SlideShare a Scribd company logo
1 of 29
Download to read offline
สำหรับกำรเรียนรู้แบบร่วมมือและเทคนิค KWDL
นำงกำญจนำ ภุมรำ
ครูชำนำญกำรพิเศษ
โรงเรียนช่องแมววิทยำคม อำเภอลำทะเมนชัย
โรงเรียนช่องแมววิทยำคม อำเภอลำทะเมนชัย
1
คานา
ชุดเสริมทักษะกระบวนการคณิตศาสตร์ สาหรับการเรียนรู้แบบร่วมมือและเทคนิค KWDL
เรื่อง การแยกตัวประกอบของพหุนาม รายวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน ค31101 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4
เล่มนี้ จัดทาขึ้นโดยมีวัตถุประสงค์ใช้เป็นกระบวนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ รายวิชาคณิตศาสตร์
พื้นฐาน เพื่อให้นักเรียนมีทักษะทางคณิตศาสตร์ การแก้ปัญหา การให้เหตุผล การเชื่อมโยง การ
สื่อสาร การสื่อความหมายและการนาเสนอ รวมถึงทักษะการทางานกลุ่ม ตามขั้นตอนการเรียนรู้
แบบร่วมมือกัน ที่เน้นความแตกต่างระหว่างบุคคล และการช่วยเหลือซึ่งกันละกัน
ชุดเสริมทักษะกระบวนการคณิตศาสตร์ สาหรับการเรียนรู้แบบร่วมมือและเทคนิค KWDL
แต่ละชุด มีส่วนประกอบภายในชุด 2 ส่วนได้แก่ 1) คู่มือครู 2) คู่มือนักเรียน ผู้วิจัยได้สร้างชุดเสริม
ทักษะกระบวนการคณิตศาสตร์ สาหรับการเรียนรู้แบบร่วมมือและเทคนิค KWDL ทั้งหมด 7 ชุด
สาหรับชุดเสริมทักษะกระบวนการคณิตศาสตร์ ชุดนี้ คือ
ชุดที่ 3 การแยกตัวประกอบของพหุนาม
ข้าพเจ้าหวังว่าชุดเสริมทักษะกระบวนการคณิตศาสตร์ สาหรับการเรียนรู้แบบร่วมมือและ
เทคนิค KWDL นี้ จะเป็นประโยชน์ แก่นักเรียนและผู้อ่านเป็นอย่างมาก และขอขอบคุณ
นายทวนทอง ชูละออง ผู้อานวยการสถานศึกษาโรงเรียนช่องแมววิทยาคม ที่สนับสนุนและส่งเสริม
ในการจัดทาชุดเสริมทักษะกระบวนการคณิตศาสตร์ นี้ ขอขอบคุณคณะครูทุกท่านที่ให้คาชี้แนะ และ
กาลังใจ รวมทั้งนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ทุกคนที่สะท้อนความคิดเห็นต่อชุดเสริมทักษะ
กระบวนการคณิตศาสตร์ นี้จนทาให้ได้เอกสารที่มีประสิทธิภาพ เป็นประโยชน์ต่อการจัดการเรียนรู้
ได้ดียิ่งขึ้น
กาญจนา ภุมรา
2
สารบัญ
เรื่อง หน้า
คานา....................................................................................................................................................................... ก
สารบัญ......................................................................................................................................................................... ข
ชุดเสริมทักษะกระบวนการทางณิตศาสตร์................................................................................................... 3
คู่มือครู.......................................................................................................................................................... 4
คู่มือนักเรียน................................................................................................................................................. 5
ชุดเสริมทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์รายวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน
ค31101 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4...................................................................................................................... 6
ใบความรู้ที่ 1 เรื่อง การแยกตัวประกอบของพหุนาม........................................................................ 8
กิจกรรมที่ 1 เรื่อง ทักษะการสื่อสาร สื่อความหมาย และนาเสนอ................................................................ 13
กิจกรรมที่ 2 เรื่อง ทักษะการเชื่อมโยง........................................................................................................... 14
กิจกรรมที่ 3 เรื่อง ทักษะการแก้ปัญหา......................................................................................................... 15
กิจกรรมที่ 4 เรื่อง ทักษะการให้เหตุผล......................................................................................................... 17
แบบทดสอบ เรื่อง การแยกตัวประกอบของพหุนาม............................................................................ 18
บรรณานุกรม................................................................................................................................................................. 20
ภาคผนวก...................................................................................................................................................................... 21
เฉลยกิจกรรมที่ 1 เรื่อง ทักษะการสื่อสาร สื่อความหมาย และนาเสนอ........................................................ 22
เฉลยกิจกรรมที่ 2 เรื่อง ทักษะการเชื่อมโยง.................................................................................................. 23
เฉลยกิจกรรมที่ 3 เรื่อง ทักษะการแก้ปัญหา................................................................................................. 24
เฉลยกิจกรรมที่ 4 เรื่อง ทักษะการให้เหตุผล................................................................................................. 26
เฉลยแบบทดสอบ เรื่อง การแยกตัวประกอบของพหุนาม................................................................... 27
3
ชุดเสริมทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์
ชุดเสริมทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ สาหรับการเรียนรู้แบบร่วมมือและเทคนิค
KWDL เรื่อง การแยกตัวประกอบของพหุนาม รายวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน ค31101 ชั้นมัธยมศึกษา
ปีที่ 4 มีส่วนประกอบ 2 ส่วน คือ ส่วนที่ 1 คู่มือครู และส่วนที่ 2 คู่มือนักเรียน ดังแผนผัง
ส่วนประกอบของชุดเสริมทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ ดังนี้
แผนผังส่วนประกอบของชุดเสริมทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์
ชุดเสริมทักษะกระบวนการคณิตศาสตร์
คู่มือครู
บทบาทของครู
แผนการจัดการ
เรียนรู้
คู่มือนักเรียน
บทบาทของนักเรียน
แบบฝึกทักษะ
4
บทบาทของครูผู้สอนมีดังนี้
1.1 ตรวจสอบองค์ประกอบภายในชุดเสริมทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ ที่ครู
จะต้องตรวจให้ครบถ้วนดังนี้
1.1.1 คู่มือครู
1) บทบาทของครูผู้สอน
2) แผนการจัดการเรียนรู้
1.1.2 คู่มือนักเรียน
1) บทบาทของนักเรียน
2) แบบฝึกทักษะ
- ใบความรู้
- กิจกรรม
- แบบทดสอบ
1.2 ศึกษาคู่มือครู ได้แก่ บทบาทของครู และแผนการจัดการเรียนรู้ จากชุดเสริม
ทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ ให้เข้าใจ
1.3 จัดเตรียมสื่อและเครื่องมือที่ใช้ประกอบการจัดการเรียนรู้ ได้แก่ ใบความรู้
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ และแบบทดสอบให้พร้อม
1.4 ศึกษาบทบาทของนักเรียน และชี้แจงให้นักเรียนรู้บทบาทของตนเอง ในการ
เรียนรู้โดยใช้ ชุดเสริมทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์
1.5 จัดกิจกรรมการเรียนการสอนให้เป็นไปตามขั้นตอนของแผนการจัดการเรียนรู้ที่
เน้นวิธีสอนแบบร่วมมือและเทคนิคการสอน KWDL
1.6 ให้คาแนะนาและเป็นที่ปรึกษาแก่นักเรียนในขณะทากิจกรรม
1.7 ประเมินและวิเคราะห์ข้อมูล
1. บทบาทของครูผู้สอน
คู่มือครู
5
1.1.1 ก่อนเรียนชุดที่ 1 นี้ นักเรียนต้องศึกษาบทบาทของนักเรียนให้เข้าใจ
1.1.2 นักเรียนต้องศึกษาคาชี้แจง จากใบความรู้ ใบกิจกรรม ตามลาดับ หากมีข้อ
สงสัยให้ถามครู
1.1.3 เมื่อเรียนจบชุดที่ 3 นี้แล้ว นักเรียนจะต้องทาแบบทดสอบ เรื่อง การแยกตัว
ประกอบของพหุนาม
1.2.1 วัดจาการทาแบบทดสอบ และประเมินผ่านตั้งแต่ร้อยละ 80 ของคะแนนสอบ
แบบทดสอบ
1.2.2 วัดจาการตอบคาถามของกิจกรรมในชุดเสริมทักษะกระบวนการทาง
คณิตศาสตร์ และประเมินผ่านตั้งแต่ร้อยละ 80
1.2.3 วัดพฤติกรรมการทากิจกรรมกลุ่ม โดยครูผู้สอน และประเมินผ่านตั้งแต่ระดับ
คุณภาพ 2 ขึ้นไป คิดจากเกณฑ์ของแบบสังเกตพฤติกรรมการทากิจกรรมกลุ่ม
ส่วนประกอบในชุดเสริมทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ มีดังนี้
2.1 คาแนะนาการใช้ชุดเสริมทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์
2.1.1 คาแนะนาสาหรับครู
2.1.2 คาแนะนาสาหรับนักเรียน
2.2 ตัวชี้วัด / สาระสาคัญ / จุดประสงค์การเรียนรู้
2.3 ใบความรู้
2.4 กิจกรรม
2.5 แบบทดสอบ
2.6 บรรณานุกรม
2.7 ภาคผนวก
2.7.1 เฉลยกิจกรรม
2.7.2 เฉลยแบบทดสอบ
คู่มือนักเรียน
1. บทบาทของนักเรียน
1.1 กิจกรรมที่นักเรียนต้องปฏิบัติ
2. แบบฝึกเสริมทักษะกระบวนการทาง
คณิตศาสตร์
1.2 การวัดและประเมินผล
6
1.1 ครูควรเตรียมชุดเสริมทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ ให้เพียงพอกับนักเรียน
1.2 แนะนาวิธีการใช้แบบฝึกนี้ร่วมกับการเรียนแบบร่วมมือให้นักเรียนเข้าใจ
1.3 แจกแบบชุดเสริมทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ ให้นักเรียนและกาชับให้อ่านคาสั่งให้เข้าใจ
จะได้ปฏิบัติได้ถูกต้อง
1.4 หากมีนักเรียนบางคนเรียนไม่ทัน ครูควรให้คาแนะนาเป็นพิเศษ หลังจากนักเรียนทากิจกรรมตรม
ขั้นตอนเสร็จเรียบร้อยแล้ว
1.5 ให้นักเรียนทาแบบทดสอบ แล้วส่งตรวจ ครูบันทึกคะแนนของนักเรียนเพื่อประเมินความก้าวหน้าของ
นักเรียน
2.1 .ให้นักเรียนศึกษาจุดประสงค์การเรียนรู้ และอ่านคาชี้แจงในแต่ละกิจกรรมให้เข้าใจ
2.2 ให้นักเรียนศึกษาแนวทางการทาจากตัวอย่างที่กาหนดให้เข้าใจแล้วจึงลงมือทากิจกรรมในแบบฝึก
ทักษะ
2.3 ขณะทากิจกรรมเมื่อพบข้อสงสัย ให้ร่วมกันคิดวิเคราะห์ เพื่อข้อสรุปที่ถูกต้อง หรือนาข้อสงสัยนั้น
ปรึกษากับครูผู้สอน
2.4 เมื่อนักเรียนทากิจกรรมเสร็จ สมาชิกในกลุ่มนากิจกรรมที่ทา ส่งตรวจเพื่อบันทึกคะแนน
2.5 ให้นักเรียนทากิจกรรมในแบบฝึกทักษะ ด้วยความตั้งใจ ตามความสามารถของตนเอง
2.6 หลังเรียนจบชุดนี้ แล้ว ให้นักเรียนทาแบบทดสอบ จานวน 10 ข้อ ใช้เวลา 15 นาที
ชุดเสริมทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์
รายวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน ค31101 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4
ชุดที่ 3 เรื่อง การแยกตัวประกอบของพหุนาม
คาแนะนาการใช้ชุดเสริมทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์
1. คาแนะนาสาหรับครู
2. คาแนะนาสาหรับนักเรียน
7
มาตรฐาน ค 1.4 เข้าใจระบบจานวนและนาสมบัติของจานวนไปใช้ได้
ตัวชี้วัด ม.4 – 6 /1 เข้าใจสมบัติของจานวนจริงเกี่ยวกับ การบวก การคูณ การเท่ากัน และ
การไม่เท่ากัน และนาไปใช้ได้
การแยกตัวประกอบพหุนาม
2
x bx c  เมื่อ b และ c เป็นค่าคงตัวที่ c 0 ทา
ได้โดยการหาจานวน d และ e ที่ de = c และ d + e = b ที่ทาให้
2
x bx c  = ( x + d)(x + c)
1. ด้านความรู้
1.1 นักเรียนสามารถบอกสิ่งที่โจทย์กาหนดให้ และหาค่าสิ่งที่โจทย์ต้องการได้
1.2 นักเรียนสามารถแยกตัวประกอบพหุนามที่เป็นกาลังสองสมบูรณ์ได้
1.3 นักเรียนสามารถแยกตัวประกอบโดยทาให้เป็นกาลังสองสมบูรณ์ได้
2. ด้านทักษะกระบวนการ
2.1 การแก้ปัญหา
2.2 การให้เหตุผล
2.3 การสื่อความหมาย
2.4 การเชื่อมโยงความรู้ทางคณิตศาสตร์
3. คุณลักษณะอันพึงประสงค์
3.1 นักเรียนมีความร่วมมือ ความรับผิดชอบ แสดงความคิดเห็น ยอมรับความคิด
และตรงต่อเวลา
ตัวชี้วัด / สาระสาคัญ / จุดประสงค์การเรียนรู้
ตัวชี้วัด
สาระสาคัญ
จุดประสงค์การเรียนรู้
8
ขั้นตอน K และ W นี้ พวกเราต้องฝึกเพื่อเราจะได้รู้ว่า เรามี
ทักษะการสื่อสาร สื่อความหมาย และนาเสนอได้หรือไม่
ขั้นตอน D ทาอย่างไรนั้นจะเน้น
1.ฝึกทักษะการเชื่อมโยงความรู้
ระหว่างข้อมูล ในขั้น K และ W
2. ฝึกทักษะการแก้ปัญหา โดย
นาสมบัติการ บวก การคูณ การ
แจกแจง มาใช้
การพิจารณาหาคาตอบจาการแยกตัวประกอบที่เป็นกาลังสองสมบรณ์ มีวิธีการดังนี้
1. เขียนสิ่งที่โจทย์กาหนดให้ (โจทย์ถาม) , K (Know)
2. เขียนสิ่งที่โจทย์ต้องการทราบ , W (Want)
3. เชื่อมโยงระหว่างสิ่งที่โจทย์กาหนดให้กับสิ่งที่โจทย์ต้องการทราบ , D (Do)
4. สรุปสิ่งที่ได้จากการเรียนรู้ , L(Learned)
จากการคิด วิเคราะห์ ด้วยเทคนิค KWDL
ตัวอย่างที่ 1 จงแยกตัวประกอบของ 2
x 7x 10 
(K) รู้อะไรจากโจทย์ (W) โจทย์ต้องการ
ทราบอะไร
(D) ทาอย่างไร (L) ได้อะไรจากการเรียนรู้
จากพหุนาม
2
x 7x 10 
สัมประสิทธิ์ของ x2
= 1
สัมประสิทธิ์ของ x1
= 7
แทนด้วย b
สัมประสิทธิ์ของ x0
= 10
แทนด้วย c
แยกตัวประกอบ
พหุนาม ในรูป
(x + d)(x + e)
1.หาจานวนสอง
จานวนซึ่งคูณกันได้ 10
และบวกกันได้ 7
2. หา de = 10
และ d + e = 7
ซึ่งในที่นี้ คือ 2 และ 5
3. นา (2)(5) = 10
2 + 5 = 7
4.ให้ d = 2
และ e = 5
5. เขียนในรูป
(x + d)(x + e)
6. ดังนั้น ตัวประกอบ
ของ
2
x 7x 10  คือ
(x + 2)(x + 5)
ตอบ ตัวประกอบของ
2
x 7x 10  เท่ากับ
(x + 2)(x + 5)
จะได้ (x + 2)(x + 5)
= x(x+5) + 2(x+5)
= x2
+ 5x + 2x + 10
= x2
+ 7x + 10
ใบความรู้
เรื่อง การแยกตัวประกอบของพหุนาม)
การแยกตัวประกอบ ของพหุนามที่เป็นกาลังสองสมบูรณ์
ขั้นตอน L ขั้นตอนนี้
สามารถแสดงเหตุผลได้ว่า
คาตอบนี้ถูกต้อง
9
ขั้นตอน K และ W นี้ พวกเราต้องฝึกเพื่อเราจะได้รู้ว่า เรามี
ทักษะการสื่อสาร สื่อความหมาย และนาเสนอได้หรือไม่
ขั้นตอน D ทาอย่างไรนั้นจะเน้น
1.ฝึกทักษะการเชื่อมโยงความรู้
ระหว่างข้อมูล ในขั้น K และ W
2. ฝึกทักษะการแก้ปัญหา โดย
นาสมบัติการ บวก การคูณ การ
แจกแจง มาใช้
ตัวอย่างที่ 2 จงแยกตัวประกอบของ 2
x x 6 
(K) รู้อะไรจากโจทย์ (W) โจทย์ต้องการ
ทราบอะไร
(D) ทาอย่างไร (L) ได้อะไรจากการเรียนรู้
จากพหุนาม
2
x x 6 
สัมประสิทธิ์ของ x2
= 1
สัมประสิทธิ์ของ x1
= 1
แทนด้วย b
สัมประสิทธิ์ของ x0
= - 6
แทนด้วย c
แยกตัวประกอบ
พหุนาม ในรูป
(x + d)(x + e)
1.หาจานวนสอง
จานวนซึ่งคูณกันได้ - 6
และบวกกันได้ 1
2. หา de = - 6
และ d + e = 1
ซึ่งในที่นี้ คือ - 2และ 3
3. นา (- 2)(3) = - 6
- 2 + 3 = 1
4.ให้ d = - 2
และ e = 3
5. เขียนในรูป
(x + d)(x + e)
6. ดังนั้น ตัวประกอบ
ของ
2
x x 6  คือ
(x – 2)(x + 3)
ตอบ ตัวประกอบของ
2
x x 6  เท่ากับ
(x – 2)(x + 3)
จะได้ (x – 2)(x + 3)
= x(x+3) – 2(x+3)
= x2
+ 3x – 2x – 6
= x2
+ x – 6
หนูๆ จะต้องจาให้ขึ้นใจว่า
1. เรารู้อะไรจากโจทย์ (K)
2. โจทย์ต้องการทราบอะไร(W)
3. เราจะทาอย่างไร (D)
4. สรุปสิ่งที่เราเรียนรู้ (L)
10
ตัวอย่างที่ 3 จงแยกตัวประกอบของ 2
x 5x 6 
(K) รู้อะไรจากโจทย์ (W) โจทย์ต้องการ
ทราบอะไร
(D) ทาอย่างไร (L) ได้อะไรจากการเรียนรู้
จากพหุนาม
2
x 5x 6 
สัมประสิทธิ์ของ x2
= 1
สัมประสิทธิ์ของ x1
= - 5
แทนด้วย b
สัมประสิทธิ์ของ x0
= 6
แทนด้วย c
แยกตัวประกอบ
พหุนาม ในรูป
(x + d)(x + e)
1.หาจานวนสอง
จานวนซึ่งคูณกันได้ 6
และบวกกันได้ - 5
2. หา de = 6
และ d + e = - 5
ซึ่งในที่นี้ คือ
- 2 และ -3
3. นา (- 2)(-3) = 6
- 2 + -3 = - 5
4. ให้ d = - 2
และ e = - 3
5. เขียนในรูป
(x + d)(x + e)
6. ดังนั้น ตัวประกอบ
ของ
2
x 5x 6  คือ
(x – 2)(x – 3)
ตอบ ตัวประกอบของ
2
x 5x 6  เท่ากับ
(x – 2)(x – 3)
จะได้ (x – 2)(x – 3)
= x(x – 3) – 2(x – 3)
= x2
– 3x – 2x + 6
= 2
x 5x 6 
หนูๆ จะต้องจาให้ขึ้นใจว่า
1. เรารู้อะไรจากโจทย์ (K)
2. โจทย์ต้องการทราบอะไร(W)
3. เราจะทาอย่างไร (D)
4. สรุปสิ่งที่เราเรียนรู้ (L)
ขั้นตอน K และ W ขั้นตอนทั้งสองนี้ตรวจสอบ
ว่า เรามีทักษะการสื่อสาร สื่อความหมายและ
นาเสนอ ได้หรือไม่
เมื่ออ่านโจทย์จะพบว่า
1. พจน์กลาง คือสัมประสิทฺธิ์
ของ x เป็นลบ และ พจน์หลัง
คือสัมประสิทธิ์ ของ x
0
เป็น
บวก
2. จานวนที่นามาคูณกันได้
บวก แต่บวกกันแล้วได้
เครื่องหมายลบ ก็คือ จานวนที่
มีเครื่องหมายเหมือนกันคือ
จานวนที่มีเครื่องหมายเป็นลบ
ทั้งคู่
11
ตัวอย่างที่ 4 จงแยกตัวประกอบของ 2
x 16
(K) รู้อะไรจากโจทย์ (W) โจทย์ต้องการ
ทราบอะไร
(D) ทาอย่างไร (L) ได้อะไรจากการเรียนรู้
จากพหุนาม
2
x 16
สัมประสิทธิ์ของ x2
= 1
สัมประสิทธิ์ของ x1
= 0
แทนด้วย b
สัมประสิทธิ์ของx0
= -16
แทนด้วย c
แยกตัวประกอบ
พหุนาม ในรูป
(x + d)(x + e)
1. หาจานวนสอง
จานวนซึ่งคูณกันได้-16
และบวกกันได้ 0
2. หา de = -16
และ d + e = 0
ซึ่งในที่นี้ คือ
4 และ - 4
3. นา (4)(- 4) = - 16
4 + (- 4) = 0
4. ให้ d = 4
และ e = - 4
5. เขียนในรูป
(x + d)(x + e)
6. ดังนั้น ตัวประกอบ
ของ
2
x 16 คือ
(x + 4)(x – 4)
ตอบ ตัวประกอบของ
2
x 16
เท่ากับ
(x + 4)(x – 4)
จะได้ (x + 4)(x – 4)
= x(x – 4) + 4(x – 4)
= x2
– 4x + 4x + 16
= 2
x 16
0x
หนูๆ จะต้องจาให้ขึ้นใจว่า
1. เรารู้อะไรจากโจทย์ (K)
2. โจทย์ต้องการทราบอะไร(W)
3. เราจะทาอย่างไร (D)
4. สรุปสิ่งที่เราเรียนรู้ (L)
ขั้นตอน K และ W ขั้นตอนทั้งสองนี้ตรวจสอบ
ว่า เรามีทักษะการสื่อสาร สื่อความหมายและ
นาเสนอ ได้หรือไม่
เมื่ออ่านโจทย์จะพบว่า
1. พจน์กลาง ไม่มี นั่นคือ
สัมประสิทธิ์ของ x เป็น 0 และ
พจน์หลัง คือสัมประสิทธิ์ ของ
x
0
เป็นลบ
2. จานวนที่นามาคูณกันได้
จานวน ลบ แต่บวกกันแล้วได้
จานวน 0 ก็คือ จานวนที่มี
เครื่องหมายต่างกันและเป็น
จานวนเดียวกัน คือจานวนที่มี
เครื่องหมายเป็นบวกและเป็น
ลบ
ในกรณีที่ทั่วไป
เมื่อ
a เป็นค่าคงตัวที่ไม่เท่ากับ 0
12
ตัวอย่างที่ 5 จงแยกตัวประกอบของ 2
2x 9x 81 
(K) รู้อะไรจากโจทย์ (W) โจทย์ต้องการ
ทราบอะไร
(D) ทาอย่างไร (L) ได้อะไรจากการ
เรียนรู้
จากพหุนาม
2
2x 9x 81 
สัมประสิทธิ์ของ x2
= 2
สัมประสิทธิ์ของ x1
= +9
แทนด้วย b
สัมประสิทธิ์ของx0
=- 81
แทนด้วย c
แยกตัวประกอบ
พหุนาม ในรูป
(px + d)(qx + e)
1.หาจานวนสองจานวน
ซึ่งคูณกันได้ พจน์หน้า
และพจน์หลัง
2. เขียนในรูป
(px + d)(qx + e)
3. หา p, q , d และ e
ที่ทาให้
pq = สัมประสิทธิ์ของ
พจน์หน้า
de = สัมประสิทธิ์ของ
พจน์หลัง
pe + de = สัมประสิทธิ์
ของพจน์กลาง
4.ดังนั้น
pq = (2)(1) = 2
de = (-9)(9) = - 81
pq + de =18 + (-9) =9
5. ดังนั้น ตัวประกอบของ
2
2x 9x 81  คือ
(2x - 9)(x + 9)
ตอบ ตัวประกอบของ
2
2x 9x 81  เท่ากับ
(2x – 9)(x + 9)
จะได้ (2x – 9)(x + 9)
= 2x(x +9) - 9(x + 9)
= 2x2
+18x - 9x - 81
= 2
2x 9x 81 
หนูๆ จะต้องจาให้ขึ้นใจว่า
1. เรารู้อะไรจากโจทย์ (K)
2. โจทย์ต้องการทราบอะไร(W)
3. เราจะทาอย่างไร (D)
4. สรุปสิ่งที่เราเรียนรู้ (L)
ขั้นตอน K และ W ขั้นตอนทั้งสองนี้ตรวจสอบ
ว่า เรามีทักษะการสื่อสาร สื่อความหมายและ
นาเสนอ ได้หรือไม่
ขั้นตอน D เมื่ออ่านโจทย์จะ
พบว่า
1. สัมประสิทธิ์ ของ x
2
ไม่
เท่ากับ 1 เหมือนตัวอย่างที่เคย
ทามา
2. เราจะต้องหาจานวนที่คูณ
กันแล้วได้พจน์หน้า และ
จานวนที่นามาคูณกันแล้วได้
พจน์หลัง เช่น กาหนด
pq = พจน์หน้า และ
de = พจน์หลัง
3. และเช็คพจน์กลางด้วยการ
คูณไขว้ โดยนา pe + dq
ไม่ยากนะจ๊ะ
ฝึกการเชื่อมโยง
จ้า
13
ให้นักเรียนเติมคาลงในช่องว่างให้ถูกต้อง (10 คะแนน)
(K) รู้อะไรจากโจทย์ (W) โจทย์ต้องการ
ทราบอะไร
(D) ทาอย่างไร (L) ได้อะไรจากการ
เรียนรู้
จากพหุนาม
2
x 10x 21 
สัมประสิทธิ์ของ x2
= …..
สัมประสิทธิ์ของ x1
= …..
แทนด้วย b
สัมประสิทธิ์ของx0
=…….
แทนด้วย c
แยกตัวประกอบ
พหุนาม ในรูป
(x + d)(x + e)
1.หาจานวนสองจานวน
ซึ่งคูณกันได้ 21 และบวก
กันได้ 10
2. หา de = 21
และ d + e = 10
ซึ่งในที่นี้ คือ
........... และ ............
3. นา (......)(……) = 21
……..+ ……. = 10
4. ได้ d = ......
และ e = ......
5. เขียนในรูป
(x + d)(x + e)
6. ดังนั้น ตัวประกอบของ
2
x 10x 21  คือ
(x + .......)(x + ..........)
1.ตอบ ตัวประกอบของ
2
x 10x 21  เท่ากับ
(...........)(............)
2.ตรวจคาตอบ
จะได้ (x + ......)(x + ......)
= x(x+…..) +….(x+…..)
= x2
+ ……x +…..x +21
= 2
x 10x 21 
2 คะแนน - 5 คะแนน 3 คะแนน
ชื่อ........................................................................................ คะแนนที่ได้...............
ชั้น......................เลขที่ ....................................................... คะแนนเต็ม 10
กิจกรรมที่ 1
เรื่อง ทักษะการสื่อสาร สื่อความหมาย และนาเสนอ
คาชี้แจง
โจทย์ จงแยกตัวประกอบของพหุนาม
14
ให้นักเรียนเติมคาลงในช่องว่างให้ถูกต้อง (10 คะแนน)
(K) รู้อะไรจากโจทย์ (W) โจทย์ต้องการ
ทราบอะไร
(D) ทาอย่างไร (L) ได้อะไรจากการ
เรียนรู้
จากพหุนาม
2
x 8x 20 
สัมประสิทธิ์ของ x2
= …..
สัมประสิทธิ์ของ x1
= …..
แทนด้วย b
สัมประสิทธิ์ของx0
=…….
แทนด้วย c
แยกตัวประกอบ
พหุนาม ในรูป
(x + d)(x + e)
1.หาจานวนสองจานวน
ซึ่งคูณกันได้ - 20 และ
บวกกันได้ 8
2. หา de = - 20
และ d + e = 8
ซึ่งในที่นี้ คือ
........... และ ............
3. นา (......)(……) = - 20
……..+ ……. = 8
4. ได้ d = ......
และ e = ......
5. เขียนในรูป
(x + d)(x + e)
6. ดังนั้น ตัวประกอบของ
2
x 8x 20  คือ
(x .......)(x ..........)
1.ตอบ ตัวประกอบของ
2
x 8x 20  เท่ากับ
(...........)(............)
2.ตรวจคาตอบ
จะได้ (x + ......)(x + ......)
= x(x+…..) +….(x+…..)
= x2
+ .…x +…..x – 20
= 2
x 8x 20 
2 คะแนน - 5 คะแนน 3 คะแนน
ชื่อ........................................................................................ คะแนนที่ได้...............
ชั้น......................เลขที่ ....................................................... คะแนนเต็ม 10
กิจกรรมที่ 2
เรื่อง ทักษะการเชื่อมโยง
คาชี้แจง
โจทย์ จงแยกตัวประกอบของพหุนาม
15
ให้นักเรียนเติมคาลงในช่องว่างให้ถูกต้อง (10 คะแนน)
(K) รู้อะไรจากโจทย์ (W) โจทย์ต้องการ
ทราบอะไร
(D) ทาอย่างไร (L) ได้อะไรจากการ
เรียนรู้
จากพหุนาม
2
x 10x 21 
สัมประสิทธิ์ของ x2
= …..
สัมประสิทธิ์ของ x1
= …..
แทนด้วย b
สัมประสิทธิ์ของx0
=…….
แทนด้วย c
แยกตัวประกอบ
พหุนาม ในรูป
(x + d)(x + e)
1.หาจานวนสองจานวน
ซึ่งคูณกันได้ - 21 และ
บวกกันได้ -10
2. หา de = - 21
และ d + e = - 10
ซึ่งในที่นี้ คือ
........... และ ............
3. นา (......)(……) = - 21
……..+ ……. = - 10
4. ได้ d = ......
และ e = ......
5. เขียนในรูป
(x + d)(x + e)
6. ดังนั้น ตัวประกอบของ
2
x 10x 21  คือ
(x .......)(x ..........)
1.ตอบ ตัวประกอบของ
2
x 10x 21  เท่ากับ
(...........)(............)
2.ตรวจคาตอบ
จะได้ (x + ......)(x + ......)
= x(x+…..) +….(x+…..)
= x2
+ .…x +…..x – 21
= 2
x 10x 21 
2 คะแนน - 5 คะแนน 3 คะแนน
ชื่อ........................................................................................ คะแนนที่ได้...............
ชั้น......................เลขที่ ....................................................... คะแนนเต็ม 10
กิจกรรมที่ 3
เรื่อง ทักษะการแก้ปัญหา
คาชี้แจง
1. จงแยกตัวประกอบของพหุนาม
16
(K) รู้อะไรจากโจทย์ (W) โจทย์ต้องการ
ทราบอะไร
(D) ทาอย่างไร (L) ได้อะไรจากการ
เรียนรู้
จากพหุนาม
2
6x 7x 2 
สัมประสิทธิ์ของ x2
= 6
สัมประสิทธิ์ของ x1
= 7
แทนด้วย b
สัมประสิทธิ์ของx0
= 2
แทนด้วย c
แยกตัวประกอบ
พหุนาม ในรูป
(px + d)(qx + e)
1.หาจานวนสองจานวน
ซึ่งคูณกันได้ พจน์หน้า
และพจน์หลัง
2. เขียนในรูป
(px + d)(qx + e)
3. หา p =……..
q =………
d = ……..
e = ………
ที่ทาให้
pq = สัมประสิทธิ์พจน์
หน้า
de = สัมประสิทธิ์พจน์
หลัง
pe + de = สัมประสิทธิ์
พจน์กลาง
4.ดังนั้น
pq = (......)(......) = 6
de = (…....)(……) = 2
pe + dq=……+….. = 7
5. ดังนั้น ตัวประกอบของ
2
6x 7x 2  คือ
(……………)(…………….)
1.ตอบ ตัวประกอบของ
2
6x 7x 2  เท่ากับ
(……………)(…………….)
2.ตรวจคาตอบ
จะได้ (…………)(….…….)
= ……………………………
= …………………………..
= 2
6x 7x 2 
- - 5 คะแนน 5 คะแนน
ชื่อ........................................................................................ คะแนนที่ได้...............
ชั้น......................เลขที่ ....................................................... คะแนนเต็ม 10
2. จงแยกตัวประกอบของพหุนาม
17
ให้นักเรียนเติมคาลงในช่องว่างให้ถูกต้อง (10 คะแนน)
(K) รู้อะไรจากโจทย์ (W) โจทย์ต้องการ
ทราบอะไร
(D) ทาอย่างไร (L) ได้อะไรจากการ
เรียนรู้
จากพหุนาม
2
x 10x 11 
สัมประสิทธิ์ของ x2
= 1
สัมประสิทธิ์ของ x1
=-10
แทนด้วย b
สัมประสิทธิ์ของx0
=-11
แทนด้วย c
แยกตัวประกอบ
พหุนาม ในรูป
(x + d)(x + e)
1.หาจานวนสองจานวน
ซึ่งคูณกันได้ - 11 และ
บวกกันได้ -10
2. หา de = - 11
และ d + e = - 10
ซึ่งในที่นี้ คือ
1 และ - 11
3. นา (…….)(-11)= - 11
…… + (-11) = - 10
4. ได้ d = ………
และ e = ………
5. เขียนในรูป
(x + d)(x + e)
6. ดังนั้น ตัวประกอบของ
2
x 10x 11  คือ
(x ……… )(x ……..)
1.ตอบ ตัวประกอบของ
2
x 10x 11  เท่ากับ
(x + 1)(x - 11)
2.ตรวจคาตอบ
……………………………..
……………………………..
……………………………..
……………………………..
……………………………..
2 คะแนน - 4 คะแนน 6 คะแนน
ชื่อ........................................................................................ คะแนนที่ได้...............
ชั้น......................เลขที่ ....................................................... คะแนนเต็ม 10
กิจกรรมที่ 4
เรื่อง การให้เหตุผล
คาชี้แจง
3. จงแยกตัวประกอบของพหุนาม
18
ให้นักเรียนทาเครื่องหมาย X ทับอักษร ก ข ค หรือ ง ที่เป็นคาตอบที่
ถูกต้องที่สุด เพียงคาตอบเดียวเท่านั้น
1. ตัวประกอบของพหุนาม 2
x 4x 3  ตรงกับข้อใด?
ก.   x 3 x 1  ข.   x 3 x 1 
ค.   x 2 x 2  ง.   x 3 x 1 
2. ตัวประกอบของพหุนาม 2
x 5x 6  ตรงกับข้อใด?
ก.   x 3 x 2  ข.   x 3 x 2 
ค.   x 6 x 1  ง.   x 6 x 1 
3. ตัวประกอบของพหุนาม 2
x x 30  ตรงกับข้อใด?
ก.   x 6 x 5  ข.   x 3 x 10 
ค.   x 6 x 5  ง.   x 15 x 2 
4. ตัวประกอบของพหุนาม 2
x 6x 8  ตรงกับข้อใด?
ก.   x 4 x 2  ข.   x 8 x 1 
ค.   x 4 x 2  ง.   x 4 x 2 
5. ตัวประกอบของพหุนาม 2
x 10x 25  ตรงกับข้อใด?
ก.   x 25 x 1  ข.   x 5 x 5 
ค.   x 5 x 5  ง.   x 5 x 5 
6. ตัวประกอบของพหุนาม 2
x 12x 13  ตรงกับข้อใด?
ก.   x 9 x 1  ข.   x 13 x 1 
ค.   x 1 x 13  ง.   x 13 x 1 
7. ตัวประกอบของพหุนาม 2
x 9 ตรงกับข้อใด?
ก.   x 9 x 1  ข.   x 3 x 3 
ค.   x 3 x 3  ง.   x 3 x 3 
แบบทดสอบ
เรื่อง การนาสมบัติของจานวนจริงไปใช้ในการแก้สมการกาลังสอง
(การแยกตัวประกอบของพหุนาม)
คาชี้แจง
19
8. ตัวประกอบของพหุนาม 2
3x 5x 2  ตรงกับข้อใด?
ก.   3x 2 x 1  ข.   3x 1 x 2 
ค.   x 2 3x 1  ง.   3x 2 x 1 
9. ตัวประกอบของพหุนาม 2
6x 13x 6  ตรงกับข้อใด?
ก.   3x 2 2x 3  ข.   3x 3 2x 2 
ค.   6x 3 x 2  ง.   3x 3 2x 2 
10. ตัวประกอบของพหุนาม 2
2x 7x 5  ตรงกับข้อใด?
ก.   x 5 2x 1  ข.   2x 5 x 1 
ค.   2x 5 x 1  ง.   2x 1 x 5 
++++++++++++++
20
บรรณานุกรม
กระทรวงศึกษาธิการ. (2551). หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช
2551. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย.
________. (2551). ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง กลุ่มสาระการเรียนรู้
คณิตศาสตร์. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย.
ชนันทิตา ฉัตรทอง. (ม.ป.ป). คู่มือแผนการจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์พื้นฐาน
คณิตศาสตร์ ม.2. กรุงเทพฯ : อักษรเจริฯทัศน์
ทรงวิทย์ สุวรรณธาด. (2555). หนังสือเรียนเสริมคณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม.5 ภาคเรียนที่1
พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ. : แม็ค
ศาสตราจารย์กิตติคุณ ยุพิน พิพิธกุล และรองศาสตราจารย์ ดร.สิริพร ทิพย์คง. (2553).
พจนานุกรมคณิตศาสตร์. พิมพ์ครั้งที่ 5 กรุงเทพฯ : ปาเจรา.
ส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี, สถาบัน. (2559). หนังสือเรียนรายวิชา
เพิ่มเติม คณิตศาสตร์ เล่ม 3 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 – 6 . พิมพ์ครั้งที่ 9
กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว
ส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี, สถาบัน. (2551). ทักษะกระบวนการทาง
คณิตศาสตร์ . พิมพ์ครั้งที่ 2 กรุงเทพมหานคร : หจก. ส เจริญการพิมพ์.
21
ภาคผนวก
22
กิจกรรมที่ 1
เรื่อง ทักษะการสื่อสาร สื่อความหมาย และนาเสนอ
(K) รู้อะไรจากโจทย์ (W) โจทย์ต้องการ
ทราบอะไร
(D) ทาอย่างไร (L) ได้อะไรจากการ
เรียนรู้
จากพหุนาม
2
x 10x 21 
สัมประสิทธิ์ของ x2
= 1
สัมประสิทธิ์ของ x1
= 10
แทนด้วย b
สัมประสิทธิ์ของx0
= 21
แทนด้วย c
แยกตัวประกอบ
พหุนาม ในรูป
(x + d)(x + e)
1.หาจานวนสองจานวน
ซึ่งคูณกันได้ 21 และบวก
กันได้ 10
2. หา de = 21
และ d + e = 10
ซึ่งในที่นี้ คือ
7 และ 3
3. นา ( 7 )( 3 ) = 21
7 + 3 = 10
4. ได้ d = 7
และ e = 3
5. เขียนในรูป
(x + d)(x + e)
6. ดังนั้น ตัวประกอบของ
2
x 10x 21  คือ
(x + 7)(x + 3)
1.ตอบ ตัวประกอบของ
2
x 10x 21  เท่ากับ
(x + 7)(x + 3)
2.ตรวจคาตอบ
จะได้ (x + 7)(x + 3)
= x(x + 3) +7(x + 3)
= x2
+ 3x +7x +21
= 2
x 10x 21 
2 คะแนน - 5 คะแนน 3 คะแนน
โจทย์ จงแยกตัวประกอบของพหุนาม
23
กิจกรรมที่ 2
เรื่อง ทักษะการเชื่อมโยง
(K) รู้อะไรจากโจทย์ (W) โจทย์ต้องการ
ทราบอะไร
(D) ทาอย่างไร (L) ได้อะไรจากการ
เรียนรู้
จากพหุนาม
2
x 8x 20 
สัมประสิทธิ์ของ x2
= -2
สัมประสิทธิ์ของ x1
= 10
แทนด้วย b
สัมประสิทธิ์ของx0
= -20
แทนด้วย c
แยกตัวประกอบ
พหุนาม ในรูป
(x + d)(x + e)
1.หาจานวนสองจานวน
ซึ่งคูณกันได้ - 20 และ
บวกกันได้ 8
2. หา de = - 20
และ d + e = 8
ซึ่งในที่นี้ คือ
-2 และ 10
3. นา (-2)(10) = - 20
-2 + 10 = 8
4. ได้ d = -2
และ e = 10
5. เขียนในรูป
(x + d)(x + e)
6. ดังนั้น ตัวประกอบของ
2
x 8x 20  คือ
(x - 2)(x +10)
1.ตอบ ตัวประกอบของ
2
x 8x 20  เท่ากับ
(x – 2 )(x + 10)
2.ตรวจคาตอบ
จะได้ (x – 2)(x +10)
= x(x+10) – 2(x+10)
= x2
+ 10x - 2x – 20
= 2
x 8x 20 
2 คะแนน - 5 คะแนน 3 คะแนน
โจทย์ จงแยกตัวประกอบของพหุนาม
24
กิจกรรมที่ 3
เรื่อง ทักษะการแก้ปัญหา
(K) รู้อะไรจากโจทย์ (W) โจทย์ต้องการ
ทราบอะไร
(D) ทาอย่างไร (L) ได้อะไรจากการ
เรียนรู้
จากพหุนาม
2
x 10x 21 
สัมประสิทธิ์ของ x2
= 1
สัมประสิทธิ์ของ x1
= -10
แทนด้วย b
สัมประสิทธิ์ของx0
= -21
แทนด้วย c
แยกตัวประกอบ
พหุนาม ในรูป
(x + d)(x + e)
1.หาจานวนสองจานวน
ซึ่งคูณกันได้ - 21 และ
บวกกันได้ -10
2. หา de = - 21
และ d + e = - 10
ซึ่งในที่นี้ คือ
3 และ -7
3. นา (3)(-7) = - 21
3 + (-7) = - 10
4. ได้ d = 3
และ e = -7
5. เขียนในรูป
(x + d)(x + e)
6. ดังนั้น ตัวประกอบของ
2
x 10x 21  คือ
(x + 3)(x – 7)
1.ตอบ ตัวประกอบของ
2
x 10x 21  เท่ากับ
(x + 3)(x – 7)
2.ตรวจคาตอบ
จะได้ (x + 3)(x – 7)
= x(x – 7) +3(x – 7)
= x2
– 7x + 3x – 21
= 2
x 10x 21 
2 คะแนน - 5 คะแนน 3 คะแนน
1.จงแยกตัวประกอบของพหุนาม
25
(K) รู้อะไรจากโจทย์ (W) โจทย์ต้องการ
ทราบอะไร
(D) ทาอย่างไร (L) ได้อะไรจากการเรียนรู้
จากพหุนาม
2
6x 7x 2 
สัมประสิทธิ์ของ x2
= 6
สัมประสิทธิ์ของ x1
= 7
แทนด้วย b
สัมประสิทธิ์ของx0
= 2
แทนด้วย c
แยกตัวประกอบ
พหุนาม ในรูป
(px + d)(qx + e)
1.หาจานวนสองจานวน
ซึ่งคูณกันได้ พจน์หน้า
และพจน์หลัง
2. เขียนในรูป
(px + d)(qx + e)
3. หา p = 3 หรือ 2
q = 2 หรือ 3
d = 2 หรือ 1
e = 1 หรือ 2
ที่ทาให้
pq = สัมประสิทธิ์พจน์
หน้า
de = สัมประสิทธิ์พจน์
หลัง
pe + dq = สัมประสิทธิ์
พจน์กลาง
4.ดังนั้น
pq = (3)(2) = 6
de = (2)(1) = 2
pe + dq = 3 + 4 = 7
5. ดังนั้น ตัวประกอบของ
2
6x 7x 2  คือ
(3x + 2)(2x + 1)
1.ตอบ ตัวประกอบของ
2
6x 7x 2  เท่ากับ
(3x + 2)(2x + 1)
2.ตรวจคาตอบ
จะได้ (3x + 2)(2x + 1)
= 3x(2x + 1)+2(2x + 1)
= 6x2
+3x + 4x + 2
= 2
6x 7x 2 
- - 5 คะแนน 5 คะแนน
2. จงแยกตัวประกอบของพหุนาม
26
กิจกรรมที่ 4
เรื่อง การให้เหตุผล
(K) รู้อะไรจากโจทย์ (W) โจทย์ต้องการ
ทราบอะไร
(D) ทาอย่างไร (L) ได้อะไรจากการ
เรียนรู้
จากพหุนาม
2
x 10x 11 
สัมประสิทธิ์ของ x2
= 1
สัมประสิทธิ์ของ x1
=-10
แทนด้วย b
สัมประสิทธิ์ของx0
=-11
แทนด้วย c
แยกตัวประกอบ
พหุนาม ในรูป
(x + d)(x + e)
1.หาจานวนสองจานวน
ซึ่งคูณกันได้ - 11 และ
บวกกันได้ -10
2. หา de = - 11
และ d + e = - 10
ซึ่งในที่นี้ คือ
1 และ - 11
3. นา (1)(-11)= - 11
1 + (-11) = - 10
4. ได้ d = 1
และ e = -11
5. เขียนในรูป
(x + d)(x + e)
6. ดังนั้น ตัวประกอบของ
2
x 10x 11  คือ
(x + 1)(x – 11)
1.ตอบ ตัวประกอบของ
2
x 10x 11  เท่ากับ
(x + 1)(x - 11)
2.ตรวจคาตอบ
(x + 1)(x - 11)
x(x – 11) + 1(x – 11)
x2
– 11x + x – 11
x2
- 10x – 11
2 คะแนน - 4 คะแนน 6 คะแนน
1. จงแยกตัวประกอบของพหุนาม
27
เฉลยแบบทดสอบ
เรื่อง การนาสมบัติของจานวนจริงไปใช้ในการแก้สมการกาลังสอง
(การแยกตัวประกอบของพหุนาม)
เฉลยแบบทดสอบหลังเรียน
ข้อ คาตอบ
1. ข
2. ง
3. ค
4. ก
5. ข
6. ค
7. ง
8. ข
9. ก
10. ค

More Related Content

What's hot

แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิด
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิดแบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิด
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิดคุณครูพี่อั๋น
 
กำหนดการสอนคณิตศาสตร์ ป.2
กำหนดการสอนคณิตศาสตร์ ป.2กำหนดการสอนคณิตศาสตร์ ป.2
กำหนดการสอนคณิตศาสตร์ ป.2Dmath Danai
 
คณิตศาสตร์ ม.3 พาราโบลา
คณิตศาสตร์ ม.3 พาราโบลาคณิตศาสตร์ ม.3 พาราโบลา
คณิตศาสตร์ ม.3 พาราโบลาพัน พัน
 
5.หลักสูตรพลศึกษา
5.หลักสูตรพลศึกษา5.หลักสูตรพลศึกษา
5.หลักสูตรพลศึกษาnang_phy29
 
การตรวจสอบคุณภาพข้อสอบอัตนัย
การตรวจสอบคุณภาพข้อสอบอัตนัยการตรวจสอบคุณภาพข้อสอบอัตนัย
การตรวจสอบคุณภาพข้อสอบอัตนัยNU
 
เลขยกกำลังที่มีเลขชี้กำลังเป็นจำนวนเต็ม
เลขยกกำลังที่มีเลขชี้กำลังเป็นจำนวนเต็มเลขยกกำลังที่มีเลขชี้กำลังเป็นจำนวนเต็ม
เลขยกกำลังที่มีเลขชี้กำลังเป็นจำนวนเต็มkunkrooyim
 
ใบงาน1จุด
ใบงาน1จุดใบงาน1จุด
ใบงาน1จุดkanjana2536
 
1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียงWareerut Hunter
 
หน่วยที่1อัตราส่วนสัดส่วนและร้อยละ
หน่วยที่1อัตราส่วนสัดส่วนและร้อยละหน่วยที่1อัตราส่วนสัดส่วนและร้อยละ
หน่วยที่1อัตราส่วนสัดส่วนและร้อยละfern1707
 
หัวกระดาษข้อสอบ
หัวกระดาษข้อสอบหัวกระดาษข้อสอบ
หัวกระดาษข้อสอบworapanthewaha
 
การวัด ใบงานที่ 3
การวัด ใบงานที่ 3การวัด ใบงานที่ 3
การวัด ใบงานที่ 3Lumyai Pirum
 
แผนการสอนคณิตพื้นฐาน ม.3
แผนการสอนคณิตพื้นฐาน ม.3แผนการสอนคณิตพื้นฐาน ม.3
แผนการสอนคณิตพื้นฐาน ม.3phachanee boonyuen
 
แผน บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
แผน  บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงแผน  บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
แผน บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงทับทิม เจริญตา
 
โครงสร้างคณิตศาสตร์ พื้นฐาน ม.ปลาย
โครงสร้างคณิตศาสตร์ พื้นฐาน ม.ปลายโครงสร้างคณิตศาสตร์ พื้นฐาน ม.ปลาย
โครงสร้างคณิตศาสตร์ พื้นฐาน ม.ปลายInmylove Nupad
 
โครงสร้างสาระวิทย์ป.4
โครงสร้างสาระวิทย์ป.4โครงสร้างสาระวิทย์ป.4
โครงสร้างสาระวิทย์ป.4supphawan
 
วิจัยในชั้นเรียนวิจัยในชั้นเรียนชั้นม.2
วิจัยในชั้นเรียนวิจัยในชั้นเรียนชั้นม.2วิจัยในชั้นเรียนวิจัยในชั้นเรียนชั้นม.2
วิจัยในชั้นเรียนวิจัยในชั้นเรียนชั้นม.2sarawut chaicharoen
 
ชุดที่ 1 อัตราส่วน
ชุดที่ 1 อัตราส่วนชุดที่ 1 อัตราส่วน
ชุดที่ 1 อัตราส่วนSataporn Butsai
 
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์อัตราส่วนและร้อยละ
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์อัตราส่วนและร้อยละแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์อัตราส่วนและร้อยละ
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์อัตราส่วนและร้อยละkroojaja
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 9
สุขฯ ม.2 หน่วย 9สุขฯ ม.2 หน่วย 9
สุขฯ ม.2 หน่วย 9supap6259
 

What's hot (20)

แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิด
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิดแบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิด
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิด
 
กำหนดการสอนคณิตศาสตร์ ป.2
กำหนดการสอนคณิตศาสตร์ ป.2กำหนดการสอนคณิตศาสตร์ ป.2
กำหนดการสอนคณิตศาสตร์ ป.2
 
คณิตศาสตร์ ม.3 พาราโบลา
คณิตศาสตร์ ม.3 พาราโบลาคณิตศาสตร์ ม.3 พาราโบลา
คณิตศาสตร์ ม.3 พาราโบลา
 
5.หลักสูตรพลศึกษา
5.หลักสูตรพลศึกษา5.หลักสูตรพลศึกษา
5.หลักสูตรพลศึกษา
 
การตรวจสอบคุณภาพข้อสอบอัตนัย
การตรวจสอบคุณภาพข้อสอบอัตนัยการตรวจสอบคุณภาพข้อสอบอัตนัย
การตรวจสอบคุณภาพข้อสอบอัตนัย
 
เลขยกกำลังที่มีเลขชี้กำลังเป็นจำนวนเต็ม
เลขยกกำลังที่มีเลขชี้กำลังเป็นจำนวนเต็มเลขยกกำลังที่มีเลขชี้กำลังเป็นจำนวนเต็ม
เลขยกกำลังที่มีเลขชี้กำลังเป็นจำนวนเต็ม
 
ใบงาน1จุด
ใบงาน1จุดใบงาน1จุด
ใบงาน1จุด
 
1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
 
หน่วยที่1อัตราส่วนสัดส่วนและร้อยละ
หน่วยที่1อัตราส่วนสัดส่วนและร้อยละหน่วยที่1อัตราส่วนสัดส่วนและร้อยละ
หน่วยที่1อัตราส่วนสัดส่วนและร้อยละ
 
หัวกระดาษข้อสอบ
หัวกระดาษข้อสอบหัวกระดาษข้อสอบ
หัวกระดาษข้อสอบ
 
การวัด ใบงานที่ 3
การวัด ใบงานที่ 3การวัด ใบงานที่ 3
การวัด ใบงานที่ 3
 
แผนการสอนคณิตพื้นฐาน ม.3
แผนการสอนคณิตพื้นฐาน ม.3แผนการสอนคณิตพื้นฐาน ม.3
แผนการสอนคณิตพื้นฐาน ม.3
 
แผน บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
แผน  บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงแผน  บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
แผน บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
 
โครงสร้างคณิตศาสตร์ พื้นฐาน ม.ปลาย
โครงสร้างคณิตศาสตร์ พื้นฐาน ม.ปลายโครงสร้างคณิตศาสตร์ พื้นฐาน ม.ปลาย
โครงสร้างคณิตศาสตร์ พื้นฐาน ม.ปลาย
 
โครงสร้างสาระวิทย์ป.4
โครงสร้างสาระวิทย์ป.4โครงสร้างสาระวิทย์ป.4
โครงสร้างสาระวิทย์ป.4
 
วิจัยในชั้นเรียนวิจัยในชั้นเรียนชั้นม.2
วิจัยในชั้นเรียนวิจัยในชั้นเรียนชั้นม.2วิจัยในชั้นเรียนวิจัยในชั้นเรียนชั้นม.2
วิจัยในชั้นเรียนวิจัยในชั้นเรียนชั้นม.2
 
ชุดที่ 1 อัตราส่วน
ชุดที่ 1 อัตราส่วนชุดที่ 1 อัตราส่วน
ชุดที่ 1 อัตราส่วน
 
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์อัตราส่วนและร้อยละ
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์อัตราส่วนและร้อยละแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์อัตราส่วนและร้อยละ
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์อัตราส่วนและร้อยละ
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 9
สุขฯ ม.2 หน่วย 9สุขฯ ม.2 หน่วย 9
สุขฯ ม.2 หน่วย 9
 
โจทย์ปัญหา เรื่องการตวง ป 3
โจทย์ปัญหา เรื่องการตวง ป 3โจทย์ปัญหา เรื่องการตวง ป 3
โจทย์ปัญหา เรื่องการตวง ป 3
 

Similar to ชุดเสริมทักษะกระบวนการคณิตศาสตร์ สาหรับการเรียนรู้แบบร่วมมือและเทคนิค KWDL

Best practice บทเรียนการ์ตูนและเกมส์ช่วยสอน โรงเรียนบ้านซับสนุ่น
Best practice   บทเรียนการ์ตูนและเกมส์ช่วยสอน โรงเรียนบ้านซับสนุ่นBest practice   บทเรียนการ์ตูนและเกมส์ช่วยสอน โรงเรียนบ้านซับสนุ่น
Best practice บทเรียนการ์ตูนและเกมส์ช่วยสอน โรงเรียนบ้านซับสนุ่นatunya2530
 
ภารกิจระดับครูปฏิบัติการ
ภารกิจระดับครูปฏิบัติการภารกิจระดับครูปฏิบัติการ
ภารกิจระดับครูปฏิบัติการArpaporn Mapun
 
ครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยJutamart Bungthong
 
ครูปฏิบัติการ
ครูปฏิบัติการครูปฏิบัติการ
ครูปฏิบัติการTaii Wasana
 
งานครูผู้ช่วย
งานครูผู้ช่วยงานครูผู้ช่วย
งานครูผู้ช่วยMoss Worapong
 
ครูปฏิบัติการ
ครูปฏิบัติการครูปฏิบัติการ
ครูปฏิบัติการRatchada Kaewwongta
 
ระดับครผู้ช่วย
ระดับครผู้ช่วยระดับครผู้ช่วย
ระดับครผู้ช่วยtyehh
 
ระดับครูปฏิบัติการ
ระดับครูปฏิบัติการระดับครูปฏิบัติการ
ระดับครูปฏิบัติการRsmay Saengkaew
 
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย2
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย2ภารกิจระดับครูผู้ช่วย2
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย2Jiramet Ponyiam
 
ระดับครูปฏิบัติการ
ระดับครูปฏิบัติการระดับครูปฏิบัติการ
ระดับครูปฏิบัติการVachii Ra
 
ครูปฏิบัติการ
ครูปฏิบัติการครูปฏิบัติการ
ครูปฏิบัติการPamkritsaya3147
 
ครูปฏิบัติการ
ครูปฏิบัติการครูปฏิบัติการ
ครูปฏิบัติการArm Watcharin
 

Similar to ชุดเสริมทักษะกระบวนการคณิตศาสตร์ สาหรับการเรียนรู้แบบร่วมมือและเทคนิค KWDL (20)

Best practice บทเรียนการ์ตูนและเกมส์ช่วยสอน โรงเรียนบ้านซับสนุ่น
Best practice   บทเรียนการ์ตูนและเกมส์ช่วยสอน โรงเรียนบ้านซับสนุ่นBest practice   บทเรียนการ์ตูนและเกมส์ช่วยสอน โรงเรียนบ้านซับสนุ่น
Best practice บทเรียนการ์ตูนและเกมส์ช่วยสอน โรงเรียนบ้านซับสนุ่น
 
ภารกิจระดับครูปฏิบัติการ
ภารกิจระดับครูปฏิบัติการภารกิจระดับครูปฏิบัติการ
ภารกิจระดับครูปฏิบัติการ
 
ครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วย
 
ครูปฏิบัติการ
ครูปฏิบัติการครูปฏิบัติการ
ครูปฏิบัติการ
 
2ดุษณีย์
2ดุษณีย์2ดุษณีย์
2ดุษณีย์
 
งานครูผู้ช่วย
งานครูผู้ช่วยงานครูผู้ช่วย
งานครูผู้ช่วย
 
ครูมืออาชีพ
ครูมืออาชีพครูมืออาชีพ
ครูมืออาชีพ
 
แผนพอเพียง 01-ประพจน์
แผนพอเพียง 01-ประพจน์แผนพอเพียง 01-ประพจน์
แผนพอเพียง 01-ประพจน์
 
แผนพอเพียง 01-ประพจน์
แผนพอเพียง 01-ประพจน์แผนพอเพียง 01-ประพจน์
แผนพอเพียง 01-ประพจน์
 
ครูปฏิบัติการ
ครูปฏิบัติการครูปฏิบัติการ
ครูปฏิบัติการ
 
ครูมืออาชีพ
ครูมืออาชีพครูมืออาชีพ
ครูมืออาชีพ
 
ระดับครผู้ช่วย
ระดับครผู้ช่วยระดับครผู้ช่วย
ระดับครผู้ช่วย
 
ระดับครูปฏิบัติการ
ระดับครูปฏิบัติการระดับครูปฏิบัติการ
ระดับครูปฏิบัติการ
 
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย2
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย2ภารกิจระดับครูผู้ช่วย2
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย2
 
01 ตอนที่ 1 word
01 ตอนที่ 1 word01 ตอนที่ 1 word
01 ตอนที่ 1 word
 
ครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วย
 
ครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วย
 
ระดับครูปฏิบัติการ
ระดับครูปฏิบัติการระดับครูปฏิบัติการ
ระดับครูปฏิบัติการ
 
ครูปฏิบัติการ
ครูปฏิบัติการครูปฏิบัติการ
ครูปฏิบัติการ
 
ครูปฏิบัติการ
ครูปฏิบัติการครูปฏิบัติการ
ครูปฏิบัติการ
 

More from โรงเรียนห้วยแถลงพิทยาคม

บทคัดย่อ การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเคมี
บทคัดย่อ การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเคมีบทคัดย่อ การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเคมี
บทคัดย่อ การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเคมีโรงเรียนห้วยแถลงพิทยาคม
 
ชุดฝึกทักษะการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลและฟังก์ชันลอการิทึม
ชุดฝึกทักษะการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลและฟังก์ชันลอการิทึมชุดฝึกทักษะการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลและฟังก์ชันลอการิทึม
ชุดฝึกทักษะการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลและฟังก์ชันลอการิทึมโรงเรียนห้วยแถลงพิทยาคม
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง คลื่นกล
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง คลื่นกลชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง คลื่นกล
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง คลื่นกลโรงเรียนห้วยแถลงพิทยาคม
 
เอกสารประกอบการสอน เล่มที่ 7 เรื่อง การตรวจสอบและแก้ไขข้อขัดข้องระบบไฟฟ้าในบ้าน
เอกสารประกอบการสอน เล่มที่ 7 เรื่อง การตรวจสอบและแก้ไขข้อขัดข้องระบบไฟฟ้าในบ้านเอกสารประกอบการสอน เล่มที่ 7 เรื่อง การตรวจสอบและแก้ไขข้อขัดข้องระบบไฟฟ้าในบ้าน
เอกสารประกอบการสอน เล่มที่ 7 เรื่อง การตรวจสอบและแก้ไขข้อขัดข้องระบบไฟฟ้าในบ้านโรงเรียนห้วยแถลงพิทยาคม
 
บทเรียนสาเร็จรูป เล่มที่ 3 เรื่อง การเกิดอุบัติเหตุและการปฐมพยาบาล
บทเรียนสาเร็จรูป เล่มที่ 3 เรื่อง การเกิดอุบัติเหตุและการปฐมพยาบาลบทเรียนสาเร็จรูป เล่มที่ 3 เรื่อง การเกิดอุบัติเหตุและการปฐมพยาบาล
บทเรียนสาเร็จรูป เล่มที่ 3 เรื่อง การเกิดอุบัติเหตุและการปฐมพยาบาลโรงเรียนห้วยแถลงพิทยาคม
 
วิจัยชั้นเรียนเพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
วิจัยชั้นเรียนเพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิจัยชั้นเรียนเพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
วิจัยชั้นเรียนเพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน โรงเรียนห้วยแถลงพิทยาคม
 
เอกสารประกอบการเรียนการสอน การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาซี ifและif-else
เอกสารประกอบการเรียนการสอน การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาซี ifและif-elseเอกสารประกอบการเรียนการสอน การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาซี ifและif-else
เอกสารประกอบการเรียนการสอน การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาซี ifและif-elseโรงเรียนห้วยแถลงพิทยาคม
 

More from โรงเรียนห้วยแถลงพิทยาคม (9)

บทคัดย่อ การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเคมี
บทคัดย่อ การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเคมีบทคัดย่อ การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเคมี
บทคัดย่อ การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเคมี
 
แบบฝึกทักษะภาษาอังกฤษ เรื่อง At Home
แบบฝึกทักษะภาษาอังกฤษ เรื่อง At Homeแบบฝึกทักษะภาษาอังกฤษ เรื่อง At Home
แบบฝึกทักษะภาษาอังกฤษ เรื่อง At Home
 
ชุดฝึกทักษะการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลและฟังก์ชันลอการิทึม
ชุดฝึกทักษะการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลและฟังก์ชันลอการิทึมชุดฝึกทักษะการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลและฟังก์ชันลอการิทึม
ชุดฝึกทักษะการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลและฟังก์ชันลอการิทึม
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง คลื่นกล
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง คลื่นกลชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง คลื่นกล
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง คลื่นกล
 
เอกสารประกอบการสอน เล่มที่ 7 เรื่อง การตรวจสอบและแก้ไขข้อขัดข้องระบบไฟฟ้าในบ้าน
เอกสารประกอบการสอน เล่มที่ 7 เรื่อง การตรวจสอบและแก้ไขข้อขัดข้องระบบไฟฟ้าในบ้านเอกสารประกอบการสอน เล่มที่ 7 เรื่อง การตรวจสอบและแก้ไขข้อขัดข้องระบบไฟฟ้าในบ้าน
เอกสารประกอบการสอน เล่มที่ 7 เรื่อง การตรวจสอบและแก้ไขข้อขัดข้องระบบไฟฟ้าในบ้าน
 
บทเรียนสาเร็จรูป เล่มที่ 3 เรื่อง การเกิดอุบัติเหตุและการปฐมพยาบาล
บทเรียนสาเร็จรูป เล่มที่ 3 เรื่อง การเกิดอุบัติเหตุและการปฐมพยาบาลบทเรียนสาเร็จรูป เล่มที่ 3 เรื่อง การเกิดอุบัติเหตุและการปฐมพยาบาล
บทเรียนสาเร็จรูป เล่มที่ 3 เรื่อง การเกิดอุบัติเหตุและการปฐมพยาบาล
 
The idol
The idol The idol
The idol
 
วิจัยชั้นเรียนเพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
วิจัยชั้นเรียนเพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิจัยชั้นเรียนเพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
วิจัยชั้นเรียนเพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
 
เอกสารประกอบการเรียนการสอน การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาซี ifและif-else
เอกสารประกอบการเรียนการสอน การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาซี ifและif-elseเอกสารประกอบการเรียนการสอน การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาซี ifและif-else
เอกสารประกอบการเรียนการสอน การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาซี ifและif-else
 

ชุดเสริมทักษะกระบวนการคณิตศาสตร์ สาหรับการเรียนรู้แบบร่วมมือและเทคนิค KWDL

  • 3. 1 คานา ชุดเสริมทักษะกระบวนการคณิตศาสตร์ สาหรับการเรียนรู้แบบร่วมมือและเทคนิค KWDL เรื่อง การแยกตัวประกอบของพหุนาม รายวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน ค31101 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 เล่มนี้ จัดทาขึ้นโดยมีวัตถุประสงค์ใช้เป็นกระบวนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ รายวิชาคณิตศาสตร์ พื้นฐาน เพื่อให้นักเรียนมีทักษะทางคณิตศาสตร์ การแก้ปัญหา การให้เหตุผล การเชื่อมโยง การ สื่อสาร การสื่อความหมายและการนาเสนอ รวมถึงทักษะการทางานกลุ่ม ตามขั้นตอนการเรียนรู้ แบบร่วมมือกัน ที่เน้นความแตกต่างระหว่างบุคคล และการช่วยเหลือซึ่งกันละกัน ชุดเสริมทักษะกระบวนการคณิตศาสตร์ สาหรับการเรียนรู้แบบร่วมมือและเทคนิค KWDL แต่ละชุด มีส่วนประกอบภายในชุด 2 ส่วนได้แก่ 1) คู่มือครู 2) คู่มือนักเรียน ผู้วิจัยได้สร้างชุดเสริม ทักษะกระบวนการคณิตศาสตร์ สาหรับการเรียนรู้แบบร่วมมือและเทคนิค KWDL ทั้งหมด 7 ชุด สาหรับชุดเสริมทักษะกระบวนการคณิตศาสตร์ ชุดนี้ คือ ชุดที่ 3 การแยกตัวประกอบของพหุนาม ข้าพเจ้าหวังว่าชุดเสริมทักษะกระบวนการคณิตศาสตร์ สาหรับการเรียนรู้แบบร่วมมือและ เทคนิค KWDL นี้ จะเป็นประโยชน์ แก่นักเรียนและผู้อ่านเป็นอย่างมาก และขอขอบคุณ นายทวนทอง ชูละออง ผู้อานวยการสถานศึกษาโรงเรียนช่องแมววิทยาคม ที่สนับสนุนและส่งเสริม ในการจัดทาชุดเสริมทักษะกระบวนการคณิตศาสตร์ นี้ ขอขอบคุณคณะครูทุกท่านที่ให้คาชี้แนะ และ กาลังใจ รวมทั้งนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ทุกคนที่สะท้อนความคิดเห็นต่อชุดเสริมทักษะ กระบวนการคณิตศาสตร์ นี้จนทาให้ได้เอกสารที่มีประสิทธิภาพ เป็นประโยชน์ต่อการจัดการเรียนรู้ ได้ดียิ่งขึ้น กาญจนา ภุมรา
  • 4. 2 สารบัญ เรื่อง หน้า คานา....................................................................................................................................................................... ก สารบัญ......................................................................................................................................................................... ข ชุดเสริมทักษะกระบวนการทางณิตศาสตร์................................................................................................... 3 คู่มือครู.......................................................................................................................................................... 4 คู่มือนักเรียน................................................................................................................................................. 5 ชุดเสริมทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์รายวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน ค31101 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4...................................................................................................................... 6 ใบความรู้ที่ 1 เรื่อง การแยกตัวประกอบของพหุนาม........................................................................ 8 กิจกรรมที่ 1 เรื่อง ทักษะการสื่อสาร สื่อความหมาย และนาเสนอ................................................................ 13 กิจกรรมที่ 2 เรื่อง ทักษะการเชื่อมโยง........................................................................................................... 14 กิจกรรมที่ 3 เรื่อง ทักษะการแก้ปัญหา......................................................................................................... 15 กิจกรรมที่ 4 เรื่อง ทักษะการให้เหตุผล......................................................................................................... 17 แบบทดสอบ เรื่อง การแยกตัวประกอบของพหุนาม............................................................................ 18 บรรณานุกรม................................................................................................................................................................. 20 ภาคผนวก...................................................................................................................................................................... 21 เฉลยกิจกรรมที่ 1 เรื่อง ทักษะการสื่อสาร สื่อความหมาย และนาเสนอ........................................................ 22 เฉลยกิจกรรมที่ 2 เรื่อง ทักษะการเชื่อมโยง.................................................................................................. 23 เฉลยกิจกรรมที่ 3 เรื่อง ทักษะการแก้ปัญหา................................................................................................. 24 เฉลยกิจกรรมที่ 4 เรื่อง ทักษะการให้เหตุผล................................................................................................. 26 เฉลยแบบทดสอบ เรื่อง การแยกตัวประกอบของพหุนาม................................................................... 27
  • 5. 3 ชุดเสริมทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ ชุดเสริมทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ สาหรับการเรียนรู้แบบร่วมมือและเทคนิค KWDL เรื่อง การแยกตัวประกอบของพหุนาม รายวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน ค31101 ชั้นมัธยมศึกษา ปีที่ 4 มีส่วนประกอบ 2 ส่วน คือ ส่วนที่ 1 คู่มือครู และส่วนที่ 2 คู่มือนักเรียน ดังแผนผัง ส่วนประกอบของชุดเสริมทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ ดังนี้ แผนผังส่วนประกอบของชุดเสริมทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ ชุดเสริมทักษะกระบวนการคณิตศาสตร์ คู่มือครู บทบาทของครู แผนการจัดการ เรียนรู้ คู่มือนักเรียน บทบาทของนักเรียน แบบฝึกทักษะ
  • 6. 4 บทบาทของครูผู้สอนมีดังนี้ 1.1 ตรวจสอบองค์ประกอบภายในชุดเสริมทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ ที่ครู จะต้องตรวจให้ครบถ้วนดังนี้ 1.1.1 คู่มือครู 1) บทบาทของครูผู้สอน 2) แผนการจัดการเรียนรู้ 1.1.2 คู่มือนักเรียน 1) บทบาทของนักเรียน 2) แบบฝึกทักษะ - ใบความรู้ - กิจกรรม - แบบทดสอบ 1.2 ศึกษาคู่มือครู ได้แก่ บทบาทของครู และแผนการจัดการเรียนรู้ จากชุดเสริม ทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ ให้เข้าใจ 1.3 จัดเตรียมสื่อและเครื่องมือที่ใช้ประกอบการจัดการเรียนรู้ ได้แก่ ใบความรู้ แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ และแบบทดสอบให้พร้อม 1.4 ศึกษาบทบาทของนักเรียน และชี้แจงให้นักเรียนรู้บทบาทของตนเอง ในการ เรียนรู้โดยใช้ ชุดเสริมทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ 1.5 จัดกิจกรรมการเรียนการสอนให้เป็นไปตามขั้นตอนของแผนการจัดการเรียนรู้ที่ เน้นวิธีสอนแบบร่วมมือและเทคนิคการสอน KWDL 1.6 ให้คาแนะนาและเป็นที่ปรึกษาแก่นักเรียนในขณะทากิจกรรม 1.7 ประเมินและวิเคราะห์ข้อมูล 1. บทบาทของครูผู้สอน คู่มือครู
  • 7. 5 1.1.1 ก่อนเรียนชุดที่ 1 นี้ นักเรียนต้องศึกษาบทบาทของนักเรียนให้เข้าใจ 1.1.2 นักเรียนต้องศึกษาคาชี้แจง จากใบความรู้ ใบกิจกรรม ตามลาดับ หากมีข้อ สงสัยให้ถามครู 1.1.3 เมื่อเรียนจบชุดที่ 3 นี้แล้ว นักเรียนจะต้องทาแบบทดสอบ เรื่อง การแยกตัว ประกอบของพหุนาม 1.2.1 วัดจาการทาแบบทดสอบ และประเมินผ่านตั้งแต่ร้อยละ 80 ของคะแนนสอบ แบบทดสอบ 1.2.2 วัดจาการตอบคาถามของกิจกรรมในชุดเสริมทักษะกระบวนการทาง คณิตศาสตร์ และประเมินผ่านตั้งแต่ร้อยละ 80 1.2.3 วัดพฤติกรรมการทากิจกรรมกลุ่ม โดยครูผู้สอน และประเมินผ่านตั้งแต่ระดับ คุณภาพ 2 ขึ้นไป คิดจากเกณฑ์ของแบบสังเกตพฤติกรรมการทากิจกรรมกลุ่ม ส่วนประกอบในชุดเสริมทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ มีดังนี้ 2.1 คาแนะนาการใช้ชุดเสริมทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ 2.1.1 คาแนะนาสาหรับครู 2.1.2 คาแนะนาสาหรับนักเรียน 2.2 ตัวชี้วัด / สาระสาคัญ / จุดประสงค์การเรียนรู้ 2.3 ใบความรู้ 2.4 กิจกรรม 2.5 แบบทดสอบ 2.6 บรรณานุกรม 2.7 ภาคผนวก 2.7.1 เฉลยกิจกรรม 2.7.2 เฉลยแบบทดสอบ คู่มือนักเรียน 1. บทบาทของนักเรียน 1.1 กิจกรรมที่นักเรียนต้องปฏิบัติ 2. แบบฝึกเสริมทักษะกระบวนการทาง คณิตศาสตร์ 1.2 การวัดและประเมินผล
  • 8. 6 1.1 ครูควรเตรียมชุดเสริมทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ ให้เพียงพอกับนักเรียน 1.2 แนะนาวิธีการใช้แบบฝึกนี้ร่วมกับการเรียนแบบร่วมมือให้นักเรียนเข้าใจ 1.3 แจกแบบชุดเสริมทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ ให้นักเรียนและกาชับให้อ่านคาสั่งให้เข้าใจ จะได้ปฏิบัติได้ถูกต้อง 1.4 หากมีนักเรียนบางคนเรียนไม่ทัน ครูควรให้คาแนะนาเป็นพิเศษ หลังจากนักเรียนทากิจกรรมตรม ขั้นตอนเสร็จเรียบร้อยแล้ว 1.5 ให้นักเรียนทาแบบทดสอบ แล้วส่งตรวจ ครูบันทึกคะแนนของนักเรียนเพื่อประเมินความก้าวหน้าของ นักเรียน 2.1 .ให้นักเรียนศึกษาจุดประสงค์การเรียนรู้ และอ่านคาชี้แจงในแต่ละกิจกรรมให้เข้าใจ 2.2 ให้นักเรียนศึกษาแนวทางการทาจากตัวอย่างที่กาหนดให้เข้าใจแล้วจึงลงมือทากิจกรรมในแบบฝึก ทักษะ 2.3 ขณะทากิจกรรมเมื่อพบข้อสงสัย ให้ร่วมกันคิดวิเคราะห์ เพื่อข้อสรุปที่ถูกต้อง หรือนาข้อสงสัยนั้น ปรึกษากับครูผู้สอน 2.4 เมื่อนักเรียนทากิจกรรมเสร็จ สมาชิกในกลุ่มนากิจกรรมที่ทา ส่งตรวจเพื่อบันทึกคะแนน 2.5 ให้นักเรียนทากิจกรรมในแบบฝึกทักษะ ด้วยความตั้งใจ ตามความสามารถของตนเอง 2.6 หลังเรียนจบชุดนี้ แล้ว ให้นักเรียนทาแบบทดสอบ จานวน 10 ข้อ ใช้เวลา 15 นาที ชุดเสริมทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ รายวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐาน ค31101 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ชุดที่ 3 เรื่อง การแยกตัวประกอบของพหุนาม คาแนะนาการใช้ชุดเสริมทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ 1. คาแนะนาสาหรับครู 2. คาแนะนาสาหรับนักเรียน
  • 9. 7 มาตรฐาน ค 1.4 เข้าใจระบบจานวนและนาสมบัติของจานวนไปใช้ได้ ตัวชี้วัด ม.4 – 6 /1 เข้าใจสมบัติของจานวนจริงเกี่ยวกับ การบวก การคูณ การเท่ากัน และ การไม่เท่ากัน และนาไปใช้ได้ การแยกตัวประกอบพหุนาม 2 x bx c  เมื่อ b และ c เป็นค่าคงตัวที่ c 0 ทา ได้โดยการหาจานวน d และ e ที่ de = c และ d + e = b ที่ทาให้ 2 x bx c  = ( x + d)(x + c) 1. ด้านความรู้ 1.1 นักเรียนสามารถบอกสิ่งที่โจทย์กาหนดให้ และหาค่าสิ่งที่โจทย์ต้องการได้ 1.2 นักเรียนสามารถแยกตัวประกอบพหุนามที่เป็นกาลังสองสมบูรณ์ได้ 1.3 นักเรียนสามารถแยกตัวประกอบโดยทาให้เป็นกาลังสองสมบูรณ์ได้ 2. ด้านทักษะกระบวนการ 2.1 การแก้ปัญหา 2.2 การให้เหตุผล 2.3 การสื่อความหมาย 2.4 การเชื่อมโยงความรู้ทางคณิตศาสตร์ 3. คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 3.1 นักเรียนมีความร่วมมือ ความรับผิดชอบ แสดงความคิดเห็น ยอมรับความคิด และตรงต่อเวลา ตัวชี้วัด / สาระสาคัญ / จุดประสงค์การเรียนรู้ ตัวชี้วัด สาระสาคัญ จุดประสงค์การเรียนรู้
  • 10. 8 ขั้นตอน K และ W นี้ พวกเราต้องฝึกเพื่อเราจะได้รู้ว่า เรามี ทักษะการสื่อสาร สื่อความหมาย และนาเสนอได้หรือไม่ ขั้นตอน D ทาอย่างไรนั้นจะเน้น 1.ฝึกทักษะการเชื่อมโยงความรู้ ระหว่างข้อมูล ในขั้น K และ W 2. ฝึกทักษะการแก้ปัญหา โดย นาสมบัติการ บวก การคูณ การ แจกแจง มาใช้ การพิจารณาหาคาตอบจาการแยกตัวประกอบที่เป็นกาลังสองสมบรณ์ มีวิธีการดังนี้ 1. เขียนสิ่งที่โจทย์กาหนดให้ (โจทย์ถาม) , K (Know) 2. เขียนสิ่งที่โจทย์ต้องการทราบ , W (Want) 3. เชื่อมโยงระหว่างสิ่งที่โจทย์กาหนดให้กับสิ่งที่โจทย์ต้องการทราบ , D (Do) 4. สรุปสิ่งที่ได้จากการเรียนรู้ , L(Learned) จากการคิด วิเคราะห์ ด้วยเทคนิค KWDL ตัวอย่างที่ 1 จงแยกตัวประกอบของ 2 x 7x 10  (K) รู้อะไรจากโจทย์ (W) โจทย์ต้องการ ทราบอะไร (D) ทาอย่างไร (L) ได้อะไรจากการเรียนรู้ จากพหุนาม 2 x 7x 10  สัมประสิทธิ์ของ x2 = 1 สัมประสิทธิ์ของ x1 = 7 แทนด้วย b สัมประสิทธิ์ของ x0 = 10 แทนด้วย c แยกตัวประกอบ พหุนาม ในรูป (x + d)(x + e) 1.หาจานวนสอง จานวนซึ่งคูณกันได้ 10 และบวกกันได้ 7 2. หา de = 10 และ d + e = 7 ซึ่งในที่นี้ คือ 2 และ 5 3. นา (2)(5) = 10 2 + 5 = 7 4.ให้ d = 2 และ e = 5 5. เขียนในรูป (x + d)(x + e) 6. ดังนั้น ตัวประกอบ ของ 2 x 7x 10  คือ (x + 2)(x + 5) ตอบ ตัวประกอบของ 2 x 7x 10  เท่ากับ (x + 2)(x + 5) จะได้ (x + 2)(x + 5) = x(x+5) + 2(x+5) = x2 + 5x + 2x + 10 = x2 + 7x + 10 ใบความรู้ เรื่อง การแยกตัวประกอบของพหุนาม) การแยกตัวประกอบ ของพหุนามที่เป็นกาลังสองสมบูรณ์ ขั้นตอน L ขั้นตอนนี้ สามารถแสดงเหตุผลได้ว่า คาตอบนี้ถูกต้อง
  • 11. 9 ขั้นตอน K และ W นี้ พวกเราต้องฝึกเพื่อเราจะได้รู้ว่า เรามี ทักษะการสื่อสาร สื่อความหมาย และนาเสนอได้หรือไม่ ขั้นตอน D ทาอย่างไรนั้นจะเน้น 1.ฝึกทักษะการเชื่อมโยงความรู้ ระหว่างข้อมูล ในขั้น K และ W 2. ฝึกทักษะการแก้ปัญหา โดย นาสมบัติการ บวก การคูณ การ แจกแจง มาใช้ ตัวอย่างที่ 2 จงแยกตัวประกอบของ 2 x x 6  (K) รู้อะไรจากโจทย์ (W) โจทย์ต้องการ ทราบอะไร (D) ทาอย่างไร (L) ได้อะไรจากการเรียนรู้ จากพหุนาม 2 x x 6  สัมประสิทธิ์ของ x2 = 1 สัมประสิทธิ์ของ x1 = 1 แทนด้วย b สัมประสิทธิ์ของ x0 = - 6 แทนด้วย c แยกตัวประกอบ พหุนาม ในรูป (x + d)(x + e) 1.หาจานวนสอง จานวนซึ่งคูณกันได้ - 6 และบวกกันได้ 1 2. หา de = - 6 และ d + e = 1 ซึ่งในที่นี้ คือ - 2และ 3 3. นา (- 2)(3) = - 6 - 2 + 3 = 1 4.ให้ d = - 2 และ e = 3 5. เขียนในรูป (x + d)(x + e) 6. ดังนั้น ตัวประกอบ ของ 2 x x 6  คือ (x – 2)(x + 3) ตอบ ตัวประกอบของ 2 x x 6  เท่ากับ (x – 2)(x + 3) จะได้ (x – 2)(x + 3) = x(x+3) – 2(x+3) = x2 + 3x – 2x – 6 = x2 + x – 6 หนูๆ จะต้องจาให้ขึ้นใจว่า 1. เรารู้อะไรจากโจทย์ (K) 2. โจทย์ต้องการทราบอะไร(W) 3. เราจะทาอย่างไร (D) 4. สรุปสิ่งที่เราเรียนรู้ (L)
  • 12. 10 ตัวอย่างที่ 3 จงแยกตัวประกอบของ 2 x 5x 6  (K) รู้อะไรจากโจทย์ (W) โจทย์ต้องการ ทราบอะไร (D) ทาอย่างไร (L) ได้อะไรจากการเรียนรู้ จากพหุนาม 2 x 5x 6  สัมประสิทธิ์ของ x2 = 1 สัมประสิทธิ์ของ x1 = - 5 แทนด้วย b สัมประสิทธิ์ของ x0 = 6 แทนด้วย c แยกตัวประกอบ พหุนาม ในรูป (x + d)(x + e) 1.หาจานวนสอง จานวนซึ่งคูณกันได้ 6 และบวกกันได้ - 5 2. หา de = 6 และ d + e = - 5 ซึ่งในที่นี้ คือ - 2 และ -3 3. นา (- 2)(-3) = 6 - 2 + -3 = - 5 4. ให้ d = - 2 และ e = - 3 5. เขียนในรูป (x + d)(x + e) 6. ดังนั้น ตัวประกอบ ของ 2 x 5x 6  คือ (x – 2)(x – 3) ตอบ ตัวประกอบของ 2 x 5x 6  เท่ากับ (x – 2)(x – 3) จะได้ (x – 2)(x – 3) = x(x – 3) – 2(x – 3) = x2 – 3x – 2x + 6 = 2 x 5x 6  หนูๆ จะต้องจาให้ขึ้นใจว่า 1. เรารู้อะไรจากโจทย์ (K) 2. โจทย์ต้องการทราบอะไร(W) 3. เราจะทาอย่างไร (D) 4. สรุปสิ่งที่เราเรียนรู้ (L) ขั้นตอน K และ W ขั้นตอนทั้งสองนี้ตรวจสอบ ว่า เรามีทักษะการสื่อสาร สื่อความหมายและ นาเสนอ ได้หรือไม่ เมื่ออ่านโจทย์จะพบว่า 1. พจน์กลาง คือสัมประสิทฺธิ์ ของ x เป็นลบ และ พจน์หลัง คือสัมประสิทธิ์ ของ x 0 เป็น บวก 2. จานวนที่นามาคูณกันได้ บวก แต่บวกกันแล้วได้ เครื่องหมายลบ ก็คือ จานวนที่ มีเครื่องหมายเหมือนกันคือ จานวนที่มีเครื่องหมายเป็นลบ ทั้งคู่
  • 13. 11 ตัวอย่างที่ 4 จงแยกตัวประกอบของ 2 x 16 (K) รู้อะไรจากโจทย์ (W) โจทย์ต้องการ ทราบอะไร (D) ทาอย่างไร (L) ได้อะไรจากการเรียนรู้ จากพหุนาม 2 x 16 สัมประสิทธิ์ของ x2 = 1 สัมประสิทธิ์ของ x1 = 0 แทนด้วย b สัมประสิทธิ์ของx0 = -16 แทนด้วย c แยกตัวประกอบ พหุนาม ในรูป (x + d)(x + e) 1. หาจานวนสอง จานวนซึ่งคูณกันได้-16 และบวกกันได้ 0 2. หา de = -16 และ d + e = 0 ซึ่งในที่นี้ คือ 4 และ - 4 3. นา (4)(- 4) = - 16 4 + (- 4) = 0 4. ให้ d = 4 และ e = - 4 5. เขียนในรูป (x + d)(x + e) 6. ดังนั้น ตัวประกอบ ของ 2 x 16 คือ (x + 4)(x – 4) ตอบ ตัวประกอบของ 2 x 16 เท่ากับ (x + 4)(x – 4) จะได้ (x + 4)(x – 4) = x(x – 4) + 4(x – 4) = x2 – 4x + 4x + 16 = 2 x 16 0x หนูๆ จะต้องจาให้ขึ้นใจว่า 1. เรารู้อะไรจากโจทย์ (K) 2. โจทย์ต้องการทราบอะไร(W) 3. เราจะทาอย่างไร (D) 4. สรุปสิ่งที่เราเรียนรู้ (L) ขั้นตอน K และ W ขั้นตอนทั้งสองนี้ตรวจสอบ ว่า เรามีทักษะการสื่อสาร สื่อความหมายและ นาเสนอ ได้หรือไม่ เมื่ออ่านโจทย์จะพบว่า 1. พจน์กลาง ไม่มี นั่นคือ สัมประสิทธิ์ของ x เป็น 0 และ พจน์หลัง คือสัมประสิทธิ์ ของ x 0 เป็นลบ 2. จานวนที่นามาคูณกันได้ จานวน ลบ แต่บวกกันแล้วได้ จานวน 0 ก็คือ จานวนที่มี เครื่องหมายต่างกันและเป็น จานวนเดียวกัน คือจานวนที่มี เครื่องหมายเป็นบวกและเป็น ลบ ในกรณีที่ทั่วไป เมื่อ a เป็นค่าคงตัวที่ไม่เท่ากับ 0
  • 14. 12 ตัวอย่างที่ 5 จงแยกตัวประกอบของ 2 2x 9x 81  (K) รู้อะไรจากโจทย์ (W) โจทย์ต้องการ ทราบอะไร (D) ทาอย่างไร (L) ได้อะไรจากการ เรียนรู้ จากพหุนาม 2 2x 9x 81  สัมประสิทธิ์ของ x2 = 2 สัมประสิทธิ์ของ x1 = +9 แทนด้วย b สัมประสิทธิ์ของx0 =- 81 แทนด้วย c แยกตัวประกอบ พหุนาม ในรูป (px + d)(qx + e) 1.หาจานวนสองจานวน ซึ่งคูณกันได้ พจน์หน้า และพจน์หลัง 2. เขียนในรูป (px + d)(qx + e) 3. หา p, q , d และ e ที่ทาให้ pq = สัมประสิทธิ์ของ พจน์หน้า de = สัมประสิทธิ์ของ พจน์หลัง pe + de = สัมประสิทธิ์ ของพจน์กลาง 4.ดังนั้น pq = (2)(1) = 2 de = (-9)(9) = - 81 pq + de =18 + (-9) =9 5. ดังนั้น ตัวประกอบของ 2 2x 9x 81  คือ (2x - 9)(x + 9) ตอบ ตัวประกอบของ 2 2x 9x 81  เท่ากับ (2x – 9)(x + 9) จะได้ (2x – 9)(x + 9) = 2x(x +9) - 9(x + 9) = 2x2 +18x - 9x - 81 = 2 2x 9x 81  หนูๆ จะต้องจาให้ขึ้นใจว่า 1. เรารู้อะไรจากโจทย์ (K) 2. โจทย์ต้องการทราบอะไร(W) 3. เราจะทาอย่างไร (D) 4. สรุปสิ่งที่เราเรียนรู้ (L) ขั้นตอน K และ W ขั้นตอนทั้งสองนี้ตรวจสอบ ว่า เรามีทักษะการสื่อสาร สื่อความหมายและ นาเสนอ ได้หรือไม่ ขั้นตอน D เมื่ออ่านโจทย์จะ พบว่า 1. สัมประสิทธิ์ ของ x 2 ไม่ เท่ากับ 1 เหมือนตัวอย่างที่เคย ทามา 2. เราจะต้องหาจานวนที่คูณ กันแล้วได้พจน์หน้า และ จานวนที่นามาคูณกันแล้วได้ พจน์หลัง เช่น กาหนด pq = พจน์หน้า และ de = พจน์หลัง 3. และเช็คพจน์กลางด้วยการ คูณไขว้ โดยนา pe + dq ไม่ยากนะจ๊ะ ฝึกการเชื่อมโยง จ้า
  • 15. 13 ให้นักเรียนเติมคาลงในช่องว่างให้ถูกต้อง (10 คะแนน) (K) รู้อะไรจากโจทย์ (W) โจทย์ต้องการ ทราบอะไร (D) ทาอย่างไร (L) ได้อะไรจากการ เรียนรู้ จากพหุนาม 2 x 10x 21  สัมประสิทธิ์ของ x2 = ….. สัมประสิทธิ์ของ x1 = ….. แทนด้วย b สัมประสิทธิ์ของx0 =……. แทนด้วย c แยกตัวประกอบ พหุนาม ในรูป (x + d)(x + e) 1.หาจานวนสองจานวน ซึ่งคูณกันได้ 21 และบวก กันได้ 10 2. หา de = 21 และ d + e = 10 ซึ่งในที่นี้ คือ ........... และ ............ 3. นา (......)(……) = 21 ……..+ ……. = 10 4. ได้ d = ...... และ e = ...... 5. เขียนในรูป (x + d)(x + e) 6. ดังนั้น ตัวประกอบของ 2 x 10x 21  คือ (x + .......)(x + ..........) 1.ตอบ ตัวประกอบของ 2 x 10x 21  เท่ากับ (...........)(............) 2.ตรวจคาตอบ จะได้ (x + ......)(x + ......) = x(x+…..) +….(x+…..) = x2 + ……x +…..x +21 = 2 x 10x 21  2 คะแนน - 5 คะแนน 3 คะแนน ชื่อ........................................................................................ คะแนนที่ได้............... ชั้น......................เลขที่ ....................................................... คะแนนเต็ม 10 กิจกรรมที่ 1 เรื่อง ทักษะการสื่อสาร สื่อความหมาย และนาเสนอ คาชี้แจง โจทย์ จงแยกตัวประกอบของพหุนาม
  • 16. 14 ให้นักเรียนเติมคาลงในช่องว่างให้ถูกต้อง (10 คะแนน) (K) รู้อะไรจากโจทย์ (W) โจทย์ต้องการ ทราบอะไร (D) ทาอย่างไร (L) ได้อะไรจากการ เรียนรู้ จากพหุนาม 2 x 8x 20  สัมประสิทธิ์ของ x2 = ….. สัมประสิทธิ์ของ x1 = ….. แทนด้วย b สัมประสิทธิ์ของx0 =……. แทนด้วย c แยกตัวประกอบ พหุนาม ในรูป (x + d)(x + e) 1.หาจานวนสองจานวน ซึ่งคูณกันได้ - 20 และ บวกกันได้ 8 2. หา de = - 20 และ d + e = 8 ซึ่งในที่นี้ คือ ........... และ ............ 3. นา (......)(……) = - 20 ……..+ ……. = 8 4. ได้ d = ...... และ e = ...... 5. เขียนในรูป (x + d)(x + e) 6. ดังนั้น ตัวประกอบของ 2 x 8x 20  คือ (x .......)(x ..........) 1.ตอบ ตัวประกอบของ 2 x 8x 20  เท่ากับ (...........)(............) 2.ตรวจคาตอบ จะได้ (x + ......)(x + ......) = x(x+…..) +….(x+…..) = x2 + .…x +…..x – 20 = 2 x 8x 20  2 คะแนน - 5 คะแนน 3 คะแนน ชื่อ........................................................................................ คะแนนที่ได้............... ชั้น......................เลขที่ ....................................................... คะแนนเต็ม 10 กิจกรรมที่ 2 เรื่อง ทักษะการเชื่อมโยง คาชี้แจง โจทย์ จงแยกตัวประกอบของพหุนาม
  • 17. 15 ให้นักเรียนเติมคาลงในช่องว่างให้ถูกต้อง (10 คะแนน) (K) รู้อะไรจากโจทย์ (W) โจทย์ต้องการ ทราบอะไร (D) ทาอย่างไร (L) ได้อะไรจากการ เรียนรู้ จากพหุนาม 2 x 10x 21  สัมประสิทธิ์ของ x2 = ….. สัมประสิทธิ์ของ x1 = ….. แทนด้วย b สัมประสิทธิ์ของx0 =……. แทนด้วย c แยกตัวประกอบ พหุนาม ในรูป (x + d)(x + e) 1.หาจานวนสองจานวน ซึ่งคูณกันได้ - 21 และ บวกกันได้ -10 2. หา de = - 21 และ d + e = - 10 ซึ่งในที่นี้ คือ ........... และ ............ 3. นา (......)(……) = - 21 ……..+ ……. = - 10 4. ได้ d = ...... และ e = ...... 5. เขียนในรูป (x + d)(x + e) 6. ดังนั้น ตัวประกอบของ 2 x 10x 21  คือ (x .......)(x ..........) 1.ตอบ ตัวประกอบของ 2 x 10x 21  เท่ากับ (...........)(............) 2.ตรวจคาตอบ จะได้ (x + ......)(x + ......) = x(x+…..) +….(x+…..) = x2 + .…x +…..x – 21 = 2 x 10x 21  2 คะแนน - 5 คะแนน 3 คะแนน ชื่อ........................................................................................ คะแนนที่ได้............... ชั้น......................เลขที่ ....................................................... คะแนนเต็ม 10 กิจกรรมที่ 3 เรื่อง ทักษะการแก้ปัญหา คาชี้แจง 1. จงแยกตัวประกอบของพหุนาม
  • 18. 16 (K) รู้อะไรจากโจทย์ (W) โจทย์ต้องการ ทราบอะไร (D) ทาอย่างไร (L) ได้อะไรจากการ เรียนรู้ จากพหุนาม 2 6x 7x 2  สัมประสิทธิ์ของ x2 = 6 สัมประสิทธิ์ของ x1 = 7 แทนด้วย b สัมประสิทธิ์ของx0 = 2 แทนด้วย c แยกตัวประกอบ พหุนาม ในรูป (px + d)(qx + e) 1.หาจานวนสองจานวน ซึ่งคูณกันได้ พจน์หน้า และพจน์หลัง 2. เขียนในรูป (px + d)(qx + e) 3. หา p =…….. q =……… d = …….. e = ……… ที่ทาให้ pq = สัมประสิทธิ์พจน์ หน้า de = สัมประสิทธิ์พจน์ หลัง pe + de = สัมประสิทธิ์ พจน์กลาง 4.ดังนั้น pq = (......)(......) = 6 de = (…....)(……) = 2 pe + dq=……+….. = 7 5. ดังนั้น ตัวประกอบของ 2 6x 7x 2  คือ (……………)(…………….) 1.ตอบ ตัวประกอบของ 2 6x 7x 2  เท่ากับ (……………)(…………….) 2.ตรวจคาตอบ จะได้ (…………)(….…….) = …………………………… = ………………………….. = 2 6x 7x 2  - - 5 คะแนน 5 คะแนน ชื่อ........................................................................................ คะแนนที่ได้............... ชั้น......................เลขที่ ....................................................... คะแนนเต็ม 10 2. จงแยกตัวประกอบของพหุนาม
  • 19. 17 ให้นักเรียนเติมคาลงในช่องว่างให้ถูกต้อง (10 คะแนน) (K) รู้อะไรจากโจทย์ (W) โจทย์ต้องการ ทราบอะไร (D) ทาอย่างไร (L) ได้อะไรจากการ เรียนรู้ จากพหุนาม 2 x 10x 11  สัมประสิทธิ์ของ x2 = 1 สัมประสิทธิ์ของ x1 =-10 แทนด้วย b สัมประสิทธิ์ของx0 =-11 แทนด้วย c แยกตัวประกอบ พหุนาม ในรูป (x + d)(x + e) 1.หาจานวนสองจานวน ซึ่งคูณกันได้ - 11 และ บวกกันได้ -10 2. หา de = - 11 และ d + e = - 10 ซึ่งในที่นี้ คือ 1 และ - 11 3. นา (…….)(-11)= - 11 …… + (-11) = - 10 4. ได้ d = ……… และ e = ……… 5. เขียนในรูป (x + d)(x + e) 6. ดังนั้น ตัวประกอบของ 2 x 10x 11  คือ (x ……… )(x ……..) 1.ตอบ ตัวประกอบของ 2 x 10x 11  เท่ากับ (x + 1)(x - 11) 2.ตรวจคาตอบ …………………………….. …………………………….. …………………………….. …………………………….. …………………………….. 2 คะแนน - 4 คะแนน 6 คะแนน ชื่อ........................................................................................ คะแนนที่ได้............... ชั้น......................เลขที่ ....................................................... คะแนนเต็ม 10 กิจกรรมที่ 4 เรื่อง การให้เหตุผล คาชี้แจง 3. จงแยกตัวประกอบของพหุนาม
  • 20. 18 ให้นักเรียนทาเครื่องหมาย X ทับอักษร ก ข ค หรือ ง ที่เป็นคาตอบที่ ถูกต้องที่สุด เพียงคาตอบเดียวเท่านั้น 1. ตัวประกอบของพหุนาม 2 x 4x 3  ตรงกับข้อใด? ก.   x 3 x 1  ข.   x 3 x 1  ค.   x 2 x 2  ง.   x 3 x 1  2. ตัวประกอบของพหุนาม 2 x 5x 6  ตรงกับข้อใด? ก.   x 3 x 2  ข.   x 3 x 2  ค.   x 6 x 1  ง.   x 6 x 1  3. ตัวประกอบของพหุนาม 2 x x 30  ตรงกับข้อใด? ก.   x 6 x 5  ข.   x 3 x 10  ค.   x 6 x 5  ง.   x 15 x 2  4. ตัวประกอบของพหุนาม 2 x 6x 8  ตรงกับข้อใด? ก.   x 4 x 2  ข.   x 8 x 1  ค.   x 4 x 2  ง.   x 4 x 2  5. ตัวประกอบของพหุนาม 2 x 10x 25  ตรงกับข้อใด? ก.   x 25 x 1  ข.   x 5 x 5  ค.   x 5 x 5  ง.   x 5 x 5  6. ตัวประกอบของพหุนาม 2 x 12x 13  ตรงกับข้อใด? ก.   x 9 x 1  ข.   x 13 x 1  ค.   x 1 x 13  ง.   x 13 x 1  7. ตัวประกอบของพหุนาม 2 x 9 ตรงกับข้อใด? ก.   x 9 x 1  ข.   x 3 x 3  ค.   x 3 x 3  ง.   x 3 x 3  แบบทดสอบ เรื่อง การนาสมบัติของจานวนจริงไปใช้ในการแก้สมการกาลังสอง (การแยกตัวประกอบของพหุนาม) คาชี้แจง
  • 21. 19 8. ตัวประกอบของพหุนาม 2 3x 5x 2  ตรงกับข้อใด? ก.   3x 2 x 1  ข.   3x 1 x 2  ค.   x 2 3x 1  ง.   3x 2 x 1  9. ตัวประกอบของพหุนาม 2 6x 13x 6  ตรงกับข้อใด? ก.   3x 2 2x 3  ข.   3x 3 2x 2  ค.   6x 3 x 2  ง.   3x 3 2x 2  10. ตัวประกอบของพหุนาม 2 2x 7x 5  ตรงกับข้อใด? ก.   x 5 2x 1  ข.   2x 5 x 1  ค.   2x 5 x 1  ง.   2x 1 x 5  ++++++++++++++
  • 22. 20 บรรณานุกรม กระทรวงศึกษาธิการ. (2551). หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย. ________. (2551). ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง กลุ่มสาระการเรียนรู้ คณิตศาสตร์. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย. ชนันทิตา ฉัตรทอง. (ม.ป.ป). คู่มือแผนการจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์พื้นฐาน คณิตศาสตร์ ม.2. กรุงเทพฯ : อักษรเจริฯทัศน์ ทรงวิทย์ สุวรรณธาด. (2555). หนังสือเรียนเสริมคณิตศาสตร์เพิ่มเติม ม.5 ภาคเรียนที่1 พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ. : แม็ค ศาสตราจารย์กิตติคุณ ยุพิน พิพิธกุล และรองศาสตราจารย์ ดร.สิริพร ทิพย์คง. (2553). พจนานุกรมคณิตศาสตร์. พิมพ์ครั้งที่ 5 กรุงเทพฯ : ปาเจรา. ส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี, สถาบัน. (2559). หนังสือเรียนรายวิชา เพิ่มเติม คณิตศาสตร์ เล่ม 3 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 – 6 . พิมพ์ครั้งที่ 9 กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว ส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี, สถาบัน. (2551). ทักษะกระบวนการทาง คณิตศาสตร์ . พิมพ์ครั้งที่ 2 กรุงเทพมหานคร : หจก. ส เจริญการพิมพ์.
  • 24. 22 กิจกรรมที่ 1 เรื่อง ทักษะการสื่อสาร สื่อความหมาย และนาเสนอ (K) รู้อะไรจากโจทย์ (W) โจทย์ต้องการ ทราบอะไร (D) ทาอย่างไร (L) ได้อะไรจากการ เรียนรู้ จากพหุนาม 2 x 10x 21  สัมประสิทธิ์ของ x2 = 1 สัมประสิทธิ์ของ x1 = 10 แทนด้วย b สัมประสิทธิ์ของx0 = 21 แทนด้วย c แยกตัวประกอบ พหุนาม ในรูป (x + d)(x + e) 1.หาจานวนสองจานวน ซึ่งคูณกันได้ 21 และบวก กันได้ 10 2. หา de = 21 และ d + e = 10 ซึ่งในที่นี้ คือ 7 และ 3 3. นา ( 7 )( 3 ) = 21 7 + 3 = 10 4. ได้ d = 7 และ e = 3 5. เขียนในรูป (x + d)(x + e) 6. ดังนั้น ตัวประกอบของ 2 x 10x 21  คือ (x + 7)(x + 3) 1.ตอบ ตัวประกอบของ 2 x 10x 21  เท่ากับ (x + 7)(x + 3) 2.ตรวจคาตอบ จะได้ (x + 7)(x + 3) = x(x + 3) +7(x + 3) = x2 + 3x +7x +21 = 2 x 10x 21  2 คะแนน - 5 คะแนน 3 คะแนน โจทย์ จงแยกตัวประกอบของพหุนาม
  • 25. 23 กิจกรรมที่ 2 เรื่อง ทักษะการเชื่อมโยง (K) รู้อะไรจากโจทย์ (W) โจทย์ต้องการ ทราบอะไร (D) ทาอย่างไร (L) ได้อะไรจากการ เรียนรู้ จากพหุนาม 2 x 8x 20  สัมประสิทธิ์ของ x2 = -2 สัมประสิทธิ์ของ x1 = 10 แทนด้วย b สัมประสิทธิ์ของx0 = -20 แทนด้วย c แยกตัวประกอบ พหุนาม ในรูป (x + d)(x + e) 1.หาจานวนสองจานวน ซึ่งคูณกันได้ - 20 และ บวกกันได้ 8 2. หา de = - 20 และ d + e = 8 ซึ่งในที่นี้ คือ -2 และ 10 3. นา (-2)(10) = - 20 -2 + 10 = 8 4. ได้ d = -2 และ e = 10 5. เขียนในรูป (x + d)(x + e) 6. ดังนั้น ตัวประกอบของ 2 x 8x 20  คือ (x - 2)(x +10) 1.ตอบ ตัวประกอบของ 2 x 8x 20  เท่ากับ (x – 2 )(x + 10) 2.ตรวจคาตอบ จะได้ (x – 2)(x +10) = x(x+10) – 2(x+10) = x2 + 10x - 2x – 20 = 2 x 8x 20  2 คะแนน - 5 คะแนน 3 คะแนน โจทย์ จงแยกตัวประกอบของพหุนาม
  • 26. 24 กิจกรรมที่ 3 เรื่อง ทักษะการแก้ปัญหา (K) รู้อะไรจากโจทย์ (W) โจทย์ต้องการ ทราบอะไร (D) ทาอย่างไร (L) ได้อะไรจากการ เรียนรู้ จากพหุนาม 2 x 10x 21  สัมประสิทธิ์ของ x2 = 1 สัมประสิทธิ์ของ x1 = -10 แทนด้วย b สัมประสิทธิ์ของx0 = -21 แทนด้วย c แยกตัวประกอบ พหุนาม ในรูป (x + d)(x + e) 1.หาจานวนสองจานวน ซึ่งคูณกันได้ - 21 และ บวกกันได้ -10 2. หา de = - 21 และ d + e = - 10 ซึ่งในที่นี้ คือ 3 และ -7 3. นา (3)(-7) = - 21 3 + (-7) = - 10 4. ได้ d = 3 และ e = -7 5. เขียนในรูป (x + d)(x + e) 6. ดังนั้น ตัวประกอบของ 2 x 10x 21  คือ (x + 3)(x – 7) 1.ตอบ ตัวประกอบของ 2 x 10x 21  เท่ากับ (x + 3)(x – 7) 2.ตรวจคาตอบ จะได้ (x + 3)(x – 7) = x(x – 7) +3(x – 7) = x2 – 7x + 3x – 21 = 2 x 10x 21  2 คะแนน - 5 คะแนน 3 คะแนน 1.จงแยกตัวประกอบของพหุนาม
  • 27. 25 (K) รู้อะไรจากโจทย์ (W) โจทย์ต้องการ ทราบอะไร (D) ทาอย่างไร (L) ได้อะไรจากการเรียนรู้ จากพหุนาม 2 6x 7x 2  สัมประสิทธิ์ของ x2 = 6 สัมประสิทธิ์ของ x1 = 7 แทนด้วย b สัมประสิทธิ์ของx0 = 2 แทนด้วย c แยกตัวประกอบ พหุนาม ในรูป (px + d)(qx + e) 1.หาจานวนสองจานวน ซึ่งคูณกันได้ พจน์หน้า และพจน์หลัง 2. เขียนในรูป (px + d)(qx + e) 3. หา p = 3 หรือ 2 q = 2 หรือ 3 d = 2 หรือ 1 e = 1 หรือ 2 ที่ทาให้ pq = สัมประสิทธิ์พจน์ หน้า de = สัมประสิทธิ์พจน์ หลัง pe + dq = สัมประสิทธิ์ พจน์กลาง 4.ดังนั้น pq = (3)(2) = 6 de = (2)(1) = 2 pe + dq = 3 + 4 = 7 5. ดังนั้น ตัวประกอบของ 2 6x 7x 2  คือ (3x + 2)(2x + 1) 1.ตอบ ตัวประกอบของ 2 6x 7x 2  เท่ากับ (3x + 2)(2x + 1) 2.ตรวจคาตอบ จะได้ (3x + 2)(2x + 1) = 3x(2x + 1)+2(2x + 1) = 6x2 +3x + 4x + 2 = 2 6x 7x 2  - - 5 คะแนน 5 คะแนน 2. จงแยกตัวประกอบของพหุนาม
  • 28. 26 กิจกรรมที่ 4 เรื่อง การให้เหตุผล (K) รู้อะไรจากโจทย์ (W) โจทย์ต้องการ ทราบอะไร (D) ทาอย่างไร (L) ได้อะไรจากการ เรียนรู้ จากพหุนาม 2 x 10x 11  สัมประสิทธิ์ของ x2 = 1 สัมประสิทธิ์ของ x1 =-10 แทนด้วย b สัมประสิทธิ์ของx0 =-11 แทนด้วย c แยกตัวประกอบ พหุนาม ในรูป (x + d)(x + e) 1.หาจานวนสองจานวน ซึ่งคูณกันได้ - 11 และ บวกกันได้ -10 2. หา de = - 11 และ d + e = - 10 ซึ่งในที่นี้ คือ 1 และ - 11 3. นา (1)(-11)= - 11 1 + (-11) = - 10 4. ได้ d = 1 และ e = -11 5. เขียนในรูป (x + d)(x + e) 6. ดังนั้น ตัวประกอบของ 2 x 10x 11  คือ (x + 1)(x – 11) 1.ตอบ ตัวประกอบของ 2 x 10x 11  เท่ากับ (x + 1)(x - 11) 2.ตรวจคาตอบ (x + 1)(x - 11) x(x – 11) + 1(x – 11) x2 – 11x + x – 11 x2 - 10x – 11 2 คะแนน - 4 คะแนน 6 คะแนน 1. จงแยกตัวประกอบของพหุนาม