SlideShare a Scribd company logo
1 of 12
1
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
รหัสวิชา ง 33202 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการ
สื่อสาร 6
ปีการศึกษา 2558
ชื่อโครงงาน โรคติดต่อทางเพสสัมพันธุ์
ชื่อผู้ทำาโครงงาน
นายเมธาพงศ์ หล้าแก้ว เลขที่ 27 ชั้น 6 ห้อง 9
นางสาวสิริวิมล ดวงคำา เลขที่ 29 ชั้น 6 ห้อง
9
ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดำาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2558
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่
สำานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
ใบงาน
การจัดทำาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
2
1.นายเมธาพงศ์ หล้าแก้ว เลขที่ 27
2.นางสาวสิริวิมล ดวงคำา เลขที่ 29
คำาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตาม
หัวข้อต่อไปนี้
ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย)
โรคติดต่อทางเพสสัมพันธุ์
ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ)
sexual tranmitted disease
ประเภทโครงงาน โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา
(Educational Media)
ชื่อผู้ทำาโครงงาน นายเมธาพงศ์ หล้าแก้ว
ชื่อที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดำาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2558
ที่มาและความสำาคัญของโครงงาน (อธิบายถึงที่มา แนวคิด
และเหตุผล ของการทำาโครงงาน)
โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์เริ่มจะพบมากขึ้นในวัยรุ่นซึ่งจะมีเพศ
สัมพันธ์ก่อนการแต่งงาน โดยที่ขาดความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับ การ
ป้องกันตัวเองทั้งการตั้งครรภ์และโรคติดต่อ การที่เรามีความรู้เกี่ยว
กับการติดต่อของโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ อาการของโรค การ
รักษา จะเป็นขั้นแรกของการป้องกันโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ได้
เมื่อเกิดการติดโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์แล้วก็ควรเรียนรู้ที่จะ
ปฏิบัติตนอย่างถูกต้อง เพื่อให้โรคเหล่านั้นหาย และไม่มีการระบาด
ของโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ ซึ่งปัจจุบันนี้โรคทั้งหมดไม่ได้น่ากลัว
แต่อย่างใด เพราะมีเทคโนโลยีที่ก้าวหน้าและทันสมัยในการรักษา
โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์และลดการระบาดของโรตติดต่อทางเพศ
สัมพันธ์
กระผมได้พัฒนาสื่อเพื่อการศึกษาเพื่อให้ผู้ที่เกิดการติดเชื้อและ
ผู้ที่กำาลังจะมีเพศสัมพัน์ได้ตระหนักถึงโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
3
และได้ให้ความรู้ในการป้องกันและการรักษาโรคต่างๆอย่างถูกต้อง
และเหมาะสม
วัตถุประสงค์ (สิ่งที่ต้องการในการทำาโครงงาน ระบุเป็นข้อ)
1.เพื่อให้ความรู้เรื่องโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
2.ป้องกันและรักษาโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ได้
3.ลดอัตราการเพิ่มของโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
4.ลดอัตราการเสียชีวิตจากโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
5.ศึกษาแนวโน้มของผู้ที่เสี่ยงต่อการติดโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
ขอบเขตโครงงาน (คุณลักษณะ ขอบเขต เงื่อนไขและข้อจำากัด
ของการทำาโครงงาน)
ศึกษาโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ ลักษณะอาการของโรค
แนวทางการป้องกัน วิธีการรักษาและการปฎิบัติตัวหลังได้รับเชื้อ
ของโรคติดต่อทางเหศสัมพัธ์ โดยจะบอกถึงโรคที่เกิดขึ้นในเพศชาย
เพศหญิงหรือเพศที่สถานะไม่ตรงตามกำาเนิด โดยจะอธิบายอย่าง
ละเอียดและยกภาพประกอบ ซึ่งจะยกตัวอย่างโรคที่สำาคัญมาดังนี้
โรคซิฟิลิส โรคหนองใน โรคหนองในเทียม และกลุ่มอาการภาวะ
ภูมิคุ้มกันเสื่อม (โรคเอดส์)
หลักการและทฤษฎี (ความรู้ หลักการ หรือทฤษฎีที่สนับสนุนการ
ทำาโครงงาน)
โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
เดิมที่เดียวเรารู้จักโรคกลุ่มนี้ในนามของกามโรค หรือในภาษา
อังกฤษว่า venereal diseases หรือ VD แต่ในปัจจุบันนี้ ได้มีการ
ศึกษาค้นคว้า และวิจัยกันอย่างกว้างขวาง ทำาให้ได้ข้อมูลเพิ่มเติม
มากขึ้นว่า ยังมีโรคอื่นที่ติดต่อกันได้ โดยการร่วมเพศ และโดยเพศ
สัมพันธ์ในลักษณะอื่นๆ ดังนั้น เพื่อให้ครอบคลุมโรคต่างๆ ให้กว้าง
ขวางออกไปอีก ชื่อที่ใช้เรียกกามโรคในภาษา อังกฤษจึงได้เปลี่ยน
ไ ป จ า ก "venereal diseases ห รื อ VD" เ ป็ น "sexually
transmitted diseases" หรือ เรียกย่อๆ ว่า STD ฉะนั้น จึงขอ
เรียกชื่อโรคกลุ่มนี้ ในภาษาไทยว่า "โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์"
4
โรคซิฟิลิส
เป็นโรคติดต่อที่มีความรุนแรงมาก และอันตรายสูงโรคหนึ่ง โรค
ซิฟิลิสเป็นได้ทุกแห่งของร่างกาย ไม่เฉพาะแต่ที่อวัยวะสืบพันธุ์
เท่านั้น แม้แต่ตามลิ้น มือ แขน ขา รวมทั้งระบบประสาท หัวใจ
เส้นเลือด ตา กระดูก ฯลฯ ในบางรายอาจไม่รู้สึกว่า มีอาการอย่าง
ใดตั้งแต่แรก และกว่าจะรู้ว่ามีอาการ โรคนั้นได้กำาเริบมากแล้วก็ได้
เชื้อต้นเหตุ
โรคซิฟิลิสเกิดจากบัคเตรีที่มี ขนาดใหญ่ มีรูปร่างคล้ายกับเกลียว
สว่าน ชอบเคลื่อน ไหวไปมา สามารถไชเนื้อส่วนที่อ่อนๆได้ โดย
เฉพาะ จะเข้าสู่ร่างกายตรงที่เป็นแผลถลอก แม้แต่เป็นแผล ถลอก
เพียงเล็กน้อย เชื้อนี้มีชื่อว่า ทรีโพนีมา พัลลิดุม (Treponema
pallidum) ระยะฟักตัวประมาณ ๑๐-๒๐ วัน หรืออาจ นานถึง ๓
เดือน
ลักษณะอาการ
ในขั้นแรกตรงบริเวณที่ได้รับเชื้อ ซึ่งอาจจะเป็นที่อวัยวะสืบพันธุ์
หรือที่อื่นๆ เช่น ในปาก จะมีตุ่มเล็กๆ ขนาดเท่าหัวเข็มหมุด หรือโตก
ว่านั้นเล็กน้อย ซึ่งต่อไปจะแตกกลายเป็นแผลกว้างออก ขอบแผล
เรียบและแข็ง ในระยะนี้เรียกว่า "ซิฟิลิสระยะที่ ๑" แผลจะไม่มี
อาการคันหรือเจ็บแต่อย่างใด แม้ปล่อยทิ้งไว้ โดยไม่รักษา แผลก็จะ
หายเองได้ แต่เชื้อซิฟิลิสนั้นยังคงอยู่ในร่างกาย ตั้งแต่เมื่อเริ่มเป็น
แผล เชื้อจะเข้าไปยังต่อมนำ้าเหลืองบริเวณขาหนีบ แล้วต่อไปจะเข้า
สู่กระแสเลือด และกระจายไปตามอวัยวะต่างๆ ของร่างกาย ในบาง
รายจะปรากฏอาการผื่นขึ้นตามตัวที่เรียกกันว่า "ออกดอก" ซึ่งเป็น
"ระยะที่ ๒ ของซิฟิลิส" ผื่นนี้มีลักษณะต่างกับผื่นลมพิษ หรือการแพ้
สารต่างๆ ก็คือ ไม่มีอาการคัน และผื่นจะปรากฏที่ฝ่ามือด้วย แต่บาง
ครั้งอาจจะไม่มีผื่นเลยก็ได้ แต่จะเกิดอาการอย่างอื่น เช่น เจ็บคอ
ปวดเมื่อยตามข้อ ผมร่วง ฯลฯ
เมื่อโรคเข้าสู่ระยะที่ ๒ การตรวจเลือดจะพบการเปลี่ยนแปลง ที่
แสดงปฏิกิริยาให้ผลบวกของนำ้าเหลืองอย่างสูงมาก ถ้ายังปล่อยปละ
ละเลยทิ้งไว้ ไม่ไปพบแพทย์ รับการตรวจรักษาอย่างถูกต้อง โรคจะ
สงบอยู่ระยะหนึ่ง ระยะนี้ เชื้อโรคจะหลบอยู่ตามอวัยวะต่างๆ แต่ก็ยัง
5
ไม่ปรากฏอาการ จะทราบผลได้จากการตรวจเลือดเท่านั้น อาจกิน
เวลาหลายปี โรคจึงจะเข้าสู่ "ระยะที่ ๓" อันเป็นระยะสุดท้ายของ
โรค บางครั้งเรียกว่า "ซิฟิลิสระยะหลัง" ในระยะนี้ผู้ป่วยก็อาจจะต้อง
ทุกข์ทรมาน ด้วยอาการของหลายระบบของร่างกาย เป็นต้นว่า บน
ผิวหนังจะมีก้อนนูนแตกเป็นแผลเหวอะหวะ ซึ่งจะกลายเป็นแผลเป็น
ทำาให้เสียโฉม จมูกโหว่ กระดูกผุ อาจตาบอด หูหนวก สติปัญญา
เสื่อม สมองพิการ จนถึงเป็นอัมพาต หรืออาจถึงกับเป็นบ้าก็ได้ ยิ่ง
กว่านั้น อาจจะเป็นอันตรายถึงชีวิต ถ้าเกิดไปเป็นที่หัวใจ ทำาให้ลิ้น
หัวใจรั่ว หัวใจวาย เส้นเลือดใหญ่ที่ออกจากหัวใจโป่งพอง และตาย
ในที่สุด นอกจากนี้ ในสตรีที่ตั้งครรภ์ ถ้าเป็นซิฟิลิส เชื้อซิฟิลิสจะ
ถ่ายทอดผ่านทางรก ทำาให้ทารกป่วยด้วยโรคนี้ถึงตายในครรภ์
หรือถ้าคลอดออกมาแล้ว อาจจะพิการตลอดชีวิตก็ได้ เรียกว่า
ซิฟิลิสแต่กำาเนิด
การติดต่อโรคนี้สามารถติดต่อได้โดยทางใดทางหนึ่ง คือ
๑. โดยการร่วมประเวณีกับผู้ที่กำาลังเป็น ซิฟิลิสระยะแพร่เชื้อ คือ
ระยะที่ ๑ สำาหรับระยที่ ๒ ถ้าถูกต้องกับนำ้าเหลืองที่ผื่นผิวหนัง
(ออกดอก) ก็จะติด โรคได้เช่นกัน
๒. เป็นมาแต่กำาเนิด นั่นคือ เมื่อหญิง ที่กำาลังตั้งครรภ์เป็นซิฟิลิส ก็
สามารถแพร่เชื้อมาให้ทารก ในครรภ์โดยผ่านทางรก
๓. โดยเหตุบังเอิญ เช่น สัมผัสกับแผล ซิฟิลิส
การป้องกันและควบคุมโรค
โรคนี้เกิดขึ้นจาก การสำาส่อนทางเพศ ในปัจจุบันยังไม่มีวัคซีนที่จะ
ใช้ป้องกันโรค วิธีป้องกันที่ให้ผลก็คือ ละเว้นพฤติกรรม สำาส่อนทาง
เพศ นอกจากนี้จะต้องมีระบบติดตามนำา ผู้ป่วยทั้งที่เป็นหญิงโสเภณี
และหญิงบริการรูปอื่นๆ หรือ แม้แต่สามัญชน ซึ่งผู้ป่วยเป็นโรคนำา
มารักษาให้หายขาด
ถุงยางอนามัยเครื่องมือที่ช่วยป้องกันและควบคุมโรคติดต่อทางเพศ
สัมพันธ์
ถุงยางอนามัย เครื่องมือที่ช่วยป้องกัน และควบคุมโรคติดต่อทาง
เพศสัมพันธ์ ในกลุ่มชนที่มีความสำาส่อนทางเพศ ควรจะต้อง ให้มี
การป้องกันโดยใช้ถุงยางอนามัยเป็นเครื่องป้องกัน
โรคหนองใน
6
บางที่เรียกกันว่า โกโนร์เรีย หรือโรคหนองใน
เชื้อต้นเหตุ
เ ป็ น บั ค เ ต รี มี ชื่ อ ว่ า ไ น ซ์ ซี เ รี ย โ ก โ น ร์ เ รี ย (Neisseria
gonorrhoea) ระยะฟักตัวใช้เวลาประมาณ ๒-๓ วัน หรือ อาจ
ยาวนานถึง ๑-๒ สัปดาห์ก็ได้
ลักษณะอาการ
โรคนี้เป็นกับบุคคลทั้งสองเพศ แต่ลักษณะจะแตกต่างกันดังนี้
อาการในผู้ชาย จะมีอาการที่รุนแรงคือ เริ่มด้วยอาการขัดเบา เจ็บ
แสบท่อปัสสาวะทุกครั้งที่ถ่ายปัสสาวะ ที่ปลายอวัยวะเพศ ตรง
ปากท่อปัสสาวะจะอักเสบแดง และจะมีหนองไหลเยิ้ม บางครั้งจะมี
หนองข้นจนคล้ายเส้นขนมจีน รายที่เป็นมากๆ กางเกงในจะเปรอะ
เปื้อนไปด้วยหนอง หนองจะไหลอยู่ประมาณ ๑-๒ สัปดาห์ ถ้าไม่ได้
รับการรักษา หนองก็จะเริ่มลดน้อยลง แต่อาการอักเสบเวลาถ่าย
ปัสสาวะก็ยังคงอยู่ จะมีอาการคันภายในท่อปัสสาวะ ถ้าปล่อยให้
โรคดำาเนินอยู่เช่นนี้จะกลายเป็นหนองในเรื้อรัง ต่อมนำ้าเหลืองจะ
บวมเจ็บ อาจมีอาการปวดตามข้อ บางรายจะมีผื่นคันตามตัวด้วย
โรคอาจลุกลามต่อไป ทำาให้เกิดต่อมลูกหมากอักเสบ ท่ออสุจิตีบตัน
และทำาให้เป็นหมันได้
แผนภาพแสดงอวัยวะเพศชายด้านข้าง
แผนภาพแสดงอวัยวะเพศชายด้านข้าง
อาการในผู้หญิง อาจจะไม่มีอาการอะไรเลย หรือมีแต่เพียงอาการ
แสบเวลาปัสสาวะ บางรายอาจจะมีหนองไหล ซึ่งผู้ป่วยมักจะให้
ประวัติว่า ตกขาว บางรายจะไม่มีหนองปรากฏให้เห็นเลย บางราย
อาการตกขาวมีมาก จนต้องใช้ผ้าอนามัยก็มี ส่วนใหญ่อาการในผู้
หญิงจะน้อยกว่าในผู้ชายมาก จนทำาให้บางคนสำาคัญผิดว่า ไม่ได้
เป็นโรค ซึ่งก่อให้เกิดอันตรายในการแพร่เชื้อต่อไป โดยเฉพาะใน
หญิงบริการ เนื่องจากมีอาการน้อย จึงมักไม่ใคร่รักษา โรคจึงเรื้อรัง
ลุกลามต่อไป ทำาให้เกิดอาการอักเสบในอุ้งเชิงกราน ทำาให้ปีกมดลูก
อักเสบ มดลูกอักเสบ ปวดมดลูก ช่องท้องอักเสบ รังไข่ อักเสบ ปวด
เมื่อยหลัง ประจำาเดือนมาไม่ปกติ มีไข้ ทำาให้เกิดภาวะแทรกซ้อนต่อ
ไปอีก คือ ท่อรังไข่ตีบตัน เกิดการตั้งครรภ์นอกมดลูก หรือเป็นหมัน
ในที่สุด ถ้าเกิดมีการอักเสบในอุ้งเชิงกราน จะมีการตกขาว ซึ่งมี
7
กลิ่นเหม็นร่วมด้วย มีเลือดปน มีไข้ และมักจะมีอาการใกล้ๆ กับระยะ
มีประจำาเดือน ชาวบ้านจึงเรียกกันว่า ไข้ทับระดู
แผนภาพแสดงอวัยวะเพศหญิงด้านข้าง
แผนภาพแสดงอวัยวะเพศหญิงด้านข้าง
โรคหนองในอาจก่อให้เกิดภาวะแทรกซ้อนได้ หลายประการ ได้แก่
๑. โรคแพร่กระจายโดยตรงจากแหล่งที่เป็น โรคดังได้กล่าวไว้แล้ว
คือ จากอวัยวะเพศไปทำาให้ อุ้งเชิงกรานอักเสบ ปีกมดลูกอักเสบ
ต่อมบาร์โทลินใน ช่องคลอดอักเสบ และท่อนำาอสุจิอักเสบ
๒. โรคแพร่ออกไปโดยทางอ้อม เช่น เอา มือเปื้อนหนองไปเช็ดตา
หรือใช้ผ้าขาวม้าไปเช็ดตา ตนเอง ทำาให้ตาอักเสบเป็นหนองได้
๓. โรคแพร่กระจายไปตามกระแสเลือด ทำาให้เกิดข้ออักเสบ มีผื่น
ตามผิวหนัง ลิ้นหัวใจอักเสบ เยื่อหุ้มสมองอักเสบ กล้ามเนื้อหัวใจ
อักเสบ และตับอักเสบ
๔. โรคติดไปยังทารกในครรภ์ ติดเชื้อตั้ง แต่อยู่ในครรภ์ ทำาให้
คลอดก่อนกำาหนด บางครั้งจะ ติดโรคขณะคลอดผ่านช่องคลอดที่มี
เชื้อโรค ทำาให้ตาอักเสบเป็นหนอง
โรคหนองในในเด็กหญิง มักจะเกิดแก่เด็กหญิง วัยอนุบาล วัยเรียน
ชั้นประถม อายุประมาณ ๓-๕ ขวบ จะมีอาการหนองไหลออกมา
จากช่องคลอด มี อาการคัน พ่อแม่จะสังเกตว่าเด็กคันอวัยวะเพศเส
มอๆ ที่กางเกงในจะมีหนองติด เด็กพวกนี้มักติดเชื้อหนองจากผ้า
ขาวม้า ผ้าปูที่นอน โถส้วม หรือใช้มือที่เปื้อนเชื้อไปเกาอวัยวะเพศ
ในต่างประเทศโดยเฉพาะพวกผิวขาว มักจะเกิดจากการร่วมเพศ
ก่อนถึงวัยอัน ควร นอกจากโรคจะเกิดแก่อวัยวะเพศแล้ว ปัจจุบันพบ
ว่า มีอาการคออักเสบ อันเกิดจากเชื้อหนองในบ่อยขึ้น เพราะมีเพศ
สัมพันธ์แบบใช้ปาก และบางรายมีอาการ อักเสบของทวารหนัก ซึ่ง
เป็นผลจากเพศสัมพันธุ์ทาง ทวารหนัก
การติดต่อ ที่สำาคัญคือ การร่วมเพศโดยตรง และการกระทำาเพศ
สัมพันธ์โดยวิธีอื่นๆ การสัมผัสกับ เชื้อโรคโดยทางอ้อม ได้แก่ มือ
เปื้อนเชื้อ ใช้เสื้อผ้า ร่วมกัน โดยเฉพาะอย่างยิ่งกางเกงใน นั่ง
โถส้วมตาม หลังผู้ที่เป็นโรคเพิ่งใช้ส้วมไปใหม่ๆ เหล่านี้เป็นต้น
การป้องกันและควบคุมโรค
8
รักษาอนามัยส่วน บุคคล ละเว้นการสำาส่อนทางเพศ ใช้ถุงยาง
อนามัย ในการร่วมเพศกับหญิงบริการ ไม่กระทำาเพศสัมพันธ์ที่ ผิด
ปกติ หากมีอาการอย่างหนึ่งอย่างใดที่สงสัย แม้แต่ เพียงเล็กน้อย
ให้รีบไปรับการตรวจวินิจฉัยโรคโดยด่วน
โรคหนองในเทียม
เชื้อต้นเหตุ
เชื้อที่เป็นสาเหตุสำา คัญบ่อยที่สุด คือ คลามีเดีย ทราโคมาทิส
(Chlamydia trachomatis) นอกจากนี้ ยังมีเชื้อยูเรียพลาสมายู
เรียไลทิคุม (Urea- plasma urealyticum) ระยะฟักตัวนาน
ประมาณ ๗-๑๔ วัน
ลักษณะอาการ
ผู้ป่วยมักจะมีอาการแสบหรือรู้สึกขัดเวลาถ่ายปัสสาวะ และมีหนอง
ใสๆ บางรายมีอาการคันในท่อปัสสาวะ หรือมีรอยแดงๆ บริเวณ
ปากท่อปัสสาวะ มักมีหนองไหลในตอนเช้าๆ ในบางราย อาจมีเชื้อ
อยู่ โดยไม่มีอาการก็ได้ ผู้ป่วยที่ติดเชื้อคลามีเดีย บางคนอาจมี
อาการแทรกซ้อน เช่น เกิดการอักเสบลุกลามไปยังต่อมลูกหมาก ถุง
อัณฑะ ทำาให้เกิดเป็นหมันตามมา ในหญิงที่ติดเชื้อนี้มักไม่แสดง
อาการชัดเจน บางรายจะมีตกขาวมาก ตรวจพบปากมดลูกอักเสบ
เชื้ออาจลุกลามเข้าสู่อวัยวะภายใน เกิดการอักเสบของอวัยวะ
สืบพันธุ์ในช่องเชิงกราน ทำาให้เกิดอาการไข้ ปวดท้องน้อย ท่อ
รังไข่อักเสบตีบตัน เกิดการตั้งครรภ์นอกมดลูก หรือเป็นหมัน
นอกจากนี้ ถ้ามารดามีเชื้อที่บริเวณปากมดลูก ทารกที่คลอดผ่าน
ออกมาจะได้รับเชื้อเข้าตา ทำาให้เกิดตาอักเสบในระยะแรกคลอด
และถ้าทารกที่ตาอักเสบนี้ ไม่ได้รับการรักษาที่ถูกต้อง จะเกิดโรคกับ
อวัยวะระบบอื่นได้ ที่สำาคัญ คือ ปวดบวม
การติดต่อ
ติดต่อทางเพศสัมพันธ์ นอกจาก นั้น ทารกแรกเกิดอาจได้รับการติด
เชื้อจากมารดาก็ได้
การป้องกันและควบคุมโรค
9
เมื่อพบผู้ป่วย จำาเป็นต้องให้ยารักษาจนครบกำาหนด และแนะนำาให้
นำา คู่สมรสมาตรวจรักษาด้วย ในระยะที่มีอาการควรงดการ ร่วมเพศ
ไม่ควรประพฤติสำาส่อนทางเพศ และการใช้ ถุงยางอนามัยจะช่วย
ป้องกันโรคได้
กลุ่มอาการภูมิคุ้มกันเสื่อมหรือโรคเอดส์
โรคเอดส์ (AIDS) เป็นคำา ในภาษาอังกฤษซึ่งย่อ มาจาก
acquired immunity deficiency syndrome หมายถึง กลุ่ม
อาการที่มีการเสื่อมลงของการตอบสนองทางภูมิคุ้มกัน ที่มิได้เป็น
โดยกำาเนิด แต่เกิดจากการติดเชื้อไวรัสชนิดหนึ่ง อันเป็นเหตุให้
ร่างกายติดเชื้อโรคต่างๆ ที่เป็นเชื้อจำาพวกฉวยโอกาสได้ง่าย เป็น
โรคติดเชื้อชนิดใหม่ ซึ่งเพิ่งมีรายงานเป็นครั้งแรกในสหรัฐอเมริกา
เมื่อ พ.ศ. ๒๕๒๔
เชื้อต้นเหตุ คือ เชื้อไวรัสที่เดิมเรียกว่า เอชที- แอลวี ๓ (HTLV III)
มีชื่อเต็มว่า ฮิวแมน ที ลิมโฟทรอพิก ไวรัส ๓ (human T
lymphotropic virus III) เชื้อไวรัสนี้มีชื่อพ้องว่า ลิมฟาดีโนพาที
แอสโซซิเอเทด ไวรัส (lymphadenopathy associated virus
หรือ LAV) เชื้อนี้จะไปทำาลายเซลล์เม็ดเลือดขาวชนิด หนึ่งที่มีชื่อว่า
ทีลิมโฟไซต์ (T lymphocyte) และผลจากการที่ทีลิมโฟโซต์ของผู้
ป่วย ถูกทำาลาย ทำาให้ภาวะภูมิคุ้มกันโรคชนิดหนึ่งที่อาศัยเซลล์ของ
ร่างกายเสื่อมไป ปัจจุบันนี้ คณะกรรมการระหว่างชาติ ได้ตกลง
เรียกชื่อ ไวรัสนี้ว่า เอชไอวี ซึ่งมีชื่อเต็มว่า ฮิวแมน อิมมูโนเดฟิเชีย
นซี ไวรัส (HIV; human immunodeficiency virus) ระยะ
ฟักตัวขึ้นอยู่กับผู้ป่วยแต่ละราย ซึ่งยังไม่ทราบแน่นอน แต่อาจนาน
ตั้งแต่ ๖ เดือน ถึง ๕ ปี แล้วจึงเกิดอาการของโรค
ลักษณะอาการ
เป็นอาการที่เกิดเนื่องจากมีเชื้อโรคอื่นๆ ฉวยโอกาส ในเมื่อร่างกาย
ของผู้นั้นมีภาวะภูมิคุ้มกันโรคลดตำ่าลง อาการแสดงมีหลายรูปแบบ
ด้วยกันคือ อาการทางเดินหายใจ เช่น ปอดอักเสบ อาการทางระบบ
ทางเดินอาหาร เช่น อุจจาระร่วงแบบเป็นๆ หายๆ ติดต่อกัน อาการ
ทางระบบประสาทส่วนกลาง มีไข้ไม่ทราบสาเหตุ นอกจากนี้ ผู้ป่วย
จะมีนำ้าหนักตัวลดลงอย่างรวดเร็ว ซูบผอม อ่อนเพลีย เหนื่อยง่าย
10
และอาจมีต่อมนำ้าเหลืองโต หรือในบางรายอาจพบว่า มีมะเร็งบาง
ชนิดเกิดขึ้นก็ได้ส่วนมากผู้ป่วยด้วยโรคนี้มักจะตายภายใน ๑-๒ ปี
หลังจากเริ่มมีอาการ
การติดต่อ
ตามปกติเชื้อไวรัสของโรคนี้ จะ อาศัยอยู่ในเลือด นำ้าอสุจิ และ
นำ้าลายของผู้ป่วย การติดต่อส่วนใหญ่ติดต่อกันโดยการร่วมเพศกับ
ผู้ป่วย และ พบมากในกลุ่มรักร่วมเพศ (homosexual) นอกจากนี้
อาจติดโรคได้จากการรับเลือดจากผู้ป่วย การใช้เข็ม ฉีดยาที่สกปรก
ร่วมกัน โดยเฉพาะอย่างยิ่งในกลุ่มผู้ติดยาเสพติด ที่ฉีดสารเสพติด
เข้าเส้นเลือด เชื้ออาจเข้าทาง แผลในปาก โดยการจูบกับผู้ป่วย และ
ถ้ามารดาป่วย ก็สามารถถ่ายทอดเชื้อนี้ ไปสู่ทารกในครรภ์ได้
การป้องกันและควบคุมโรค
สำาหรับประชาชนทั่วไป ควรถือปฏิบัติดังต่อไปนี้
๑. หลีกเลี่ยงการร่วมเพศกับผู้ป่วยหรือสงสัยว่าป่วยหรือที่อยู่ใน
แวดวงใกล้ชิดกับผู้ที่ป่วยเป็นโรคเอดส์ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในกลุ่ม
ชายที่มีพฤติกรรม รักร่วมเพศ
๒. หลีกเลี่ยงการใช้เข็มฉีดยาเข้าเส้นร่วมกัน ในกลุ่มผู้ใช้ยาเสพติด
๓. หลีกเลี่ยงการจูบปากกับผู้ที่สงสัยว่าป่วย เป็นโรคเอดส์
๔. ผู้ที่สงสัยว่าเป็นโรคเอดส์ ห้ามบริจาค หรือให้เลือดกับผู้อื่น
แนวทางการดำาเนินงาน
1.กำาหนดหัวข้อที่จะศึกษา
2.แบ่งหน้าที่การทำางาน
3.ปฎิบัติตามแบบแผนการดำาเนินงาน
4.จัดทำารูปเล่มรายงาน
5.ตรวจสอบ
6.แก้ไข
7.นำาเสนอคุณครู
เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้
1.คอมพิวเตอร์
2.ปรแกรม Microsoft World
11
3.โปรแกรม Microsoft Power Point
4.Facebook
5.ข้อมูลสารสนเทศ
งบประมาณ
ประมาณ 40 บาท
ขั้นตอนและแผนดำาเนินงาน
ลำา
ดั
บ
ที่
ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับ
ผิด
ชอบ
1 2 3 4 5 6 7 8 9
1
0
1
1
1
2
1
3
1
4
1
5
1
6
1
7
1 คิดหัวข้อโครง
งาน
2 ศึกษาและ
ค้นคว้าข้อมูล
3 จัดทำาโครง
ร่างงาน
4 ปฏิบัติการ
สร้างโครงงาน
5 ปรับปรุง
ทดสอบ
6 การทำาเอกสาร
รายงาน
7 ประเมินผล
งาน
8 นำาเสนอโครง
งาน
12
ผลที่คาดว่าจะได้รับ (ผลลัพธ์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดการ
ทำาโครงงาน)
คาดว่าจะได้รับความพึงพอใจของผู้ศึกษาโครงงานนี้ โดยเป็น
ไปตามจุดประสงค์ของผู้จัดทำาโครงงาน และลดปัญหาของโรค
ติดต่อทางเพศสัมพันธ์
สถานที่ดำาเนินการ
1.โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย
2.บ้านของผู้จัดทำาโครงงาน
กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง
1.คอมพิวเตอร์
2.สุขศึกษา
3.วิทยาศาสตร์
4.การงานสาขาการออกแบบ
แหล่งอ้างอิง (เอกสาร หรือแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ที่นำามาใช้การทำา
โครงงาน)
โรคติดต่อทางเพศสัมพัธ์.[ระบบออนไลน์].แหล่งที่มา
http://kanchanapisek.or.th/kp6/sub/book/book.php?
book=10&chap=2&page=t10-2-infodetail15.html

More Related Content

What's hot

ที่มาและความสำคัญของโครงงาน
ที่มาและความสำคัญของโครงงานที่มาและความสำคัญของโครงงาน
ที่มาและความสำคัญของโครงงานPhongsak Kongkham
 
โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียน
โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียนโครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียน
โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียนพัน พัน
 
โครงงาน เพาว์เวอร์พอย
โครงงาน เพาว์เวอร์พอยโครงงาน เพาว์เวอร์พอย
โครงงาน เพาว์เวอร์พอยNick Nook
 
เรื่องปัญหาท้องในวัยเรียน
เรื่องปัญหาท้องในวัยเรียนเรื่องปัญหาท้องในวัยเรียน
เรื่องปัญหาท้องในวัยเรียนพัน พัน
 
กิตติกรรมประกาศ บทคัดย่อ โครงงานทดลองวิทยาศาสตร์ 58
กิตติกรรมประกาศ บทคัดย่อ โครงงานทดลองวิทยาศาสตร์  58กิตติกรรมประกาศ บทคัดย่อ โครงงานทดลองวิทยาศาสตร์  58
กิตติกรรมประกาศ บทคัดย่อ โครงงานทดลองวิทยาศาสตร์ 58renusaowiang
 
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7 เลขที่ 4,10
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7 เลขที่ 4,10การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7 เลขที่ 4,10
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7 เลขที่ 4,10mintmint2540
 
04 บทที่ 4-ผลการดำเนินโครงงาน
04 บทที่ 4-ผลการดำเนินโครงงาน04 บทที่ 4-ผลการดำเนินโครงงาน
04 บทที่ 4-ผลการดำเนินโครงงานTanyarad Chansawang
 
ผลกระทบของการขยายอิทธิพลของประเทศในยุโรปที่มีต่อทวีปแอฟริกา
ผลกระทบของการขยายอิทธิพลของประเทศในยุโรปที่มีต่อทวีปแอฟริกาผลกระทบของการขยายอิทธิพลของประเทศในยุโรปที่มีต่อทวีปแอฟริกา
ผลกระทบของการขยายอิทธิพลของประเทศในยุโรปที่มีต่อทวีปแอฟริกาfriend209
 
สำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนของ นักเรียนชั้น ม.4-5
สำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนของนักเรียนชั้น ม.4-5สำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนของนักเรียนชั้น ม.4-5
สำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนของ นักเรียนชั้น ม.4-5kessara61977
 
ถอดความบทประพันธ์เรื่อง โคลงสุภาษิตนฤทุมนาการ
ถอดความบทประพันธ์เรื่อง โคลงสุภาษิตนฤทุมนาการถอดความบทประพันธ์เรื่อง โคลงสุภาษิตนฤทุมนาการ
ถอดความบทประพันธ์เรื่อง โคลงสุภาษิตนฤทุมนาการsupaporn2516mw
 
สรุปหัวใจชายหนุ่ม
สรุปหัวใจชายหนุ่มสรุปหัวใจชายหนุ่ม
สรุปหัวใจชายหนุ่มNattha-aoy Unchai
 
โครงงานวิชาคอมพิวเตอร์ เรื่อง แอปพลิเคชั่นตัดคะแนนนักเรียน
โครงงานวิชาคอมพิวเตอร์ เรื่อง แอปพลิเคชั่นตัดคะแนนนักเรียนโครงงานวิชาคอมพิวเตอร์ เรื่อง แอปพลิเคชั่นตัดคะแนนนักเรียน
โครงงานวิชาคอมพิวเตอร์ เรื่อง แอปพลิเคชั่นตัดคะแนนนักเรียนyudohappyday
 
โครงงานฉบับสมบูรณ์
โครงงานฉบับสมบูรณ์โครงงานฉบับสมบูรณ์
โครงงานฉบับสมบูรณ์paifahnutya
 
รูปเล่มรายงาน
รูปเล่มรายงานรูปเล่มรายงาน
รูปเล่มรายงานZnackiie Rn
 
เทียนหอมสมุนไพรไล่ยุง
เทียนหอมสมุนไพรไล่ยุงเทียนหอมสมุนไพรไล่ยุง
เทียนหอมสมุนไพรไล่ยุงBoomCNC
 

What's hot (20)

Em ball By ACR 58
Em ball By ACR 58Em ball By ACR 58
Em ball By ACR 58
 
Kingdom plantae
Kingdom plantaeKingdom plantae
Kingdom plantae
 
Ppt.เพศ
Ppt.เพศPpt.เพศ
Ppt.เพศ
 
ที่มาและความสำคัญของโครงงาน
ที่มาและความสำคัญของโครงงานที่มาและความสำคัญของโครงงาน
ที่มาและความสำคัญของโครงงาน
 
โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียน
โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียนโครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียน
โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียน
 
โครงงาน เพาว์เวอร์พอย
โครงงาน เพาว์เวอร์พอยโครงงาน เพาว์เวอร์พอย
โครงงาน เพาว์เวอร์พอย
 
เรื่องปัญหาท้องในวัยเรียน
เรื่องปัญหาท้องในวัยเรียนเรื่องปัญหาท้องในวัยเรียน
เรื่องปัญหาท้องในวัยเรียน
 
คำนำ
คำนำคำนำ
คำนำ
 
กิตติกรรมประกาศ บทคัดย่อ โครงงานทดลองวิทยาศาสตร์ 58
กิตติกรรมประกาศ บทคัดย่อ โครงงานทดลองวิทยาศาสตร์  58กิตติกรรมประกาศ บทคัดย่อ โครงงานทดลองวิทยาศาสตร์  58
กิตติกรรมประกาศ บทคัดย่อ โครงงานทดลองวิทยาศาสตร์ 58
 
บทที่ 4.ผลการดำเนินงาน
บทที่ 4.ผลการดำเนินงานบทที่ 4.ผลการดำเนินงาน
บทที่ 4.ผลการดำเนินงาน
 
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7 เลขที่ 4,10
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7 เลขที่ 4,10การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7 เลขที่ 4,10
การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ ม.6.7 เลขที่ 4,10
 
04 บทที่ 4-ผลการดำเนินโครงงาน
04 บทที่ 4-ผลการดำเนินโครงงาน04 บทที่ 4-ผลการดำเนินโครงงาน
04 บทที่ 4-ผลการดำเนินโครงงาน
 
ผลกระทบของการขยายอิทธิพลของประเทศในยุโรปที่มีต่อทวีปแอฟริกา
ผลกระทบของการขยายอิทธิพลของประเทศในยุโรปที่มีต่อทวีปแอฟริกาผลกระทบของการขยายอิทธิพลของประเทศในยุโรปที่มีต่อทวีปแอฟริกา
ผลกระทบของการขยายอิทธิพลของประเทศในยุโรปที่มีต่อทวีปแอฟริกา
 
สำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนของ นักเรียนชั้น ม.4-5
สำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนของนักเรียนชั้น ม.4-5สำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนของนักเรียนชั้น ม.4-5
สำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนของ นักเรียนชั้น ม.4-5
 
ถอดความบทประพันธ์เรื่อง โคลงสุภาษิตนฤทุมนาการ
ถอดความบทประพันธ์เรื่อง โคลงสุภาษิตนฤทุมนาการถอดความบทประพันธ์เรื่อง โคลงสุภาษิตนฤทุมนาการ
ถอดความบทประพันธ์เรื่อง โคลงสุภาษิตนฤทุมนาการ
 
สรุปหัวใจชายหนุ่ม
สรุปหัวใจชายหนุ่มสรุปหัวใจชายหนุ่ม
สรุปหัวใจชายหนุ่ม
 
โครงงานวิชาคอมพิวเตอร์ เรื่อง แอปพลิเคชั่นตัดคะแนนนักเรียน
โครงงานวิชาคอมพิวเตอร์ เรื่อง แอปพลิเคชั่นตัดคะแนนนักเรียนโครงงานวิชาคอมพิวเตอร์ เรื่อง แอปพลิเคชั่นตัดคะแนนนักเรียน
โครงงานวิชาคอมพิวเตอร์ เรื่อง แอปพลิเคชั่นตัดคะแนนนักเรียน
 
โครงงานฉบับสมบูรณ์
โครงงานฉบับสมบูรณ์โครงงานฉบับสมบูรณ์
โครงงานฉบับสมบูรณ์
 
รูปเล่มรายงาน
รูปเล่มรายงานรูปเล่มรายงาน
รูปเล่มรายงาน
 
เทียนหอมสมุนไพรไล่ยุง
เทียนหอมสมุนไพรไล่ยุงเทียนหอมสมุนไพรไล่ยุง
เทียนหอมสมุนไพรไล่ยุง
 

Similar to โรคติดต่อทางเพสสัมพันธุ์

โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์ssuserb746cf
 
ใบงานที่ 5
ใบงานที่ 5ใบงานที่ 5
ใบงานที่ 5Ffim Radchasan
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์ssuserb746cf
 
โครงงาน แพ้ภูมิตัวเอง ศัตตรูมืดในร่างกายคุณ
โครงงาน แพ้ภูมิตัวเอง ศัตตรูมืดในร่างกายคุณโครงงาน แพ้ภูมิตัวเอง ศัตตรูมืดในร่างกายคุณ
โครงงาน แพ้ภูมิตัวเอง ศัตตรูมืดในร่างกายคุณKnooknickk Pinpukvan
 
Philophobia
PhilophobiaPhilophobia
PhilophobiaSuppamas
 
Computer project-2.pdf
Computer project-2.pdfComputer project-2.pdf
Computer project-2.pdfSuppamas
 
โครงงานไวรัสอีโบลา
โครงงานไวรัสอีโบลาโครงงานไวรัสอีโบลา
โครงงานไวรัสอีโบลาysmhcnboice
 
Computer project-2.pdf
Computer project-2.pdfComputer project-2.pdf
Computer project-2.pdfSuppamas
 
ใบงานคอม
ใบงานคอมใบงานคอม
ใบงานคอมiamauummm
 

Similar to โรคติดต่อทางเพสสัมพันธุ์ (20)

AT1AT1
AT1AT1AT1AT1
AT1AT1
 
AT1AT1
AT1AT1AT1AT1
AT1AT1
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
AT1AT1
AT1AT1AT1AT1
AT1AT1
 
Final project
Final projectFinal project
Final project
 
ใบงานที่ 5
ใบงานที่ 5ใบงานที่ 5
ใบงานที่ 5
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
งาน
งานงาน
งาน
 
งาน2
งาน2งาน2
งาน2
 
โครงงาน แพ้ภูมิตัวเอง ศัตตรูมืดในร่างกายคุณ
โครงงาน แพ้ภูมิตัวเอง ศัตตรูมืดในร่างกายคุณโครงงาน แพ้ภูมิตัวเอง ศัตตรูมืดในร่างกายคุณ
โครงงาน แพ้ภูมิตัวเอง ศัตตรูมืดในร่างกายคุณ
 
2559 project 612-04_08
2559 project 612-04_082559 project 612-04_08
2559 project 612-04_08
 
2559 project 612-04_08
2559 project 612-04_082559 project 612-04_08
2559 project 612-04_08
 
2561 project -2
2561 project -22561 project -2
2561 project -2
 
Philophobia
PhilophobiaPhilophobia
Philophobia
 
2562 final-project social-addict
2562 final-project social-addict2562 final-project social-addict
2562 final-project social-addict
 
Computer project-2.pdf
Computer project-2.pdfComputer project-2.pdf
Computer project-2.pdf
 
โครงงานไวรัสอีโบลา
โครงงานไวรัสอีโบลาโครงงานไวรัสอีโบลา
โครงงานไวรัสอีโบลา
 
Computer project-2.pdf
Computer project-2.pdfComputer project-2.pdf
Computer project-2.pdf
 
ใบงานคอม
ใบงานคอมใบงานคอม
ใบงานคอม
 
Beopgjeopf
BeopgjeopfBeopgjeopf
Beopgjeopf
 

More from Pack Matapong

กิจกรรมที่ 2-ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่ 2-ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์กิจกรรมที่ 2-ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่ 2-ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์Pack Matapong
 
7วิชาสามัญ เคมี เฉลย ขยาย
7วิชาสามัญ เคมี เฉลย ขยาย7วิชาสามัญ เคมี เฉลย ขยาย
7วิชาสามัญ เคมี เฉลย ขยายPack Matapong
 
ค่านิยมหลักของคนไทย 12 ประการ ตามนโยบายของ คสช
ค่านิยมหลักของคนไทย 12 ประการ ตามนโยบายของ คสชค่านิยมหลักของคนไทย 12 ประการ ตามนโยบายของ คสช
ค่านิยมหลักของคนไทย 12 ประการ ตามนโยบายของ คสชPack Matapong
 
ใบงานสำรวจตนเอง M6
ใบงานสำรวจตนเอง M6ใบงานสำรวจตนเอง M6
ใบงานสำรวจตนเอง M6Pack Matapong
 

More from Pack Matapong (14)

กิจกรรมที่ 2-ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่ 2-ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์กิจกรรมที่ 2-ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่ 2-ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์
 
เฉลย M ath
เฉลย M athเฉลย M ath
เฉลย M ath
 
7วิชาสามัญ เคมี เฉลย ขยาย
7วิชาสามัญ เคมี เฉลย ขยาย7วิชาสามัญ เคมี เฉลย ขยาย
7วิชาสามัญ เคมี เฉลย ขยาย
 
Eng
EngEng
Eng
 
Social
SocialSocial
Social
 
Thai
ThaiThai
Thai
 
Physic
PhysicPhysic
Physic
 
Chem test
Chem testChem test
Chem test
 
Bio
BioBio
Bio
 
Math
MathMath
Math
 
ค่านิยมหลักของคนไทย 12 ประการ ตามนโยบายของ คสช
ค่านิยมหลักของคนไทย 12 ประการ ตามนโยบายของ คสชค่านิยมหลักของคนไทย 12 ประการ ตามนโยบายของ คสช
ค่านิยมหลักของคนไทย 12 ประการ ตามนโยบายของ คสช
 
พรบ
พรบพรบ
พรบ
 
What is blogger
What is bloggerWhat is blogger
What is blogger
 
ใบงานสำรวจตนเอง M6
ใบงานสำรวจตนเอง M6ใบงานสำรวจตนเอง M6
ใบงานสำรวจตนเอง M6
 

โรคติดต่อทางเพสสัมพันธุ์

  • 1. 1 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ รหัสวิชา ง 33202 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการ สื่อสาร 6 ปีการศึกษา 2558 ชื่อโครงงาน โรคติดต่อทางเพสสัมพันธุ์ ชื่อผู้ทำาโครงงาน นายเมธาพงศ์ หล้าแก้ว เลขที่ 27 ชั้น 6 ห้อง 9 นางสาวสิริวิมล ดวงคำา เลขที่ 29 ชั้น 6 ห้อง 9 ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดำาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2558 โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่ สำานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34 ใบงาน การจัดทำาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
  • 2. 2 1.นายเมธาพงศ์ หล้าแก้ว เลขที่ 27 2.นางสาวสิริวิมล ดวงคำา เลขที่ 29 คำาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตาม หัวข้อต่อไปนี้ ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย) โรคติดต่อทางเพสสัมพันธุ์ ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ) sexual tranmitted disease ประเภทโครงงาน โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา (Educational Media) ชื่อผู้ทำาโครงงาน นายเมธาพงศ์ หล้าแก้ว ชื่อที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดำาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2558 ที่มาและความสำาคัญของโครงงาน (อธิบายถึงที่มา แนวคิด และเหตุผล ของการทำาโครงงาน) โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์เริ่มจะพบมากขึ้นในวัยรุ่นซึ่งจะมีเพศ สัมพันธ์ก่อนการแต่งงาน โดยที่ขาดความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับ การ ป้องกันตัวเองทั้งการตั้งครรภ์และโรคติดต่อ การที่เรามีความรู้เกี่ยว กับการติดต่อของโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ อาการของโรค การ รักษา จะเป็นขั้นแรกของการป้องกันโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ได้ เมื่อเกิดการติดโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์แล้วก็ควรเรียนรู้ที่จะ ปฏิบัติตนอย่างถูกต้อง เพื่อให้โรคเหล่านั้นหาย และไม่มีการระบาด ของโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ ซึ่งปัจจุบันนี้โรคทั้งหมดไม่ได้น่ากลัว แต่อย่างใด เพราะมีเทคโนโลยีที่ก้าวหน้าและทันสมัยในการรักษา โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์และลดการระบาดของโรตติดต่อทางเพศ สัมพันธ์ กระผมได้พัฒนาสื่อเพื่อการศึกษาเพื่อให้ผู้ที่เกิดการติดเชื้อและ ผู้ที่กำาลังจะมีเพศสัมพัน์ได้ตระหนักถึงโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
  • 3. 3 และได้ให้ความรู้ในการป้องกันและการรักษาโรคต่างๆอย่างถูกต้อง และเหมาะสม วัตถุประสงค์ (สิ่งที่ต้องการในการทำาโครงงาน ระบุเป็นข้อ) 1.เพื่อให้ความรู้เรื่องโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ 2.ป้องกันและรักษาโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ได้ 3.ลดอัตราการเพิ่มของโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ 4.ลดอัตราการเสียชีวิตจากโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ 5.ศึกษาแนวโน้มของผู้ที่เสี่ยงต่อการติดโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ ขอบเขตโครงงาน (คุณลักษณะ ขอบเขต เงื่อนไขและข้อจำากัด ของการทำาโครงงาน) ศึกษาโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ ลักษณะอาการของโรค แนวทางการป้องกัน วิธีการรักษาและการปฎิบัติตัวหลังได้รับเชื้อ ของโรคติดต่อทางเหศสัมพัธ์ โดยจะบอกถึงโรคที่เกิดขึ้นในเพศชาย เพศหญิงหรือเพศที่สถานะไม่ตรงตามกำาเนิด โดยจะอธิบายอย่าง ละเอียดและยกภาพประกอบ ซึ่งจะยกตัวอย่างโรคที่สำาคัญมาดังนี้ โรคซิฟิลิส โรคหนองใน โรคหนองในเทียม และกลุ่มอาการภาวะ ภูมิคุ้มกันเสื่อม (โรคเอดส์) หลักการและทฤษฎี (ความรู้ หลักการ หรือทฤษฎีที่สนับสนุนการ ทำาโครงงาน) โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ เดิมที่เดียวเรารู้จักโรคกลุ่มนี้ในนามของกามโรค หรือในภาษา อังกฤษว่า venereal diseases หรือ VD แต่ในปัจจุบันนี้ ได้มีการ ศึกษาค้นคว้า และวิจัยกันอย่างกว้างขวาง ทำาให้ได้ข้อมูลเพิ่มเติม มากขึ้นว่า ยังมีโรคอื่นที่ติดต่อกันได้ โดยการร่วมเพศ และโดยเพศ สัมพันธ์ในลักษณะอื่นๆ ดังนั้น เพื่อให้ครอบคลุมโรคต่างๆ ให้กว้าง ขวางออกไปอีก ชื่อที่ใช้เรียกกามโรคในภาษา อังกฤษจึงได้เปลี่ยน ไ ป จ า ก "venereal diseases ห รื อ VD" เ ป็ น "sexually transmitted diseases" หรือ เรียกย่อๆ ว่า STD ฉะนั้น จึงขอ เรียกชื่อโรคกลุ่มนี้ ในภาษาไทยว่า "โรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์"
  • 4. 4 โรคซิฟิลิส เป็นโรคติดต่อที่มีความรุนแรงมาก และอันตรายสูงโรคหนึ่ง โรค ซิฟิลิสเป็นได้ทุกแห่งของร่างกาย ไม่เฉพาะแต่ที่อวัยวะสืบพันธุ์ เท่านั้น แม้แต่ตามลิ้น มือ แขน ขา รวมทั้งระบบประสาท หัวใจ เส้นเลือด ตา กระดูก ฯลฯ ในบางรายอาจไม่รู้สึกว่า มีอาการอย่าง ใดตั้งแต่แรก และกว่าจะรู้ว่ามีอาการ โรคนั้นได้กำาเริบมากแล้วก็ได้ เชื้อต้นเหตุ โรคซิฟิลิสเกิดจากบัคเตรีที่มี ขนาดใหญ่ มีรูปร่างคล้ายกับเกลียว สว่าน ชอบเคลื่อน ไหวไปมา สามารถไชเนื้อส่วนที่อ่อนๆได้ โดย เฉพาะ จะเข้าสู่ร่างกายตรงที่เป็นแผลถลอก แม้แต่เป็นแผล ถลอก เพียงเล็กน้อย เชื้อนี้มีชื่อว่า ทรีโพนีมา พัลลิดุม (Treponema pallidum) ระยะฟักตัวประมาณ ๑๐-๒๐ วัน หรืออาจ นานถึง ๓ เดือน ลักษณะอาการ ในขั้นแรกตรงบริเวณที่ได้รับเชื้อ ซึ่งอาจจะเป็นที่อวัยวะสืบพันธุ์ หรือที่อื่นๆ เช่น ในปาก จะมีตุ่มเล็กๆ ขนาดเท่าหัวเข็มหมุด หรือโตก ว่านั้นเล็กน้อย ซึ่งต่อไปจะแตกกลายเป็นแผลกว้างออก ขอบแผล เรียบและแข็ง ในระยะนี้เรียกว่า "ซิฟิลิสระยะที่ ๑" แผลจะไม่มี อาการคันหรือเจ็บแต่อย่างใด แม้ปล่อยทิ้งไว้ โดยไม่รักษา แผลก็จะ หายเองได้ แต่เชื้อซิฟิลิสนั้นยังคงอยู่ในร่างกาย ตั้งแต่เมื่อเริ่มเป็น แผล เชื้อจะเข้าไปยังต่อมนำ้าเหลืองบริเวณขาหนีบ แล้วต่อไปจะเข้า สู่กระแสเลือด และกระจายไปตามอวัยวะต่างๆ ของร่างกาย ในบาง รายจะปรากฏอาการผื่นขึ้นตามตัวที่เรียกกันว่า "ออกดอก" ซึ่งเป็น "ระยะที่ ๒ ของซิฟิลิส" ผื่นนี้มีลักษณะต่างกับผื่นลมพิษ หรือการแพ้ สารต่างๆ ก็คือ ไม่มีอาการคัน และผื่นจะปรากฏที่ฝ่ามือด้วย แต่บาง ครั้งอาจจะไม่มีผื่นเลยก็ได้ แต่จะเกิดอาการอย่างอื่น เช่น เจ็บคอ ปวดเมื่อยตามข้อ ผมร่วง ฯลฯ เมื่อโรคเข้าสู่ระยะที่ ๒ การตรวจเลือดจะพบการเปลี่ยนแปลง ที่ แสดงปฏิกิริยาให้ผลบวกของนำ้าเหลืองอย่างสูงมาก ถ้ายังปล่อยปละ ละเลยทิ้งไว้ ไม่ไปพบแพทย์ รับการตรวจรักษาอย่างถูกต้อง โรคจะ สงบอยู่ระยะหนึ่ง ระยะนี้ เชื้อโรคจะหลบอยู่ตามอวัยวะต่างๆ แต่ก็ยัง
  • 5. 5 ไม่ปรากฏอาการ จะทราบผลได้จากการตรวจเลือดเท่านั้น อาจกิน เวลาหลายปี โรคจึงจะเข้าสู่ "ระยะที่ ๓" อันเป็นระยะสุดท้ายของ โรค บางครั้งเรียกว่า "ซิฟิลิสระยะหลัง" ในระยะนี้ผู้ป่วยก็อาจจะต้อง ทุกข์ทรมาน ด้วยอาการของหลายระบบของร่างกาย เป็นต้นว่า บน ผิวหนังจะมีก้อนนูนแตกเป็นแผลเหวอะหวะ ซึ่งจะกลายเป็นแผลเป็น ทำาให้เสียโฉม จมูกโหว่ กระดูกผุ อาจตาบอด หูหนวก สติปัญญา เสื่อม สมองพิการ จนถึงเป็นอัมพาต หรืออาจถึงกับเป็นบ้าก็ได้ ยิ่ง กว่านั้น อาจจะเป็นอันตรายถึงชีวิต ถ้าเกิดไปเป็นที่หัวใจ ทำาให้ลิ้น หัวใจรั่ว หัวใจวาย เส้นเลือดใหญ่ที่ออกจากหัวใจโป่งพอง และตาย ในที่สุด นอกจากนี้ ในสตรีที่ตั้งครรภ์ ถ้าเป็นซิฟิลิส เชื้อซิฟิลิสจะ ถ่ายทอดผ่านทางรก ทำาให้ทารกป่วยด้วยโรคนี้ถึงตายในครรภ์ หรือถ้าคลอดออกมาแล้ว อาจจะพิการตลอดชีวิตก็ได้ เรียกว่า ซิฟิลิสแต่กำาเนิด การติดต่อโรคนี้สามารถติดต่อได้โดยทางใดทางหนึ่ง คือ ๑. โดยการร่วมประเวณีกับผู้ที่กำาลังเป็น ซิฟิลิสระยะแพร่เชื้อ คือ ระยะที่ ๑ สำาหรับระยที่ ๒ ถ้าถูกต้องกับนำ้าเหลืองที่ผื่นผิวหนัง (ออกดอก) ก็จะติด โรคได้เช่นกัน ๒. เป็นมาแต่กำาเนิด นั่นคือ เมื่อหญิง ที่กำาลังตั้งครรภ์เป็นซิฟิลิส ก็ สามารถแพร่เชื้อมาให้ทารก ในครรภ์โดยผ่านทางรก ๓. โดยเหตุบังเอิญ เช่น สัมผัสกับแผล ซิฟิลิส การป้องกันและควบคุมโรค โรคนี้เกิดขึ้นจาก การสำาส่อนทางเพศ ในปัจจุบันยังไม่มีวัคซีนที่จะ ใช้ป้องกันโรค วิธีป้องกันที่ให้ผลก็คือ ละเว้นพฤติกรรม สำาส่อนทาง เพศ นอกจากนี้จะต้องมีระบบติดตามนำา ผู้ป่วยทั้งที่เป็นหญิงโสเภณี และหญิงบริการรูปอื่นๆ หรือ แม้แต่สามัญชน ซึ่งผู้ป่วยเป็นโรคนำา มารักษาให้หายขาด ถุงยางอนามัยเครื่องมือที่ช่วยป้องกันและควบคุมโรคติดต่อทางเพศ สัมพันธ์ ถุงยางอนามัย เครื่องมือที่ช่วยป้องกัน และควบคุมโรคติดต่อทาง เพศสัมพันธ์ ในกลุ่มชนที่มีความสำาส่อนทางเพศ ควรจะต้อง ให้มี การป้องกันโดยใช้ถุงยางอนามัยเป็นเครื่องป้องกัน โรคหนองใน
  • 6. 6 บางที่เรียกกันว่า โกโนร์เรีย หรือโรคหนองใน เชื้อต้นเหตุ เ ป็ น บั ค เ ต รี มี ชื่ อ ว่ า ไ น ซ์ ซี เ รี ย โ ก โ น ร์ เ รี ย (Neisseria gonorrhoea) ระยะฟักตัวใช้เวลาประมาณ ๒-๓ วัน หรือ อาจ ยาวนานถึง ๑-๒ สัปดาห์ก็ได้ ลักษณะอาการ โรคนี้เป็นกับบุคคลทั้งสองเพศ แต่ลักษณะจะแตกต่างกันดังนี้ อาการในผู้ชาย จะมีอาการที่รุนแรงคือ เริ่มด้วยอาการขัดเบา เจ็บ แสบท่อปัสสาวะทุกครั้งที่ถ่ายปัสสาวะ ที่ปลายอวัยวะเพศ ตรง ปากท่อปัสสาวะจะอักเสบแดง และจะมีหนองไหลเยิ้ม บางครั้งจะมี หนองข้นจนคล้ายเส้นขนมจีน รายที่เป็นมากๆ กางเกงในจะเปรอะ เปื้อนไปด้วยหนอง หนองจะไหลอยู่ประมาณ ๑-๒ สัปดาห์ ถ้าไม่ได้ รับการรักษา หนองก็จะเริ่มลดน้อยลง แต่อาการอักเสบเวลาถ่าย ปัสสาวะก็ยังคงอยู่ จะมีอาการคันภายในท่อปัสสาวะ ถ้าปล่อยให้ โรคดำาเนินอยู่เช่นนี้จะกลายเป็นหนองในเรื้อรัง ต่อมนำ้าเหลืองจะ บวมเจ็บ อาจมีอาการปวดตามข้อ บางรายจะมีผื่นคันตามตัวด้วย โรคอาจลุกลามต่อไป ทำาให้เกิดต่อมลูกหมากอักเสบ ท่ออสุจิตีบตัน และทำาให้เป็นหมันได้ แผนภาพแสดงอวัยวะเพศชายด้านข้าง แผนภาพแสดงอวัยวะเพศชายด้านข้าง อาการในผู้หญิง อาจจะไม่มีอาการอะไรเลย หรือมีแต่เพียงอาการ แสบเวลาปัสสาวะ บางรายอาจจะมีหนองไหล ซึ่งผู้ป่วยมักจะให้ ประวัติว่า ตกขาว บางรายจะไม่มีหนองปรากฏให้เห็นเลย บางราย อาการตกขาวมีมาก จนต้องใช้ผ้าอนามัยก็มี ส่วนใหญ่อาการในผู้ หญิงจะน้อยกว่าในผู้ชายมาก จนทำาให้บางคนสำาคัญผิดว่า ไม่ได้ เป็นโรค ซึ่งก่อให้เกิดอันตรายในการแพร่เชื้อต่อไป โดยเฉพาะใน หญิงบริการ เนื่องจากมีอาการน้อย จึงมักไม่ใคร่รักษา โรคจึงเรื้อรัง ลุกลามต่อไป ทำาให้เกิดอาการอักเสบในอุ้งเชิงกราน ทำาให้ปีกมดลูก อักเสบ มดลูกอักเสบ ปวดมดลูก ช่องท้องอักเสบ รังไข่ อักเสบ ปวด เมื่อยหลัง ประจำาเดือนมาไม่ปกติ มีไข้ ทำาให้เกิดภาวะแทรกซ้อนต่อ ไปอีก คือ ท่อรังไข่ตีบตัน เกิดการตั้งครรภ์นอกมดลูก หรือเป็นหมัน ในที่สุด ถ้าเกิดมีการอักเสบในอุ้งเชิงกราน จะมีการตกขาว ซึ่งมี
  • 7. 7 กลิ่นเหม็นร่วมด้วย มีเลือดปน มีไข้ และมักจะมีอาการใกล้ๆ กับระยะ มีประจำาเดือน ชาวบ้านจึงเรียกกันว่า ไข้ทับระดู แผนภาพแสดงอวัยวะเพศหญิงด้านข้าง แผนภาพแสดงอวัยวะเพศหญิงด้านข้าง โรคหนองในอาจก่อให้เกิดภาวะแทรกซ้อนได้ หลายประการ ได้แก่ ๑. โรคแพร่กระจายโดยตรงจากแหล่งที่เป็น โรคดังได้กล่าวไว้แล้ว คือ จากอวัยวะเพศไปทำาให้ อุ้งเชิงกรานอักเสบ ปีกมดลูกอักเสบ ต่อมบาร์โทลินใน ช่องคลอดอักเสบ และท่อนำาอสุจิอักเสบ ๒. โรคแพร่ออกไปโดยทางอ้อม เช่น เอา มือเปื้อนหนองไปเช็ดตา หรือใช้ผ้าขาวม้าไปเช็ดตา ตนเอง ทำาให้ตาอักเสบเป็นหนองได้ ๓. โรคแพร่กระจายไปตามกระแสเลือด ทำาให้เกิดข้ออักเสบ มีผื่น ตามผิวหนัง ลิ้นหัวใจอักเสบ เยื่อหุ้มสมองอักเสบ กล้ามเนื้อหัวใจ อักเสบ และตับอักเสบ ๔. โรคติดไปยังทารกในครรภ์ ติดเชื้อตั้ง แต่อยู่ในครรภ์ ทำาให้ คลอดก่อนกำาหนด บางครั้งจะ ติดโรคขณะคลอดผ่านช่องคลอดที่มี เชื้อโรค ทำาให้ตาอักเสบเป็นหนอง โรคหนองในในเด็กหญิง มักจะเกิดแก่เด็กหญิง วัยอนุบาล วัยเรียน ชั้นประถม อายุประมาณ ๓-๕ ขวบ จะมีอาการหนองไหลออกมา จากช่องคลอด มี อาการคัน พ่อแม่จะสังเกตว่าเด็กคันอวัยวะเพศเส มอๆ ที่กางเกงในจะมีหนองติด เด็กพวกนี้มักติดเชื้อหนองจากผ้า ขาวม้า ผ้าปูที่นอน โถส้วม หรือใช้มือที่เปื้อนเชื้อไปเกาอวัยวะเพศ ในต่างประเทศโดยเฉพาะพวกผิวขาว มักจะเกิดจากการร่วมเพศ ก่อนถึงวัยอัน ควร นอกจากโรคจะเกิดแก่อวัยวะเพศแล้ว ปัจจุบันพบ ว่า มีอาการคออักเสบ อันเกิดจากเชื้อหนองในบ่อยขึ้น เพราะมีเพศ สัมพันธ์แบบใช้ปาก และบางรายมีอาการ อักเสบของทวารหนัก ซึ่ง เป็นผลจากเพศสัมพันธุ์ทาง ทวารหนัก การติดต่อ ที่สำาคัญคือ การร่วมเพศโดยตรง และการกระทำาเพศ สัมพันธ์โดยวิธีอื่นๆ การสัมผัสกับ เชื้อโรคโดยทางอ้อม ได้แก่ มือ เปื้อนเชื้อ ใช้เสื้อผ้า ร่วมกัน โดยเฉพาะอย่างยิ่งกางเกงใน นั่ง โถส้วมตาม หลังผู้ที่เป็นโรคเพิ่งใช้ส้วมไปใหม่ๆ เหล่านี้เป็นต้น การป้องกันและควบคุมโรค
  • 8. 8 รักษาอนามัยส่วน บุคคล ละเว้นการสำาส่อนทางเพศ ใช้ถุงยาง อนามัย ในการร่วมเพศกับหญิงบริการ ไม่กระทำาเพศสัมพันธ์ที่ ผิด ปกติ หากมีอาการอย่างหนึ่งอย่างใดที่สงสัย แม้แต่ เพียงเล็กน้อย ให้รีบไปรับการตรวจวินิจฉัยโรคโดยด่วน โรคหนองในเทียม เชื้อต้นเหตุ เชื้อที่เป็นสาเหตุสำา คัญบ่อยที่สุด คือ คลามีเดีย ทราโคมาทิส (Chlamydia trachomatis) นอกจากนี้ ยังมีเชื้อยูเรียพลาสมายู เรียไลทิคุม (Urea- plasma urealyticum) ระยะฟักตัวนาน ประมาณ ๗-๑๔ วัน ลักษณะอาการ ผู้ป่วยมักจะมีอาการแสบหรือรู้สึกขัดเวลาถ่ายปัสสาวะ และมีหนอง ใสๆ บางรายมีอาการคันในท่อปัสสาวะ หรือมีรอยแดงๆ บริเวณ ปากท่อปัสสาวะ มักมีหนองไหลในตอนเช้าๆ ในบางราย อาจมีเชื้อ อยู่ โดยไม่มีอาการก็ได้ ผู้ป่วยที่ติดเชื้อคลามีเดีย บางคนอาจมี อาการแทรกซ้อน เช่น เกิดการอักเสบลุกลามไปยังต่อมลูกหมาก ถุง อัณฑะ ทำาให้เกิดเป็นหมันตามมา ในหญิงที่ติดเชื้อนี้มักไม่แสดง อาการชัดเจน บางรายจะมีตกขาวมาก ตรวจพบปากมดลูกอักเสบ เชื้ออาจลุกลามเข้าสู่อวัยวะภายใน เกิดการอักเสบของอวัยวะ สืบพันธุ์ในช่องเชิงกราน ทำาให้เกิดอาการไข้ ปวดท้องน้อย ท่อ รังไข่อักเสบตีบตัน เกิดการตั้งครรภ์นอกมดลูก หรือเป็นหมัน นอกจากนี้ ถ้ามารดามีเชื้อที่บริเวณปากมดลูก ทารกที่คลอดผ่าน ออกมาจะได้รับเชื้อเข้าตา ทำาให้เกิดตาอักเสบในระยะแรกคลอด และถ้าทารกที่ตาอักเสบนี้ ไม่ได้รับการรักษาที่ถูกต้อง จะเกิดโรคกับ อวัยวะระบบอื่นได้ ที่สำาคัญ คือ ปวดบวม การติดต่อ ติดต่อทางเพศสัมพันธ์ นอกจาก นั้น ทารกแรกเกิดอาจได้รับการติด เชื้อจากมารดาก็ได้ การป้องกันและควบคุมโรค
  • 9. 9 เมื่อพบผู้ป่วย จำาเป็นต้องให้ยารักษาจนครบกำาหนด และแนะนำาให้ นำา คู่สมรสมาตรวจรักษาด้วย ในระยะที่มีอาการควรงดการ ร่วมเพศ ไม่ควรประพฤติสำาส่อนทางเพศ และการใช้ ถุงยางอนามัยจะช่วย ป้องกันโรคได้ กลุ่มอาการภูมิคุ้มกันเสื่อมหรือโรคเอดส์ โรคเอดส์ (AIDS) เป็นคำา ในภาษาอังกฤษซึ่งย่อ มาจาก acquired immunity deficiency syndrome หมายถึง กลุ่ม อาการที่มีการเสื่อมลงของการตอบสนองทางภูมิคุ้มกัน ที่มิได้เป็น โดยกำาเนิด แต่เกิดจากการติดเชื้อไวรัสชนิดหนึ่ง อันเป็นเหตุให้ ร่างกายติดเชื้อโรคต่างๆ ที่เป็นเชื้อจำาพวกฉวยโอกาสได้ง่าย เป็น โรคติดเชื้อชนิดใหม่ ซึ่งเพิ่งมีรายงานเป็นครั้งแรกในสหรัฐอเมริกา เมื่อ พ.ศ. ๒๕๒๔ เชื้อต้นเหตุ คือ เชื้อไวรัสที่เดิมเรียกว่า เอชที- แอลวี ๓ (HTLV III) มีชื่อเต็มว่า ฮิวแมน ที ลิมโฟทรอพิก ไวรัส ๓ (human T lymphotropic virus III) เชื้อไวรัสนี้มีชื่อพ้องว่า ลิมฟาดีโนพาที แอสโซซิเอเทด ไวรัส (lymphadenopathy associated virus หรือ LAV) เชื้อนี้จะไปทำาลายเซลล์เม็ดเลือดขาวชนิด หนึ่งที่มีชื่อว่า ทีลิมโฟไซต์ (T lymphocyte) และผลจากการที่ทีลิมโฟโซต์ของผู้ ป่วย ถูกทำาลาย ทำาให้ภาวะภูมิคุ้มกันโรคชนิดหนึ่งที่อาศัยเซลล์ของ ร่างกายเสื่อมไป ปัจจุบันนี้ คณะกรรมการระหว่างชาติ ได้ตกลง เรียกชื่อ ไวรัสนี้ว่า เอชไอวี ซึ่งมีชื่อเต็มว่า ฮิวแมน อิมมูโนเดฟิเชีย นซี ไวรัส (HIV; human immunodeficiency virus) ระยะ ฟักตัวขึ้นอยู่กับผู้ป่วยแต่ละราย ซึ่งยังไม่ทราบแน่นอน แต่อาจนาน ตั้งแต่ ๖ เดือน ถึง ๕ ปี แล้วจึงเกิดอาการของโรค ลักษณะอาการ เป็นอาการที่เกิดเนื่องจากมีเชื้อโรคอื่นๆ ฉวยโอกาส ในเมื่อร่างกาย ของผู้นั้นมีภาวะภูมิคุ้มกันโรคลดตำ่าลง อาการแสดงมีหลายรูปแบบ ด้วยกันคือ อาการทางเดินหายใจ เช่น ปอดอักเสบ อาการทางระบบ ทางเดินอาหาร เช่น อุจจาระร่วงแบบเป็นๆ หายๆ ติดต่อกัน อาการ ทางระบบประสาทส่วนกลาง มีไข้ไม่ทราบสาเหตุ นอกจากนี้ ผู้ป่วย จะมีนำ้าหนักตัวลดลงอย่างรวดเร็ว ซูบผอม อ่อนเพลีย เหนื่อยง่าย
  • 10. 10 และอาจมีต่อมนำ้าเหลืองโต หรือในบางรายอาจพบว่า มีมะเร็งบาง ชนิดเกิดขึ้นก็ได้ส่วนมากผู้ป่วยด้วยโรคนี้มักจะตายภายใน ๑-๒ ปี หลังจากเริ่มมีอาการ การติดต่อ ตามปกติเชื้อไวรัสของโรคนี้ จะ อาศัยอยู่ในเลือด นำ้าอสุจิ และ นำ้าลายของผู้ป่วย การติดต่อส่วนใหญ่ติดต่อกันโดยการร่วมเพศกับ ผู้ป่วย และ พบมากในกลุ่มรักร่วมเพศ (homosexual) นอกจากนี้ อาจติดโรคได้จากการรับเลือดจากผู้ป่วย การใช้เข็ม ฉีดยาที่สกปรก ร่วมกัน โดยเฉพาะอย่างยิ่งในกลุ่มผู้ติดยาเสพติด ที่ฉีดสารเสพติด เข้าเส้นเลือด เชื้ออาจเข้าทาง แผลในปาก โดยการจูบกับผู้ป่วย และ ถ้ามารดาป่วย ก็สามารถถ่ายทอดเชื้อนี้ ไปสู่ทารกในครรภ์ได้ การป้องกันและควบคุมโรค สำาหรับประชาชนทั่วไป ควรถือปฏิบัติดังต่อไปนี้ ๑. หลีกเลี่ยงการร่วมเพศกับผู้ป่วยหรือสงสัยว่าป่วยหรือที่อยู่ใน แวดวงใกล้ชิดกับผู้ที่ป่วยเป็นโรคเอดส์ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในกลุ่ม ชายที่มีพฤติกรรม รักร่วมเพศ ๒. หลีกเลี่ยงการใช้เข็มฉีดยาเข้าเส้นร่วมกัน ในกลุ่มผู้ใช้ยาเสพติด ๓. หลีกเลี่ยงการจูบปากกับผู้ที่สงสัยว่าป่วย เป็นโรคเอดส์ ๔. ผู้ที่สงสัยว่าเป็นโรคเอดส์ ห้ามบริจาค หรือให้เลือดกับผู้อื่น แนวทางการดำาเนินงาน 1.กำาหนดหัวข้อที่จะศึกษา 2.แบ่งหน้าที่การทำางาน 3.ปฎิบัติตามแบบแผนการดำาเนินงาน 4.จัดทำารูปเล่มรายงาน 5.ตรวจสอบ 6.แก้ไข 7.นำาเสนอคุณครู เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้ 1.คอมพิวเตอร์ 2.ปรแกรม Microsoft World
  • 11. 11 3.โปรแกรม Microsoft Power Point 4.Facebook 5.ข้อมูลสารสนเทศ งบประมาณ ประมาณ 40 บาท ขั้นตอนและแผนดำาเนินงาน ลำา ดั บ ที่ ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับ ผิด ชอบ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 1 0 1 1 1 2 1 3 1 4 1 5 1 6 1 7 1 คิดหัวข้อโครง งาน 2 ศึกษาและ ค้นคว้าข้อมูล 3 จัดทำาโครง ร่างงาน 4 ปฏิบัติการ สร้างโครงงาน 5 ปรับปรุง ทดสอบ 6 การทำาเอกสาร รายงาน 7 ประเมินผล งาน 8 นำาเสนอโครง งาน
  • 12. 12 ผลที่คาดว่าจะได้รับ (ผลลัพธ์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดการ ทำาโครงงาน) คาดว่าจะได้รับความพึงพอใจของผู้ศึกษาโครงงานนี้ โดยเป็น ไปตามจุดประสงค์ของผู้จัดทำาโครงงาน และลดปัญหาของโรค ติดต่อทางเพศสัมพันธ์ สถานที่ดำาเนินการ 1.โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย 2.บ้านของผู้จัดทำาโครงงาน กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง 1.คอมพิวเตอร์ 2.สุขศึกษา 3.วิทยาศาสตร์ 4.การงานสาขาการออกแบบ แหล่งอ้างอิง (เอกสาร หรือแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ที่นำามาใช้การทำา โครงงาน) โรคติดต่อทางเพศสัมพัธ์.[ระบบออนไลน์].แหล่งที่มา http://kanchanapisek.or.th/kp6/sub/book/book.php? book=10&chap=2&page=t10-2-infodetail15.html