SlideShare a Scribd company logo
1 of 51
Project-Based Learning Hemmarat  Thanapat Hemmarat Thanapat Phd. Candidate in Educational Technology and Communications Mahasarakham University http://www.hemmarat.com http://www.content.hemmarat.com http://www.facebook.com/thanamsu http://thana33.hi5.com http://hemmarat.multiply.com http://thana8325.blogspot.com Email :  [email_address] Cell Phone : +66 866414318
Hemmarat  Thanapat Project-Based Learning (PBL) What is PBL? Why use PBL? How is PBL used?
Hemmarat  Thanapat PBL
Hemmarat  Thanapat ศิริวรรณ  ศรีพหลและพันทิพา อุทัยสุข  (2525  : 1-2 )  การสอนแบบโครงงานหมายถึงการสอนที่ทำให้ผู้เรียนได้ปฏิบัติกิจกรรมการเรียนการสอนด้วยตนเอง โดยยึดหลักการที่ว่าการเรียนที่ดีนั้นเกิดจากการกระทำโดยตัวผู้เรียนเอง
Hemmarat  Thanapat สุวิทย์ มูลคำและอรทัย  มูลคำ (2544  :  198) เป็นกระบวนการแสวงหาความรู้ หรือค้นคว้าหาคำตอบในสิ่งที่ผู้เรียนอยากรู้หรือสงสัยด้วยวิธีการต่างๆอย่างหลากหลาย
Hemmarat  Thanapat แคทซ์ และซิลเวีย (1994  :  12) เป็นการศึกษาอย่างลุ่มลึก  ในเรื่องที่มีความน่าสนใจจะศึกษาด้วยตัวของเขาเอง จากสภาพแวดล้อมและสถานการณ์จริงที่อยู่รอบตัว
Hemmarat  Thanapat ชาตรี  เกิดธรรม (2547  :  8) การจัดการเรียนรู้ที่ทำให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ด้วยตนเอง ได้ปฏิบัติจริงในลักษณะของการสำรวจ ค้นคว้า ทดลอง ประดิษฐ์คิดค้น ด้วยตนเอง โดยมีครูเป็นผู้คอยกระตุ้น แนะนำให้คำปรึกษาอย่างใกล้ชิด
Hemmarat  Thanapat พิมพันธ์ เดชะคุปต์และคณะ (2553  :  25) การศึกษาเพื่อค้นพบความรู้ใหม่ สิ่งประดิษฐ์ ใหม่และวิธีการใหม่ ด้วยตัวของนักเรียนเอง โดยใช้วิธีการทางวิทยาศาสตร์มีครูอาจารย์และผู้เชี่ยวชาญเป็นผู้ให้คำปรึกษา
Hemmarat  Thanapat การเรียนรู้แบบโครงงานเป็นกระบวนการแสวงหาความรู้ หรือการค้นคว้าหาคำตอบในสิ่งที่ผู้เรียนอยากรู้หรือสงสัย ด้วยวิธีการต่างๆหลากหลายรูปแบบ เป็นวิธีการเรียนรู้ที่ผู้เรียน ได้เลือกศึกษาตามความสนใจของตนเองหรือของกลุ่มซึ่งเป็นการตัดสินใจร่วมกัน โดยใช้กระบวนการหรือวิธีทางวิทยาศาสตร์
Hemmarat  Thanapat PBL ประเภทของโครงงาน ( แบ่งตามระดับการให้คำปรึกษา 1. ครูกำหนดปัญหาและออกแบบรวบรวมข้อมูล ( Guided Project ) 2. ครูร่วมกับนักเรียนกำหนดปัญหาและออกแบบเก็บรวบรวมข้อมูล ( Less-Guided Project ) 3. นักเรียนกำหนดปัญหาและออกแบบเก็บรวบรวมข้อมูล ( UnGuided Project ) ขั้นตอนการทำโครงงาน 1. การคิดและเลือกหัวข้อเรื่อง หรือปัญหาที่จะศึกษา 2. การวางแผนการทำโครงงาน 3. การลงมือทำโครงงาน 4. การเขียนรายงานโครงงาน 5. การแสดงผลงานและการประเมินผลโครงงาน ความหมาย การเรียนรู้แบบโครงงานเป็นกระบวนการแสวงหาความรู้ หรือการค้นคว้าหาคำตอบในสิ่งที่ผู้เรียนอยากรู้หรือสงสัย ด้วยวิธีการต่างๆหลากหลายรูปแบบ เป็นวิธีการเรียนรู้ที่ผู้เรียน ได้เลือกศึกษาตามความสนใจของตนเองหรือของกลุ่มซึ่งเป็นการตัดสินใจร่วมกัน โดยใช้กระบวนการหรือวิธีทางวิทยาศาสตร์ ประเภทของโครงงาน ( แบ่งตามผลการศึกษา ) 1. โครงงานสำรวจ 2. โครงงานทดลอง 3. โครงงานประดิษฐ์
Hemmarat  Thanapat PBL ประเภทของโครงงาน ( แบ่งตามผลการศึกษา ) 1. โครงงานสำรวจ  2. โครงงานทดลอง  3. โครงงานประดิษฐ์ โครงงานประดิษฐ์ ลักษณะของโครงการมุ่งนำความรู้ ทฤษฎี หลักการหรือแนวคิดมาประยุกต์ใช้โดยการประดิษฐ์เป็นเครื่องมือ เครื่องใช้ต่างๆ เพื่อประโยชน์ในการเรียนการสอนการทำงาน  หรือการใช้สอยอื่นๆ  อาจเป็นการประดิษฐืขึ้นมาใหม่ โดยไม่มีใครทำ  หรืออาจเป็นการปรับปรุงเปลี่ยนแปลง  และดัดแปลง ของเดิมที่มีอยู่แล้วให้มีประสิทธิภาพสูงขึ้นกว่าที่เป็นอยู่  รวมทั้งการสร้างแบบจำลองต่างๆ โครงงานทดลอง ลักษณะของโครงการาต้องมีการออกแบบการทดลองเพื่อศึกษาตัวแปรหรือตัวแปรอิสระที่มี่ต่อตัวแปรตาม  และมีการควบคุมตัวแปรอื่นๆที่ไม่ต้องการ  ดำเนินการทดลองเพื่อหาคำตอบของปัญหาหรือตรวจสอบสมมติฐานที่ตั้งไว้  แปรผล และสรุปผล โครงงานสำรวจ สำรวจความรู้ที่มีอยู่ในธรรมชาติหรือสภาพปัจจุบัน สำรวจ รวบรวมข้อมูล นำข้อมูลที่ได้มาจำแนกเป็นหมวดหมู่ และนำเสนอแบบต่างๆอย่างมีแบบแผนเพื่อให้เห็นถึงลักษณะหรือความสัมพันธ์ของเรื่องดังกล่าว ตามโครงการนี้ผู้ศึกษาต้องเก็บรวบรวมข้อมูลด้วยวิธีการต่างเช่น  แบบสอบถาม แบบสัมภาษณ์ แบบบันทึก  แบบสังเกต ฯลฯ
Hemmarat  Thanapat PBL ประเภทของโครงงาน ( แบ่งตามผลการศึกษา ) 1. โครงงานสำรวจ  2. โครงงานทดลอง  3. โครงงานประดิษฐ์ โครงงานประดิษฐ์ 1. การประดิษฐ์เครื่องสูบน้ำพลังลม 2. เทคนิคการถนอมอาหารแบบพื้นบ้าน 3. เทคนิคการย้อมสีผ้าโดยใช้ภูมิปัญญาไทย 4. การประดิษฐ์เครื่องห่อผลไม้ 5. เครื่องกลั่นน้ำพลังแสงอาทิตย์ โครงงานทดลอง 1. ขิงชะลอการบูด 2. การเปลี่ยนเพศปลาหางนกยูงโดยใช้โรแดง 3. การศึกษาวัสดุที่ใช้ล่อและไล่แมลงวัน 4. ถุงเพาะชำจากน้ำตะโก 5. การทำกระดาษจากกาบกล้วย 6. เซลล์ไฟฟ้าพลังดิน โครงงานสำรวจ 1. การสำรวจสัตว์ในท้องถิ่น 2. การสำรวจรูปทรงเลขาคณิตของใบพืขขนิดต่างๆ 3. การสำรวจภูมิปัญญาท้องถิ่นในด้านต่างๆ 4. การสำรวจแหล่งอารยธรรมโบราณ 5. การสำรวจภาษาถิ่นในชุมชน
Hemmarat  Thanapat PBL ประเภทของโครงงาน ( แบ่งตามระดับการให้คำปรึกษา ) 1. ครูกำหนดปัญหาและออกแบบรวบรวมข้อมูล ( Guided Project ) 2. ครูร่วมกับนักเรียนกำหนดปัญหาและออกแบบเก็บรวบรวมข้อมูล ( Less-Guided Project ) 3. นักเรียนกำหนดปัญหาและออกแบบเก็บรวบรวมข้อมูล ( UnGuided Project ) UnGuided Project เป็นโครงงานประเภทที่นักเรียนใช้ระดับความคิดสูงกว่าทั้ง  2  ประเภท และครูให้คำปรึกษาน้อยที่สุด โดยนักเรียนต้อง กำหนดปัญหาเอง  กำหนดวีธีการรวบรวมข้อมูลเพื่อตอบปัญหาเอง  กำหนดวีธีวัดรวบรวมข้อมูลเพื่อหาคำตอบปัญหาเอง Less-Guided Project เป็นโครงงานประเภทที่นักเรียนใช้ความคิดระดับสูงกว่า ระดับ  guided project  โดยครูและนักเรียนร่วมกัน กำหนดปัญหาหรือหัวข้อ และร่วมกันกำหนดวิธีรวบรวมข้อมูลเพื่อตอบปัญหา Guided Project เป็นโครงงานที่ใช้ระดับความคิดของนักเรียนเองน้อย ครูให้คำปรึกษามาก  โดยครูเป็นผู้รวบรวมข้อมูลเพื่อตอบปัญหา
Hemmarat  Thanapat PBL ขั้นตอนการทำโครงงาน 1.  การคิดและเลือกหัวข้อเรื่องโครงงาน 2.  การวางแผนการทำโครงงาน 3.  การลงมือทำโครงงาน 4.  การเขียนรายงานโครงการ 5.  การแสดงผลงานโครงการ / ประเมินผล
Hemmarat  Thanapat PBL ขั้นตอนการทำโครงงาน 1.  การคิดและเลือกหัวข้อเรื่องโครงงาน การเลือกหัวข้อเรื่องโครงงาน  ควรเป็นไปตามความสามารถ  ความสนใจ  ความต้องการของตนเอง  หัวเรื่องที่จะศึกษาคือปัญหาหรือข้อสงสัย
Hemmarat  Thanapat PBL ขั้นตอนการทำโครงงาน 2.  การวางแผนการทำโครงงาน 2.1  ศึกษาเอกสารที่เกี่ยวข้อง 2.2  การเขียนเค้าโครงของโครงงาน 2.2.1  ชื่อโครงงาน ...... 2.2.2  ชื่อผู้ทำโครงการ 2.2.3  ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษา 2.2.4  ระยะเวลาดำเนินงาน 2.2.5  ที่มาและความสำคัญของโครงงาน 2.2.6  วัตถุประสงค์ของการทำโครงงาน 2.2.7  สมมติฐาน  ( ถ้ามี ) 2.2.8  วิธีดำเนินงาน 2.2.9  ผลที่คาดว่าจะได้รับ 2.2.10  เอกสารอ้างอิง 2.2.11  ส่วนท้ายอาจจะมี -  ความเห็นของผู้ปกครอง -  ความคิดเห็นของอาจารย์ที่  ปรึกษา
Hemmarat  Thanapat การเขียนเค้าโครงของโครงงาน
Hemmarat  Thanapat การเขียนเค้าโครงของโครงงาน
Hemmarat  Thanapat การเขียนเค้าโครงของโครงงาน
Hemmarat  Thanapat PBL ขั้นตอนการทำโครงงาน 3.  การลงมือทำโครงงาน เป็นการดำเนินงานตามแผนการดำเนินงานที่ได้กำหนดไว้ในเค้าโครงของโครงงาน หลังจากที่ได้รับความเห็นชอบจากอาจารย์ที่ปรึกษาหรืออาจารย์ผู้สอนแล้ว
Hemmarat  Thanapat PBL ขั้นตอนการทำโครงงาน 4.  การเขียนรายงานโครงการ ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],10.  วิธีดำเนินงาน 11.  ผลของการศึกษาค้นคว้า 12.  สรุปผล 13.  ประโยขน์ที่ได้รับ 14.  ข้อเสนอแนะ 15.  เอกสารอ้างอิง
Hemmarat  Thanapat PBL ขั้นตอนการทำโครงงาน 4.  การเขียนรายงานโครงการ ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],10.  วิธีดำเนินงาน 11.  ผลของการศึกษาค้นคว้า 12.  สรุปผล 13.  ประโยขน์ที่ได้รับ 14.  ข้อเสนอแนะ 15.  เอกสารอ้างอิง
Hemmarat  Thanapat PBL ขั้นตอนการทำโครงงาน 5. การแสดงผลงานโครงการ เป็นขั้นตอนสุดท้ายของโครงงานคือการแสดงผลงานหรือการนำเสนอผลงาน อาจนำเสนอในรูปแบบต่างๆขึ้นกับลักษณะของโครงการ อาจเป็น แบบจำลอง  เอกสาร  สื่อสิ่งพิมพ์  การจัดทำเป็นสื่อมัลติมีเดีย  เว็บไซด์ บล็อก การจัดนิทรรศการ  หรือนำเสนอหน้าชั้นเรียน ด้วยวาจา  รายงาน  หรือการสาธิต  ก็ได้
Hemmarat  Thanapat การประเมินผลโครงงาน การประเมินผลเป็นบทบาทสำคัญของครู ควรมีความเข้าใจเกี่ยวกับ  การเรียนรู้ ( Learning )  การเรียนการสอน ( Instruction )  การประเมินการเรียนรู้ ( Assessment )  การประเมินผล  ( Evaluation )
Hemmarat  Thanapat
Hemmarat  Thanapat การประเมินการเรียนรู้  ( Assessment )  สิ่งใดสิ่งหนึ่งอาจไม่จำเป็นต้องตัดสินคุณค่า  หรือประเมินผล  (Evaluation)  แต่การประเมินผลหรือตัดสินคุณค่าสิ่งใดสิ่งหนึ่งจำเป็นต้องมีการประเมินการเรียนรู้
Hemmarat  Thanapat ,[object Object],[object Object],[object Object],การประเมินการเรียนรู้ตามสภาพจริง ( Authentic Assessment )
Hemmarat  Thanapat 4.  เจตคติ  เช่นการพัฒนาเจตคติต่อการเรียน  ใฝ่รู้ใฝ่เรียน  5.  นิสัยการทำงาน เช่นการทำงานให้สำเร็จตรงตามเวลา  ความอดทนเพื่อให้ได้งานที่มีคุณภาพ การประเมินการเรียนรู้ตามสภาพจริง ( Authentic Assessment )
Hemmarat  Thanapat PBL วิธีการประเมินการเรียนรู้ตามสภาพจริง ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
Hemmarat  Thanapat ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],การประเมินโครงงาน
Hemmarat  Thanapat ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],การประเมินโครงงาน
Hemmarat  Thanapat ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],การประเมินโครงงาน
Hemmarat  Thanapat ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],การประเมินโครงงาน
Hemmarat  Thanapat แบบประเมินทักษะปฏิบัติการทดลอง พิจารณาความสอดคล้องระหว่างพฤติกรรมที่สังเกตได้กับรายการพฤติกรรมการเรียนของนักเรียน   ให้พิจารณาน้ำหนักคะแนนแล้วเขียนลงในช่องประเมินตามน้ำหนัก 1 หมายถึง แน่ใจว่าพฤติกรรมที่สังเกตสอดคล้องกับรายการพฤติกรรม 0  หมายถึง ใม่แน่ใจว่าพฤติกรรมที่สังเกตสอดคล้องกับรายการพฤติกรรม -1 หมายถึง แน่ใจว่าพฤติกรรมที่สังเกตไม่สอดคล้องกับรายการพฤติกรรม พฤติกรรมที่สังเกต รายการพฤติกรรมนักเรียน คะแนนพิจารณา ข้อเสนอแนะ 1 กระบวนการกลุ่ม 1 0 -1 - การออกแบบการทดลอง / การวางแผน การวบรวมข้อมูล - หัวหน้ามีภาวะผู้นำ - สมาชิกกลุ่มร่วมมือในการทำงาน 2 การดำเนินการทดลอง / รวบรวมข้อมูล - การทดลองตามขั้นตอนที่กำหนด - ปรับปรุงแก้ไขเป็นระยะๆ - มีการบันทึกผลเป็นระยะๆ - สื่อความหมายข้อมูลเข้าใจและชัดเจน 3 การใช้เทคนิคการทดลอง - ติดตั้งอุปกรณ์เครื่องมือได้อย่างถูกต้อง - ใช้วัสดุ อุปกรณ์เครื่องมือต่างๆได้อย่างถูกต้อง
Hemmarat  Thanapat
Hemmarat  Thanapat
Hemmarat  Thanapat
Hemmarat  Thanapat การจัดการเรียนรู้โดยใช้โครงงานเป็นฐาน
Hemmarat  Thanapat
Hemmarat  Thanapat PBL ตัวอย่าง   :  ขั้นตอนการสอนโดยใช้โครงงานเป็นฐาน ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
Hemmarat  Thanapat PBL ตัวอย่าง   :  ขั้นตอนการสอนโดยใช้โครงงานเป็นฐาน 8.  นักเรียนแต่ละกลุ่มเก็บรวบรวมข้อมูล  แล้วบันทึกไว้ 9.  นักเรียนแต่ละกลุ่มช่วยกันนำข้อมูลที่บันทึกไว้มาเรียบเรียงเพื่อเขียนรายงานโครงงาน 10.  นักเรียนแต่ละกลุ่มนำเสนอโครงงานเพื่อให้ครูและเพื่อนๆประเมิน  ร่วมอภิปราย และให้ข้อเสนอแนะ 11.  แต่ละกลุ่มปรับปรุงงาน  แล้วส่งครูเพื่อตรวจและประกาศเกียรติคุณ หรือเผยแพร่ต่อไป
Hemmarat  Thanapat PBL ตัวอย่าง   :  รูปแบบการเรียนการสอน โดยใช้โครงงานเป็นฐาน
Hemmarat  Thanapat
Hemmarat  Thanapat
Hemmarat  Thanapat
Hemmarat  Thanapat
Hemmarat  Thanapat
Hemmarat  Thanapat
Hemmarat  Thanapat
Hemmarat  Thanapat
Hemmarat  Thanapat Thank you for your attention.

More Related Content

What's hot

ใบความรู้ที่ 4 เรื่อง การวางแผนการทำโครงงาน
ใบความรู้ที่ 4 เรื่อง การวางแผนการทำโครงงานใบความรู้ที่ 4 เรื่อง การวางแผนการทำโครงงาน
ใบความรู้ที่ 4 เรื่อง การวางแผนการทำโครงงานsarawut saoklieo
 
หลักการและทฤฏี
หลักการและทฤฏีหลักการและทฤฏี
หลักการและทฤฏีsukanya5729
 
โครงร่างโครงงาน กรุความรู้...สังคมศึกษา
โครงร่างโครงงาน กรุความรู้...สังคมศึกษาโครงร่างโครงงาน กรุความรู้...สังคมศึกษา
โครงร่างโครงงาน กรุความรู้...สังคมศึกษาPanupong Srimuang
 
ใบความรู้ที่ 3 เรื่อง ความหมายความสำคัญและองค์ประกอบของโครงงาน
ใบความรู้ที่ 3 เรื่อง ความหมายความสำคัญและองค์ประกอบของโครงงานใบความรู้ที่ 3 เรื่อง ความหมายความสำคัญและองค์ประกอบของโครงงาน
ใบความรู้ที่ 3 เรื่อง ความหมายความสำคัญและองค์ประกอบของโครงงานsarawut saoklieo
 
ความหมายของโครงงาน
ความหมายของโครงงานความหมายของโครงงาน
ความหมายของโครงงานRachaya Smn
 
การปฏิบัติงานประจำสู่การวิจัย (Routine to Research: R2R)
การปฏิบัติงานประจำสู่การวิจัย (Routine to Research: R2R)การปฏิบัติงานประจำสู่การวิจัย (Routine to Research: R2R)
การปฏิบัติงานประจำสู่การวิจัย (Routine to Research: R2R)Prachyanun Nilsook
 
ขอบข่ายของโครงงาน
ขอบข่ายของโครงงานขอบข่ายของโครงงาน
ขอบข่ายของโครงงานSasithorn Horprasong
 
ขั้นตอนการจัดทำโครงงาน
ขั้นตอนการจัดทำโครงงานขั้นตอนการจัดทำโครงงาน
ขั้นตอนการจัดทำโครงงานLaemiie Eiseis
 
(แก้งาน) ใบงานที่ 2-9
(แก้งาน) ใบงานที่ 2-9(แก้งาน) ใบงานที่ 2-9
(แก้งาน) ใบงานที่ 2-9Decho Narong
 
การเรียนรู้ด้วยโครงงานเป็นฐาน (Project-Based Learning)
การเรียนรู้ด้วยโครงงานเป็นฐาน (Project-Based Learning)การเรียนรู้ด้วยโครงงานเป็นฐาน (Project-Based Learning)
การเรียนรู้ด้วยโครงงานเป็นฐาน (Project-Based Learning)Khon Kaen University
 
ใบงานที่ 2 เรื่อง ความหมายและความสำคัญของโครงงาน2
ใบงานที่ 2 เรื่อง ความหมายและความสำคัญของโครงงาน2ใบงานที่ 2 เรื่อง ความหมายและความสำคัญของโครงงาน2
ใบงานที่ 2 เรื่อง ความหมายและความสำคัญของโครงงาน2Aksonsat Roungsan
 
ใบงานที่ 2 เรื่อง ความหมายและความสำคัญของโครงงาน
ใบงานที่ 2 เรื่อง ความหมายและความสำคัญของโครงงานใบงานที่ 2 เรื่อง ความหมายและความสำคัญของโครงงาน
ใบงานที่ 2 เรื่อง ความหมายและความสำคัญของโครงงานMomay Protaper
 
ความหมายและความสำคัญของโครงงาน
ความหมายและความสำคัญของโครงงานความหมายและความสำคัญของโครงงาน
ความหมายและความสำคัญของโครงงานPawarit Jitakul
 

What's hot (19)

ใบความรู้ที่ 4 เรื่อง การวางแผนการทำโครงงาน
ใบความรู้ที่ 4 เรื่อง การวางแผนการทำโครงงานใบความรู้ที่ 4 เรื่อง การวางแผนการทำโครงงาน
ใบความรู้ที่ 4 เรื่อง การวางแผนการทำโครงงาน
 
หลักการและทฤฏี
หลักการและทฤฏีหลักการและทฤฏี
หลักการและทฤฏี
 
โครงร่างโครงงาน กรุความรู้...สังคมศึกษา
โครงร่างโครงงาน กรุความรู้...สังคมศึกษาโครงร่างโครงงาน กรุความรู้...สังคมศึกษา
โครงร่างโครงงาน กรุความรู้...สังคมศึกษา
 
ใบความรู้ที่ 3 เรื่อง ความหมายความสำคัญและองค์ประกอบของโครงงาน
ใบความรู้ที่ 3 เรื่อง ความหมายความสำคัญและองค์ประกอบของโครงงานใบความรู้ที่ 3 เรื่อง ความหมายความสำคัญและองค์ประกอบของโครงงาน
ใบความรู้ที่ 3 เรื่อง ความหมายความสำคัญและองค์ประกอบของโครงงาน
 
Computer
ComputerComputer
Computer
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 
ความหมายของโครงงาน
ความหมายของโครงงานความหมายของโครงงาน
ความหมายของโครงงาน
 
งานคอม
งานคอมงานคอม
งานคอม
 
ใบงานที่2 8
ใบงานที่2 8ใบงานที่2 8
ใบงานที่2 8
 
การปฏิบัติงานประจำสู่การวิจัย (Routine to Research: R2R)
การปฏิบัติงานประจำสู่การวิจัย (Routine to Research: R2R)การปฏิบัติงานประจำสู่การวิจัย (Routine to Research: R2R)
การปฏิบัติงานประจำสู่การวิจัย (Routine to Research: R2R)
 
ขอบข่ายของโครงงาน
ขอบข่ายของโครงงานขอบข่ายของโครงงาน
ขอบข่ายของโครงงาน
 
Commm
CommmCommm
Commm
 
ขั้นตอนการจัดทำโครงงาน
ขั้นตอนการจัดทำโครงงานขั้นตอนการจัดทำโครงงาน
ขั้นตอนการจัดทำโครงงาน
 
(แก้งาน) ใบงานที่ 2-9
(แก้งาน) ใบงานที่ 2-9(แก้งาน) ใบงานที่ 2-9
(แก้งาน) ใบงานที่ 2-9
 
การเรียนรู้ด้วยโครงงานเป็นฐาน (Project-Based Learning)
การเรียนรู้ด้วยโครงงานเป็นฐาน (Project-Based Learning)การเรียนรู้ด้วยโครงงานเป็นฐาน (Project-Based Learning)
การเรียนรู้ด้วยโครงงานเป็นฐาน (Project-Based Learning)
 
ใบงานที่ 2 เรื่อง ความหมายและความสำคัญของโครงงาน2
ใบงานที่ 2 เรื่อง ความหมายและความสำคัญของโครงงาน2ใบงานที่ 2 เรื่อง ความหมายและความสำคัญของโครงงาน2
ใบงานที่ 2 เรื่อง ความหมายและความสำคัญของโครงงาน2
 
PPT อ.สกลชัย
PPT อ.สกลชัยPPT อ.สกลชัย
PPT อ.สกลชัย
 
ใบงานที่ 2 เรื่อง ความหมายและความสำคัญของโครงงาน
ใบงานที่ 2 เรื่อง ความหมายและความสำคัญของโครงงานใบงานที่ 2 เรื่อง ความหมายและความสำคัญของโครงงาน
ใบงานที่ 2 เรื่อง ความหมายและความสำคัญของโครงงาน
 
ความหมายและความสำคัญของโครงงาน
ความหมายและความสำคัญของโครงงานความหมายและความสำคัญของโครงงาน
ความหมายและความสำคัญของโครงงาน
 

Viewers also liked

ขั้นตอนการทำโครงงานคอมพิวเตอร์
ขั้นตอนการทำโครงงานคอมพิวเตอร์ขั้นตอนการทำโครงงานคอมพิวเตอร์
ขั้นตอนการทำโครงงานคอมพิวเตอร์May Saksit
 
เค้าโครงข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
เค้าโครงข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์เค้าโครงข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
เค้าโครงข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์Rattana Wongphu-nga
 
หน่วยที่ 1 หลักการทำโครงงานคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 1 หลักการทำโครงงานคอมพิวเตอร์ หน่วยที่ 1 หลักการทำโครงงานคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 1 หลักการทำโครงงานคอมพิวเตอร์ Por Oraya
 
5การวางแผนโครงการ
5การวางแผนโครงการ5การวางแผนโครงการ
5การวางแผนโครงการpop Jaturong
 
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องKittichai Pinlert
 
ขั้นตอนการทำโครงงานคอมพิวเตอร์
ขั้นตอนการทำโครงงานคอมพิวเตอร์ขั้นตอนการทำโครงงานคอมพิวเตอร์
ขั้นตอนการทำโครงงานคอมพิวเตอร์tangonjr
 

Viewers also liked (6)

ขั้นตอนการทำโครงงานคอมพิวเตอร์
ขั้นตอนการทำโครงงานคอมพิวเตอร์ขั้นตอนการทำโครงงานคอมพิวเตอร์
ขั้นตอนการทำโครงงานคอมพิวเตอร์
 
เค้าโครงข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
เค้าโครงข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์เค้าโครงข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
เค้าโครงข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
 
หน่วยที่ 1 หลักการทำโครงงานคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 1 หลักการทำโครงงานคอมพิวเตอร์ หน่วยที่ 1 หลักการทำโครงงานคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 1 หลักการทำโครงงานคอมพิวเตอร์
 
5การวางแผนโครงการ
5การวางแผนโครงการ5การวางแผนโครงการ
5การวางแผนโครงการ
 
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
ขั้นตอนการทำโครงงานคอมพิวเตอร์
ขั้นตอนการทำโครงงานคอมพิวเตอร์ขั้นตอนการทำโครงงานคอมพิวเตอร์
ขั้นตอนการทำโครงงานคอมพิวเตอร์
 

Similar to Thana pbl

โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์PeeEllse
 
ใบงานโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานโครงงานคอมพิวเตอร์ใบงานโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานโครงงานคอมพิวเตอร์Atthaphon45614
 
ความหมายและความสำคัญของโครงงาน
ความหมายและความสำคัญของโครงงานความหมายและความสำคัญของโครงงาน
ความหมายและความสำคัญของโครงงานFreshsica Chunyanuch
 
ใบความรู้ 6.2การประเมินผลโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ 6.2การประเมินผลโครงงานคอมพิวเตอร์ใบความรู้ 6.2การประเมินผลโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ 6.2การประเมินผลโครงงานคอมพิวเตอร์sa_jaimun
 
ความหมายของโครงงาน2
ความหมายของโครงงาน2ความหมายของโครงงาน2
ความหมายของโครงงาน2Paranee Srikhampaen
 
การวิจัยแบบง่ายสู่ครูนักวิจัย
การวิจัยแบบง่ายสู่ครูนักวิจัยการวิจัยแบบง่ายสู่ครูนักวิจัย
การวิจัยแบบง่ายสู่ครูนักวิจัยsudaphud
 
Slideshare
SlideshareSlideshare
Slidesharepaewwaew
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์Suchada Maksiri
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์Pongpanote Wachirawongwarun
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์ โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์ Jittraporn Chaunprasert
 
Teahingint
TeahingintTeahingint
Teahingintprisana2
 
Teahingint
TeahingintTeahingint
Teahingintkorakate
 

Similar to Thana pbl (20)

Thana pbl
Thana pblThana pbl
Thana pbl
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
ใบงานโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานโครงงานคอมพิวเตอร์ใบงานโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานโครงงานคอมพิวเตอร์
 
ความหมายและความสำคัญของโครงงาน
ความหมายและความสำคัญของโครงงานความหมายและความสำคัญของโครงงาน
ความหมายและความสำคัญของโครงงาน
 
Presentation 3
Presentation 3Presentation 3
Presentation 3
 
ใบความรู้ 6.2การประเมินผลโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ 6.2การประเมินผลโครงงานคอมพิวเตอร์ใบความรู้ 6.2การประเมินผลโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ 6.2การประเมินผลโครงงานคอมพิวเตอร์
 
โครงงานภาษาไทย
โครงงานภาษาไทยโครงงานภาษาไทย
โครงงานภาษาไทย
 
ความหมายของโครงงาน2
ความหมายของโครงงาน2ความหมายของโครงงาน2
ความหมายของโครงงาน2
 
การวิจัยแบบง่ายสู่ครูนักวิจัย
การวิจัยแบบง่ายสู่ครูนักวิจัยการวิจัยแบบง่ายสู่ครูนักวิจัย
การวิจัยแบบง่ายสู่ครูนักวิจัย
 
001
001001
001
 
Slideshare
SlideshareSlideshare
Slideshare
 
Computer
ComputerComputer
Computer
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์ โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
Computer
ComputerComputer
Computer
 
ใบงาน2
ใบงาน2ใบงาน2
ใบงาน2
 
Project1
Project1Project1
Project1
 
Teahingint
TeahingintTeahingint
Teahingint
 
Teahingint
TeahingintTeahingint
Teahingint
 

More from mahasarakham university (20)

ความหมายขอบเขต
ความหมายขอบเขตความหมายขอบเขต
ความหมายขอบเขต
 
Flip album
Flip albumFlip album
Flip album
 
Corel video studio pro
Corel video studio proCorel video studio pro
Corel video studio pro
 
Mooc
MoocMooc
Mooc
 
สอนเลขฐาน
สอนเลขฐานสอนเลขฐาน
สอนเลขฐาน
 
Corel video studio pro
Corel video studio proCorel video studio pro
Corel video studio pro
 
Internet
InternetInternet
Internet
 
Original cai
Original caiOriginal cai
Original cai
 
Regis hemmarat
Regis hemmaratRegis hemmarat
Regis hemmarat
 
Final
FinalFinal
Final
 
Final
FinalFinal
Final
 
การพัฒนามอดูลแบบฐานสมรรถนะ
การพัฒนามอดูลแบบฐานสมรรถนะการพัฒนามอดูลแบบฐานสมรรถนะ
การพัฒนามอดูลแบบฐานสมรรถนะ
 
Picasa tahoma
Picasa tahomaPicasa tahoma
Picasa tahoma
 
Picasa tahoma
Picasa tahomaPicasa tahoma
Picasa tahoma
 
Google calendar
Google calendarGoogle calendar
Google calendar
 
Blog
BlogBlog
Blog
 
Search engine
Search engineSearch engine
Search engine
 
Internet search engine
Internet search engineInternet search engine
Internet search engine
 
Internet search engine
Internet search engineInternet search engine
Internet search engine
 
Webopac
WebopacWebopac
Webopac
 

Thana pbl

  • 1. Project-Based Learning Hemmarat Thanapat Hemmarat Thanapat Phd. Candidate in Educational Technology and Communications Mahasarakham University http://www.hemmarat.com http://www.content.hemmarat.com http://www.facebook.com/thanamsu http://thana33.hi5.com http://hemmarat.multiply.com http://thana8325.blogspot.com Email : [email_address] Cell Phone : +66 866414318
  • 2. Hemmarat Thanapat Project-Based Learning (PBL) What is PBL? Why use PBL? How is PBL used?
  • 4. Hemmarat Thanapat ศิริวรรณ ศรีพหลและพันทิพา อุทัยสุข (2525 : 1-2 ) การสอนแบบโครงงานหมายถึงการสอนที่ทำให้ผู้เรียนได้ปฏิบัติกิจกรรมการเรียนการสอนด้วยตนเอง โดยยึดหลักการที่ว่าการเรียนที่ดีนั้นเกิดจากการกระทำโดยตัวผู้เรียนเอง
  • 5. Hemmarat Thanapat สุวิทย์ มูลคำและอรทัย มูลคำ (2544 : 198) เป็นกระบวนการแสวงหาความรู้ หรือค้นคว้าหาคำตอบในสิ่งที่ผู้เรียนอยากรู้หรือสงสัยด้วยวิธีการต่างๆอย่างหลากหลาย
  • 6. Hemmarat Thanapat แคทซ์ และซิลเวีย (1994 : 12) เป็นการศึกษาอย่างลุ่มลึก ในเรื่องที่มีความน่าสนใจจะศึกษาด้วยตัวของเขาเอง จากสภาพแวดล้อมและสถานการณ์จริงที่อยู่รอบตัว
  • 7. Hemmarat Thanapat ชาตรี เกิดธรรม (2547 : 8) การจัดการเรียนรู้ที่ทำให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ด้วยตนเอง ได้ปฏิบัติจริงในลักษณะของการสำรวจ ค้นคว้า ทดลอง ประดิษฐ์คิดค้น ด้วยตนเอง โดยมีครูเป็นผู้คอยกระตุ้น แนะนำให้คำปรึกษาอย่างใกล้ชิด
  • 8. Hemmarat Thanapat พิมพันธ์ เดชะคุปต์และคณะ (2553 : 25) การศึกษาเพื่อค้นพบความรู้ใหม่ สิ่งประดิษฐ์ ใหม่และวิธีการใหม่ ด้วยตัวของนักเรียนเอง โดยใช้วิธีการทางวิทยาศาสตร์มีครูอาจารย์และผู้เชี่ยวชาญเป็นผู้ให้คำปรึกษา
  • 9. Hemmarat Thanapat การเรียนรู้แบบโครงงานเป็นกระบวนการแสวงหาความรู้ หรือการค้นคว้าหาคำตอบในสิ่งที่ผู้เรียนอยากรู้หรือสงสัย ด้วยวิธีการต่างๆหลากหลายรูปแบบ เป็นวิธีการเรียนรู้ที่ผู้เรียน ได้เลือกศึกษาตามความสนใจของตนเองหรือของกลุ่มซึ่งเป็นการตัดสินใจร่วมกัน โดยใช้กระบวนการหรือวิธีทางวิทยาศาสตร์
  • 10. Hemmarat Thanapat PBL ประเภทของโครงงาน ( แบ่งตามระดับการให้คำปรึกษา 1. ครูกำหนดปัญหาและออกแบบรวบรวมข้อมูล ( Guided Project ) 2. ครูร่วมกับนักเรียนกำหนดปัญหาและออกแบบเก็บรวบรวมข้อมูล ( Less-Guided Project ) 3. นักเรียนกำหนดปัญหาและออกแบบเก็บรวบรวมข้อมูล ( UnGuided Project ) ขั้นตอนการทำโครงงาน 1. การคิดและเลือกหัวข้อเรื่อง หรือปัญหาที่จะศึกษา 2. การวางแผนการทำโครงงาน 3. การลงมือทำโครงงาน 4. การเขียนรายงานโครงงาน 5. การแสดงผลงานและการประเมินผลโครงงาน ความหมาย การเรียนรู้แบบโครงงานเป็นกระบวนการแสวงหาความรู้ หรือการค้นคว้าหาคำตอบในสิ่งที่ผู้เรียนอยากรู้หรือสงสัย ด้วยวิธีการต่างๆหลากหลายรูปแบบ เป็นวิธีการเรียนรู้ที่ผู้เรียน ได้เลือกศึกษาตามความสนใจของตนเองหรือของกลุ่มซึ่งเป็นการตัดสินใจร่วมกัน โดยใช้กระบวนการหรือวิธีทางวิทยาศาสตร์ ประเภทของโครงงาน ( แบ่งตามผลการศึกษา ) 1. โครงงานสำรวจ 2. โครงงานทดลอง 3. โครงงานประดิษฐ์
  • 11. Hemmarat Thanapat PBL ประเภทของโครงงาน ( แบ่งตามผลการศึกษา ) 1. โครงงานสำรวจ 2. โครงงานทดลอง 3. โครงงานประดิษฐ์ โครงงานประดิษฐ์ ลักษณะของโครงการมุ่งนำความรู้ ทฤษฎี หลักการหรือแนวคิดมาประยุกต์ใช้โดยการประดิษฐ์เป็นเครื่องมือ เครื่องใช้ต่างๆ เพื่อประโยชน์ในการเรียนการสอนการทำงาน หรือการใช้สอยอื่นๆ อาจเป็นการประดิษฐืขึ้นมาใหม่ โดยไม่มีใครทำ หรืออาจเป็นการปรับปรุงเปลี่ยนแปลง และดัดแปลง ของเดิมที่มีอยู่แล้วให้มีประสิทธิภาพสูงขึ้นกว่าที่เป็นอยู่ รวมทั้งการสร้างแบบจำลองต่างๆ โครงงานทดลอง ลักษณะของโครงการาต้องมีการออกแบบการทดลองเพื่อศึกษาตัวแปรหรือตัวแปรอิสระที่มี่ต่อตัวแปรตาม และมีการควบคุมตัวแปรอื่นๆที่ไม่ต้องการ ดำเนินการทดลองเพื่อหาคำตอบของปัญหาหรือตรวจสอบสมมติฐานที่ตั้งไว้ แปรผล และสรุปผล โครงงานสำรวจ สำรวจความรู้ที่มีอยู่ในธรรมชาติหรือสภาพปัจจุบัน สำรวจ รวบรวมข้อมูล นำข้อมูลที่ได้มาจำแนกเป็นหมวดหมู่ และนำเสนอแบบต่างๆอย่างมีแบบแผนเพื่อให้เห็นถึงลักษณะหรือความสัมพันธ์ของเรื่องดังกล่าว ตามโครงการนี้ผู้ศึกษาต้องเก็บรวบรวมข้อมูลด้วยวิธีการต่างเช่น แบบสอบถาม แบบสัมภาษณ์ แบบบันทึก แบบสังเกต ฯลฯ
  • 12. Hemmarat Thanapat PBL ประเภทของโครงงาน ( แบ่งตามผลการศึกษา ) 1. โครงงานสำรวจ 2. โครงงานทดลอง 3. โครงงานประดิษฐ์ โครงงานประดิษฐ์ 1. การประดิษฐ์เครื่องสูบน้ำพลังลม 2. เทคนิคการถนอมอาหารแบบพื้นบ้าน 3. เทคนิคการย้อมสีผ้าโดยใช้ภูมิปัญญาไทย 4. การประดิษฐ์เครื่องห่อผลไม้ 5. เครื่องกลั่นน้ำพลังแสงอาทิตย์ โครงงานทดลอง 1. ขิงชะลอการบูด 2. การเปลี่ยนเพศปลาหางนกยูงโดยใช้โรแดง 3. การศึกษาวัสดุที่ใช้ล่อและไล่แมลงวัน 4. ถุงเพาะชำจากน้ำตะโก 5. การทำกระดาษจากกาบกล้วย 6. เซลล์ไฟฟ้าพลังดิน โครงงานสำรวจ 1. การสำรวจสัตว์ในท้องถิ่น 2. การสำรวจรูปทรงเลขาคณิตของใบพืขขนิดต่างๆ 3. การสำรวจภูมิปัญญาท้องถิ่นในด้านต่างๆ 4. การสำรวจแหล่งอารยธรรมโบราณ 5. การสำรวจภาษาถิ่นในชุมชน
  • 13. Hemmarat Thanapat PBL ประเภทของโครงงาน ( แบ่งตามระดับการให้คำปรึกษา ) 1. ครูกำหนดปัญหาและออกแบบรวบรวมข้อมูล ( Guided Project ) 2. ครูร่วมกับนักเรียนกำหนดปัญหาและออกแบบเก็บรวบรวมข้อมูล ( Less-Guided Project ) 3. นักเรียนกำหนดปัญหาและออกแบบเก็บรวบรวมข้อมูล ( UnGuided Project ) UnGuided Project เป็นโครงงานประเภทที่นักเรียนใช้ระดับความคิดสูงกว่าทั้ง 2 ประเภท และครูให้คำปรึกษาน้อยที่สุด โดยนักเรียนต้อง กำหนดปัญหาเอง กำหนดวีธีการรวบรวมข้อมูลเพื่อตอบปัญหาเอง กำหนดวีธีวัดรวบรวมข้อมูลเพื่อหาคำตอบปัญหาเอง Less-Guided Project เป็นโครงงานประเภทที่นักเรียนใช้ความคิดระดับสูงกว่า ระดับ guided project โดยครูและนักเรียนร่วมกัน กำหนดปัญหาหรือหัวข้อ และร่วมกันกำหนดวิธีรวบรวมข้อมูลเพื่อตอบปัญหา Guided Project เป็นโครงงานที่ใช้ระดับความคิดของนักเรียนเองน้อย ครูให้คำปรึกษามาก โดยครูเป็นผู้รวบรวมข้อมูลเพื่อตอบปัญหา
  • 14. Hemmarat Thanapat PBL ขั้นตอนการทำโครงงาน 1. การคิดและเลือกหัวข้อเรื่องโครงงาน 2. การวางแผนการทำโครงงาน 3. การลงมือทำโครงงาน 4. การเขียนรายงานโครงการ 5. การแสดงผลงานโครงการ / ประเมินผล
  • 15. Hemmarat Thanapat PBL ขั้นตอนการทำโครงงาน 1. การคิดและเลือกหัวข้อเรื่องโครงงาน การเลือกหัวข้อเรื่องโครงงาน ควรเป็นไปตามความสามารถ ความสนใจ ความต้องการของตนเอง หัวเรื่องที่จะศึกษาคือปัญหาหรือข้อสงสัย
  • 16. Hemmarat Thanapat PBL ขั้นตอนการทำโครงงาน 2. การวางแผนการทำโครงงาน 2.1 ศึกษาเอกสารที่เกี่ยวข้อง 2.2 การเขียนเค้าโครงของโครงงาน 2.2.1 ชื่อโครงงาน ...... 2.2.2 ชื่อผู้ทำโครงการ 2.2.3 ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษา 2.2.4 ระยะเวลาดำเนินงาน 2.2.5 ที่มาและความสำคัญของโครงงาน 2.2.6 วัตถุประสงค์ของการทำโครงงาน 2.2.7 สมมติฐาน ( ถ้ามี ) 2.2.8 วิธีดำเนินงาน 2.2.9 ผลที่คาดว่าจะได้รับ 2.2.10 เอกสารอ้างอิง 2.2.11 ส่วนท้ายอาจจะมี - ความเห็นของผู้ปกครอง - ความคิดเห็นของอาจารย์ที่ ปรึกษา
  • 17. Hemmarat Thanapat การเขียนเค้าโครงของโครงงาน
  • 18. Hemmarat Thanapat การเขียนเค้าโครงของโครงงาน
  • 19. Hemmarat Thanapat การเขียนเค้าโครงของโครงงาน
  • 20. Hemmarat Thanapat PBL ขั้นตอนการทำโครงงาน 3. การลงมือทำโครงงาน เป็นการดำเนินงานตามแผนการดำเนินงานที่ได้กำหนดไว้ในเค้าโครงของโครงงาน หลังจากที่ได้รับความเห็นชอบจากอาจารย์ที่ปรึกษาหรืออาจารย์ผู้สอนแล้ว
  • 21.
  • 22.
  • 23. Hemmarat Thanapat PBL ขั้นตอนการทำโครงงาน 5. การแสดงผลงานโครงการ เป็นขั้นตอนสุดท้ายของโครงงานคือการแสดงผลงานหรือการนำเสนอผลงาน อาจนำเสนอในรูปแบบต่างๆขึ้นกับลักษณะของโครงการ อาจเป็น แบบจำลอง เอกสาร สื่อสิ่งพิมพ์ การจัดทำเป็นสื่อมัลติมีเดีย เว็บไซด์ บล็อก การจัดนิทรรศการ หรือนำเสนอหน้าชั้นเรียน ด้วยวาจา รายงาน หรือการสาธิต ก็ได้
  • 24. Hemmarat Thanapat การประเมินผลโครงงาน การประเมินผลเป็นบทบาทสำคัญของครู ควรมีความเข้าใจเกี่ยวกับ การเรียนรู้ ( Learning ) การเรียนการสอน ( Instruction ) การประเมินการเรียนรู้ ( Assessment ) การประเมินผล ( Evaluation )
  • 26. Hemmarat Thanapat การประเมินการเรียนรู้ ( Assessment ) สิ่งใดสิ่งหนึ่งอาจไม่จำเป็นต้องตัดสินคุณค่า หรือประเมินผล (Evaluation) แต่การประเมินผลหรือตัดสินคุณค่าสิ่งใดสิ่งหนึ่งจำเป็นต้องมีการประเมินการเรียนรู้
  • 27.
  • 28. Hemmarat Thanapat 4. เจตคติ เช่นการพัฒนาเจตคติต่อการเรียน ใฝ่รู้ใฝ่เรียน 5. นิสัยการทำงาน เช่นการทำงานให้สำเร็จตรงตามเวลา ความอดทนเพื่อให้ได้งานที่มีคุณภาพ การประเมินการเรียนรู้ตามสภาพจริง ( Authentic Assessment )
  • 29.
  • 30.
  • 31.
  • 32.
  • 33.
  • 34. Hemmarat Thanapat แบบประเมินทักษะปฏิบัติการทดลอง พิจารณาความสอดคล้องระหว่างพฤติกรรมที่สังเกตได้กับรายการพฤติกรรมการเรียนของนักเรียน ให้พิจารณาน้ำหนักคะแนนแล้วเขียนลงในช่องประเมินตามน้ำหนัก 1 หมายถึง แน่ใจว่าพฤติกรรมที่สังเกตสอดคล้องกับรายการพฤติกรรม 0 หมายถึง ใม่แน่ใจว่าพฤติกรรมที่สังเกตสอดคล้องกับรายการพฤติกรรม -1 หมายถึง แน่ใจว่าพฤติกรรมที่สังเกตไม่สอดคล้องกับรายการพฤติกรรม พฤติกรรมที่สังเกต รายการพฤติกรรมนักเรียน คะแนนพิจารณา ข้อเสนอแนะ 1 กระบวนการกลุ่ม 1 0 -1 - การออกแบบการทดลอง / การวางแผน การวบรวมข้อมูล - หัวหน้ามีภาวะผู้นำ - สมาชิกกลุ่มร่วมมือในการทำงาน 2 การดำเนินการทดลอง / รวบรวมข้อมูล - การทดลองตามขั้นตอนที่กำหนด - ปรับปรุงแก้ไขเป็นระยะๆ - มีการบันทึกผลเป็นระยะๆ - สื่อความหมายข้อมูลเข้าใจและชัดเจน 3 การใช้เทคนิคการทดลอง - ติดตั้งอุปกรณ์เครื่องมือได้อย่างถูกต้อง - ใช้วัสดุ อุปกรณ์เครื่องมือต่างๆได้อย่างถูกต้อง
  • 38. Hemmarat Thanapat การจัดการเรียนรู้โดยใช้โครงงานเป็นฐาน
  • 40.
  • 41. Hemmarat Thanapat PBL ตัวอย่าง : ขั้นตอนการสอนโดยใช้โครงงานเป็นฐาน 8. นักเรียนแต่ละกลุ่มเก็บรวบรวมข้อมูล แล้วบันทึกไว้ 9. นักเรียนแต่ละกลุ่มช่วยกันนำข้อมูลที่บันทึกไว้มาเรียบเรียงเพื่อเขียนรายงานโครงงาน 10. นักเรียนแต่ละกลุ่มนำเสนอโครงงานเพื่อให้ครูและเพื่อนๆประเมิน ร่วมอภิปราย และให้ข้อเสนอแนะ 11. แต่ละกลุ่มปรับปรุงงาน แล้วส่งครูเพื่อตรวจและประกาศเกียรติคุณ หรือเผยแพร่ต่อไป
  • 42. Hemmarat Thanapat PBL ตัวอย่าง : รูปแบบการเรียนการสอน โดยใช้โครงงานเป็นฐาน
  • 51. Hemmarat Thanapat Thank you for your attention.