SlideShare a Scribd company logo
1 of 5
Download to read offline
1
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
รหัสวิชา ง33201-33202 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 6
ปีการศึกษา 2560
ชื่อโครงงาน การท่องเที่ยวและการศึกษาในประเทศฝรั่งเศส
ชื่อผู้ทาโครงงาน
นาย ธัชพล กิตติพงษ์ไพบูลย์ เลขที่ 26 ชั้น ม.6 ห้อง 11
ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2560
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
2
ใบงาน
การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
ผู้จัดทา
นาย ธัชพล กิตติพงษ์ไพบูลย์ เลขที่ 26 ชั้น ม.6 ห้อง 11
คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้
ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย)
การท่องเที่ยวและการศึกษาในประเทศฝรั่งเศส
ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ)
Traveling & Education system in Paris.
ประเภทโครงงาน โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา
ชื่อผู้ทาโครงงาน นาย ธัชพล กิตติพงษ์ไพบูลย์
ชื่อที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2560
ที่มาและความสาคัญของโครงงาน (อธิบายถึงที่มา แนวคิด และเหตุผล ของการทาโครงงาน)
การท่องเที่ยวและการศึกษาในประเทศฝรั่งเศสนั้นมีความเจริญก้าวหน้าไปมาก ไม่ว่าจะเป็นด้านการพัฒนา
อุตสาหกรรมการท่องเที่ยว ที่พุ่งสูงขึ้นในแต่ละปี สามารถดึงดูดนักท่องเที่ยวมากที่สุดคือ ปารีส ซึ่งเป็นเมืองหลวง ของ
ฝรั่งเศส มีความสวยงามทั้งทางด้านศิลปะและวัฒนธรรม นอกจากการท่องเที่ยวแล้ว ทางด้านการศึกษาของประเทศ
ฝรั่งเศส เป็นระบบที่แตกต่างจากประเทศไทยและประเทศตะวันตกอื่นๆ เนื่องจากชาวฝรั่งเศสให้ความสาคัญต่อคติ
ประจาชาติว่า "เสรีภาพ ความเสมอภาค ภราดรภาพ" เป็นอย่างยิ่ง คติพจน์ดังกล่าวมีอิทธิพลต่อวิถีการดาเนินชีวิต
ของชาวฝรั่งเศสเป็นอย่างมาก รวมทั้งการศึกษา ฝรั่งเศสถือว่าเป็นสิ่งที่ไม่สามารถแยกออกจากความเคารพในด้าน
เสรีภาพ และความเสมอภาค ดังที่กล่าวมาจึงเป็นความสาคัญ
ของการจัดทาโครงงานชิ้นนี้ขึ้นมา
วัตถุประสงค์ (สิ่งที่ต้องการในการทาโครงงาน ระบุเป็นข้อ)
1.เพื่อทรายถึงการพัฒนาอุตสาหกรรมการท่องเที่ยว
2.เพื่อทราบถึงระบบการท่องเที่ยวในฝรั่งเศส
3.เพื่อทราบถึงความแตกต่างระหว่างการศึกษาฝรั่งเศส และประเทศอื่นๆ
4.เพื่อทราบรายละเอียดของการศึกษา
3
ขอบเขตโครงงาน (คุณลักษณะ ขอบเขต เงื่อนไขและข้อจากัดของการทาโครงงาน)
- สถานที่ท่องเที่ยวในเมืองปารีส ฝรั่งเศส
- การศึกษาในเมืองปารีส ฝรั่งเศส
หลักการและทฤษฎี (ความรู้ หลักการ หรือทฤษฎีที่สนับสนุนการทาโครงงาน)
ข้อมูลการท่องเที่ยว
มีนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติที่มาเยือนประเทศฝรั่งเศสเป็นจานวน 84.7 ล้านคนในปี ค.ศ. 2013 ส่งผลให้ประเทศนี้เป็น
สถานที่ท่องเที่ยวที่ได้รับความนิยมมากที่สุดในโลก[1]ซึ่งทารายได้เป็นอันดับสามจากนักท่องเที่ยวจากการมาเยือน
แบบรวบรัด นักท่องเที่ยวจานวนร้อยละ 20 ใช้จ่ายน้อยกว่าครึ่งหากเทียบกับที่พวกเขาใช้จ่ายในสหรัฐอเมริกา
ประเทศฝรั่งเศสมีสถานที่ 37 แห่งที่ได้รับการจารึกไว้ในรายชื่อแหล่งมรดกโลกของยูเนสโกและมีเมืองที่น่าสนใจทาง
วัฒนธรรมสูง (กรุงปารีสมีความสาคัญมากที่สุด แต่ก็รวมถึงตูลูซ, สทราซบูร์, บอร์โด, ลียง และอื่น ๆ), ชายหาดและรี
สอร์ตริมทะเล, สกีรีสอร์ต และภูมิภาคชนบทหลายแห่งที่สามารถเพลิดเพลินไปกับความงามและความเงียบสงบ
เหล่านั้น (การท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์) หมู่บ้านฝรั่งเศสขนาดเล็กและงดงามเป็นมรดกทางวัฒนธรรม (เช่น กอลงฌ์-ลา-
รูฌหรือลอครอน็อง) ต่างก็ได้รับการส่งเสริมผ่านสมาคม เลปลูว์โบวีลาฌเดอฟร็องส์ ("หมู่บ้านที่สวยที่สุดของประเทศ
ฝรั่งเศส") ส่วนการติดป้าย "สวนที่โดดเด่น" จะเป็นรายการของสวนกว่าสองร้อยแห่งที่จัดขึ้นโดยกระทรวงวัฒนธรรม
แห่งประเทศฝรั่งเศส ซึ่งป้ายนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อปกป้องและส่งเสริมสวนและสวนสาธารณะที่โดดเด่นในปี ค.ศ. 2012
การเดินทางและการท่องเที่ยวได้มีส่วนช่วยโดยตรงต่อผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศของประเทศฝรั่งเศสถึง 77.7
พันล้านยูโร แบ่งเป็นร้อยละ 30 ที่มาจากนักท่องเที่ยวต่างประเทศ และร้อยละ 70 ที่มาจากการใช้จ่ายเพื่อการ
ท่องเที่ยวภายในประเทศ ผลงานทั้งหมดของการเดินทางและการท่องเที่ยวแสดงให้เห็นถึงร้อยละ 9.7 ของผลิตภัณฑ์
มวลรวมในประเทศและสนับสนุนงาน 2.9 ล้านอัตรา (ร้อยละ 10.9 ของการจ้างงาน) ในประเทศซึ่งการท่องเที่ยวมี
ส่วนสาคัญต่อดุลการชาระเงิน
สาหรับกรุงปารีสซึ่งเป็นเมืองหลวงนั้น เป็นเมืองที่มีผู้มาเยือนมากที่สุดเป็นอันดับสามของโลกกรุงปารีสมีพิพิธภัณฑ์ที่
ใหญ่ที่สุดและมีชื่อเสียงของโลก ประกอบด้วยพิพิธภัณฑ์ลูฟวร์ซึ่งเป็นพิพิธภัณฑ์ศิลปะที่มีผู้เข้าชมมากที่สุดในโลก และ
ก็ยังมีพิพิธภัณฑ์ออร์แซที่เน้นศิลปะในลัทธิประทับใจเป็นส่วนใหญ่ รวมถึงศูนย์ศิลปะและวัฒนธรรมแห่งชาติฌอร์ฌ
ปงปีดู ที่มุ่งเน้นศิลปะร่วมสมัย กรุงปารีสเป็นเจ้าของผลงานสถานที่สาคัญบางส่วนที่รู้จักมากที่สุดของโลก เช่น หอไอ
เฟล ซึ่งเป็นอนุสาวรีย์ที่มีผู้จ่ายเงินเพื่อเข้าชมมากที่สุดในโลกประตูชัยฝรั่งเศส, มหาวิหารน็อทร์-ดามแห่งปารีส, มหา
วิหารซาเคร-เกอร์ ส่วนพิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์และอุตสาหกรรมเป็นพิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์ที่ใหญ่ที่สุดในทวีปยุโรป[8]
ก็ตั้งอยู่ในปาร์กเดอลาวีแล็ต กรุงปารีส ซึ่งนับเป็นหัวใจของศูนย์วัฒนธรรมวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และอุตสาหกรรม
(CCSTI) โดยเป็นศูนย์ส่งเสริมด้านวิทยาศาสตร์และวิทยาการต่าง ๆ และบริเวณใกล้กับกรุงปารีสยังมีพระราชวังแวร์
ซาย ซึ่งเป็นอดีตพระราชวังของพระมหากษัตริย์แห่งประเทศฝรั่งเศส ที่เป็นพิพิธภัณฑ์ในปัจจุบัน
( ข้อมูลจาก :
https://th.m.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%97%E0%B9%88%
E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B9%80%E0%B8%97%E0%B8%B5%E0%B9%88%E0%B8%A2%E0
%B8%A7%E0%B9%83%E0%B8%99%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B9%80%E0%B
8%97%E0%B8%A8%E0%B8%9D%E0%B8%A3%E0%B8%B1%E0%B9%88%E0%B8%87%E0%B9%
80%E0%B8%A8%E0%B8%AA )
4
ข้อมูลการศึกษา
ระบบการศึกษา ของ ฝรั่งเศส สาหรับผู้ที่สนใจ ศึกษาต่อประเทศฝรั่งเศส
ระบบการศึกษาของประเทศฝรั่งเศสเป็นระบบที่แตกต่างจากระบบการศึกษาของไทย และประเทศตะวันตกอื่น ๆ ซึ่ง
เป็นที่คุ้นเคยกับคนไทยมากกว่า ทั้งนี้เนื่องจากชาวฝรั่งเศสให้ความสาคัญต่อคติประจาชาติที่ว่า “เสรีภาพ ความเสมอ
ภาค ภราดรภาพ” เป็นอย่างยิ่ง คติพจน์ดังกล่าวมีอิทธิพลต่อวิถีการดาเนินชีวิตของชาวฝรั่งเศสเป็นอย่างมาก รวมถึง
ด้านการศึกษาซึ่งชาวฝรั่งเศสถือว่าเป็นสิ่งที่ไม่สามารถแยกออกจากความเคารพในด้านเสรีภาพ และความเสมอภาค
การให้การศึกษาโดยไม่เก็บค่าเล่าเรียนเป็นการป้องกันและรักษาไว้ซึ่งสิทธิและโอกาสของแต่ละบุคคลในเรื่องความ
เสมอภาคกันทางการศึกษา ซึ่งเป็นสิ่งที่สาธารณรัฐมอบให้แก่ทุกคนที่อยู่ในฝรั่งเศส ระบบการให้ทุนการศึกษาจะทาให้
ทุกคนมีความเท่าเทียมกันทางด้านโอกาสทางการศึกษา ขอแต่เพียงเขาเหล่านั้นมีสติปัญญาที่ดีเขาก็จะได้รับโอกาสใน
การศึกษาเท่าเทียมกับคนอื่น ๆ โดยไม่คานึงถึงเชื้อชาติ เพศ ผิวพรรณหรือฐานะทางสังคมแต่อย่างใด อีกประการหนึ่ง
โดยที่เล็งเห็นว่าการศึกษาจะนาไปสู่การมีความคิดสร้างสรรค์ และการใช้ความคิดเป็นสิ่งจาเป็นสาหรับเสรีภาพทาง
ความคิด ด้งนั้นชาวฝรั่งเศสจึงให้ความสาคัญเป็นพิเศษกับโรงเรียนมาโดยตลอด และมอบหมายให้โรงเรียนเป็นสถานที่
ที่จะสร้างและรักษาไว้ ซึ่งความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันของชาติ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในการให้โอกาสกับเด็กที่บิดามาดา
เป็นชาวต่างชาติและพักอาศัยอยู่ฝรั่งเศสได้รับการผสมผสานความเป็นฝรั่งเศสไว้ในตัว
การศึกษาก่อนวัยเรียน 2 – 5 ขวบ
ไม่เป็นการศึกษาภาคบังคับ แต่ถือเป็นประเพณีปฏิบัติอันยาวนานของฝรั่งเศส ซึ่งในปัจจุบันมีเด็กที่อายุตั้งแต่ 3 ขวบ
ขึ้นไป เข้าโรงเรียนถึง 99% ของจานวนเด็กทั้งหมด โรงเรียนอนุบาลของรัฐเป็นบริการฟรี แต่ในโรงเรียนเอกชน
ผู้ปกครองต้องเสียค่าเล่าเรียนเอง โดยทั่วไปโรงเรียนอนุบาลแยกออกเป็น 3 ชั้นเรียน คือ ชั้นเล็ก (Petite Section)
ชั้นกลาง (Moyenne Section) และชั้นสูง (Grande Section)
การศึกษาระดับประถมศึกษา 6 – 10 ขวบ (Primary School)
เป็นการบริการฟรีและเป็นการศึกษาภาคบังคับสาหรับเด็กฝรั่งเศสและเด็กต่างชาติในฝรั่งเศส โรงเรียนระดับประถม
ประกอบด้วย 5 ชั้น คือ ชั้นเตรียมประถมศึกษา Classe Prèparatoire (CP) ชั้นประถมศึกษาตอนต้นปีที่ 1 Cours
Elémentaire 1 (CE1) ชั้นประถมศึกษาตอนต้นปีที่ 2 Cours Elèmentaire 2 (CE2) ชั้นประถมศึกษาตอนปลายปีที่
1 Cours Moyen 1 (CM1) และชั้นประถมศึกษาตอนปลายปีที่ 2 Cours Moyen 2 (CM2)
การศึกษาระดับมัธยมศึกษา 11 – 18 ปี (Secondary School)
ยังคงเป็นการบริการฟรีและส่วนหนึ่งยังคงเป็นการศึกษาภาคบังคับสาหรับเด็กฝรั่งเศสและเด็กต่างชาติในฝรั่งเศส แยก
ออกเป็น 2 ระดับ คือ
มัธยมต้น (11 – 14 ปี)
เป็นการศึกษาระบบเดียวกันทั้งหมด สถานศึกษาเรียกว่า “Collège” รับเด็กทุกคนที่สาเร็จจากชั้นประถมศึกษา
ประกอบด้วย 4 ชั้น ตั้งแต่ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 (Sixième) จนถึงชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 (Troisième) เป็นการเรียน
การสอนทั่วไปในวิชาการสายสามัญ โดยยังไม่แยกออกเป็นวิชาเฉพาะด้าน
5
มัธยมปลาย (15 – 17 ปี)
สถานศึกษาเรียกว่า “Lycée” ภายหลังสาเร็จการศึกษา จะได้รับประกาศนียบัตรตามสาขาวิชาที่เลือกศึกษา ซึ่งเริ่ม
แยกการศึกษาออกเป็น 2 ระบบ คือ
โรงเรียนมัธยมศึกษาสายสามัญและทางเทคโนโลยี (Lycée d’enseignement général et
technologique) ใช้ระยะเวลาศึกษา 3 ปี คือชั้นปีที่ 2 (Seconde) ชั้นปีที่ 1 (Première) และชั้นปลาย
(Terminale) เพื่อเตรียมสอบรับประกาศนียบัตรสายสามัญ (Baccalauréat général) หรือประกาศนียบัตรสาย
เทคโนโลยี (Baccalauréat technologique) หรือประกาศนียบัตรสายช่างเทคนิค (Brevet de technicien)
โรงเรียนมัธยมศึกษาสายวิชาชีพ (Lycée Professionnel) เพื่อเตรียมสอบรับประกาศนียบัตรวิชาชีพ
Certificat d’Aptitude Professionnelle (CAP) หรือประกาศนียบัตรอาชีวศึกษา Brevet d’Etudes
Professionnelles (BEP) และประกาศนียบัตรมัธยมปลายสายอาชีพ (Baccalauréat professionnel)
ประกาศนียบัตร Baccalauréat เป็นกุญแจสาคัญสู่การศึกษาต่อในระดับอุดมศึกษา ซึ่งประกาศนียบัตรดังกล่าวนี้
จะต้องเป็นประกาศนียบัตร แห่งชาติที่ได้มาจากผลการสอบทั่วไป โดยข้อสอบกลางของรัฐ ไม่ใช่ ประกาศนียบัตรของ
สถานศึกษา ซึ่งเทียบเท่าวุฒิมัธยมศึกษาปีที่ 6 ในประเทศไทย นักเรียนที่จบ ม.6 และต้องการศึกษาต่อระดับปริญญา
ตรีในประเทศฝรั่งเศส จาเป็นต้องสอบวัดระดับความรู้ภาษาฝรั่งเศสให้ได้เสียก่อน
การศึกษาระดับอุดมศึกษา (Higher Education System)
สาธารณรัฐฝรั่งเศสมีประวัติทางการศึกษาระดับมหาวิทยาลัยที่ยาวนาน มหาวิทยาลัยแห่งแรกก่อตั้งขึ้นเมื่อศตวรรษที่
12 – 13 เช่น มหาวิทยาลัยที่มีชื่อเสียง “ลา ซอร์บอนน์ (La Sorbonne)” ก่อตั้งขึ้นเมื่อปี ค.ศ. 1257 หรือ พ.ศ.
1800การพัฒนาหลักสูตรในหลาย ๆ ศตวรรษต่อมา และการปรับปรุงอย่างต่อเนื่องตามความต้องการของสังคม ทาให้
ระบบอุดมศึกษาของฝรั่งเศสเป็นระบบที่ค่อนข้างซับซ้อน จากความมุ่งหมายเดิมของการศึกษาระดับอุดมศึกษาคือ
การให้การศึกษาและการวิจัย มหาวิทยาลัยได้ปรับตนเองไปตามสภาพแวดล้อมและความต้องการของสังคม ตลอดจน
ระบบเศรษฐกิจ เช่น การเข้ามามีส่วนร่วมในการเรียนการสอนของภาคธุรกิจเอกชน โดยการก่อตั้ง Instituts
Universitaires de Technologies (IUT) ในปี ค.ศ. 1991 ซึ่งเป็นสถาบันที่สอนทั้งภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติ
นักศึกษาจะเรียนรู้ในสภาพแวดล้อมแบบธุรกิจจริง ๆ เมื่อจบการศึกษา จะได้รับประกาศนียบัตร DESS ซึ่งเป็นสิ่ง
ประกันความสามารถทางวิชาชีพของนักศึกษาที่ได้รับการฝึกอบรมในระดับสูง และยังให้นักศึกษาได้รับการ ฝึกความ
ชานาญเฉพาะด้านในระดับผู้เชี่ยวชาญ หรือผู้ชานาญเฉพาะอีกด้วย สถานศึกษาระดับอุดมศึกษาของฝรั่งเศสส่วนมาก
เป็นของรัฐ มีมหาวิทยาลัยของรัฐ 88 แห่ง มหาวิทยาลัยคาทอลิก 5 แห่ง สถาบันโปรเตสแตนต์ 3 แห่ง และอื่น ๆ อีก
4 แห่ง
( ข้อมูลจาก :
http://www.educatepark.com/%E0%B9%80%E0%B8%A3%E0%B8%B5%E0%B8%A2%E0%B8%99%E
0%B8%95%E0%B9%88%E0%B8%AD%E0%B8%9D%E0%B8%A3%E0%B8%B1%E0%B9%88%E0%B8%
87%E0%B9%80%E0%B8%A8%E0%B8%AA/education-system/ )

More Related Content

Similar to โปรเจคคอมโอเว่น

โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
Hathaichanok Pintamong
 

Similar to โปรเจคคอมโอเว่น (20)

การสื่อสารมวลชน
การสื่อสารมวลชนการสื่อสารมวลชน
การสื่อสารมวลชน
 
2561 project
2561 project 2561 project
2561 project
 
งานเอิด
งานเอิดงานเอิด
งานเอิด
 
โครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงานโครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงาน
 
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
Thanayut
ThanayutThanayut
Thanayut
 
Thanayut
ThanayutThanayut
Thanayut
 
Thanayut10 611
Thanayut10 611Thanayut10 611
Thanayut10 611
 
Thanayut10 611
Thanayut10 611Thanayut10 611
Thanayut10 611
 
โรคติดต่อทางเพศสัมพันธุ์
โรคติดต่อทางเพศสัมพันธุ์โรคติดต่อทางเพศสัมพันธุ์
โรคติดต่อทางเพศสัมพันธุ์
 
2562 final-project 32
2562 final-project 322562 final-project 32
2562 final-project 32
 
2562 final-project 32
2562 final-project 322562 final-project 32
2562 final-project 32
 
615-14
615-14615-14
615-14
 
ขนมไทยไร้เทียมทาน
ขนมไทยไร้เทียมทานขนมไทยไร้เทียมทาน
ขนมไทยไร้เทียมทาน
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอม
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมแบบเสนอโครงร่างโครงงานคอม
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอม
 
2562 final-project26
2562 final-project262562 final-project26
2562 final-project26
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ ส่งให้เพื่อนค่ะ
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์  ส่งให้เพื่อนค่ะ แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์  ส่งให้เพื่อนค่ะ
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ ส่งให้เพื่อนค่ะ
 
Save wolrd , save energy com58 - project
Save wolrd , save energy   com58 - projectSave wolrd , save energy   com58 - project
Save wolrd , save energy com58 - project
 
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
ขนมไทยไร้เทียมทาน
ขนมไทยไร้เทียมทานขนมไทยไร้เทียมทาน
ขนมไทยไร้เทียมทาน
 

More from ธัญญลักษณ์ นาคคำ

แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์สมบูรณ์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์สมบูรณ์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์สมบูรณ์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์สมบูรณ์
ธัญญลักษณ์ นาคคำ
 

More from ธัญญลักษณ์ นาคคำ (20)

ชินกันเซน
ชินกันเซนชินกันเซน
ชินกันเซน
 
2560 project -2 (1)
2560 project -2 (1)2560 project -2 (1)
2560 project -2 (1)
 
คอม
คอมคอม
คอม
 
โครงร่างโครงงานคอม
โครงร่างโครงงานคอมโครงร่างโครงงานคอม
โครงร่างโครงงานคอม
 
เสร็จค่ะคอม (1)
เสร็จค่ะคอม (1)เสร็จค่ะคอม (1)
เสร็จค่ะคอม (1)
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์สมบูรณ์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์สมบูรณ์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์สมบูรณ์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์สมบูรณ์
 
กิจกรรมที่4
กิจกรรมที่4กิจกรรมที่4
กิจกรรมที่4
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
กิจกรรมที่ 5
กิจกรรมที่ 5กิจกรรมที่ 5
กิจกรรมที่ 5
 
เสร็จค่ะคอม
เสร็จค่ะคอมเสร็จค่ะคอม
เสร็จค่ะคอม
 
ปานชีวา ธนัขขา เสร็จละเว้ยอิดอกกของจริง
ปานชีวา ธนัขขา เสร็จละเว้ยอิดอกกของจริงปานชีวา ธนัขขา เสร็จละเว้ยอิดอกกของจริง
ปานชีวา ธนัขขา เสร็จละเว้ยอิดอกกของจริง
 
โครงงานคอม กิจกรรม234
โครงงานคอม กิจกรรม234โครงงานคอม กิจกรรม234
โครงงานคอม กิจกรรม234
 
ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์
ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์
ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์
 
โครงงานโบ๊ต
โครงงานโบ๊ตโครงงานโบ๊ต
โครงงานโบ๊ต
 
โครงงานคอมวอลเลย์บอล
โครงงานคอมวอลเลย์บอลโครงงานคอมวอลเลย์บอล
โครงงานคอมวอลเลย์บอล
 
งานอันวา
งานอันวางานอันวา
งานอันวา
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
ใบงานแบบสำรวจและประวัติของ นายฐิติกรณ์-มูลลิ
ใบงานแบบสำรวจและประวัติของ นายฐิติกรณ์-มูลลิ ใบงานแบบสำรวจและประวัติของ นายฐิติกรณ์-มูลลิ
ใบงานแบบสำรวจและประวัติของ นายฐิติกรณ์-มูลลิ
 
พรบ
พรบพรบ
พรบ
 

โปรเจคคอมโอเว่น

  • 1. 1 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ รหัสวิชา ง33201-33202 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 6 ปีการศึกษา 2560 ชื่อโครงงาน การท่องเที่ยวและการศึกษาในประเทศฝรั่งเศส ชื่อผู้ทาโครงงาน นาย ธัชพล กิตติพงษ์ไพบูลย์ เลขที่ 26 ชั้น ม.6 ห้อง 11 ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2560 โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
  • 2. 2 ใบงาน การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์ ผู้จัดทา นาย ธัชพล กิตติพงษ์ไพบูลย์ เลขที่ 26 ชั้น ม.6 ห้อง 11 คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้ ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย) การท่องเที่ยวและการศึกษาในประเทศฝรั่งเศส ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ) Traveling & Education system in Paris. ประเภทโครงงาน โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา ชื่อผู้ทาโครงงาน นาย ธัชพล กิตติพงษ์ไพบูลย์ ชื่อที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2560 ที่มาและความสาคัญของโครงงาน (อธิบายถึงที่มา แนวคิด และเหตุผล ของการทาโครงงาน) การท่องเที่ยวและการศึกษาในประเทศฝรั่งเศสนั้นมีความเจริญก้าวหน้าไปมาก ไม่ว่าจะเป็นด้านการพัฒนา อุตสาหกรรมการท่องเที่ยว ที่พุ่งสูงขึ้นในแต่ละปี สามารถดึงดูดนักท่องเที่ยวมากที่สุดคือ ปารีส ซึ่งเป็นเมืองหลวง ของ ฝรั่งเศส มีความสวยงามทั้งทางด้านศิลปะและวัฒนธรรม นอกจากการท่องเที่ยวแล้ว ทางด้านการศึกษาของประเทศ ฝรั่งเศส เป็นระบบที่แตกต่างจากประเทศไทยและประเทศตะวันตกอื่นๆ เนื่องจากชาวฝรั่งเศสให้ความสาคัญต่อคติ ประจาชาติว่า "เสรีภาพ ความเสมอภาค ภราดรภาพ" เป็นอย่างยิ่ง คติพจน์ดังกล่าวมีอิทธิพลต่อวิถีการดาเนินชีวิต ของชาวฝรั่งเศสเป็นอย่างมาก รวมทั้งการศึกษา ฝรั่งเศสถือว่าเป็นสิ่งที่ไม่สามารถแยกออกจากความเคารพในด้าน เสรีภาพ และความเสมอภาค ดังที่กล่าวมาจึงเป็นความสาคัญ ของการจัดทาโครงงานชิ้นนี้ขึ้นมา วัตถุประสงค์ (สิ่งที่ต้องการในการทาโครงงาน ระบุเป็นข้อ) 1.เพื่อทรายถึงการพัฒนาอุตสาหกรรมการท่องเที่ยว 2.เพื่อทราบถึงระบบการท่องเที่ยวในฝรั่งเศส 3.เพื่อทราบถึงความแตกต่างระหว่างการศึกษาฝรั่งเศส และประเทศอื่นๆ 4.เพื่อทราบรายละเอียดของการศึกษา
  • 3. 3 ขอบเขตโครงงาน (คุณลักษณะ ขอบเขต เงื่อนไขและข้อจากัดของการทาโครงงาน) - สถานที่ท่องเที่ยวในเมืองปารีส ฝรั่งเศส - การศึกษาในเมืองปารีส ฝรั่งเศส หลักการและทฤษฎี (ความรู้ หลักการ หรือทฤษฎีที่สนับสนุนการทาโครงงาน) ข้อมูลการท่องเที่ยว มีนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติที่มาเยือนประเทศฝรั่งเศสเป็นจานวน 84.7 ล้านคนในปี ค.ศ. 2013 ส่งผลให้ประเทศนี้เป็น สถานที่ท่องเที่ยวที่ได้รับความนิยมมากที่สุดในโลก[1]ซึ่งทารายได้เป็นอันดับสามจากนักท่องเที่ยวจากการมาเยือน แบบรวบรัด นักท่องเที่ยวจานวนร้อยละ 20 ใช้จ่ายน้อยกว่าครึ่งหากเทียบกับที่พวกเขาใช้จ่ายในสหรัฐอเมริกา ประเทศฝรั่งเศสมีสถานที่ 37 แห่งที่ได้รับการจารึกไว้ในรายชื่อแหล่งมรดกโลกของยูเนสโกและมีเมืองที่น่าสนใจทาง วัฒนธรรมสูง (กรุงปารีสมีความสาคัญมากที่สุด แต่ก็รวมถึงตูลูซ, สทราซบูร์, บอร์โด, ลียง และอื่น ๆ), ชายหาดและรี สอร์ตริมทะเล, สกีรีสอร์ต และภูมิภาคชนบทหลายแห่งที่สามารถเพลิดเพลินไปกับความงามและความเงียบสงบ เหล่านั้น (การท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์) หมู่บ้านฝรั่งเศสขนาดเล็กและงดงามเป็นมรดกทางวัฒนธรรม (เช่น กอลงฌ์-ลา- รูฌหรือลอครอน็อง) ต่างก็ได้รับการส่งเสริมผ่านสมาคม เลปลูว์โบวีลาฌเดอฟร็องส์ ("หมู่บ้านที่สวยที่สุดของประเทศ ฝรั่งเศส") ส่วนการติดป้าย "สวนที่โดดเด่น" จะเป็นรายการของสวนกว่าสองร้อยแห่งที่จัดขึ้นโดยกระทรวงวัฒนธรรม แห่งประเทศฝรั่งเศส ซึ่งป้ายนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อปกป้องและส่งเสริมสวนและสวนสาธารณะที่โดดเด่นในปี ค.ศ. 2012 การเดินทางและการท่องเที่ยวได้มีส่วนช่วยโดยตรงต่อผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศของประเทศฝรั่งเศสถึง 77.7 พันล้านยูโร แบ่งเป็นร้อยละ 30 ที่มาจากนักท่องเที่ยวต่างประเทศ และร้อยละ 70 ที่มาจากการใช้จ่ายเพื่อการ ท่องเที่ยวภายในประเทศ ผลงานทั้งหมดของการเดินทางและการท่องเที่ยวแสดงให้เห็นถึงร้อยละ 9.7 ของผลิตภัณฑ์ มวลรวมในประเทศและสนับสนุนงาน 2.9 ล้านอัตรา (ร้อยละ 10.9 ของการจ้างงาน) ในประเทศซึ่งการท่องเที่ยวมี ส่วนสาคัญต่อดุลการชาระเงิน สาหรับกรุงปารีสซึ่งเป็นเมืองหลวงนั้น เป็นเมืองที่มีผู้มาเยือนมากที่สุดเป็นอันดับสามของโลกกรุงปารีสมีพิพิธภัณฑ์ที่ ใหญ่ที่สุดและมีชื่อเสียงของโลก ประกอบด้วยพิพิธภัณฑ์ลูฟวร์ซึ่งเป็นพิพิธภัณฑ์ศิลปะที่มีผู้เข้าชมมากที่สุดในโลก และ ก็ยังมีพิพิธภัณฑ์ออร์แซที่เน้นศิลปะในลัทธิประทับใจเป็นส่วนใหญ่ รวมถึงศูนย์ศิลปะและวัฒนธรรมแห่งชาติฌอร์ฌ ปงปีดู ที่มุ่งเน้นศิลปะร่วมสมัย กรุงปารีสเป็นเจ้าของผลงานสถานที่สาคัญบางส่วนที่รู้จักมากที่สุดของโลก เช่น หอไอ เฟล ซึ่งเป็นอนุสาวรีย์ที่มีผู้จ่ายเงินเพื่อเข้าชมมากที่สุดในโลกประตูชัยฝรั่งเศส, มหาวิหารน็อทร์-ดามแห่งปารีส, มหา วิหารซาเคร-เกอร์ ส่วนพิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์และอุตสาหกรรมเป็นพิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์ที่ใหญ่ที่สุดในทวีปยุโรป[8] ก็ตั้งอยู่ในปาร์กเดอลาวีแล็ต กรุงปารีส ซึ่งนับเป็นหัวใจของศูนย์วัฒนธรรมวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และอุตสาหกรรม (CCSTI) โดยเป็นศูนย์ส่งเสริมด้านวิทยาศาสตร์และวิทยาการต่าง ๆ และบริเวณใกล้กับกรุงปารีสยังมีพระราชวังแวร์ ซาย ซึ่งเป็นอดีตพระราชวังของพระมหากษัตริย์แห่งประเทศฝรั่งเศส ที่เป็นพิพิธภัณฑ์ในปัจจุบัน ( ข้อมูลจาก : https://th.m.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%97%E0%B9%88% E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B9%80%E0%B8%97%E0%B8%B5%E0%B9%88%E0%B8%A2%E0 %B8%A7%E0%B9%83%E0%B8%99%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B9%80%E0%B 8%97%E0%B8%A8%E0%B8%9D%E0%B8%A3%E0%B8%B1%E0%B9%88%E0%B8%87%E0%B9% 80%E0%B8%A8%E0%B8%AA )
  • 4. 4 ข้อมูลการศึกษา ระบบการศึกษา ของ ฝรั่งเศส สาหรับผู้ที่สนใจ ศึกษาต่อประเทศฝรั่งเศส ระบบการศึกษาของประเทศฝรั่งเศสเป็นระบบที่แตกต่างจากระบบการศึกษาของไทย และประเทศตะวันตกอื่น ๆ ซึ่ง เป็นที่คุ้นเคยกับคนไทยมากกว่า ทั้งนี้เนื่องจากชาวฝรั่งเศสให้ความสาคัญต่อคติประจาชาติที่ว่า “เสรีภาพ ความเสมอ ภาค ภราดรภาพ” เป็นอย่างยิ่ง คติพจน์ดังกล่าวมีอิทธิพลต่อวิถีการดาเนินชีวิตของชาวฝรั่งเศสเป็นอย่างมาก รวมถึง ด้านการศึกษาซึ่งชาวฝรั่งเศสถือว่าเป็นสิ่งที่ไม่สามารถแยกออกจากความเคารพในด้านเสรีภาพ และความเสมอภาค การให้การศึกษาโดยไม่เก็บค่าเล่าเรียนเป็นการป้องกันและรักษาไว้ซึ่งสิทธิและโอกาสของแต่ละบุคคลในเรื่องความ เสมอภาคกันทางการศึกษา ซึ่งเป็นสิ่งที่สาธารณรัฐมอบให้แก่ทุกคนที่อยู่ในฝรั่งเศส ระบบการให้ทุนการศึกษาจะทาให้ ทุกคนมีความเท่าเทียมกันทางด้านโอกาสทางการศึกษา ขอแต่เพียงเขาเหล่านั้นมีสติปัญญาที่ดีเขาก็จะได้รับโอกาสใน การศึกษาเท่าเทียมกับคนอื่น ๆ โดยไม่คานึงถึงเชื้อชาติ เพศ ผิวพรรณหรือฐานะทางสังคมแต่อย่างใด อีกประการหนึ่ง โดยที่เล็งเห็นว่าการศึกษาจะนาไปสู่การมีความคิดสร้างสรรค์ และการใช้ความคิดเป็นสิ่งจาเป็นสาหรับเสรีภาพทาง ความคิด ด้งนั้นชาวฝรั่งเศสจึงให้ความสาคัญเป็นพิเศษกับโรงเรียนมาโดยตลอด และมอบหมายให้โรงเรียนเป็นสถานที่ ที่จะสร้างและรักษาไว้ ซึ่งความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันของชาติ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในการให้โอกาสกับเด็กที่บิดามาดา เป็นชาวต่างชาติและพักอาศัยอยู่ฝรั่งเศสได้รับการผสมผสานความเป็นฝรั่งเศสไว้ในตัว การศึกษาก่อนวัยเรียน 2 – 5 ขวบ ไม่เป็นการศึกษาภาคบังคับ แต่ถือเป็นประเพณีปฏิบัติอันยาวนานของฝรั่งเศส ซึ่งในปัจจุบันมีเด็กที่อายุตั้งแต่ 3 ขวบ ขึ้นไป เข้าโรงเรียนถึง 99% ของจานวนเด็กทั้งหมด โรงเรียนอนุบาลของรัฐเป็นบริการฟรี แต่ในโรงเรียนเอกชน ผู้ปกครองต้องเสียค่าเล่าเรียนเอง โดยทั่วไปโรงเรียนอนุบาลแยกออกเป็น 3 ชั้นเรียน คือ ชั้นเล็ก (Petite Section) ชั้นกลาง (Moyenne Section) และชั้นสูง (Grande Section) การศึกษาระดับประถมศึกษา 6 – 10 ขวบ (Primary School) เป็นการบริการฟรีและเป็นการศึกษาภาคบังคับสาหรับเด็กฝรั่งเศสและเด็กต่างชาติในฝรั่งเศส โรงเรียนระดับประถม ประกอบด้วย 5 ชั้น คือ ชั้นเตรียมประถมศึกษา Classe Prèparatoire (CP) ชั้นประถมศึกษาตอนต้นปีที่ 1 Cours Elémentaire 1 (CE1) ชั้นประถมศึกษาตอนต้นปีที่ 2 Cours Elèmentaire 2 (CE2) ชั้นประถมศึกษาตอนปลายปีที่ 1 Cours Moyen 1 (CM1) และชั้นประถมศึกษาตอนปลายปีที่ 2 Cours Moyen 2 (CM2) การศึกษาระดับมัธยมศึกษา 11 – 18 ปี (Secondary School) ยังคงเป็นการบริการฟรีและส่วนหนึ่งยังคงเป็นการศึกษาภาคบังคับสาหรับเด็กฝรั่งเศสและเด็กต่างชาติในฝรั่งเศส แยก ออกเป็น 2 ระดับ คือ มัธยมต้น (11 – 14 ปี) เป็นการศึกษาระบบเดียวกันทั้งหมด สถานศึกษาเรียกว่า “Collège” รับเด็กทุกคนที่สาเร็จจากชั้นประถมศึกษา ประกอบด้วย 4 ชั้น ตั้งแต่ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 (Sixième) จนถึงชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 (Troisième) เป็นการเรียน การสอนทั่วไปในวิชาการสายสามัญ โดยยังไม่แยกออกเป็นวิชาเฉพาะด้าน
  • 5. 5 มัธยมปลาย (15 – 17 ปี) สถานศึกษาเรียกว่า “Lycée” ภายหลังสาเร็จการศึกษา จะได้รับประกาศนียบัตรตามสาขาวิชาที่เลือกศึกษา ซึ่งเริ่ม แยกการศึกษาออกเป็น 2 ระบบ คือ โรงเรียนมัธยมศึกษาสายสามัญและทางเทคโนโลยี (Lycée d’enseignement général et technologique) ใช้ระยะเวลาศึกษา 3 ปี คือชั้นปีที่ 2 (Seconde) ชั้นปีที่ 1 (Première) และชั้นปลาย (Terminale) เพื่อเตรียมสอบรับประกาศนียบัตรสายสามัญ (Baccalauréat général) หรือประกาศนียบัตรสาย เทคโนโลยี (Baccalauréat technologique) หรือประกาศนียบัตรสายช่างเทคนิค (Brevet de technicien) โรงเรียนมัธยมศึกษาสายวิชาชีพ (Lycée Professionnel) เพื่อเตรียมสอบรับประกาศนียบัตรวิชาชีพ Certificat d’Aptitude Professionnelle (CAP) หรือประกาศนียบัตรอาชีวศึกษา Brevet d’Etudes Professionnelles (BEP) และประกาศนียบัตรมัธยมปลายสายอาชีพ (Baccalauréat professionnel) ประกาศนียบัตร Baccalauréat เป็นกุญแจสาคัญสู่การศึกษาต่อในระดับอุดมศึกษา ซึ่งประกาศนียบัตรดังกล่าวนี้ จะต้องเป็นประกาศนียบัตร แห่งชาติที่ได้มาจากผลการสอบทั่วไป โดยข้อสอบกลางของรัฐ ไม่ใช่ ประกาศนียบัตรของ สถานศึกษา ซึ่งเทียบเท่าวุฒิมัธยมศึกษาปีที่ 6 ในประเทศไทย นักเรียนที่จบ ม.6 และต้องการศึกษาต่อระดับปริญญา ตรีในประเทศฝรั่งเศส จาเป็นต้องสอบวัดระดับความรู้ภาษาฝรั่งเศสให้ได้เสียก่อน การศึกษาระดับอุดมศึกษา (Higher Education System) สาธารณรัฐฝรั่งเศสมีประวัติทางการศึกษาระดับมหาวิทยาลัยที่ยาวนาน มหาวิทยาลัยแห่งแรกก่อตั้งขึ้นเมื่อศตวรรษที่ 12 – 13 เช่น มหาวิทยาลัยที่มีชื่อเสียง “ลา ซอร์บอนน์ (La Sorbonne)” ก่อตั้งขึ้นเมื่อปี ค.ศ. 1257 หรือ พ.ศ. 1800การพัฒนาหลักสูตรในหลาย ๆ ศตวรรษต่อมา และการปรับปรุงอย่างต่อเนื่องตามความต้องการของสังคม ทาให้ ระบบอุดมศึกษาของฝรั่งเศสเป็นระบบที่ค่อนข้างซับซ้อน จากความมุ่งหมายเดิมของการศึกษาระดับอุดมศึกษาคือ การให้การศึกษาและการวิจัย มหาวิทยาลัยได้ปรับตนเองไปตามสภาพแวดล้อมและความต้องการของสังคม ตลอดจน ระบบเศรษฐกิจ เช่น การเข้ามามีส่วนร่วมในการเรียนการสอนของภาคธุรกิจเอกชน โดยการก่อตั้ง Instituts Universitaires de Technologies (IUT) ในปี ค.ศ. 1991 ซึ่งเป็นสถาบันที่สอนทั้งภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติ นักศึกษาจะเรียนรู้ในสภาพแวดล้อมแบบธุรกิจจริง ๆ เมื่อจบการศึกษา จะได้รับประกาศนียบัตร DESS ซึ่งเป็นสิ่ง ประกันความสามารถทางวิชาชีพของนักศึกษาที่ได้รับการฝึกอบรมในระดับสูง และยังให้นักศึกษาได้รับการ ฝึกความ ชานาญเฉพาะด้านในระดับผู้เชี่ยวชาญ หรือผู้ชานาญเฉพาะอีกด้วย สถานศึกษาระดับอุดมศึกษาของฝรั่งเศสส่วนมาก เป็นของรัฐ มีมหาวิทยาลัยของรัฐ 88 แห่ง มหาวิทยาลัยคาทอลิก 5 แห่ง สถาบันโปรเตสแตนต์ 3 แห่ง และอื่น ๆ อีก 4 แห่ง ( ข้อมูลจาก : http://www.educatepark.com/%E0%B9%80%E0%B8%A3%E0%B8%B5%E0%B8%A2%E0%B8%99%E 0%B8%95%E0%B9%88%E0%B8%AD%E0%B8%9D%E0%B8%A3%E0%B8%B1%E0%B9%88%E0%B8% 87%E0%B9%80%E0%B8%A8%E0%B8%AA/education-system/ )