค่าใช้จ่ายต่าง ๆ เช่น ค่าน้า ค่าไฟ ให้จ่ายโดยระบบหักเงินอัตโนมัติ พกโทรศัพท์ที่เปิดการระบุตาแหน่งจีพีเอส (GPS) ไว้ตลอดเวลา เผื่อในกรณีที่หลงทางหรือมีอาการ สับสน เพื่อให้คนอื่น ๆ สามารถตามตาแหน่งที่อยู่ในโทรศัพท์มาได้ และควรบันทึกเบอร์โทรศัพท์และ
  • 12. 12 รายชื่อบุคคลสาคัญไว้ในที่ที่เห็นชัดเจนในโทรศัพท์ เพื่อผู้ป่วยจะได้ไม่ต้องพยายามนึกชื่อของผู้ที่ ต้องการโทร การนัดหมายกับแพทย์ควรเป็นวันและเวลาที่ใกล้เคียงกับครั้งอื่น ๆ มากที่สุด อาจมีปฏิทินหรือกระดานเขียนบันทึกกิจกรรมที่ต้องทาในแต่ละวันติดบ้านไว้ และเมื่อทากิจกรรมใด ๆ เรียบร้อยแล้วก็ให้ขีดฆ่าออกเพื่อไม่ให้เกิดการหลงลืม ตั้งนาฬิกาปลุกเตือนเวลาที่ต้องทากิจกรรมต่าง ๆ กาจัดอุปกรณ์เครื่องเรือนที่ไม่จาเป็นออกจากบ้าน ไม่ให้ระเกะระกะและยุ่งเหยิง ติดตั้งราวจับตามทางบันไดหรือในห้องน้า ติดตั้งอุปกรณ์ป้องกันอันตราย เช่น เครื่องตรวจแก๊สรั่ว และเครื่องตรวจจับควันให้ทั่วบ้าน เลือกรองเท้าที่ใส่แล้วสบายและมีความพอดีกับเท้า ไม่หลุดง่าย อย่าให้มีกระจกอยู่ในบ้านมากเกินไป ผู้ป่วยโรคนี้อาจรู้สึกว่าภาพสะท้อนในกระจกนั้นน่ากลัวและทา ให้รู้สึกสับสนได้ เก็บรูปถ่ายและสิ่งของที่มีความหมายต่อผู้ป่วยไว้ทั่ว ๆ บ้าน อาจบอกรับหนังสือพิมพ์รายวันเพื่อใช้เป็นเครื่องเตือนวันและเวลา เขียนบันทึกช่วยเตือนความจาแปะไว้ตามที่ต่าง ๆ เช่น บันทึกเตือนไม่ให้ลืมกุญแจเมื่อออกจากบ้าน การออกกาลังกาย เป็นสิ่งที่ดีต่อสุขภาพและควรปฏิบัติอย่างสม่าเสมอ ไม่เว้นแม้แต่ผู้ป่วยอัลไซเมอร์ โดยอาจให้ผู้ป่วยเดินเป็น ประจาทุก ๆ วันเพื่อปรับอารมณ์ให้ดีขึ้น ส่งผลดีต่อการทางานของข้อต่อ กล้ามเนื้อ และหัวใจ นอกจากนี้ยัง ช่วยให้นอนหลับดีและป้องกันอาการท้องผูกได้ด้วย ทั้งนี้ควรมีผู้ดูแลเดินไปพร้อมกับผู้ป่วยและจับตาดูไม่ให้ พลัดหลง ส่วนผู้ป่วยที่มีปัญหาด้านการเดินอาจขี่จักรยานอยู่กับที่หรือออกกาลังกายโดยวิธีนั่งบนเก้าอี้แทน การรับประทานอาหาร ผู้ป่วยโรคนี้อาจลืมรับประทานอาหาร หมดความสนใจในการรับประทานอาหาร เลือกรับประทานอาหารใน สัดส่วนที่ไม่เหมาะสม หรือดื่มน้าไม่เพียงพอ ซึ่งจะทาให้เกิดภาวะขาดน้าและมีอาการท้องผูกได้ จึงควรเสริม การรับประทานอาหารด้วยน้าปั่นจากผลไม้ผสมนมหรือโยเกิร์ตที่มีประโยชน์ต่อสุขภาพ มีแคลอรีสูง และอาจ เพิ่มผงโปรตีนผสมลงไป นอกจากนี้ผู้ดูแลยังควรโน้มน้าวให้ผู้ป่วยดื่มน้าหลาย ๆ แก้วต่อวัน แต่ควรหลีกเลี่ยง เครื่องดื่มที่มีคาเฟอีน เพราะจะส่งผลให้รู้สึกกระสับกระส่าย นอนไม่หลับ และไปกระตุ้นให้ปัสสาวะบ่อยขึ้น
  • 13. 13 การใช้ยารักษา แพทย์อาจสั่งจ่ายยาเพื่อช่วยบรรเทาอาการบางชนิดและชะลอการพัฒนาของโรค โดยยาที่มักนามาใช้กับผู้ป่วย โรคอัลไซเมอร์ระยะแรกไปถึงระยะที่อาการยังไม่รุนแรงคือยากลุ่มโคลีนเอสเทอเรส (Cholinesterase Inhibitor) เช่น โดนีพีซิล กาแลนตามีน และไรวาสติกมีน ทั้งนี้ยาในกลุ่มนี้จะมีประสิทธิภาพการรักษาไม่ ต่างกัน เพียงแต่ผู้ป่วยบางรายอาจตอบสนองกับยาชนิดใดชนิดหนึ่งมากกว่าหรือได้รับผลข้างเคียงจากยาน้อย กว่าชนิดอื่น ๆ และหากผู้ป่วยไม่สามารถรับประทานยากลุ่มนี้ได้ก็อาจให้ยาเมแมนทีนแทน ซึ่งยาตัวหลังนี้ สามารถใช้รักษาผู้ป่วยอัลไซเมอร์ในระยะท้ายได้เช่นกัน ยาทางเลือก ปัจจุบันมีอาหารเสริมและวิตามินหลากหลายชนิดที่มีการโฆษณาอย่างกว้างขวางถึงสรรพคุณในการช่วย ส่งเสริมด้านความคิดและความทรงจา ป้องกันหรือชะลอการเกิดโรคอัลไซเมอร์ อย่างไรก็ดี ยังไม่มีหลักฐานที่ ยืนยันได้แน่ชัดว่าสารอาหารเหล่านี้จะเป็นประโยชน์ดังที่กล่าวอ้างหรือไม่ ซึ่งล่าสุดก็มีการวิจัยเกี่ยวกับการ รักษาด้วยยาทางเลือกเหล่านี้ กรดไขมันโอเมก้า 3 เป็นสารอาหารที่พบในปลา อาจช่วยป้องกันการเสื่อมถอยทางสติปัญญา ทว่าการ วิจัยเกี่ยวกับอาหารเสริมที่ทาจากไขมันปลา ไม่พบคุณประโยชน์ด้านนี้แต่อย่างใด เคอร์คูมิน สมุนไพรที่ทามาจากขมิ้น มีคุณสมบัติต้านการอักเสบและมีสารต้านอนุมูลอิสระที่อาจส่งผล ดีต่อกระบวนการของสารสื่อประสาทในสมอง แต่การวิจัยก็พบว่าสารนี้ไม่ได้มีประโยชน์ในการรักษา โรคอัลไซเมอร์เช่นเดียวกัน แปะก๊วย พืชที่ประกอบด้วยสารหลากหลายชนิด โดยการวิจัยครั้งสาคัญของสถาบันสุขภาพแห่งชาติ ของสหรัฐอเมริกา (NIH) ผลปรากฏว่าแปะก๊วยไม่สามารถป้องกันหรือชะลออาการของโรคอัลไซเมอร์ ได้ วิตามินอี พบว่าไม่มีประสิทธิภาพในการป้องกันการเกิดอัลไซเมอร์ แต่การรับประทานวิตามินอีวันละ 2,000 หน่วยอาจช่วยชะลอการพัฒนาของโรคในผู้ป่วยโรคอัลไซเมอร์ได้ อย่างไรก็ตาม ผลการศึกษา ยังไม่สามารถยืนยันได้ร้อยเปอร์เซ็นต์ มีเพียงผลการศึกษาบางส่วนที่พบว่าวิตามินอีมีประโยชน์จริง นอกจากนี้ การรับประทานวิตามินอีวันละ 2,000 หน่วยก็ยังต้องมีการพิสูจน์เพิ่มเติมถึงความ ปลอดภัยหากนามาใช้กับผู้ป่วยโรคสมองเสื่อม ก่อนที่จะมีการแนะนาให้นามาใช้อย่างแพร่หลาย การบาบัดทางจิต นอกจากการใช้ยา การบาบัดโดยนักจิตวิทยา เช่น การกระตุ้นสมอง ก็อาจช่วยปรับปรุงความสามารถด้าน ความทรงจา ความสามารถทางภาษา และทักษะการแก้ปัญหาได้ รวมทั้งการบาบัดทางจิตวิทยาด้านอื่น ๆ เช่น
  • 14. 14 การบาบัดด้วยการปรับปลี่ยนความคิดและพฤติกรรม ดนตรีบาบัด ศิลปะบาบัด และการบาบัดด้วยการผ่อน คลาย ที่อาจนามาใช้ช่วยรับมือกับภาวะซึมเศร้า ความวิตกกังวล การเกิดภาพหลอน อาการหลงผิด และ พฤติกรรมไม่เหมาะสมที่เกิดขึ้นกับผู้ป่วยได้ การป้องกันโรคอัลไซเมอร์ จากการศึกษาทางระบาดวิทยา กิจกรรมที่ใช้ทักษะทางสติปัญญาเช่นเล่นหมากรุก หรือปฏิสัมพันธ์ทางสังคม พบว่าช่วยลดความเสี่ยงของโรคอัลไซเมอร์ แม้จะไม่พบความสัมพันธ์เชิงเหตุผลก็ตาม การศึกษาจากทั่วโลกเพื่อวัดการป้องกันหรือชะลอการเกิดโรคอัลไซเมอร์มักให้ผลการศึกษาที่ขัดแย้งกัน ใน ปัจจุบันยังไม่มีหลักฐานแน่ชัดสนับสนุนว่ามีวิธีใดที่ป้องกันโรคอัลไซเมอร์อย่างมีประสิทธิผล อย่างไรก็ตาม การศึกษาทางระบาดวิทยาหลายชิ้นแสดงความสัมพันธ์ของปัจจัยต่างๆ อาทิอาหาร โรคหลอดเลือดหัวใจ ยา หรือกิจกรรมที่ใช้ทักษะทางสติปัญญา กับการลดความเสี่ยงเป็นโรคอัลไซเมอร์ แต่ยังจาเป็นต้องมีงานวิจัย ต่อไปเพิ่มเติมเพื่ออธิบายบทบาทว่าปัจจัยเหล่านี้ลดอัตราการเกิดของโรคนี้ได้อย่างไร ส่วนประกอบของอาหารเมดิเตอร์เรเนียน ได้แก่ ผักและผลไม้ ขนมปัง ข้าวสาลีและธัญพืชต่างๆน้ามันมะกอก ปลา และไวน์แดง ทั้งหมดสามารถลดความเสี่ยงและช่วงเวลาการเป็นโรคอัลไซเมอร์ รับประทานอาหาร organic หลีกเลี่ยงอาหารที่ผ่านขบวนการผลิตเนื่องจากมีสารที่เป็นอันตรายต่อ สมอง เช่น น้าตาล น้าตาลผลไม้ (แนะนาอย่ารับประทานเกินวันละ 25 กรัม) ยาฆ่าแมลง DDT รับประทานเนื้อ นม ที่เลี้ยงด้วยหญ้า ทดแทนน้าตาลด้วยไขมันที่มีคุณภาพ เช่น อะโวคาโด เนยที่ทาจากนมวัวที่เลี้ยงด้วยหญ้า น้ามัน มะพร้าว ถั่วต่างๆ หลีกเลี่ยงอาหารที่มีไขมันทรานส์ หลีกเลี่ยงอาหารที่มี gluten(พบมากในแป้งสาลี) และ casein (พบมากใน นม pasteurized) gluten จะกระตุ้นภูมิคุ้มกัน เกิดการอักเสบและภูมิคุ้มกันทาร้ายตัวเอง รักษาสมดุลของเชื้อในลาไส้ โดยการหลีกเลี่ยงอาหารที่ผ่านขบวนการผลิต หลีกเลี่ยงน้าตาล อาหาร ผ่านการปรับแต่พันธุกรรม ยาปฏิชีวนะน้าที่มีคลอรีน และรับ probiotic ให้อดอาหารเป็นระยะ เนื่องจากเมื่อร่างกายขาดอาหารร่างกายใช้ Ketones มาให้พลังงานแทนซึ่งจะ เป็นปัจจัยสาคัญในการป้องกันโรคอัลไซเมอร์ รับประทานอาหารที่มีกรดโฟลิกสูงได้แก่ ผักและผลไม้ และควรจะรับประทานผักสดมากกว่าสุข ให้รับวิตามินดีให้เพียงพอ อาจจะโดยการรับประทานหรือการอาบแดด วิตามินดี จะลดการอักเสบซึ่ง เป็นสาเหตุของโรคอัลไซเมอร์
  • 15. 15 หลีกเลี่ยงสารปรอท วัสดุที่ใช้อุดฟันจะมีสารปรอทประมาณร้อยละ50 ให้ปรึกษาทันฑแพทย์เกี่ยวกับ วัสดุที่ใช้อุดฟัน ลดการใช้สารที่มีอลูมิเนียม อลูมิเนียมเป็นส่วนประกอบสาคัญ ในยาดับกลิ่นกาย และวัคซีน ลดการใช้ยา นอนหลับ ยาต้านโรคซึมเศร้า ยาลดไขมันกลุ่ม Statin วิตามินหลายชนิดเช่น วิตามินบี12 วิตามินบี3 วิตามินซี หรือกรดโฟลิก ในบางงานวิจัยพบว่าช่วยลด ความเสี่ยงของโรคอัลไซเมอร์ แต่ในบางการศึกษากล่าวว่าไม่พบผลของวิตามินต่อการเกิด หรือการ ดาเนินโรคอย่างมีนัยสาคัญ ซ้ายังอาจทาให้เกิดผลข้างเคียงที่สาคัญ สารเคอร์คิวมิน (curcumin) จากขมิ้นพบว่ามีประสิทธิผลบ้างในการป้องกันการทาลายสมองในหนู ทดลอง แม้ว่าปัจจัยเสี่ยงด้านโรคหลอดเลือดหัวใจ เช่น ภาวะเลือดมีคอเลสเทอรอลมาก ความดันโลหิตสูง เบาหวาน และการสูบบุหรี่ จะเกี่ยวข้องกับความเสี่ยงต่อการเกิด และระยะเวลาการดาเนินโรคอัลไซ เมอร์ หรือช่วยทาให้การดาเนินโรคอัลไซเมอร์ดีขึ้น อย่างไรก็ตามการใช้ยากลุ่มยาแก้อักเสบชนิดไม่ใช่สเตรอยด์ (NSAIDs) เช่น แอสไพริน ไอบูโปรเฟน ช่วยลดความเสี่ยงจะเป็นโรคอัลไซเมอร์ในบางคน กิจกรรมที่ใช้ทักษะทางสติปัญญาเช่นอ่านหนังสือ เล่นหมากกระดาน เล่นปริศนาอักษรไขว้ เล่นดนตรี หรือมีปฏิสัมพันธ์ทางสังคมช่วยชะลอการเกิดหรือลดความรุนแรงของโรคอัลไซเมอร์ การพูดได้สอง ภาษาสามารถชะลอการเกิดโรคอัลไซเมอร์เช่นกัน สรุปว่าไม่มีหลักฐานอันสอดคล้องกันหรือเชื่อได้ว่าแปะก๊วยให้ผลในการป้องกันความบกพร่องของการรู้ และ การศึกษาล่าสุดสรุปว่าแปะก๊วยไม่มีผลในการลดอัตราอุบัติการณ์ของโรคอัลไซเมอร์ อาหารจะเพิ่มความเสี่ยงของการเกิดโรคอัลไซเมอร์ Alzheimer จากการวิจัยพบว่าอาหารจะมีส่วนสาคัญของการเกิดโรคอัลไซเมอร์โดยเฉพาะอาหารที่ผ่านขบวนการผลิต ซึ่ง จะมีไขมันที่ไม่เป็นผลดีต่อสุขภาพเป็นจานวนมากและมีไขมันที่ดีต่อสุขภาพลดลง และอาหารยังอุดมไปด้วย อาหารจาพวกแป้ง ปัจจัยเหล่านี้จะเสริมกันทาให้เพิ่มความเสี่ยงต่อการเกิดโรคอัลไซเมอร์ ผู้ที่เสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจจะเสี่ยงต่อการเกิดโรคอัลไซเมอร์ ภาวะดื้อต่ออินซูลินจะเป็นความเสี่ยงของเกิดโรคหลอดเลือดแข็งซึ่งภาวะดังกล่าวจะพบในผู้ป่วยที่เป็น โรคหัวใจและโรคอัลไซเมอร์ เชื่อว่า ผู้ที่สูบบุหรี่ ผู้ที่ดื่มสุรา เบาหวาน ผู้ที่น้าตาลในเลือดสูง และอ้วนจะเป็น ความเสี่ยงร่วมของการเกิดโรคทั้งสอง
  • 16. 16 น้าตาลในเลือดสูงจะสัมพันธ์กับการเกิดโรคอัลไซเมอร์ มีการศึกษาตีพิมพ์ปี2013 พบว่าน้าตาลสูงจะมีความสัมพันธ์กับการเกิดโรคอัลไซเมอร์น้าตาลที่เหมาะสมอยู่ ระหว่าง 70-85 โดยไม่ควรเกิด 95 มก% การออกกาลังกายทาให้โรคอัลไซเมอร์ดีขึ้น มีการรายงานว่าการออกกาลังกายอย่างสม่าเสมอจะป้องกันสมองจากโรคสมองเสื่อและอัลไซเมอร์ ผู้ป่วยที่เริ่มเป็นโรคนี้หากออกกาลังกายอย่างสม่าเสมอจะพบว่าเรื่องความจาและอารมณ์ดีขึ้นเมื่อ เทียบกับกลุ่มที่ไม่ออกกาลัง พบว่าการออกกาลังแบบ aerobic สัปดาห์ละ 4 ครั้งติดต่อกันหกเดือนพบว่าระดับ tau tangles (สารที่บ่งถึงโรคอัลไซเมอร์) ลดลงในกลุ่มที่ออกกาลังกาย การออกกาลังกายทาให้ขบวนการเรียนรู้ การตัดสินใจ ดีขึ้น การนอนหลับสนิทและพอเพียงจะช่วยป้องกันโรคได้ สมองของคนเราจะขับของเสียรวมทั้งproteins amyloid-beta ในช่วงที่หลับสนิทเซลล์สมองจะลดขนาดลงทา ให้เกิดการขับของเสียดีขึ้นดังนั้นจึงต้องหลับสนิทอย่างเพียงพอ เด็กวัยเรียนควรจะได้นอนวันละ 10-13 ชั่วโมง ผู้ที่มีอายุ118-64 ปีควรจะนอนวันละ7-9 ชั่วโมง ผู้ที่อายุมากกว่า 65 ปีนอนวันละ7-8 ชั่วโมง วิธีดาเนินงาน แนวทางการดาเนินงาน - เลือกปัญหา/หัวข้อโครงงาน - ศึกษารวบรวมข้อมูล - จัดทารายงาน - ปรับปรุงแก้ไข - นาเสนอครู เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้ - โปรแกรม ไมโครซอร์ฟเวิร์ด
  • 17. 17 งบประมาณ - ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน ลาดั บ ที่ ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 1 0 1 1 1 2 1 3 1 4 1 5 1 6 1 7 1 คิดหัวข้อโครงงาน 2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล 3 จัดทาโครงร่างงาน 4 ปฏิบัติการสร้าง โครงงาน 5 ปรับปรุงทดสอบ 6 การทาเอกสารรายงาน 7 ประเมินผลงาน 8 นาเสนอโครงงาน ผลที่คาดว่าจะได้รับ (ผลลัพธ์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดการทาโครงงาน) 1.มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโรคอัลไซเมอร์มากขึ้น 2.บุคคลทั่วไปได้ตระหนักถึงความสาคัญเห็นถึงผลกระทบที่ร้ายแรงของโรคอัลไซเมอร์เป็นแนวทางป้องกัน ก่อนที่โรคนี้จะเกิดกับตนและคนรอบข้าง 3.บุคคลทั่วไปหรือผู้ที่ศึกษาได้รับข้อมูลที่ถูกต้องเกี่ยวกับโรคอัลไซเมอร์และนาไปปฏิบัติได้จริง 4.พัฒนาทักษะความสามารถในการสร้างเว็บบล็อก งานกราฟิก การใช้คอมพิวเตอร์ นาไปประยุกต์ใช้ใน ชีวิตประจาวันได้ สถานที่ดาเนินการ ห้องเรียนคอมพิวเตอร์ โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย 238 ถนนพระปกเกล้า ตาบลศรีภูมิ อาเภอเมือง เชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่ 50200 กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง 1.กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ 2.กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา 3.กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี
  • 18. 18 แหล่งอ้างอิง (เอกสาร หรือแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ที่นามาใช้การทาโครงงาน) ทีมงานSiamhealth. (2562) โรคสมองเสื่อมอัลไซเมอร์. สืบค้นเมื่อ 1 กันยายน 2562, จากเว็บไซต์: https://www.siamhealth.net/public_html/Disease/neuro/alzheimer/alzheimers.html thitima. สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข(สวรส.). (2561) วิจัยประเมิน “ภาวะสมองเสื่อม” ความ หวังใหม่ของผู้ป่วยเพื่อการป้องกัน–รักษาอัลไซเมอร์ที่แม่นยา. สืบค้นเมื่อ 1 กันยายน 2562, จากเว็บไซต์: https://www.hsri.or.th/researcher/media/news/detail/9927 ทีมงานพบแพทย์. (2559) ความหมาย โรอัลไซเมอร์. สืบค้นเมื่อ 1 กันยายน 2562, จากเว็บไซต์: https://www.pobpad.com