SlideShare a Scribd company logo
1 of 28
Download to read offline
ก
กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี
เรื่องการตรวจสอบและแก้ไขข้อขัดข้องระบบไฟฟ้าในบ้าน
เอกสารประกอบการสอน
ข
กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี
เรื่องการตรวจสอบและแก้ไขข้อขัดข้องระบบไฟฟ้าในบ้าน
เอกสารประกอบการสอน
คานาคานา
เอกสารประกอบการสอน เรื่อง ไฟฟูาในบ้าน วิชา การงานอาชีพและเทคโนโลยี 5
รหัสวิชา ง23101 กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
จัดทาขึ้นเพื่อใช้เป็นสื่อประกอบการจัดการเรียนรู้และพัฒนาการจัดกิจกรรมการเรียนรู้
ให้ประสบผลสาเร็จมากยิ่งขึ้น
รายละเอียดในเอกสารประกอบการสอน เล่มที่ 7 เรื่อง การตรวจสอบและแก้ไข
ข้อขัดข้องระบบไฟฟูาในบ้าน โดยมีเนื้อหาประกอบไปด้วย การตรวจสอบสายไฟฟูา
เมนสวิตซ์ สวิตซ์ปิด – เปิด และเต้าเสียบและเต้ารับ
หวังเป็นอย่างยิ่งว่า เอกสารประกอบการสอนเล่มนี้ เมื่อนาไปใช้ในการจัดกิจกรรม
การเรียนรู้แล้ว จะทาให้ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนสูงขึ้น นักเรียนสามารถศึกษา
ค้นคว้าด้วยตนเอง เป็นสื่อการเรียนรู้ที่ช่วยแบ่งเบาภาระของครูผู้สอนได้มากขึ้น และใช้ได้ดี
มีประสิทธิภาพ สามารถอานวยประโยชน์ต่อการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ให้บรรลุตามจุดมุ่งหมาย
ของหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานได้เป็นอย่างดี
วินัย ภายสันใจ
ก
ค
กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี
เรื่องการตรวจสอบและแก้ไขข้อขัดข้องระบบไฟฟ้าในบ้าน
เอกสารประกอบการสอน
สารบัญสารบัญ
เรื่อง หน้า
คานา ก
สารบัญ ข
คาแนะนาการใช้เอกสารประกอบการสอน 1
สาระสาคัญ 2
จุดประสงค์การเรียนรู้ 2
สาระการเรียนรู้ 2
แบบทดสอบก่อนเรียน 3
เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน 6
ใบความรู้ที่ 7 เรื่อง การตรวจสอบและการแก้ไขข้อขัดข้องระบบไฟฟูาในบ้าน 7
ใบกิจกรรมที่ 7 15
แบบบันทึกผลกิจกรรมที่ 7 16
เฉลยแบบบันทึกผลกิจกรรมที่ 7 18
แบบทดสอบหลังเรียน 21
เฉลยแบบทดสอบหลังเรียน 24
บรรณานุกรม 25
ข
ง
กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี
เรื่องการตรวจสอบและแก้ไขข้อขัดข้องระบบไฟฟ้าในบ้าน
เอกสารประกอบการสอน
เอกสารประกอบการสอนเล่มนี้ สร้างขึ้นเพื่อให้นักเรียนศึกษาได้ด้วยตนเอง
ให้นักเรียนอ่านคาแนะนาและปฏิบัติกิจกรรมแต่ละขั้นตอนตั้งแต่ต้นจนจบ นักเรียนจะได้รับ
ความรู้อย่างครบถ้วน โดยปฏิบัติตามขั้นตอน ดังนี้
1. ศึกษาจุดประสงค์การเรียนรู้ เพื่อให้ทราบว่าเมื่อเรียนจบเอกสารเล่มนี้
แล้วนักเรียนสามารถเรียนรู้อะไรบ้าง
2. ทาแบบทดสอบก่อนเรียน แล้วตรวจคาตอบที่เฉลยไว้ เพื่อให้รู้ว่า
นักเรียนมีความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับเรื่องที่ศึกษามากน้อยเพียงใด
3. ศึกษาเนื้อหาและทากิจกรรมตามแบบฝึกกิจกรรมที่กาหนดไว้
เพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจในเนื้อหามากขึ้น
4. ทาแบบทดสอบหลังเรียน เพื่อวัดความรู้ความเข้าใจอีกครั้ง
5. นักเรียนต้องมีความซื่อสัตย์ต่อตนเอง ถ้านักเรียนขาดความซื่อสัตย์แล้ว
จะไม่ประสบผลสาเร็จในการปฏิบัติกิจกรรมนี้
6. ถ้านักเรียนปฏิบัติตามคาแนะนาทั้งหมดนี้แล้ว นักเรียนจะประสบผลสาเร็จ
ในการเรียนเรื่องนี้อย่างแน่นอน
7. การวัดและประเมิน นักเรียนจะต้องทากิจกรรมตามแบบฝึกกิจกรรม
และทดสอบหลังเรียนได้ร้อยละ 80 ขึ้นไปถือได้ว่าผ่านเกณฑ์
8. ถ้าไม่ผ่านเกณฑ์ นักเรียนต้องทบทวน และทากิจกรรมและแบบทดสอบอีกครั้ง
คาแนะนาการใช้เอกสารประกอบการสอนคาแนะนาการใช้เอกสารประกอบการสอน
จ
กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี
เรื่องการตรวจสอบและแก้ไขข้อขัดข้องระบบไฟฟ้าในบ้าน
เอกสารประกอบการสอน
สาระสาคัญสาระสาคัญ
การตรวจสอบระบบไฟฟูาภายในบ้าน ในกรณีที่เกิดการขัดข้องกับระบบ
ไฟฟูากาลังและระบบไฟฟูาแสงสว่างนั้น จะต้องอาศัยความรู้และทักษะการใช้
เครื่องมือในการตรวจสอบหรือซ่อมแก้ไข ปรับเปลี่ยนวัสดุอุปกรณ์ที่เกิดการชารุด
หรือขัดข้อง เพื่อให้ทางานได้เต็มประสิทธิภาพ ส่งผลทาให้ประหยัดพลังงานและ
เกิดความปลอดภัย
จุดประสงค์การเรียนรู้จุดประสงค์การเรียนรู้
1. บอกวิธีตรวจสอบสายไฟฟูาได้
2. อธิบายความหมายและบอกวิธีติดตั้งเมน สวิตซ์ได้
3. อธิบายความหมายและบอกหลักการเลือกซื้อสวิตซ์ปิด-เปิดได้
4. บอกหลักการเลือกซื้อ การติดตั้ง และใช้งานเต้าเสียบเต้ารับได้
5. มีความรับผิดชอบต่องานที่ครูมอบหมายให้
สาระการเรียนรู้สาระการเรียนรู้
1. การตรวจสอบสายไฟฟูา
2. เมนสวิตซ์
3. สวิตซ์ปิด-เปิด
4. เต้าเสียบและเต้ารับ
2
ฉ
กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี
เรื่องการตรวจสอบและแก้ไขข้อขัดข้องระบบไฟฟ้าในบ้าน
เอกสารประกอบการสอน
1. ข้อใดเป็นเครื่องมือตรวจสอบกระแสไฟฟูาในเบื้องต้นของระบบไฟฟูาภายในบ้านอย่างง่าย
ก. วัตต์มิเตอร์
ข. มัลต์มิเตอร์
ค. โอห์มมิเตอร์
ง. ไขควงเช็คไฟ
2. ในการตรวจสอบระบบไฟฟูาภายในบ้าน ในกรณีที่ไฟฟูาดับหมดไม่มีกระแสไฟฟูาเลย
แต่บ้านหลังอื่นยังมีกระแสไฟใช้งานได้ตามปกติ การตรวจสอบขั้นต้นควรทาอย่างไร
ก. ตรวจดูเต้ารับ
ข. ตรวจดูสวิทซ์ไฟ
ค. ตรวจดูหลอดไฟ
ง. ตรวจดูสะพานไฟ
3. ขณะที่นักเรียนใช้หลอดไฟแสงสว่างภายในบ้านอยู่ ไฟเกิดดับแต่หลอดจุดอื่นยังสว่าง
ข้อใดต่อไปนี้เป็นการตรวจสอบที่ไม่ถูกต้อง
ก. ตรวจดูสายไฟว่ามีรอยไหม้หรือเปล่า
ข. ตรวจดูปลั๊กไฟหรือเต้ารับว่ามีไฟอยู่หรือไม่
ค. ตรวจดูที่ขั้วหลอดไฟว่ามีการหลอมละลายหรือไม่
ง. ตรวจดูสวิทซ์ไฟว่ามีสิ่งแปลกปลอมเข้าไปอยู่หรือไม่
แบบทดสอบก่อนเรียน
เรื่อง การตรวจสอบและแก้ไขข้อขัดข้องระบบไฟฟ้าในบ้าน
คาชี้แจง ให้นักเรียนทาเครื่องหมาย X ทับตัวอักษรหน้าคาตอบที่ถูกต้องที่สุด
3
ช
กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี
เรื่องการตรวจสอบและแก้ไขข้อขัดข้องระบบไฟฟ้าในบ้าน
เอกสารประกอบการสอน
4. เครื่องมือในข้อใดใช้ตรวจสอบการขาดของไส้หลอด
ก. ไขควงลองไฟ
ข. แอมมิเตอร์
ค. โอห์มมิเตอร์
ง. วัตต์มิเตอร์
5. ถ้านักเรียนเปลี่ยนหลอดไฟฟูาฟลูออเรซเซนต์หลอดใหม่ หลอดไฟจะสว่างแล้วดับ
ไม่ติดอีกแสดงว่าอุปกรณ์ใดชารุด
ก. สตาร์ทเตอร์
ข. บัลลาสต์
ค. สวิตซ์
ง. สายไฟ
6. ถ้าเราตรวจพบว่าอุปกรณ์ไฟฟูาในระบบไฟฟูาภายในบ้านเสียและจะทาการตรวจซ่อม
ควรปฏิบัติอย่างไรเป็นลาดับแรก
ก. ทาการเปลี่ยนทันที
ข. ดึงสะพานไฟหรือคัทเอาท์ลง
ค. นาเครื่องมือมาแก้ไขทันที
ง. ดึงอุปกรณ์ออกทันที
7. การตรวจสอบขั้วต่อสายหรือจุดสัมผัสต่างๆควรตรวจสอบอย่างน้อยปีละกี่ครั้ง
ก. 1 ครั้ง
ข. 3 ครั้ง
ค. 5 ครั้ง
ง. 7 ครั้ง
8. ขั้นตอนการเปลี่ยนสวิตซ์ไฟฟูาข้อใดถูกต้อง
ก. ดึงสวิตซ์ออกทันที
ข. นาเครื่องมือถอดเปลี่ยนทันที
ค. ดึงคัทเอาท์ลงแล้วจึงใช้เครื่องมือถอดเปลี่ยน
ง. ตัดสายไฟที่ติดสวิตซ์ออกแล้วปอกสายต่อเข้าไปใหม่
4
ซ
กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี
เรื่องการตรวจสอบและแก้ไขข้อขัดข้องระบบไฟฟ้าในบ้าน
เอกสารประกอบการสอน
9. การต่ออุปกรณ์คัทเอาท์ควรต่ออนุกรมกับอุปกรณ์ใด
ก. เต้ารับ
ข. สวิตซ์
ค. บัลลาสต์
ง. ปลั๊กฟิวส์
10. ทุกครั้งก่อนกาซ่อมเปลี่ยนอุปกรณ์ไฟฟูาภายในบ้านควรปฏิบัติอย่างไร
ก. ควรดึงคัทเอาท์ลงก่อนแล้วเขียนข้อความติดไว้ว่ากาลังซ่อมไฟฟูาอยู่
ข. ควรประสานงานหรือบอกสมาชิกในบ้านให้รู้ด้วย
ค. ควรทาการเปลี่ยนอย่างระมัดระวัง
ง. ที่กล่าวมาถูกทุกข้อ
เก่งมากครับ
ไปดูเฉลยกันดีกว่านะ
5
ฌ
กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี
เรื่องการตรวจสอบและแก้ไขข้อขัดข้องระบบไฟฟ้าในบ้าน
เอกสารประกอบการสอน
ข้อ คาตอบ
1 ง
2 ง
3 ก
4 ค
5 ข
6 ข
7 ก
8 ค
9 ง
10 ง
เกณฑ์การผ่าน
ถูก 8 ข้อขึ้นไป ผ่านเกณฑ์
เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียนเฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน
6
ญ
กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี
เรื่องการตรวจสอบและแก้ไขข้อขัดข้องระบบไฟฟ้าในบ้าน
เอกสารประกอบการสอน
1. ตรวจสอบการเดินสายไฟว่าใช้สีถูกต้องตามมาตรฐานหรือไม่ (ใช้ไขควงเช็คไฟ)
หากไม่ถูกต้องเพียงบางจุดให้แก้ไขสลับสายใหม่ หากไม่ถูกต้องตลอดทั้งอาคารเหมือนกันหมด
ให้มีเครื่องหมาย หรือเอกสารกากับไว้ที่แผงสวิตช์ หรือตู้เมนสวิตช์ด้วย เพื่อปูองกันการ
เข้าใจผิดภายหลัง
2. ตรวจสอบจุดต่อสาย การเข้าสายต้องขันให้แน่น อย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง
3. สังเกตอุณหภูมิของสาย โดยสัมผัสที่ผิวฉนวนของสาย ถ้ารู้สึกอุ่นหรือร้อนแสดงว่า
ผิดปกติ อาจเนื่องจากใช้ไฟเกินขนาดของสาย หรือมีจุดต่อสายต่างๆ ไม่แน่น เช่น ปลั๊กไฟ
เต้ารับ สวิตช์ เป็นต้น
4. สังเกตสีของของเปลือกสาย ถ้าสายไฟบางเส้นมีสีเปลี่ยนไป เช่น สีขาว
เปลี่ยนเป็นสีคล้าหรือฝุุนจับมาก แสดงว่ามีอุณหภูมิสูงกว่าปกติ อาจมีการใช้ไฟเกินขนาดสาย
หรือมีการต่อสายไม่แน่น
5. ฉนวนของสายไฟฟูาต้องไม่มีการแตกกรอบ ไม่มีรอยไหม้ ชารุด ถ้าตรวจพบ
ควรหาสาเหตุและแก้ไขสาเหตุ พร้อมทาการเปลี่ยนสายใหม่
6. หมั่นตรวจสอบสภาพของสายไฟฟูาปีละ 1 ครั้ง เป็นอย่างน้อย โดยให้มีการ
บันทึกข้อมูลการตรวจสอบสภาพไว้ทุกครั้ง
7. กรณีที่มีการใช้ไฟฟูามากขึ้น ควรตรวจสอบขนาดของสายไฟฟูาที่ใช้อยู่ว่า
เหมาะสมหรือไม่ ถ้าขนาดของสายไฟไม่เพียงพอต้องเปลี่ยนใหม่
8. ตรวจสอบสายไฟบริเวณที่ทะลุผ่านฝูาเพดานหรือผนัง เพราะอาจมีรอยหนูแทะ
เปลือกของสาย ซึ่งจะทาให้เกิดการลัดวงจรและเกิดไฟไหม้ได้
1. การตรวจสอบสายไฟฟ้า
ใบความรู้ เรื่อง การตรวจสอบและแก้ไขข้อขัดข้อง
ระบบไฟฟ้าในบ้าน
7
ฎ
กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี
เรื่องการตรวจสอบและแก้ไขข้อขัดข้องระบบไฟฟ้าในบ้าน
เอกสารประกอบการสอน
2. เมนสวิตช์
เมนสวิตช์ หมายถึง อุปกรณ์บนแผงควบคุมการจ่ายไฟฟูา ที่ทาหน้าที่ควบคุม
การใช้ไฟฟูาให้เกิดความปลอดภัย สามารถสับหรือปลดออกได้ทันที เมนสวิตช์มักจะ
หมายถึงอุปกรณ์สับปลดวงจรไฟฟูาตัวแรก ถัดจากเครื่องวัดหน่วยไฟฟูา (มิเตอร์)
ของการไฟฟูาเข้ามาในบ้าน ซึ่งจะรวมถึงอุปกรณ์ปูองกันกระแสไฟฟูาเกินและลัดวงจรด้วย
1. ขนาดปรับตั้งของอุปกรณ์ปูองกันกระแสเกินหรือลัดวงจร เช่น ฟิวส์หรือเบรกเกอร์
ต้องเลือกขนาดให้สามารถตัดวงจรไฟฟูาในขณะที่เกิดการลัดวงจร หรือมีกระแสไฟฟูาเกิน
ก่อนที่สายไฟฟูาและอุปกรณ์อื่นๆ จะเสียหาย
2. ความสามารถหรือพิกัดในการตัดกระแสไฟฟูาลัดวงจรของฟิวส์หรือเบรกเกอร์
ต้องสูงกว่าค่ากระแสลัดวงจรของระบบไฟฟูาที่ตาแหน่งติดตั้ง ปกติมีหน่วยเป็น kA หรือ
กิโลแอมแปร์ ค่าพิกัดกระแสลัดวงจร (IC) สอดคล้องกับแรงดันไฟฟูาที่ใช้งานด้วย
รูปแสดงตู้เมนสวิตช์
ที่มา : www.pea.co.th/manual_electric/electric_sucure.htm
8
ฏ
กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี
เรื่องการตรวจสอบและแก้ไขข้อขัดข้องระบบไฟฟ้าในบ้าน
เอกสารประกอบการสอน
หลักการติดตั้งเมนสวิตช์
1. ตาแหน่งของเมนสวิตช์ต้องอยู่ห่างจากวัตถุที่เป็นเชื้อเพลิง เช่น ผ้า กระดาษ
หรือสารไวไฟ เช่น ทินเนอร์ผสมสี
2. ตู้เมนสวิตช์ หากทาด้วยโลหะต้องต่อลงดิน หากไม่ใช่โลหะต้องทาด้วยสารที่
ไม่ติดไฟได้ง่าย หรือทาด้วยวัตถุที่ไม่ไหม้ลุกลาม (Flame-retarded)
3. ตาแหน่งของเมนสวิตช์ต้องเข้าถึงได้สะดวก และมีการระบายอากาศบ้าง
อย่างเพียงพอ
4. ตาแหน่งของเมนสวิตช์ควรอยู่สูงพ้นระดับที่น้าอาจท่วมถึง และไม่อยู่ใกล้กับ
แนวท่อน้า หรือท่อระบายน้า เพื่อปูองกันอันตรายในกรณีที่ท่อน้าชารุด
5. ในกรณีที่เมนสวิตช์ ประกอบด้วยคัตเอาท์ (สวิตช์ใบมีด) และคาร์ทริดจ์ฟิวส์
(ฟิวส์กระปุก) ให้ต่อตรงที่ตาแหน่งฟิวส์ภายในคัตเอาท์ด้วยสายทองแดงที่มีขนาดเพียงพอ
(ไม่เล็กกว่าสายเมน) เพื่อให้ทาหน้าที่เป็นสะพานไฟสับ – ปลดวงจรอย่างเดียว โดยให้
คาร์ทริดจ์ฟิวส์ ทาหน้าที่ปูองกันกระแสเกินและกระแสลัดวงจรแทน
6. ในขณะที่ปลดเมนสวิตช์เพื่อการซ่อมแซมหรือบารุงรักษานั้น ให้เขียนปูายเตือน
ไว้ว่า “ห้ามสับไฟ ! ช่างไฟฟูากาลังทางาน” แขวนไว้ที่เมนสวิตช์ทุกครั้ง
7. เครื่องตัดไฟรั่ว ควรมีปุุมทดสอบการทางานและมีการกดปุุมทดสอบการทางาน
และมีการกดปุุมทดสอบเป็นประจา เครื่องตัดไฟรั่วที่ใช้ปูองกันไฟดูด ควรมีความเร็วสูง
โดยต้องมีขนาดกระแสไฟฟูารั่วไม่เกิน 30 mA และหากใช้ตัวเดียวปูองกันทั้งบ้าน
อาจมีปัญหาเครื่องตัดบ่อย จึงควรใช้เฉพาะวงจรย่อย หรือเต้ารับพิเศษ หรือใช้แยกวงจร
ที่มีกระแสไฟรั่วโดยธรรมชาติออก เช่น เครื่องปรับอากาศชนิดแยกส่วน วงจรที่มีลักษณะ
เป็นตัวเก็บประจุ หรือเครื่องปูองกันฟูาผ่าที่มีการต่อลงดิน เป็นต้น
8. ขั้วต่อสาย การเข้าสายและจุดสัมผัสต่างๆ ต้องหมั่นตรวจสอบขันให้แน่น
อย่างน้อยปีละหนึ่งครั้ง เพื่อไม่ให้เกิดความร้อน วิธีตรวจสอบอุณหภูมิของสายอย่างง่ายๆ
อาจใช้นิ้วสัมผัสฉนวนสายบริเวณใกล้กับจุดต่อต่างๆ ก็ได้
9
ฐ
กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี
เรื่องการตรวจสอบและแก้ไขข้อขัดข้องระบบไฟฟ้าในบ้าน
เอกสารประกอบการสอน
9. เมื่อมีการทางานต่างๆ ของเบรกเกอร์ (สวิตช์อัตโนมัติ) หรือเครื่องตัดไฟรั่ว
จะต้องตรวจสอบสาเหตุทุกครั้งว่าเกิดจากอะไร เพื่อทาการแก้ไขก่อนที่จะมีการสับไฟใหม่
สาเหตุที่เป็นไปได้ คือ เครื่องใช้ไฟฟูาชารุด ไฟฟูารั่ว ไฟฟูาลัดวงจร มีการใช้ไฟเกินกาลัง
ขนาดของสายไฟฟูาหรือขนาดของเบรกเกอร์ บางครั้งอาจเกิดจากไฟตกหรืออาจเกิดจาก
เบรกเกอร์ชารุดเอง กรณีที่เครื่องตัดไฟรั่วที่มักจะทางานเมื่อมีฟูาผ่านั้น เป็นเหตุการณ์ปกติ
ในกรณีที่มีคลื่นเหนี่ยวนาจากกระแสฟูาผ่าเล็ดลอดเข้ามาในบ้านที่มีเครื่องตัดไฟรั่วที่ไวเกินไป
หรือระบบสายไฟที่เก่าเกินไป
10. หลักดินและตาแหน่งต่อลงดินภายในอาคารหลังเดียวกัน ควรมีอยู่แห่งเดียวคือ
บริเวณตู้เมนสวิตช์ทางด้านไฟเข้าเท่านั้น
11. ควรแยกวงจรสาหรับระบบไฟฟูาชั้นล่างของอาคารออกต่างหาก และให้สามารถ
ปลดวงจรออกได้โดยสะดวกในกรณีที่มีน้าท่วมขัง
12. อุปกรณ์ปูองกันกระแสเกินและลัดวงจรที่ทาหน้าที่เป็นเมนสวิตช์ ควรมี
จานวนขั้ว ดังนี้
12.1 ระบบไฟที่ไม่มีสายดิน เบรกเกอร์ต้องเป็นชนิดที่ตัดพร้อมกันทั้ง 2 ขั้ว
หากใช้ฟิวส์อาจใช้ขั้วเดียวได้ แต่ต้องอยู่ในสายไฟที่มีไฟ และต้องมีสะพานไฟหรือคัตเอาท์
2 ขั้ว ที่สามารถปลดไฟพร้อมกันทั้ง 2 ขั้ว
12.2 ระบบไฟที่มีสายดิน เบรกเกอร์และฟิวส์สามารถใช้ชนิดที่ตัดขั้วเดียว
ในสายเส้นที่มีไฟได้ ยกเว้นกรณีห้องชุดของอาคารชุด ต้องถือว่ามีไฟทั้ง 2 เส้น และเป็น
ชนิดตัดสองขั้ว
10
ฑ
กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี
เรื่องการตรวจสอบและแก้ไขข้อขัดข้องระบบไฟฟ้าในบ้าน
เอกสารประกอบการสอน
สวิตช์ปิด – เปิด ในที่นี้หมายถึงสวิตช์สาหรับปิด – เปิดหลอดไฟหรือโคมไฟ
สาหรับแสงสว่าง หรือเครื่องใช้ไฟฟูาชนิดอื่นๆ ที่มีการติดตั้งสวิตช์เอง มีข้อแนะนา ดังนี้
1. เลือกใช้สินค้าที่มีมาตรฐาน มอก. หรือมาตรฐานสากลอื่นๆ ที่มีการรับรอง
เช่น UL, VDE, KEMA, DIN เป็นต้น
2. แรงดันไฟฟูาและกระแสไฟฟูาที่กาหนดของสวิตช์ ต้องไม่ต่ากว่าค่าที่ใช้งานจริง
3. การเข้าสาย/ต่อสายต้องแน่นและมั่นคงแข็งแรง
4. สปริงต้องแข็งแรง ตัดต่อวงจรได้ฉับไว
5. ฝาครอบไม่ร้าวหรือแตกง่าย
6. ถ้าใช้งานภายนอกต้องทนแดด ทนฝนได้ด้วย
7. ถ้าสัมผัสที่สวิตช์แล้วรู้สึกว่าอุ่นหรือร้อน แสดงว่ามีการต่อสายไม่แน่นหรือสวิตช์
เสื่อมคุณภาพ
8. หลีกเหลี่ยงการติดตั้งสวิตช์ในที่ชื้นแฉะ และห้ามสัมผัส หรือใช้สวิตช์ในขณะที่
ร่างกายเปียกชื้น
9. ติดตั้งสวิตช์ตัดวงจรเฉพาะกับสายเส้นที่มีไฟ (ฉนวนสีดา หรือฉนวนสีน้าตาล)
เท่านั้น
3. สวิตช์ปิด – เปิด
11
ฒ
กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี
เรื่องการตรวจสอบและแก้ไขข้อขัดข้องระบบไฟฟ้าในบ้าน
เอกสารประกอบการสอน
4. เต้าเสียบและเต้ารับ
อันตรายของการใช้ปลั๊กแบบคู่ขนาน (2 – 3 ขา)
เต้าเสียบและเต้ารับที่ดีต้องปลอดภัย ควรมีลักษณะ ดังนี้
- มีการปูองกันนิ้วมือไม่ให้สัมผัสขาปลั๊กในขณะเสียบ หรือถอดปลั๊ก เช่น
การทาให้เต้ารับเป็นหลุมลึก หรือการหุ้มฉนวนทีโคนขาปลั๊ก หรือทาเต้าเสียบ (ปลั๊ก)
ให้มีขนาดใหญ่ เมื่อมีการกุมมือจับเต้าเสียบแล้ว ไม่มีโอกาสจับขาปลั๊กส่วนที่มีไฟ
- มีการปูองกันเด็กใช้นิ้ว หรือวัสดุแหย่รูเต้ารับ เช่น มีฝาครอบหรือบานพับ
เปิด – ปิดรูของเต้ารับ ซึ่งบานพับจะเปิดตอนใช้ปลั๊กเสียบเท่านั้น
- มีมาตรฐานสากลรับรองและผ่านการทดสอบตามมาตรฐานนั้นๆ เช่น UL,
VDE, DIN, KEMA เป็นต้น
- ขนาดของกระแสและแรงดันไฟฟูาสอดคล้องกับการใช้งานจริง เช่น ทดลอง
เสียบปลั๊กแล้วดึงออก 5 – 10 ครั้ง ถ้ายังคงฝืดและแน่นแสดงว่าใช้งานได้
- ปลั๊กขาแบนนั้น มาตรฐานทั่วโลกกาหนดให้ใช้ไฟไม่เกิน 125 โวลต์ จึงไม่เหมาะกับ
ประเทศไทยที่ใช้ระบบไฟ 220 โวลต์ และใช้แรงดันทดสอบที่สูงกว่า
- ปลั๊กขาแบนที่มีที่จับเล็ก มักเกิดอุบัติเหตุนิ้วมือสัมผัสขาปลั๊ก ซึ่งเป็นอุบัติเหตุ
ส่วนใหญ่ที่เกิดขึ้นในประเทศไทย
- เต้าเสียบและเต้ารับ ไม่มีการปูองกันนิ้วมือสัมผัสขาปลั๊กในขณะที่เสียบ
หรือถอดปลั๊ก ซึ่งอันตรายในขณะที่สัมผัสไฟ 220 โวลต์ จะรุนแรงกว่าสัมผัสแรงดัน
110 โวลต์ เกือบเท่าตัว
- เต้ารับสาหรับปลั๊กขาแบน เมื่อใช้เต้ารับมาใช้กับเต้าเสียบ 220 โวลต์ ที่เป็นขากลม
จาเป็นต้องดัดแปลงให้เต้ารับเสียบขากลมได้ด้วย
หลักในการเลือกซื้อเต้าเสียบและเต้ารับ
12
ณ
กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี
เรื่องการตรวจสอบและแก้ไขข้อขัดข้องระบบไฟฟ้าในบ้าน
เอกสารประกอบการสอน
ข้อแนะนาหากจะต่อปลั๊กที่เครื่องใช้ไฟฟ้าประเภท 1 ให้มีสายดินด้วยตัวเอง
ข้อแนะนาการติดตั้งและใช้งานเต้าเสียบและเต้ารับ (เพิ่มเติม)
เครื่องใช้ไฟฟูาประเภท 1 หมายถึง เครื่องใช้ไฟฟูาทั่วไปที่มีความหนาของ
ฉนวนไฟฟูาเพียงพอสาหรับการใช้งานปกติเท่านั้น โดยมักมีเปลือกนอกของเครื่องใช้ไฟฟูา
ทาด้วยโลหะ เครื่องใช้ไฟฟูาประเภทนี้ผู้ผลิตจาเป็นจะต้องมีการต่อสายดินของอุปกรณ์
ไฟฟูาเข้ากับส่วนที่เป็นโลหะนั้น เพื่อให้สามารถต่อลงดินมายังตู้เมนสวิตช์โดยผ่านทาง
ขั้วสายดินของเต้าเสียบและเต้ารับ เครื่องใช้ไฟฟูาประเภทนี้หากผู้ผลิตมิได้ต่อสายดินมาให้
ถือว่าเป็นเครื่องใช้ไฟฟูาประเภทศูนย์ ซึ่งปัจจุบันนี้มาตรฐานสากลไม่รับรอง หรือยินยอมให้
ผลิตมาใช้งาน
- ก่อนอื่นจะต้องตรวจสอบก่อนว่า ตัวถังโลหะต้องไม่ต่อกับสายศูนย์ของ
เครื่องใช้ไฟฟูา มิฉะนั้นจะทาไม่ได้ ยกเว้นจะปลดให้แยกจากกัน และมีระดับฉนวน
ที่ทดสอบแล้วว่าเพียงพอ
- สาหรับเครื่องไฟฟูาที่มีสายดินมาจากผู้ผลิตที่ไม่ปลอดภัย ถ้าจะทาเองควรปรึกษา
ผู้ผลิต หรือช่างที่ชานาญ ที่มีเครื่องมือทดสอบเป็นการเฉพาะ เช่น เครื่องมือทดสอบ
ฉนวนของสายไฟและเส้นศูนย์ เมื่อเทียบกับตัวถังโลหะ (เส้นศูนย์ห้ามต่อกับสายดินที่
เครื่องใช้ไฟฟูา) ทดสอบความต่อเนื่องและคงทนของการต่อสายดินที่เครื่องใช้ไฟฟูา
เมื่อมีกระแสไฟฟูาลัดวงจรไหลในสายดิน เป็นต้น
- ตาแหน่งของการติดตั้งเต้ารับควรอยู่สูงให้พ้นมือเด็กหรือระดับน้าที่อาจท่วมถึง
- เวลาถอดปลั๊ก ให้ใช้มือจับที่ตัวปลั๊กอย่าดึงที่สายไฟและอย่าใช้มือแตะถูกขาปลั๊ก
- ให้หลีกเลี่ยงและระมัดระวังการใช้เต้ารับที่เสียบปลั๊กได้หลายตัว เพราะอาจทาให้
มีการใช้ไฟฟูาเกินขนาดของเต้ารับและสายไฟฟูา ทาให้เกิดไฟไหม้ได้
- ก่อนซื้อเต้ารับควรตรวจสอบโดยการใช้ปลั๊ก (ตัวผู้) ขากลมเสียบเข้าและดึงออก
หลายๆ ครั้ง เต้ารับที่มีคุณภาพดีจะแน่นและดึงออกยาก
- หมั่นตรวจสอบจุดเชื่อมต่อการเข้าสายให้แน่นอยู่เสมอ
13
ด
กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี
เรื่องการตรวจสอบและแก้ไขข้อขัดข้องระบบไฟฟ้าในบ้าน
เอกสารประกอบการสอน
- เต้ารับที่ใช้งานภายนอกอาคารควรทนแดดและปูองกันน้าฝนได้ หากเป็นสายไฟ/
เต้ารับที่ลากไปใช้งานไกลๆ ต้องผ่านวงจรของเครื่องตัดไฟรั่วด้วย
- ตลับต่อสายที่ประกอบไปด้วย สายพร้อมปลั๊กและมีเต้ารับหลายตัว พร้อมทั้งมี
ลักษณะของ มอก. เลขที่ 11 – 2531 นั้น มิได้หมายความว่าเต้ารับได้มาตรฐาน
เนื่องจากมาตรฐาน มอก. 11 เป็นมาตรฐานเฉพาะสายไฟเท่านั้น มิใช้มาตรฐานของเต้ารับ
แต่อย่างใด สาหรับขนาดของสายไฟที่ใช้นี้ต้องไม่ต่ากว่า 10 ตร.มม.
- ไม่ควรซื้อตลับสายไฟที่ใช้เต้ารับ 3 รู แต่ใช้สายไฟ 2 สาย และเต้าเสียบที่ไม่มี
สายดิน เพราะไม่มีประโยชน์ใดๆ ด้านความปลอดภัยเนื่องจากไม่มีสายดิน ดังรูป
รูปแสดงเต้าเสียบที่ไม่มีสายดิน (เต้ารับ 3 รู แต่ใช้สายไฟ 2 สาย)
ที่มา : http://www.learners.in.th/blogs/posts/374187
14
ต
กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี
เรื่องการตรวจสอบและแก้ไขข้อขัดข้องระบบไฟฟ้าในบ้าน
เอกสารประกอบการสอน
1. นักเรียนแบ่งกลุ่มออกเป็น 6 กลุ่มๆ ละ 5 – 6 คน เลือกประธานฯ เลขาฯ
กาหนดบทบาทหน้าที่และวางแผนร่วมกัน พร้อมตั้งชื่อกลุ่ม
2. ให้นักเรียนศึกษาค้นคว้าจากเอกสารประกอบการสอน
เรื่อง การตรวจสอบและการแก้ไขข้อขัดข้องระบบไฟฟูาในบ้าน
2.1 การตรวจสอบสายไฟฟูา
2.2 เมนสวิตซ์
2.3 สวิตซ์ปิด – เปิด
2.4 เต้าเสียบและเต้ารับ
3. ให้นักเรียนสรุปความรู้จากการศึกษาค้นคว้า บันทึกผลท้ายกิจกรรม
4. นาเสนอผลงานหน้าชั้นเรียน
กิจกรรม
ใบกิจกรรมที่ใบกิจกรรมที่ 77
การตรวจสอบและแก้ไขข้อขัดข้อง
ระบบไฟฟ้าในบ้าน
15
ถ
กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี
เรื่องการตรวจสอบและแก้ไขข้อขัดข้องระบบไฟฟ้าในบ้าน
เอกสารประกอบการสอน
1. จงบอกวิธีการตรวจสอบสายไฟฟูาควรปฏิบัติอย่างไร
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
2. เมนสวิตซ์ หมายถึง
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
แบบบันทึกผลกิจกรรมที่แบบบันทึกผลกิจกรรมที่ 77
คาชี้แจง ให้นักเรียนบันทึกสรุปผลการศึกษาค้นคว้า
เรื่อง การตรวจสอบและการแก้ไขข้อขัดข้องระบบไฟฟูาในบ้าน ดังนี้
16
ท
กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี
เรื่องการตรวจสอบและแก้ไขข้อขัดข้องระบบไฟฟ้าในบ้าน
เอกสารประกอบการสอน
3. สวิตซ์ปิด – เปิด หมายถึง
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
4. ลักษณะของสวิตซ์ปิด – เปิด ที่มีคุณภาพมีลักษณะอย่างไรบ้าง
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
5. จงบอกเต้าเสียบและเต้ารับที่ดีต้องปลอดภัย ควรมีลักษณะอย่างไรบ้าง
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
6. จงบอกหลักการติดตั้งและใช้งานของเต้าเสียบเต้ารับควรปฏิบัติอย่างไร
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
อยากจะรู้แล้วซินะว่า
เพื่อนๆ ทาถูกกี่ข้อ
พลิกไปดูเฉลยกันเลยครับ
17
ธ
กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี
เรื่องการตรวจสอบและแก้ไขข้อขัดข้องระบบไฟฟ้าในบ้าน
เอกสารประกอบการสอน
เฉลยแบบบันทึกผล
กิจกรรมที่ 7
คาชี้แจง ให้นักเรียนบันทึกสรุปผลการศึกษาค้นคว้า
เรื่อง การตรวจสอบและการแก้ไขข้อขัดข้องระบบไฟฟูาในบ้าน ดังนี้
1. จงบอกวิธีการตรวจสอบสายไฟฟูาควรปฏิบัติอย่างไร
1. ตรวจสอบการเดินสายไฟว่าใช้สีถูกต้องตามมาตรฐานหรือไม่ (ใช้ไขควงเช็คไฟ)
หากไม่ถูกต้องเพียงบางจุดให้แก้ไขสลับสายใหม่ หากไม่ถูกต้องตลอดทั้งอาคารเหมือนกันหมด
ให้มีเครื่องหมาย หรือเอกสารกากับไว้ที่แผงสวิตช์ หรือตู้เมนสวิตช์ด้วย เพื่อปูองกันการ
เข้าใจผิดภายหลัง
2. ตรวจสอบจุดต่อสาย การเข้าสายต้องขันให้แน่น อย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง
3. สังเกตอุณหภูมิของสาย โดยสัมผัสที่ผิวฉนวนของสาย ถ้ารู้สึกอุ่นหรือร้อนแสดงว่า
ผิดปกติ อาจเนื่องจากใช้ไฟเกินขนาดของสาย หรือมีจุดต่อสายต่างๆ ไม่แน่น เช่น ปลั๊กไฟ
เต้ารับ สวิตช์ เป็นต้น
4. สังเกตสีของของเปลือกสาย ถ้าสายไฟบางเส้นมีสีเปลี่ยนไป เช่น สีขาว
เปลี่ยนเป็นสีคล้าหรือฝุุนจับมาก แสดงว่ามีอุณหภูมิสูงกว่าปกติ อาจมีการใช้ไฟเกินขนาดสาย
หรือมีการต่อสายไม่แน่น
5. ฉนวนของสายไฟฟูาต้องไม่มีการแตกกรอบ ไม่มีรอยไหม้ ชารุด ถ้าตรวจพบ
ควรหาสาเหตุและแก้ไขสาเหตุ พร้อมทาการเปลี่ยนสายใหม่
6. หมั่นตรวจสอบสภาพของสายไฟฟูาปีละ 1 ครั้ง เป็นอย่างน้อย โดยให้มีการ
บันทึกข้อมูลการตรวจสอบสภาพไว้ทุกครั้ง
7. กรณีที่มีการใช้ไฟฟูามากขึ้น ควรตรวจสอบขนาดของสายไฟฟูาที่ใช้อยู่ว่า
เหมาะสมหรือไม่ ถ้าขนาดของสายไฟไม่เพียงพอต้องเปลี่ยนใหม่
8. ตรวจสอบสายไฟบริเวณที่ทะลุผ่านฝูาเพดานหรือผนัง เพราะอาจมีรอยหนูแทะ
เปลือกของสาย ซึ่งจะทาให้เกิดการลัดวงจรและเกิดไฟไหม้ได้
18
น
กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี
เรื่องการตรวจสอบและแก้ไขข้อขัดข้องระบบไฟฟ้าในบ้าน
เอกสารประกอบการสอน
2. เมนสวิตซ์ หมายถึง
อุปกรณ์บนแผงควบคุมการจ่ายไฟฟูา ที่ทาหน้าที่ควบคุมการใช้ไฟฟูาให้เกิด
ความปลอดภัย สามารถสับหรือปลดออกได้ทันที
3. สวิตซ์ปิด – เปิด หมายถึง
สวิตช์สาหรับปิด – เปิดหลอดไฟหรือโคมไฟสาหรับแสงสว่าง หรือเครื่องใช้ไฟฟูา
ชนิดอื่นๆ ที่มีการติดตั้งสวิตช์เอง
4. ลักษณะของสวิตซ์ปิด – เปิดที่มีคุณภาพมีลักษณะอย่างไรบ้าง
มีมาตรฐาน มอก. หรือมาตรฐานสากลอื่นๆ ที่มีการรับรอง เช่น UL, VDE,
KEMA, DIN
5. จงบอกเต้าเสียบและเต้ารับที่ดีต้องปลอดภัย ควรมีลักษณะอย่างไรบ้าง
- มีการปูองกันนิ้วมือไม่ให้สัมผัสขาปลั๊กในขณะเสียบ หรือถอดปลั๊ก เช่น การทาให้
เต้ารับเป็นหลุมลึก หรือการหุ้มฉนวนทีโคนขาปลั๊ก หรือทาเต้าเสียบ (ปลั๊ก) ให้มีขนาดใหญ่
เมื่อมีการกุมมือจับเต้าเสียบแล้ว ไม่มีโอกาสจับขาปลั๊กส่วนที่มีไฟ
- มีการปูองกันเด็กใช้นิ้ว หรือวัสดุแหย่รูเต้ารับ เช่น มีฝาครอบหรือบานพับ
เปิด – ปิดรูของเต้ารับ ซึ่งบานพับจะเปิดตอนใช้ปลั๊กเสียบเท่านั้น
- มีมาตรฐานสากลรับรองและผ่านการทดสอบตามมาตรฐานนั้นๆ เช่น UL, VDE,
DIN, KEMA เป็นต้น
- ขนาดของกระแสและแรงดันไฟฟูาสอดคล้องกับการใช้งานจริง เช่น ทดลอง
เสียบปลั๊กแล้วดึงออก 5 – 10 ครั้ง ถ้ายังคงฝืดและแน่นแสดงว่าใช้งานได้
19
บ
กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี
เรื่องการตรวจสอบและแก้ไขข้อขัดข้องระบบไฟฟ้าในบ้าน
เอกสารประกอบการสอน
6. จงบอกหลักการติดตั้งและใช้งานของเต้าเสียบเต้ารับควรปฏิบัติอย่างไร
- ตาแหน่งของการติดตั้งเต้ารับควรอยู่สูงให้พ้นมือเด็กหรือระดับน้าที่อาจท่วมถึง
- เวลาถอดปลั๊ก ให้ใช้มือจับที่ตัวปลั๊กอย่าดึงที่สายไฟและอย่าใช้มือแตะถูกขาปลั๊ก
- ให้หลีกเลี่ยงและระมัดระวังการใช้เต้ารับที่เสียบปลั๊กได้หลายตัว เพราะอาจทาให้
มีการใช้ไฟฟูาเกินขนาดของเต้ารับและสายไฟฟูา ทาให้เกิดไฟไหม้ได้
- ก่อนซื้อเต้ารับควรตรวจสอบโดยการใช้ปลั๊ก (ตัวผู้) ขากลมเสียบเข้าและดึงออก
หลายๆ ครั้ง เต้ารับที่มีคุณภาพดีจะแน่นและดึงออกยาก
- หมั่นตรวจสอบจุดเชื่อมต่อการเข้าสายให้แน่นอยู่เสมอ
- เต้ารับที่ใช้งานภายนอกอาคารควรทนแดดและปูองกันน้าฝนได้ หากเป็นสายไฟ/
เต้ารับที่ลากไปใช้งานไกลๆ ต้องผ่านวงจรของเครื่องตัดไฟรั่วด้วย
- ตลับต่อสายที่ประกอบไปด้วย สายพร้อมปลั๊กและมีเต้ารับหลายตัว พร้อมทั้งมี
ลักษณะของ มอก. เลขที่ 11 – 2531 นั้น มิได้หมายความว่าเต้ารับได้มาตรฐาน
เนื่องจากมาตรฐาน มอก. 11 เป็นมาตรฐานเฉพาะสายไฟเท่านั้น มิใช้มาตรฐานของเต้ารับ
แต่อย่างใด สาหรับขนาดของสายไฟที่ใช้นี้ต้องไม่ต่ากว่า 10 ตร.มม.
- ไม่ควรซื้อตลับสายไฟที่ใช้เต้ารับ 3 รู แต่ใช้สายไฟ 2 สาย และเต้าเสียบที่ไม่มี
สายดิน เพราะไม่มีประโยชน์ใดๆ ด้านความปลอดภัยเนื่องจากไม่มีสายดิน
ตอบถูกทุกคนใช่ไหมเพื่อน ๆ
เก่งจังเลยนะครับ
20
ป
กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี
เรื่องการตรวจสอบและแก้ไขข้อขัดข้องระบบไฟฟ้าในบ้าน
เอกสารประกอบการสอน
1. ถ้านักเรียนเปลี่ยนหลอดไฟฟูาฟลูออเรซเซนต์หลอดใหม่หลอดไฟจะสว่างแล้วดับไม่ติด
อีกแสดงว่าอุปกรณ์ใดชารุด
ก. สตาร์ทเตอร์
ข. บัลลาสต์
ค. สวิตซ์
ง. สายไฟ
2. การต่ออุปกรณ์คัทเอาท์ควรต่ออนุกรมกับอุปกรณ์ใด
ก. เต้ารับ
ข. สวิตซ์
ค. บัลลาสต์
ง. ปลั๊กฟิวส์
3. ขั้นตอนการเปลี่ยนสวิตซ์ไฟฟูาข้อใดถูกต้อง
ก. ดึงสวิตซ์ออกทันที
ข. นาเครื่องมือถอดเปลี่ยนทันที
ค. ดึงคัทเอาท์ลงแล้วจึงใช้เครื่องมือถอดเปลี่ยน
ง. ตัดสายไฟที่ติดสวิตซ์ออกแล้วปอกสายต่อเข้าไปใหม่
แบบทดสอบหลังเรียน
เรื่อง การตรวจสอบและแก้ไขข้อขัดข้องระบบไฟฟ้าในบ้าน
คาชี้แจง ให้นักเรียนทาเครื่องหมาย X ทับตัวอักษรหน้าคาตอบที่ถูกต้องที่สุด
21
ผ
กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี
เรื่องการตรวจสอบและแก้ไขข้อขัดข้องระบบไฟฟ้าในบ้าน
เอกสารประกอบการสอน
4. ทุกครั้งก่อนกาซ่อมเปลี่ยนอุปกรณ์ไฟฟูาภายในบ้านควรปฏิบัติอย่างไร
ก. ควรดึงคัทเอาท์ลงก่อนแล้วเขียนข้อความติดไว้ว่ากาลังซ่อมไฟฟูาอยู่
ข. ควรประสานงานหรือบอกสมาชิกในบ้านให้รู้ด้วย
ค. ควรทาการเปลี่ยนอย่างระมัดระวัง
ง. ที่กล่าวมาถูกทุกข้อ
5. การตรวจสอบขั้วต่อสายหรือจุดสัมผัสต่างๆควรตรวจสอบอย่างน้อยปีละกี่ครั้ง
ก. 1 ครั้ง
ข. 3 ครั้ง
ค. 5 ครั้ง
ง. 7 ครั้ง
6. ขณะที่นักเรียนใช้หลอดไฟแสงสว่างภายในบ้านอยู่ ไฟเกิดดับแต่หลอดจุดอื่นยังสว่าง
ข้อใดต่อไปนี้เป็นการตรวจสอบที่ไม่ถูกต้อง
ก. ตรวจดูสายไฟว่ามีรอยไหม้หรือเปล่า
ข. ตรวจดูปลั๊กไฟหรือเต้ารับว่ามีไฟอยู่หรือไม่
ค. ตรวจดูที่ขั้วหลอดไฟว่ามีการหลอมละลายหรือไม่
ง. ตรวจดูสวิทซ์ไฟว่ามีสิ่งแปลกปลอมเข้าไปอยู่หรือไม่
7. เครื่องมือในข้อใดใช้ตรวจสอบการขาดของไส้หลอด
ก. ไขควงลองไฟ
ข. แอมมิเตอร์
ค. โอห์มมิเตอร์
ง. วัตต์มิเตอร์
8. ถ้าเราตรวจพบว่าอุปกรณ์ไฟฟูาในระบบไฟฟูาภายในบ้านเสียและจะทาการตรวจซ่อม
ควรปฏิบัติอย่างไรเป็นลาดับแรก
ก. ทาการเปลี่ยนทันที
ข. ดึงสะพานไฟหรือคัทเอาท์ลง
ค. นาเครื่องมือมาแก้ไขทันที
ง. ดึงอุปกรณ์ออกทันที
22
ฝ
กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี
เรื่องการตรวจสอบและแก้ไขข้อขัดข้องระบบไฟฟ้าในบ้าน
เอกสารประกอบการสอน
9. ข้อใดเป็นเครื่องมือตรวจสอบกระแสไฟฟูาในเบื้องต้นของระบบไฟฟูาภายในบ้านอย่างง่าย
ก. วัตต์มิเตอร์
ข. มัลต์มิเตอร์
ค. โอห์มมิเตอร์
ง. ไขควงเช็คไฟ
10. ในการตรวจสอบระบบไฟฟูาภายในบ้าน ในกรณีที่ไฟฟูาดับหมดไม่มีกระแสไฟฟูาเลย
แต่บ้านหลังอื่นยังมีกระแสไฟใช้งานได้ตามปกติ การตรวจสอบขั้นต้นควรทาอย่างไร
ก. ตรวจดูเต้ารับ
ข. ตรวจดูสวิทซ์ไฟ
ค. ตรวจดูหลอดไฟ
ง. ตรวจดูสะพานไฟ
เก่งมากค่ะ
ไปดูเฉลยกันดีกว่านะ
23
พ
กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี
เรื่องการตรวจสอบและแก้ไขข้อขัดข้องระบบไฟฟ้าในบ้าน
เอกสารประกอบการสอน
ข้อ คาตอบ
1 ข
2 ง
3 ค
4 ง
5 ก
6 ก
7 ค
8 ข
9 ง
10 ง
เกณฑ์การผ่าน
ถูก 8 ข้อขึ้นไป ผ่านเกณฑ์
เฉลยแบบทดสอบเฉลยแบบทดสอบหลังหลังเรียนเรียน
24
ฟ
กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี
เรื่องการตรวจสอบและแก้ไขข้อขัดข้องระบบไฟฟ้าในบ้าน
เอกสารประกอบการสอน
บรรณานุกรมบรรณานุกรม
กระทรวงศึกษาธิการ. (2552). หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน
พุทธศักราช 2551. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย.
______. (2552). ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง กลุ่มสาระการงานอาชีพและ
เทคโนโลยี. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย.
การไฟฟูาส่วนภูมิภาค. (2559). การตรวจสอบสายไฟฟ้า. [ออนไลน์]. ได้จาก :
http://www.pea.co.th/electric/electric_sucure.htm/ [สืบค้นเมื่อ
วันที่ 28 สิงหาคม 2559].
ชะลอ บุญก่อ และคณะ. (2548). งานช่าง. กรุงเทพฯ : บอสส์การพิมพ์.
ประวิทย์ อุนะพานัก. (2549). การติดตั้งไฟฟ้าภายในอาคารและโรงงาน. กรุงเทพฯ :
เอมพันธ์.
พรอุมา กุลเสวตร์. (2559). เต้ารับเต้าเสียบ. [ออนไลน์]. ได้จาก: http://www.learners.in.th/
blogs/posts/374187/ [สืบค้นเมื่อ วันที่ 25 สิงหาคม 2559].

More Related Content

What's hot

คอมพลีเมนต์
คอมพลีเมนต์คอมพลีเมนต์
คอมพลีเมนต์
Aon Narinchoti
 
ส่วนที่ 3 โครงการ (ตัวอย่างจากปี 53)
ส่วนที่ 3 โครงการ (ตัวอย่างจากปี 53)ส่วนที่ 3 โครงการ (ตัวอย่างจากปี 53)
ส่วนที่ 3 โครงการ (ตัวอย่างจากปี 53)
Alongkorn WP
 
วัฏจักรน้ำ
วัฏจักรน้ำวัฏจักรน้ำ
วัฏจักรน้ำ
savokclash
 
ตุ๊กตาล้มลุกจริง
ตุ๊กตาล้มลุกจริงตุ๊กตาล้มลุกจริง
ตุ๊กตาล้มลุกจริง
Mim Kaewsiri
 
ใบความรู้ เรื่อง ความต่างศักย์ไฟฟ้า กระแสไฟฟ้า และความต้านทานไฟฟ้า
ใบความรู้ เรื่อง ความต่างศักย์ไฟฟ้า กระแสไฟฟ้า และความต้านทานไฟฟ้าใบความรู้ เรื่อง ความต่างศักย์ไฟฟ้า กระแสไฟฟ้า และความต้านทานไฟฟ้า
ใบความรู้ เรื่อง ความต่างศักย์ไฟฟ้า กระแสไฟฟ้า และความต้านทานไฟฟ้า
พัน พัน
 
ลักษณะเฉพะของข้อสอบวัดทักษะกระบวนการวิทยาศาสตร์
ลักษณะเฉพะของข้อสอบวัดทักษะกระบวนการวิทยาศาสตร์ลักษณะเฉพะของข้อสอบวัดทักษะกระบวนการวิทยาศาสตร์
ลักษณะเฉพะของข้อสอบวัดทักษะกระบวนการวิทยาศาสตร์
สมพงษ์ หาคำ
 
สูตรการหาพื้นที่ พร้อมตัวอย่าง
สูตรการหาพื้นที่ พร้อมตัวอย่างสูตรการหาพื้นที่ พร้อมตัวอย่าง
สูตรการหาพื้นที่ พร้อมตัวอย่าง
guest63819e
 
ภาคผนวกโครงงานกล้อง
ภาคผนวกโครงงานกล้องภาคผนวกโครงงานกล้อง
ภาคผนวกโครงงานกล้อง
krupornpana55
 

What's hot (20)

แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
 
คอมพลีเมนต์
คอมพลีเมนต์คอมพลีเมนต์
คอมพลีเมนต์
 
ส่วนที่ 3 โครงการ (ตัวอย่างจากปี 53)
ส่วนที่ 3 โครงการ (ตัวอย่างจากปี 53)ส่วนที่ 3 โครงการ (ตัวอย่างจากปี 53)
ส่วนที่ 3 โครงการ (ตัวอย่างจากปี 53)
 
ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีของผลิตภัณฑ์พอลิเมอร์
ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีของผลิตภัณฑ์พอลิเมอร์ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีของผลิตภัณฑ์พอลิเมอร์
ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีของผลิตภัณฑ์พอลิเมอร์
 
Chapter1 vector
Chapter1 vectorChapter1 vector
Chapter1 vector
 
Lesson3 plamtreproduce2561
Lesson3 plamtreproduce2561Lesson3 plamtreproduce2561
Lesson3 plamtreproduce2561
 
บทที่ 3 พลังงานไฟฟ้า
บทที่ 3  พลังงานไฟฟ้าบทที่ 3  พลังงานไฟฟ้า
บทที่ 3 พลังงานไฟฟ้า
 
บทที่ 3 พลังงานทดแทน
บทที่  3 พลังงานทดแทนบทที่  3 พลังงานทดแทน
บทที่ 3 พลังงานทดแทน
 
วัฏจักรน้ำ
วัฏจักรน้ำวัฏจักรน้ำ
วัฏจักรน้ำ
 
ตุ๊กตาล้มลุกจริง
ตุ๊กตาล้มลุกจริงตุ๊กตาล้มลุกจริง
ตุ๊กตาล้มลุกจริง
 
การประเมินการปฏิบัติ
การประเมินการปฏิบัติการประเมินการปฏิบัติ
การประเมินการปฏิบัติ
 
1 6
1 61 6
1 6
 
ไฟฟ้าม3
ไฟฟ้าม3ไฟฟ้าม3
ไฟฟ้าม3
 
5 1
5 15 1
5 1
 
ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง วงจรไฟฟ้า+ป.5+273+dltvscip5...
ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง วงจรไฟฟ้า+ป.5+273+dltvscip5...ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง วงจรไฟฟ้า+ป.5+273+dltvscip5...
ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง วงจรไฟฟ้า+ป.5+273+dltvscip5...
 
ใบความรู้ เรื่อง ความต่างศักย์ไฟฟ้า กระแสไฟฟ้า และความต้านทานไฟฟ้า
ใบความรู้ เรื่อง ความต่างศักย์ไฟฟ้า กระแสไฟฟ้า และความต้านทานไฟฟ้าใบความรู้ เรื่อง ความต่างศักย์ไฟฟ้า กระแสไฟฟ้า และความต้านทานไฟฟ้า
ใบความรู้ เรื่อง ความต่างศักย์ไฟฟ้า กระแสไฟฟ้า และความต้านทานไฟฟ้า
 
ลักษณะเฉพะของข้อสอบวัดทักษะกระบวนการวิทยาศาสตร์
ลักษณะเฉพะของข้อสอบวัดทักษะกระบวนการวิทยาศาสตร์ลักษณะเฉพะของข้อสอบวัดทักษะกระบวนการวิทยาศาสตร์
ลักษณะเฉพะของข้อสอบวัดทักษะกระบวนการวิทยาศาสตร์
 
สูตรการหาพื้นที่ พร้อมตัวอย่าง
สูตรการหาพื้นที่ พร้อมตัวอย่างสูตรการหาพื้นที่ พร้อมตัวอย่าง
สูตรการหาพื้นที่ พร้อมตัวอย่าง
 
ตัวอย่างแผนการสอนรวม7e
ตัวอย่างแผนการสอนรวม7eตัวอย่างแผนการสอนรวม7e
ตัวอย่างแผนการสอนรวม7e
 
ภาคผนวกโครงงานกล้อง
ภาคผนวกโครงงานกล้องภาคผนวกโครงงานกล้อง
ภาคผนวกโครงงานกล้อง
 

More from โรงเรียนห้วยแถลงพิทยาคม

More from โรงเรียนห้วยแถลงพิทยาคม (9)

บทคัดย่อ การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเคมี
บทคัดย่อ การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเคมีบทคัดย่อ การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเคมี
บทคัดย่อ การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเคมี
 
แบบฝึกทักษะภาษาอังกฤษ เรื่อง At Home
แบบฝึกทักษะภาษาอังกฤษ เรื่อง At Homeแบบฝึกทักษะภาษาอังกฤษ เรื่อง At Home
แบบฝึกทักษะภาษาอังกฤษ เรื่อง At Home
 
ชุดฝึกทักษะการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลและฟังก์ชันลอการิทึม
ชุดฝึกทักษะการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลและฟังก์ชันลอการิทึมชุดฝึกทักษะการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลและฟังก์ชันลอการิทึม
ชุดฝึกทักษะการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ ฟังก์ชันเอกซ์โพเนนเชียลและฟังก์ชันลอการิทึม
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง คลื่นกล
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง คลื่นกลชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง คลื่นกล
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง คลื่นกล
 
บทเรียนสาเร็จรูป เล่มที่ 3 เรื่อง การเกิดอุบัติเหตุและการปฐมพยาบาล
บทเรียนสาเร็จรูป เล่มที่ 3 เรื่อง การเกิดอุบัติเหตุและการปฐมพยาบาลบทเรียนสาเร็จรูป เล่มที่ 3 เรื่อง การเกิดอุบัติเหตุและการปฐมพยาบาล
บทเรียนสาเร็จรูป เล่มที่ 3 เรื่อง การเกิดอุบัติเหตุและการปฐมพยาบาล
 
ชุดเสริมทักษะกระบวนการคณิตศาสตร์ สาหรับการเรียนรู้แบบร่วมมือและเทคนิค KWDL
ชุดเสริมทักษะกระบวนการคณิตศาสตร์ สาหรับการเรียนรู้แบบร่วมมือและเทคนิค KWDLชุดเสริมทักษะกระบวนการคณิตศาสตร์ สาหรับการเรียนรู้แบบร่วมมือและเทคนิค KWDL
ชุดเสริมทักษะกระบวนการคณิตศาสตร์ สาหรับการเรียนรู้แบบร่วมมือและเทคนิค KWDL
 
The idol
The idol The idol
The idol
 
วิจัยชั้นเรียนเพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
วิจัยชั้นเรียนเพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน วิจัยชั้นเรียนเพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
วิจัยชั้นเรียนเพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
 
เอกสารประกอบการเรียนการสอน การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาซี ifและif-else
เอกสารประกอบการเรียนการสอน การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาซี ifและif-elseเอกสารประกอบการเรียนการสอน การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาซี ifและif-else
เอกสารประกอบการเรียนการสอน การเขียนโปรแกรมด้วยภาษาซี ifและif-else
 

เอกสารประกอบการสอน เล่มที่ 7 เรื่อง การตรวจสอบและแก้ไขข้อขัดข้องระบบไฟฟ้าในบ้าน