SlideShare a Scribd company logo
1 of 13
สมมติฐาน
1. น้าเน่าเสียน้าอาจทาให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางระบบนิเวศ
2. น้าเน่าเสียอาจเป็นแหล่งแพร่ระบาดเชื้อโรค เช่น ยุงลายอาจทาให้เป็น
ไข้เลือดออกได้
3. น้าเน่าเสียอาจทาให้วงจรชีวิตสัตว์น้าถูกทาลาย
ออกแบบ วางแผน ใช้กระบวนการรวบรวมข้อมูลอย่างมีประสิทธิภาพ
1.บาบัดน้าเสียก่อนปล่อยทิ้ง
2.ไม่ทิ้งขยะลงแม่น้า
3.ปลูกจิตใต้สานึกกับเยาวชน
4.ลดปริมาณขยะในครัวเรือน
5.ใช้สารเคมีให้น้อยลง
น้าเสีย คือน้าที่ได้รับผลกระทบในด้านคุณภาพจากอิทธิพลของมนุษย์ ระบบบาบัดน้า
เสียของเมืองระบายลงในในท่อหรือคลองระบายน้าเพื่อส่งไปบาบัดที่โรงงานบาบัดน้าเสียหรือ
ลงสู่แหล่งน้าธรรมชาติโดยตรง น้าเสียที่ผ่านการบาบัดมีการปล่อยลงไปในแหล่งน้า
ธรรมชาติต่อไปหรืออาจนาไปใช้ประโยชน์ทางใดทางหนึ่ง
ศึกษา ค้นคว้า แสวงหาความรู้เกี่ยวกับประเด็นที่เลือกศึกษา
น้าโสโครกเป็นส่วนย่อยของน้าเสียที่ถูกปนเปื้ อนกับอุจจาระหรือปัสสาวะ แต่มักจะใช้
รวมถึงน้าเสียโดยทั่วไป น้าเสียจึงหมายรวมถึงผลิตผลที่เป็นของเหลวที่เสียแล้วจากท้องถิ่น
หรือในเขตเทศบาลหรือในเมืองอุตสาหกรรม ซึ่งจะต้องถูกกาจัดผ่านทางท่อระบายน้าหรือท่อ
ต่างหากหรือถูกกาจัดในบ่อกาจัดเฉพาะ
ท่อน้าทิ้งเป็นโครงสร้างพื้นฐานทางกายภาพประกอบด้วยท่อ ปั๊ม ตะแกรง ประตู และ
อื่น ๆ เพื่อใช้ในการระบายน้าเสียจากแหล่งกาเนิดไปยังจุดของการรักษาสุดท้ายหรือการกาจัด
ทิ้ง ท่อน้าทิ้งมีหลายประเภทในระบบบาบัดน้าเสีย ยกเว้นระบบบาบัดน้าเสียสิ่งปฏิกูลที่บาบัด
ณ จุดผลิต
สาเหตุของน้าเน่าเสีย
1.ทิ้งขยะลงแม่น้า
2.ไม่มีการหมุนเวียนน้า
3.ทิ้งน้าเสียลงแม่น้า
4.สารตกค้างที่อยู่ในพื้นดิน
5.ปล่อยสารเคมีลงแหล่งน้า
ผลกระทบ
1.ทาลายวงจรชีวิตของสัตว์น้า
2.เป็นแหล่งแพร่ระบาดเชื้อโรค
3.ทาลายธรรมชาติ
4.เกษตรกรรม
5.ทัศนียภาพแหล่งน้า
6.การเปลี่ยนแปลงของระบบนิเวศ
แนวทางป้ องกันและแก้ไขมลพิษทางน้า
1. การศึกษาและตรวจสอบเส้นฐานคุณภาพสิ่งแวดล้อมของแหล่งน้า
2. การวางมาตรฐาน วิธีวิเคราะห์คุณภาพสิ่งแวดล้อม
3. การแลกเปลี่ยนข้อมูล การศึกษาเส้นฐานคุณภาพสิ่งแวดล้อมของแหล่งน้า
4. การประเมินผลกระทบ โดยวิธีทดสอบทางชีวภาพ
5. การประเมินผลกระทบทางนิเวศวิทยาในแต่ละพื้นที่ที่มีปัญหา
6. การวางมาตรฐานคุณภาพน้า
7. การศึกษาแหล่งต้นกาเนิดของมลสาร วิถีทาง และปริมาณ
8. การวางมาตรการควบคุมและแก้ไขปัญหามลภาวะ โดยมีกฎหมายเป็นตัวสนับสนุนละมี
บทลงโทษ
9. การประเมินผล ทาให้ทราบถึงการจัดการนั้นมีผลมากน้อยเพียงใด
ตรวจสอบความน่าน่าเชื่อของแหล่งที่มา
ในปัจจุบันมีกฎหมายสิ่งแวดล้อมไม่ต่ากว่า 26 ฉบับที่เกี่ยวกับการควบคุมมลพิษทางน้าทั้งโดยตรงและโดย
อ้อม และงานด้านนี้ก็อยู่ในความรับผิดชอบของกระทรวงต่างๆ อย่างน้อย 6 กระทรวง คือ กระทรวงวิทยาศาสตร์
เทคโนโลยี และสิ่งแวดล้อม กระทรวงอุตสาหกรรม กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ กระทรวงมหาดไทย กระทรวง
สาธารณสุข และกระทรวงคมนาคม ตัวอย่างของกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการควบคุมมลพิษทางน้า ได้แก่
(1) พ.ร.บ. การชลประทานหลวง พ.ศ. 2485 เป็นกฎหมายที่จัดทาขึ้นเพื่อควบคุมและส่งเสริมการชลประทานหลวงให้
ดาเนินไปด้วยดี เป็นประโยชน์กับ สาธารณชนผู้ต้องพึ่งพาน้าจากการชลประทานหลวงในการเพาะปลูกและการบริโภค
มาตรา 23, 26 และ 28 ห้ามการปลูกสร้างหรือต่อเติมสิ่งปลูกสร้าง รุกล้าทางน้าชลประทาน ห้ามขุดทางน้ามาเชื่อมหรือ
ทาให้ทางน้าชลประทานรั่วไหล และห้ามทิ้งขยะ สิ่งปฏิกูล มูลฝอย หรือปล่อยน้าเสียลงในคลองชลประทาน ทั้งนี้ให้นายช่าง
ชลประทานเป็นเจ้าพนักงานผู้มีอานาจและหน้าที่ในการควบคุมมิให้มีการฝ่าฝืนบทบัญญัติดังกล่าว อันอาจส่งผลให้ลาน้า
ชลประทานเน่าเสีย หรือเป็นอันตรายต่อการเพาะปลูกและการบริโภค
(2) พ.ร.บ. การประมง พ.ศ. 2490 กาหนดให้เจ้าหน้าที่ประมงมีอานาจควบคุมดูแลมิให้เกิดภาวะน้าเสีย โดยกาหนดให้มี
อานาจห้ามมิให้บุคคลใดเท ทิ้ง หรือระบายสิ่งใดๆ อันเป็นอันตรายต่อสัตว์น้าลงในที่จับสัตว์น้า รวมทั้งห้ามมิให้กระทาการ
ใดๆ อันเป็นเหตุทาให้ที่จับสัตว์น้าเกิดมลพิษ18
(3) พ.ร.บ. การเดินเรือในน่านน้าไทย (ฉบับที่ 14) พ.ศ. 2535 กฎหมายฉบับนี้ประกาศใช้บังคับตั้งแต่ พ.ศ. 2456 และมีการ
แก้ไขเพิ่มเติมหลายครั้ง โดยครั้งล่าสุดมีการแก้ไขเพิ่มเติมครั้งใหญ่เมื่อ พ.ศ. 2535 มาตรา 119 และมาตรา 119 ทวิ ของ
พ.ร.บ. ฉบับนี้ กาหนดให้พนักงานเจ้าท่ามีหน้าที่ดูแลแม่น้า ลาคลอง บึง อ่างเก็บน้า หรือทะเลสาบ ซึ่งประชาชนใช้สัญจร หรือ
ใช้ประโยชน์ร่วมกัน ด้วยการมิให้ผู้ใดเท ทิ้ง หรือกระทาด้วยประการใดๆ ให้หิน กรวด ทราย ดิน โคลน สิ่งของ หรือสิ่งปฏิกูล
ใดๆ ลงในแหล่งน้าเหล่านั้น อันจะเป็นเหตุให้แหล่งน้าตื้นเขิน ตกตะกอน สกปรก หรือเกิดเป็นพิษต่อสิ่งมีชีวิตหรือต่อ
สิ่งแวดล้อม
(4) พ.ร.บ. รักษาความสะอาดและความเป็นระเบียบเรียบร้อยของบ้านเมือง พ.ศ. 2535 กฎหมายนี้ประกาศใช้
บังคับแทน พ.ร.บ. รักษาความสะอาด และความเป็นระเบียบเรียบร้อยของบ้านเมือง พ.ศ. 2503 ในส่วนที่
เกี่ยวกับการควบคุมมลพิษทางน้ามีบัญญัติไว้ในมาตรา 23, 30 และ 33 โดยกาหนดห้ามเท ทิ้ง หรือทาด้วย
ประการใดๆ ให้กรวด หิน ดิน ทราย เลน หรือเศษวัสดุก่อสร้างตก หรือไหลลงในทางน้า ซึ่งเป็นเหตุให้เกิด
อุปสรรคต่อการระบายน้าหรือทาให้ทางน้าตื้นเขิน ห้ามเท ปล่อย หรือระบายอุจจาระ หรือปัสสาวะจากอาคาร
หรือยานพาหนะลงในน้า และห้ามเท หรือทิ้งสิ่งปฏิกูล มูลฝอย น้าโสโครก หรือสิ่งอื่นใดลงในทางน้า ทั้งนี้มาตรา
42 และมาตรา 43 กาหนดให้นายกเทศมนตรีหากเกิดในเขตเทศบาล ประธานกรรมการสุขาภิบาลในเขต
สุขาภิบาล หรือผู้ว่าราชการจังหวัด ในเขตองค์การบริหาร ส่วนจังหวัด มีหน้าที่ดูแลรับผิดชอบการปฏิบัติของ
พนักงานเจ้าหน้าที่ในเขตปกครองของตน ในการบังคับใช้กฎหมายนี้
(5) กฎกระทรวงมหาดไทย ฉบับที่ 33 (พ.ศ. 2535) ออกตามความใน พ.ร.บ. ควบคุมอาคาร พ.ศ. 2522 ข้อ
30 ถึง 35 ของกฎกระทรวงฉบับนี้ กาหนดให้อาคารสูงและอาคารขนาดใหญ่พิเศษที่จะสร้างขึ้นใหม่ ต้องมีการจัด
ให้มีทางระบายน้าทิ้งและระบบบาบัดน้าเสียให้ได้ ตามมาตรฐานคุณภาพน้าทิ้งจากอาคาร ตามประกาศของ
กระทรวงวิทยาศาสตร์ฯ ทั้งนี้ให้เจ้าพนักงานท้องถิ่นเป็นผู้ควบคุมดูแลให้มีการปฏิบัติตามกฎกระทรวงนี้
(6) พ.ร.บ. แร่ พ.ศ. 2510 มาตรา 67 ของ พ.ร.บ. นี้กาหนดห้ามมิให้ปล่อยน้าขุ่นข้น หรือมูลดินทราย อันเกิดจากการทา
เหมืองออกนอกเขตเหมืองแร่ เว้นแต่น้านั้นจะมีความขุ่นข้น หรือมูลดินทรายไม่เกินอัตราที่กาหนดในกฎกระทรวง และ
มาตรา 68 บัญญัติว่าแม้น้าขุ่นข้นหรือมูลดินทรายที่ปล่อยออกมา จะเป็นไปตามมาตรฐานที่กาหนดแล้ว ก็จะต้องมีการ
จัดการป้ องกันมิให้น้าขุ่นข้น หรือมูลดินทรายนั้นไปทาให้ทางน้าสาธารณะตื้นเขิน หรือเสื่อมประโยชน์แก่การใช้ทางน้านั้น
(7) พ.ร.บ. โรงงาน พ.ศ. 2535 และกฎกระทรวงฉบับที่ 2 (พ.ศ. 2535) ออกตามความใน พ.ร.บ. โรงงาน มาตรา 8 (4)
ของ พ.ร.บ. ฉบับนี้ ให้อานาจแก่รัฐมนตรีกระทรวงอุตสาหกรรมในการออกกฎกระทรวงกาหนดมาตรฐาน และวิธีการ
ควบคุมการปล่อยของเสีย มลพิษ หรือสิ่งใดๆ ที่มีผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม ซึ่งเกิดจากการประกอบกิจการโรงงาน และข้อ
14 ของกฎกระทรวงฉบับที่ 2 กาหนดห้ามการระบายน้าทิ้งจากโรงงาน เว้นแต่จะได้กระทาอย่างใดอย่างหนึ่งหรือหลาย
อย่าง จนน้าทิ้งมีลักษณะเป็นไปตามที่รัฐมนตรีกาหนดโดยประกาศในราชกิจจานุเบกษา แต่ทั้งนี้ต้องไม่ใช้วิธีทาให้เจือจาง
นอกจากนี้ ข้อ 15 ของกฎกระทรวงกาหนด ข้อปฏิบัติในกรณีที่มีระบบบาบัดน้าเสียในโรงงาน กล่าวคือ ต้องติดมาตรวัด
ปริมาณการใช้ไฟฟ้าสาหรับระบบบาบัดน้าเสียโดยเฉพาะไว้ในที่ง่ายแก่การตรวจสอบ และต้องมีการจดบันทึกเลขหน่วยและ
ปริมาณการใช้ไฟฟ้ าประจาวันด้วย ในกรณีที่มีการใช้สารเคมีหรือสารชีวภาพในระบบบาบัดน้าเสีย ต้องมีการบันทึก การใช้
สารเคมีหรือสารชีวภาพในการบาบัดน้าเสียประจาวันเช่นกัน
จัดทำโดย
นำงสำวจิรวัส แสงนิ่ม
เลขที่ 13
นำงสำวพรรณิภำ แซ่ตัน
เลขที่ 17
ชั้นมัธยมศึกษำปี ที่ 5/2

More Related Content

What's hot

เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียงเฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียงโรงเรียนเทพลีลา
 
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1KruKaiNui
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...ssuser858855
 
11.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน2
11.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน211.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน2
11.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน2Wichai Likitponrak
 
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์สมศรี หอมเนียม
 
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5kessara61977
 
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)Napadon Yingyongsakul
 
บทบาทหน้าที่ของรัฐบาลในการพัฒนาประเทศ
บทบาทหน้าที่ของรัฐบาลในการพัฒนาประเทศบทบาทหน้าที่ของรัฐบาลในการพัฒนาประเทศ
บทบาทหน้าที่ของรัฐบาลในการพัฒนาประเทศSuwannaphum Charoensiri
 
โครงงานเเยมกล้วย(Complete)
โครงงานเเยมกล้วย(Complete)โครงงานเเยมกล้วย(Complete)
โครงงานเเยมกล้วย(Complete)Pongpan Pairojana
 
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์Aomiko Wipaporn
 
เทียนหอมสมุนไพรไล่ยุง
เทียนหอมสมุนไพรไล่ยุงเทียนหอมสมุนไพรไล่ยุง
เทียนหอมสมุนไพรไล่ยุงBoomCNC
 
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสารความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสารdalarat
 
ที่มาและความสำคัญของโครงงาน
ที่มาและความสำคัญของโครงงานที่มาและความสำคัญของโครงงาน
ที่มาและความสำคัญของโครงงานPhongsak Kongkham
 
ข้อสอบอัจฉริยะ
ข้อสอบอัจฉริยะข้อสอบอัจฉริยะ
ข้อสอบอัจฉริยะKodchaporn Siriket
 
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืชการลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืชThanyamon Chat.
 
ข้อสอบPisaวิทย์
ข้อสอบPisaวิทย์ข้อสอบPisaวิทย์
ข้อสอบPisaวิทย์Dnavaroj Dnaka
 
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บทตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บทchaipalat
 

What's hot (20)

เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียงเฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
 
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
 
ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...
 
11.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน2
11.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน211.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน2
11.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน2
 
สารบัญ.
สารบัญ.สารบัญ.
สารบัญ.
 
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
 
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5
 
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
 
บทบาทหน้าที่ของรัฐบาลในการพัฒนาประเทศ
บทบาทหน้าที่ของรัฐบาลในการพัฒนาประเทศบทบาทหน้าที่ของรัฐบาลในการพัฒนาประเทศ
บทบาทหน้าที่ของรัฐบาลในการพัฒนาประเทศ
 
โครงงานเเยมกล้วย(Complete)
โครงงานเเยมกล้วย(Complete)โครงงานเเยมกล้วย(Complete)
โครงงานเเยมกล้วย(Complete)
 
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์
 
เทียนหอมสมุนไพรไล่ยุง
เทียนหอมสมุนไพรไล่ยุงเทียนหอมสมุนไพรไล่ยุง
เทียนหอมสมุนไพรไล่ยุง
 
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสารความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
ความร้อนกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของสสาร
 
ที่มาและความสำคัญของโครงงาน
ที่มาและความสำคัญของโครงงานที่มาและความสำคัญของโครงงาน
ที่มาและความสำคัญของโครงงาน
 
ข้อสอบอัจฉริยะ
ข้อสอบอัจฉริยะข้อสอบอัจฉริยะ
ข้อสอบอัจฉริยะ
 
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืชการลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
 
ข้อสอบPisaวิทย์
ข้อสอบPisaวิทย์ข้อสอบPisaวิทย์
ข้อสอบPisaวิทย์
 
เทคโนโลยีชีวภาพ (Biotechnology)
เทคโนโลยีชีวภาพ (Biotechnology)เทคโนโลยีชีวภาพ (Biotechnology)
เทคโนโลยีชีวภาพ (Biotechnology)
 
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บทตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
 

Similar to ปัญหาน้ำเน่าเสีย

โครงการพระราชดำริการใช้ประโยชน์จากขยะ
โครงการพระราชดำริการใช้ประโยชน์จากขยะโครงการพระราชดำริการใช้ประโยชน์จากขยะ
โครงการพระราชดำริการใช้ประโยชน์จากขยะPoramate Minsiri
 
เรื่อง ความรู้พื้นฐานทางมลพิษและสิ่งแวดล้อม
เรื่อง ความรู้พื้นฐานทางมลพิษและสิ่งแวดล้อมเรื่อง ความรู้พื้นฐานทางมลพิษและสิ่งแวดล้อม
เรื่อง ความรู้พื้นฐานทางมลพิษและสิ่งแวดล้อมAraya Toonton
 
Hazardous waste management
Hazardous waste managementHazardous waste management
Hazardous waste managementNithimar Or
 
การมีส่วนร่วมของประชาชน
การมีส่วนร่วมของประชาชนการมีส่วนร่วมของประชาชน
การมีส่วนร่วมของประชาชนChacrit Sitdhiwej
 
มลพิษทางดิน
มลพิษทางดินมลพิษทางดิน
มลพิษทางดินNittaya Jandang
 
ส่วนที่ 1 บทนำ ส่วนที่ 2 สถานการณ์ขยะมูลฝอยในภาพรวมของจังหวัด
ส่วนที่ 1 บทนำ ส่วนที่ 2 สถานการณ์ขยะมูลฝอยในภาพรวมของจังหวัดส่วนที่ 1 บทนำ ส่วนที่ 2 สถานการณ์ขยะมูลฝอยในภาพรวมของจังหวัด
ส่วนที่ 1 บทนำ ส่วนที่ 2 สถานการณ์ขยะมูลฝอยในภาพรวมของจังหวัดNatta Noname101
 
โครงงานเครื่องกรองน้ำทิ้งในโรงอาหาร
โครงงานเครื่องกรองน้ำทิ้งในโรงอาหารโครงงานเครื่องกรองน้ำทิ้งในโรงอาหาร
โครงงานเครื่องกรองน้ำทิ้งในโรงอาหารkrupornpana55
 
มลพิษและสิ่งแวดล้อม
มลพิษและสิ่งแวดล้อมมลพิษและสิ่งแวดล้อม
มลพิษและสิ่งแวดล้อมkoradalerttayakun
 
เทคโนโลยีการสื่อสารตามแนวพระราชดำริ
เทคโนโลยีการสื่อสารตามแนวพระราชดำริเทคโนโลยีการสื่อสารตามแนวพระราชดำริ
เทคโนโลยีการสื่อสารตามแนวพระราชดำริsoonthon100
 
ทรัพยากรน้ำ
ทรัพยากรน้ำทรัพยากรน้ำ
ทรัพยากรน้ำJiraporn
 
คุณภาพอากาศกับผลกระทบต่อสุขภาพ 2
คุณภาพอากาศกับผลกระทบต่อสุขภาพ 2คุณภาพอากาศกับผลกระทบต่อสุขภาพ 2
คุณภาพอากาศกับผลกระทบต่อสุขภาพ 2Thitiporn Klainil
 
คุณภาพอากาศกับผลกระทบต่อสุขภาพ 2
คุณภาพอากาศกับผลกระทบต่อสุขภาพ 2คุณภาพอากาศกับผลกระทบต่อสุขภาพ 2
คุณภาพอากาศกับผลกระทบต่อสุขภาพ 2klainil
 
il-pornprasert
il-pornprasertil-pornprasert
il-pornprasert0846054411
 

Similar to ปัญหาน้ำเน่าเสีย (19)

โครงการพระราชดำริการใช้ประโยชน์จากขยะ
โครงการพระราชดำริการใช้ประโยชน์จากขยะโครงการพระราชดำริการใช้ประโยชน์จากขยะ
โครงการพระราชดำริการใช้ประโยชน์จากขยะ
 
เรื่อง ความรู้พื้นฐานทางมลพิษและสิ่งแวดล้อม
เรื่อง ความรู้พื้นฐานทางมลพิษและสิ่งแวดล้อมเรื่อง ความรู้พื้นฐานทางมลพิษและสิ่งแวดล้อม
เรื่อง ความรู้พื้นฐานทางมลพิษและสิ่งแวดล้อม
 
1384945915
13849459151384945915
1384945915
 
Water pollution
Water pollutionWater pollution
Water pollution
 
Solid waste pollution
Solid waste pollutionSolid waste pollution
Solid waste pollution
 
Hazardous waste management
Hazardous waste managementHazardous waste management
Hazardous waste management
 
การมีส่วนร่วมของประชาชน
การมีส่วนร่วมของประชาชนการมีส่วนร่วมของประชาชน
การมีส่วนร่วมของประชาชน
 
น้ำ (Water) m2
น้ำ (Water) m2น้ำ (Water) m2
น้ำ (Water) m2
 
มลพิษทางดิน
มลพิษทางดินมลพิษทางดิน
มลพิษทางดิน
 
ส่วนที่ 1 บทนำ ส่วนที่ 2 สถานการณ์ขยะมูลฝอยในภาพรวมของจังหวัด
ส่วนที่ 1 บทนำ ส่วนที่ 2 สถานการณ์ขยะมูลฝอยในภาพรวมของจังหวัดส่วนที่ 1 บทนำ ส่วนที่ 2 สถานการณ์ขยะมูลฝอยในภาพรวมของจังหวัด
ส่วนที่ 1 บทนำ ส่วนที่ 2 สถานการณ์ขยะมูลฝอยในภาพรวมของจังหวัด
 
โครงงานเครื่องกรองน้ำทิ้งในโรงอาหาร
โครงงานเครื่องกรองน้ำทิ้งในโรงอาหารโครงงานเครื่องกรองน้ำทิ้งในโรงอาหาร
โครงงานเครื่องกรองน้ำทิ้งในโรงอาหาร
 
มลพิษและสิ่งแวดล้อม
มลพิษและสิ่งแวดล้อมมลพิษและสิ่งแวดล้อม
มลพิษและสิ่งแวดล้อม
 
เทคโนโลยีการสื่อสารตามแนวพระราชดำริ
เทคโนโลยีการสื่อสารตามแนวพระราชดำริเทคโนโลยีการสื่อสารตามแนวพระราชดำริ
เทคโนโลยีการสื่อสารตามแนวพระราชดำริ
 
ทรัพยากรน้ำ
ทรัพยากรน้ำทรัพยากรน้ำ
ทรัพยากรน้ำ
 
คุณภาพอากาศกับผลกระทบต่อสุขภาพ 2
คุณภาพอากาศกับผลกระทบต่อสุขภาพ 2คุณภาพอากาศกับผลกระทบต่อสุขภาพ 2
คุณภาพอากาศกับผลกระทบต่อสุขภาพ 2
 
คุณภาพอากาศกับผลกระทบต่อสุขภาพ 2
คุณภาพอากาศกับผลกระทบต่อสุขภาพ 2คุณภาพอากาศกับผลกระทบต่อสุขภาพ 2
คุณภาพอากาศกับผลกระทบต่อสุขภาพ 2
 
Presentation1
Presentation1Presentation1
Presentation1
 
il-pornprasert
il-pornprasertil-pornprasert
il-pornprasert
 
6 supannee2
6 supannee26 supannee2
6 supannee2
 

ปัญหาน้ำเน่าเสีย

  • 1.
  • 2. สมมติฐาน 1. น้าเน่าเสียน้าอาจทาให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางระบบนิเวศ 2. น้าเน่าเสียอาจเป็นแหล่งแพร่ระบาดเชื้อโรค เช่น ยุงลายอาจทาให้เป็น ไข้เลือดออกได้ 3. น้าเน่าเสียอาจทาให้วงจรชีวิตสัตว์น้าถูกทาลาย
  • 4. น้าเสีย คือน้าที่ได้รับผลกระทบในด้านคุณภาพจากอิทธิพลของมนุษย์ ระบบบาบัดน้า เสียของเมืองระบายลงในในท่อหรือคลองระบายน้าเพื่อส่งไปบาบัดที่โรงงานบาบัดน้าเสียหรือ ลงสู่แหล่งน้าธรรมชาติโดยตรง น้าเสียที่ผ่านการบาบัดมีการปล่อยลงไปในแหล่งน้า ธรรมชาติต่อไปหรืออาจนาไปใช้ประโยชน์ทางใดทางหนึ่ง ศึกษา ค้นคว้า แสวงหาความรู้เกี่ยวกับประเด็นที่เลือกศึกษา
  • 5. น้าโสโครกเป็นส่วนย่อยของน้าเสียที่ถูกปนเปื้ อนกับอุจจาระหรือปัสสาวะ แต่มักจะใช้ รวมถึงน้าเสียโดยทั่วไป น้าเสียจึงหมายรวมถึงผลิตผลที่เป็นของเหลวที่เสียแล้วจากท้องถิ่น หรือในเขตเทศบาลหรือในเมืองอุตสาหกรรม ซึ่งจะต้องถูกกาจัดผ่านทางท่อระบายน้าหรือท่อ ต่างหากหรือถูกกาจัดในบ่อกาจัดเฉพาะ ท่อน้าทิ้งเป็นโครงสร้างพื้นฐานทางกายภาพประกอบด้วยท่อ ปั๊ม ตะแกรง ประตู และ อื่น ๆ เพื่อใช้ในการระบายน้าเสียจากแหล่งกาเนิดไปยังจุดของการรักษาสุดท้ายหรือการกาจัด ทิ้ง ท่อน้าทิ้งมีหลายประเภทในระบบบาบัดน้าเสีย ยกเว้นระบบบาบัดน้าเสียสิ่งปฏิกูลที่บาบัด ณ จุดผลิต
  • 8. แนวทางป้ องกันและแก้ไขมลพิษทางน้า 1. การศึกษาและตรวจสอบเส้นฐานคุณภาพสิ่งแวดล้อมของแหล่งน้า 2. การวางมาตรฐาน วิธีวิเคราะห์คุณภาพสิ่งแวดล้อม 3. การแลกเปลี่ยนข้อมูล การศึกษาเส้นฐานคุณภาพสิ่งแวดล้อมของแหล่งน้า 4. การประเมินผลกระทบ โดยวิธีทดสอบทางชีวภาพ 5. การประเมินผลกระทบทางนิเวศวิทยาในแต่ละพื้นที่ที่มีปัญหา 6. การวางมาตรฐานคุณภาพน้า 7. การศึกษาแหล่งต้นกาเนิดของมลสาร วิถีทาง และปริมาณ 8. การวางมาตรการควบคุมและแก้ไขปัญหามลภาวะ โดยมีกฎหมายเป็นตัวสนับสนุนละมี บทลงโทษ 9. การประเมินผล ทาให้ทราบถึงการจัดการนั้นมีผลมากน้อยเพียงใด
  • 9. ตรวจสอบความน่าน่าเชื่อของแหล่งที่มา ในปัจจุบันมีกฎหมายสิ่งแวดล้อมไม่ต่ากว่า 26 ฉบับที่เกี่ยวกับการควบคุมมลพิษทางน้าทั้งโดยตรงและโดย อ้อม และงานด้านนี้ก็อยู่ในความรับผิดชอบของกระทรวงต่างๆ อย่างน้อย 6 กระทรวง คือ กระทรวงวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และสิ่งแวดล้อม กระทรวงอุตสาหกรรม กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ กระทรวงมหาดไทย กระทรวง สาธารณสุข และกระทรวงคมนาคม ตัวอย่างของกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการควบคุมมลพิษทางน้า ได้แก่ (1) พ.ร.บ. การชลประทานหลวง พ.ศ. 2485 เป็นกฎหมายที่จัดทาขึ้นเพื่อควบคุมและส่งเสริมการชลประทานหลวงให้ ดาเนินไปด้วยดี เป็นประโยชน์กับ สาธารณชนผู้ต้องพึ่งพาน้าจากการชลประทานหลวงในการเพาะปลูกและการบริโภค มาตรา 23, 26 และ 28 ห้ามการปลูกสร้างหรือต่อเติมสิ่งปลูกสร้าง รุกล้าทางน้าชลประทาน ห้ามขุดทางน้ามาเชื่อมหรือ ทาให้ทางน้าชลประทานรั่วไหล และห้ามทิ้งขยะ สิ่งปฏิกูล มูลฝอย หรือปล่อยน้าเสียลงในคลองชลประทาน ทั้งนี้ให้นายช่าง ชลประทานเป็นเจ้าพนักงานผู้มีอานาจและหน้าที่ในการควบคุมมิให้มีการฝ่าฝืนบทบัญญัติดังกล่าว อันอาจส่งผลให้ลาน้า ชลประทานเน่าเสีย หรือเป็นอันตรายต่อการเพาะปลูกและการบริโภค
  • 10. (2) พ.ร.บ. การประมง พ.ศ. 2490 กาหนดให้เจ้าหน้าที่ประมงมีอานาจควบคุมดูแลมิให้เกิดภาวะน้าเสีย โดยกาหนดให้มี อานาจห้ามมิให้บุคคลใดเท ทิ้ง หรือระบายสิ่งใดๆ อันเป็นอันตรายต่อสัตว์น้าลงในที่จับสัตว์น้า รวมทั้งห้ามมิให้กระทาการ ใดๆ อันเป็นเหตุทาให้ที่จับสัตว์น้าเกิดมลพิษ18 (3) พ.ร.บ. การเดินเรือในน่านน้าไทย (ฉบับที่ 14) พ.ศ. 2535 กฎหมายฉบับนี้ประกาศใช้บังคับตั้งแต่ พ.ศ. 2456 และมีการ แก้ไขเพิ่มเติมหลายครั้ง โดยครั้งล่าสุดมีการแก้ไขเพิ่มเติมครั้งใหญ่เมื่อ พ.ศ. 2535 มาตรา 119 และมาตรา 119 ทวิ ของ พ.ร.บ. ฉบับนี้ กาหนดให้พนักงานเจ้าท่ามีหน้าที่ดูแลแม่น้า ลาคลอง บึง อ่างเก็บน้า หรือทะเลสาบ ซึ่งประชาชนใช้สัญจร หรือ ใช้ประโยชน์ร่วมกัน ด้วยการมิให้ผู้ใดเท ทิ้ง หรือกระทาด้วยประการใดๆ ให้หิน กรวด ทราย ดิน โคลน สิ่งของ หรือสิ่งปฏิกูล ใดๆ ลงในแหล่งน้าเหล่านั้น อันจะเป็นเหตุให้แหล่งน้าตื้นเขิน ตกตะกอน สกปรก หรือเกิดเป็นพิษต่อสิ่งมีชีวิตหรือต่อ สิ่งแวดล้อม
  • 11. (4) พ.ร.บ. รักษาความสะอาดและความเป็นระเบียบเรียบร้อยของบ้านเมือง พ.ศ. 2535 กฎหมายนี้ประกาศใช้ บังคับแทน พ.ร.บ. รักษาความสะอาด และความเป็นระเบียบเรียบร้อยของบ้านเมือง พ.ศ. 2503 ในส่วนที่ เกี่ยวกับการควบคุมมลพิษทางน้ามีบัญญัติไว้ในมาตรา 23, 30 และ 33 โดยกาหนดห้ามเท ทิ้ง หรือทาด้วย ประการใดๆ ให้กรวด หิน ดิน ทราย เลน หรือเศษวัสดุก่อสร้างตก หรือไหลลงในทางน้า ซึ่งเป็นเหตุให้เกิด อุปสรรคต่อการระบายน้าหรือทาให้ทางน้าตื้นเขิน ห้ามเท ปล่อย หรือระบายอุจจาระ หรือปัสสาวะจากอาคาร หรือยานพาหนะลงในน้า และห้ามเท หรือทิ้งสิ่งปฏิกูล มูลฝอย น้าโสโครก หรือสิ่งอื่นใดลงในทางน้า ทั้งนี้มาตรา 42 และมาตรา 43 กาหนดให้นายกเทศมนตรีหากเกิดในเขตเทศบาล ประธานกรรมการสุขาภิบาลในเขต สุขาภิบาล หรือผู้ว่าราชการจังหวัด ในเขตองค์การบริหาร ส่วนจังหวัด มีหน้าที่ดูแลรับผิดชอบการปฏิบัติของ พนักงานเจ้าหน้าที่ในเขตปกครองของตน ในการบังคับใช้กฎหมายนี้ (5) กฎกระทรวงมหาดไทย ฉบับที่ 33 (พ.ศ. 2535) ออกตามความใน พ.ร.บ. ควบคุมอาคาร พ.ศ. 2522 ข้อ 30 ถึง 35 ของกฎกระทรวงฉบับนี้ กาหนดให้อาคารสูงและอาคารขนาดใหญ่พิเศษที่จะสร้างขึ้นใหม่ ต้องมีการจัด ให้มีทางระบายน้าทิ้งและระบบบาบัดน้าเสียให้ได้ ตามมาตรฐานคุณภาพน้าทิ้งจากอาคาร ตามประกาศของ กระทรวงวิทยาศาสตร์ฯ ทั้งนี้ให้เจ้าพนักงานท้องถิ่นเป็นผู้ควบคุมดูแลให้มีการปฏิบัติตามกฎกระทรวงนี้
  • 12. (6) พ.ร.บ. แร่ พ.ศ. 2510 มาตรา 67 ของ พ.ร.บ. นี้กาหนดห้ามมิให้ปล่อยน้าขุ่นข้น หรือมูลดินทราย อันเกิดจากการทา เหมืองออกนอกเขตเหมืองแร่ เว้นแต่น้านั้นจะมีความขุ่นข้น หรือมูลดินทรายไม่เกินอัตราที่กาหนดในกฎกระทรวง และ มาตรา 68 บัญญัติว่าแม้น้าขุ่นข้นหรือมูลดินทรายที่ปล่อยออกมา จะเป็นไปตามมาตรฐานที่กาหนดแล้ว ก็จะต้องมีการ จัดการป้ องกันมิให้น้าขุ่นข้น หรือมูลดินทรายนั้นไปทาให้ทางน้าสาธารณะตื้นเขิน หรือเสื่อมประโยชน์แก่การใช้ทางน้านั้น (7) พ.ร.บ. โรงงาน พ.ศ. 2535 และกฎกระทรวงฉบับที่ 2 (พ.ศ. 2535) ออกตามความใน พ.ร.บ. โรงงาน มาตรา 8 (4) ของ พ.ร.บ. ฉบับนี้ ให้อานาจแก่รัฐมนตรีกระทรวงอุตสาหกรรมในการออกกฎกระทรวงกาหนดมาตรฐาน และวิธีการ ควบคุมการปล่อยของเสีย มลพิษ หรือสิ่งใดๆ ที่มีผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม ซึ่งเกิดจากการประกอบกิจการโรงงาน และข้อ 14 ของกฎกระทรวงฉบับที่ 2 กาหนดห้ามการระบายน้าทิ้งจากโรงงาน เว้นแต่จะได้กระทาอย่างใดอย่างหนึ่งหรือหลาย อย่าง จนน้าทิ้งมีลักษณะเป็นไปตามที่รัฐมนตรีกาหนดโดยประกาศในราชกิจจานุเบกษา แต่ทั้งนี้ต้องไม่ใช้วิธีทาให้เจือจาง นอกจากนี้ ข้อ 15 ของกฎกระทรวงกาหนด ข้อปฏิบัติในกรณีที่มีระบบบาบัดน้าเสียในโรงงาน กล่าวคือ ต้องติดมาตรวัด ปริมาณการใช้ไฟฟ้าสาหรับระบบบาบัดน้าเสียโดยเฉพาะไว้ในที่ง่ายแก่การตรวจสอบ และต้องมีการจดบันทึกเลขหน่วยและ ปริมาณการใช้ไฟฟ้ าประจาวันด้วย ในกรณีที่มีการใช้สารเคมีหรือสารชีวภาพในระบบบาบัดน้าเสีย ต้องมีการบันทึก การใช้ สารเคมีหรือสารชีวภาพในการบาบัดน้าเสียประจาวันเช่นกัน
  • 13. จัดทำโดย นำงสำวจิรวัส แสงนิ่ม เลขที่ 13 นำงสำวพรรณิภำ แซ่ตัน เลขที่ 17 ชั้นมัธยมศึกษำปี ที่ 5/2