SlideShare a Scribd company logo
1 of 28
Download to read offline
โครงงานประวัติศาสตร์
     ท้องถิ่นของเรา
จัดทำโดย
ด.ญ. อภิสรา มูลจ้อย    ชั้น ม.1/2 เลขที่ 23
ด.ญ.จิตอาภรณ์ สงค์น้อย ชั้น ม.1/3 เลขที่ 14
เมืองเชียงแสน



ถิ่นอมตะ พระเชียงแสน แดนสามเหลียม
                               ่
      เยี่ยมน้าโขง จรรโลงศิลป์
บทคัดย่อ
         โครงงานฉบับนี้ เป็นโครงงานที่ผู้จัดทาได้ศึกษาเก็บข้อมูล
ประวัติศาสตร์เมืองเชียงราย เมืองเชียงแสน และภูมิลาเนาของ
ผู้จัดทาเอง ศึกษาเก็บรวบรวมข้อมูลมีทั้งการศึกษาข้อมูลจากระบบ
อินเตอร์เน็ท และรวบรวมข้อมูลจากในชุมชน รวมทั้งข้อมูลจากคา
บอกเล่าของปราชญ์ชาวบ้านในชุมชน ซึ่งประกอบทั้งข้อมูลที่เป็น
ข้อความ และข้อมูลที่เป็นภาพประกอบ
จุดมุ่งหมายของการศึกษาค้นคว้า

• ทราบเกี่ยวกับประวัติความเป็นมาของท้องถิ่นที่อาศัยอยู่
• เพื่อให้ผู้อ่านได้สืบทอดและเผยแพร่ประวัติเมืองเชียงแสน
  ให้เป็นที่รู้จัก
วิธีดาเนินงาน
วัสดุอุปกรณ์
• กล้องบันทึกภาพ
• คอมพิวเตอร์
• สมุด/ปากกา
แนวการศึกษาค้นคว้า
• จากคาบอกเล่าของปราชญ์ชาวบ้านในชุมชน
• จากการจัดทาฐานข้อมูลประวัติศาสตร์ชมชน
                                    ุ
• จากการรวบรวมขององค์กรหรือหน่วยงานในพื้นที่
  (community folder)
• จากหอสมุดรวมของชุมชน ฯลฯ
แผนปฏิบติงำน
                          ั
ลำดับที่             กิจกรรม                   ระยะเวลำ
   ๑            วำงแผนกำรทำงำน                ๑ ส.ค. ๕๕
  ๒                สื บค้นข้อมูล              ๑๐ ส.ค. ๕๕
   ๓       จัดเตรี ยมข้อมูล วัสดุ อุปกรณ์    ๒๔ ส.ค. ๕๕
  ๔              ดำเนินกำรสำรวจ             ๒๕-๒๖ ส.ค. ๕๕
  ๕        รวบรวมและวิเครำะห์ขอมูล
                              ้               ๓ ส.ค. ๕๕
   ๖           จัดทำรู ปเล่มรำยงำน            ๙ ก.ย. ๕๕
ผลของการศึกษาค้นคว้า
ประวัติความเป็นมา บ้านเวียงเหนือ หมู่ที่ 2 ต.เวียง
 อ.เชียงแสน จ.เชียงราย
       เป็นหมู่บ้านที่อยู่ในเขตเทศบาลเวียงเชียงแสนการ
  ปกครองมีผู้ใหญ่บ้าน และมีการแบ่งเป็นชุมชนอีก 3 ชุมชน
  ได้แก่ชุมชนล้านทอง ชุมชนนางเซิ้ง และชุมชนผ้าขาวป้าน
ผลของการศึกษาค้นคว้า
มีอาณาเขตติดต่อดังนี้
   ทิศเหนือ ติดกับกาแพงเมืองเก่า และบ้านห้วยเกี๋ยงหมู่ 8
               ต.เวียง
   ทิศใต้      ติดกับบ้านเวียงใต้ หมู่ 3
   ทิศตะวันออก ติดกับแม่น้าโขง
   ทิศตะวันตก ติดกับกาแพงเมืองเก่า และบ้านจอมกิตติหมู่ 6
                ต.เวียง
ประวัติความเป็นมา บ้านสบรวก
     หมู่ที่ 1 ต.เวียง อ.เชียงแสน จ.เชียงราย

      เป็นชุมชนไทลื้อซึ่งอพยพมาจากสิบสองปันนา ประเทศจีนแล้วมาตั้ง
รกรากค้าขายตามแนวชายแดนทาให้มีวฒนธรรมเป็นของตนเอง โดยมี
                                     ั
สามเหลี่ยมทองคา ซึ่งเป็นบริเวณที่แผ่นดินของ ๓ ประเทศได้มาพบกัน คือ
ไทย พม่า ลาว โดยมีแม่น้ารวกกั้นเขตระหว่างไทยและพม่า และแม่น้าโขง
กั้นระหว่างไทยและ ลาว เป็นสถานที่ท่องเที่ยวสาคัญ
ประวัติความเป็นมา บ้านสบรวก หมู่ที่ 1
           ต.เวียง อ.เชียงแสน จ.เชียงราย
                 มีอาณาเขตติดต่อดังนี้
ทิศเหนือ      ติดกับน้ารวก และสหภาพเมี้ยนมา
ทิศใต้        ติดกับบ้านห้วยเกี๋ยง หมู่ 8
ทิศตะวันออก   ติดกับแม่น้าโขง
ทิศตะวันตก    ติดกับบ้านวังลาว หมู่ 4 ต.เวียง
ในบริเวณหมู่บ้านยังเป็นที่ตั้งของสถานที่ท่องเที่ยวสาคัญ
                          หลายแห่ง เช่น
•   วิวสามแผ่นดิน
•   หอฝิ่น
•   พระพุทธรูปสิงห์หนึ่งจาลอง
•   โรงแรมที่พัก
•   ศูนย์การค้าของที่ระลึกชายแดนฯลฯ
ประวัติเมืองเชียงแสน
                      ………………………….
สถานที่ตั้ง
        อาเภอเชียงแสนตั้งอยู่ตรงข้ามกับ เมืองต้นผึ้ง ของประเทศ สปป.ลาว
  โดยมีแม่น้าโขงเป็นพรหมแดนกั้น โดยอยู่ห่างจากอาเภอเมืองเชียงราย
  จังหวัดเชียงรายไปทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือประมาณ 50 กิโลเมตร
  ตั้งอยู่ทางทิศเหนือของจังหวัดเชียงราย
มีอำณำเขตติดต่อกับเขตกำรปกครองข้ำงเคียงดังต่อไปนี้
   ทิศเหนือ ติดต่อกับอำเภอแม่สำย รัฐฉำน (ประเทศพม่ำ) และแขวงบ่อ
   แก้ว (ประเทศลำว)
   ทิศตะวันออก ติดต่อกับแขวงบ่อแก้ว (ประเทศลำว) และอำเภอเชียงของ
   ทิศใต้ ติดต่อกับอำเภอเชียงของ อำเภอดอยหลวง และอำเภอแม่จนั
   ทิศตะวันตก ติดต่อกับอำเภอแม่จนและอำเภอแม่สำย
                                  ั
ประวัติ
         ในปี พ.ศ. 2413 รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้า
เจ้าอยู่หัว พระเจ้าอินทวิชยานนท์ ได้ทรงส่งใบบอกข้าราชการไปยัง
กรุงเทพมหานครว่า มีชาวพม่า ไทลื้อ และไทเขินจากเมืองเชียงตุง
ประมาณ 300 ครอบครัวได้อพยพลงมาอยู่เมืองเชียงแสนและตั้งตนเป็น
อิสระไม่ยอมอยู่ใต้การปกครองของสยามและล้านนา จึงแต่งคนไปว่า
กล่าวให้ถอยออกจากเมือง ถ้าอยากจะอยู่ ให้อยู่ภายใต้การบังคับบัญชา
ของเมืองเชียงรายและนครเชียงใหม่ แต่ก็ไม่ได้ผล ไม่มีใครยอมออกไปใน
ปี พ.ศ. 2417 พระเจ้านครเชียงใหม่จึงทรงเกณฑ์กาลัง 4,500 คน จาก
เมืองต่าง ๆ ยกทัพจากนครเชียงใหม่มาเมืองเชียงรายและ เมืองเชียง
แสน ไล่ชนเหล่านั้นออกจากเมืองเชียงแสน จึงทาให้เชียงแสนกลายเป็น
เมืองร้าง จนถึงปี พ.ศ. 2423 ได้ทรงให้เจ้าอินต๊ะ ราชโอรสในพระเจ้า
บุญมาเมือง พระเจ้าผู้ครองนครลาพูน
มาเป็นเจ้าเมือง องค์แรก และให้พระเจ้าผู้ครองนครลาพูนทรงเกณฑ์
ราษฎรจากหลาย ๆ เมืองประมาณ 1,500 ครอบครัว ขึ้นมาตั้งรกราก "ปัก
ซั้งตั้งถิน" อยูที่เมืองเชียงแสนจวบจนถึงปัจจุบัน ปี พ.ศ. 2442 ทาง
          ่     ่
ราชการได้ย้ายศูนย์การปกครองเมืองไปอยู่ที่ตาบลกาสา เรียกชื่อว่า อาเภอ
เชียงแสน ส่วนบริเวณเมืองเชียงแสนเดิมถูกยุบลงเป็น กิ่งอาเภอเชียงแสน
หลวง ขึ้นกับอาเภอเชียงแสน และต่อมาได้เปลี่ยนชื่อเป็น กิ่งอาเภอเชียง
แสน ในปี พ.ศ. 2482 (โดยอาเภอเชียงแสนซึ่งตั้งอยู่ทตาบลกาสานันได้
                                                    ี่         ้
เปลี่ยนชื่อเป็นอาเภอแม่จันแทน) จนกระทังได้รับการยกฐานะเป็น อาเภอ
                                          ่
เชียงแสน ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2500 เป็นต้นมา
การปกครอง
อาเภอเชียงแสนแบ่งพื้นที่การปกครองออกเป็น 6 ตาบล 70 หมู่บ้าน ได้แก่
   1.เวียง(Wiang)     มี      9     หมู่บ้าน
   2.ป่าสัก(Pa Sak) มี        13 หมู่บ้าน
   3.บ้านแซว(Ban Saew)        มี    15 หมู่บ้าน
   4.ศรีดอนมูล(Si Don Mun) มี       13 หมู่บ้าน
   5.แม่เงิน(Mae Ngern)       มี    12 หมู่บ้าน
   6.โยนก(Yonok)              มี    8        หมู่บ้าน
จังหวัดเชียงราย
จังหวัดเชียงราย
        เป็นเมืองท่องเที่ยว เป็นจังหวัดที่ใหญ่อีกจังหวัดหนึ่งของประเทศไทย
   โดยมีพื้นที่จังหวัดใหญ่เป็นอันดับที่ 12 ของประเทศไทยและเป็นเมือง
   เศรษฐกิจสาคัญตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจชายแดนจีนตอนใต้-อินโดจีน
ประวัติ
        พญามังรายสร้างขึน ณ ที่ซึ่งเดิมเป็นเวียงชัยนารายณ์ เมื่อ พ.ศ.
                             ้
   1805 และครองราชย์สมบัติอยู่ ณ เมืองเชียงรายจนถึง พ.ศ. 1839 จึงไป
   สร้างเมืองเชียงใหม่ขนในท้องที่ระหว่างดอยสุเทพกับแม่น้าปิง และ
                          ึ้
   ครองราชย์สมบัติอยู่ ณ เมืองเชียงใหม่จนถึง พ.ศ. 1860
สาหรับเมืองเชียงรายนั้น เมื่อพญามังรายย้ายไปครองราชย์สมบัติที่เมือง
เชียงใหม่แล้ว พระราชโอรสคือ ขุนคราม หรืออีกชื่อหนึ่งว่าพญาไชยสงคราม
ก็ได้ครองราชย์สมบัติสืบต่อมา นับแต่นั้นเมืองเชียงรายก็ขึ้นต่อเมืองเชียงใหม่
ต่อมาเมื่อล้านนาตกไปอยู่ในปกครองของพม่า ในปี พ.ศ. 2101 พม่าได้ตั้งขุน
นางปกครองเมืองเชียงรายเรื่อยมา หลังจากนั้น พ.ศ. 2317 เจ้ากาวิละแห่ง
ลาปางได้สวามิภักดิ์ต่อกรุงเทพฯ ทาให้หัวเมืองล้านนาฝ่ายใต้ตกเป็นประเทศ
ราชของสยาม ขณะที่เชียงรายและหัวเมืองล้านนาฝ่ายเหนืออื่น ๆ ยังคงอยู่ใต้
อานาจพม่า ล้านนากลายเป็นพื้นที่แย่งชิงอานาจระหว่างสยามกับพม่า
ในช่วงเวลาดังกล่าวเมืองเชียงรายเริ่มร้างผู้คน ประชาชนอพยพหนีภัย
สงครามไปอยู่เมืองอื่น พ.ศ. 2247 เมืองเชียงแสนฐานที่มั่นสุดท้ายของพม่า
ถูกกองทัพเชียงใหม่ ลาปาง และน่านตีแตก เมืองเชียงรายจึงกลายสภาพเป็น
เมืองร้างตามเมืองเชียงแสน
ในปี พ.ศ. 2386 พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัวมีพระบรมรา
ชานุญาติให้เจ้าหลวงเชียงใหม่ฟื้นฟูเชียงรายขึ้นใหม่ ภายหลังเมืองเชียงราย
ได้เป็นส่วนหนึ่งของมณฑลพฤศจิกายน กระทั่งปี พ.ศ. 2453
พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวจึงมีพระราชบัญญัติ ยกเชียงราย
ขึ้นเป็น เมืองเชียงราย ซึ่ง "เมือง" เป็นหน่วยการปกครองหนึ่งที่อยู่ถัดจาก
"มณฑล" ลงมา โดยเมืองเชียงรายเป็นศูนย์กลางควบคุมเชียงแสน ฝาง และ
พะเยา ภายหลังเมืองเชียงรายได้เปลี่ยนเป็นจังหวัดเชียงราย และเมื่อวันที่
28 สิงหาคม พ.ศ. 2520 ได้แบ่งแยกพื้นที่บางส่วนทางตอนใต้ของจังหวัด
จัดตั้งขึ้นเป็นจังหวัดพะเยา จนถึงปัจจุบัน
สรุปและข้อเสนอแนะ
สรุป
        โครงงานฉบับนี้ ได้ศึกษาค้นคว้าข้อมูลด้านประวัติศาสตร์ ด้าน
ศิลปกรรม อันจะนาไปสู่การสืบสาน การอนุรักษ์ และทาให้ผู้ศึกษาค้นคว้า
ได้รู้สึกภาคภูมิใจในบ้านเกิดตนเองอีกอย่างหนึ่ง ผู้ค้นคว้าจะได้ทราบว่า
บุคคลที่เป็นปราชญ์ชาวบ้านที่รอบรู้ในด้านที่จะศึกษาเป็นใครซึ่งจะเป็น
ประโยชน์ในภายหลังหากต้องการศึกษาค้นคว้าในเรื่องอื่น ๆ ต่อไป
ข้อเสนอแนะ
      อยากให้หมู่บ้านของเรา มีการนาประวัติความเป็นมา
โดยย่อของหมู่บ้าน มาเผยแพร่ให้มากกว่านี้ เพราะเมือง
เชียงแสน และ สบรวกก็ล้วนเป็นเมืองท่องเที่ยวและเมือง
ที่มีโบราณสถานที่งดงามมากมาย หากนามาเผยแพร่
อาจจะทาให้ผู้อื่นเกิดความสนใจมากขึ้น และนารายได้มา
สู่ชุมชนมากขึ้น ด้วย
เอกสารอ้างอิง
ข้อมูลเชิงบุคคล
• พระครูสุวรรณวิสุทธิคุณ       เจ้าอาวาสวัดพระเจ้าล้านทอง
• พระประหยัด ปสันจิตโต         ผู้สร้างสรรค์งานศิลป์วัดพระเจ้าล้านทอง
• นายวินัย มูลจ้อย             ผู้ปกครอง ผู้ช่วยการค้นคว้าข้อมูล
ข้อมูลสถานที่
• พิพิธภัณฑ์สถานแห่งชาติเชียงแสน
ข้ อมูลจากสื่ อออนไลน์
• thailine.com/thailand/thai/north-t/chrai-t/chsae-
  t5.htm
• www.tourinthai.com/sitetravel/travel-
  detail.php?travel_id=312
• www.bansansuk.com/.../วัดพระเจ้ าล้ านทองเมืองเชี ยงแสน.ht...
  -
• www.zabzaa.com/chiangrai/history.htm
• www.tripdeedee.com/traveldata/chiangrai/chiang
  rai24.php
ภาคผนวก
จบการนาเสนอค่ะ

More Related Content

What's hot

Nakhon nayok thailand
Nakhon nayok thailandNakhon nayok thailand
Nakhon nayok thailandTon51238K
 
เมืองน่าน
เมืองน่านเมืองน่าน
เมืองน่านkrunoony
 
เปิดตำนานบ้านหนองแวง
เปิดตำนานบ้านหนองแวงเปิดตำนานบ้านหนองแวง
เปิดตำนานบ้านหนองแวงloveonlyone
 
งานจีน2
งานจีน2งานจีน2
งานจีน2khamaroon
 
เที่ยวทั่วไทย 77 จังหวัด
เที่ยวทั่วไทย 77 จังหวัดเที่ยวทั่วไทย 77 จังหวัด
เที่ยวทั่วไทย 77 จังหวัดslide-001
 
ประวัติความเป็นมาของหมู่บ้านหนองเต่า
ประวัติความเป็นมาของหมู่บ้านหนองเต่าประวัติความเป็นมาของหมู่บ้านหนองเต่า
ประวัติความเป็นมาของหมู่บ้านหนองเต่าnongtaoschool
 
งานนำเสนอนางสาวสิรินุช ม่วงนิล
งานนำเสนอนางสาวสิรินุช  ม่วงนิลงานนำเสนอนางสาวสิรินุช  ม่วงนิล
งานนำเสนอนางสาวสิรินุช ม่วงนิลSirinoot
 
ประวัติศาสตร์ท้องถิ่น เมืองระยอง
ประวัติศาสตร์ท้องถิ่น เมืองระยองประวัติศาสตร์ท้องถิ่น เมืองระยอง
ประวัติศาสตร์ท้องถิ่น เมืองระยองJariya Bankhuntod
 
คำตอบโต้กับคนรักสถาบันฯ
คำตอบโต้กับคนรักสถาบันฯคำตอบโต้กับคนรักสถาบันฯ
คำตอบโต้กับคนรักสถาบันฯJunya Yimprasert
 

What's hot (18)

แผนพัฒนาสามปีรวม
แผนพัฒนาสามปีรวมแผนพัฒนาสามปีรวม
แผนพัฒนาสามปีรวม
 
แผนพัฒนาสามปี 59-61
แผนพัฒนาสามปี 59-61แผนพัฒนาสามปี 59-61
แผนพัฒนาสามปี 59-61
 
เทศบาลเมืองวังสะพุง รายงานกิจการ2556
เทศบาลเมืองวังสะพุง รายงานกิจการ2556เทศบาลเมืองวังสะพุง รายงานกิจการ2556
เทศบาลเมืองวังสะพุง รายงานกิจการ2556
 
จังหวัดนราธิวาส
จังหวัดนราธิวาสจังหวัดนราธิวาส
จังหวัดนราธิวาส
 
จังหวัดนราธิวาส501
จังหวัดนราธิวาส501จังหวัดนราธิวาส501
จังหวัดนราธิวาส501
 
Nakhon nayok thailand
Nakhon nayok thailandNakhon nayok thailand
Nakhon nayok thailand
 
เมืองน่าน
เมืองน่านเมืองน่าน
เมืองน่าน
 
เปิดตำนานบ้านหนองแวง
เปิดตำนานบ้านหนองแวงเปิดตำนานบ้านหนองแวง
เปิดตำนานบ้านหนองแวง
 
งานจีน2
งานจีน2งานจีน2
งานจีน2
 
เที่ยวทั่วไทย 77 จังหวัด
เที่ยวทั่วไทย 77 จังหวัดเที่ยวทั่วไทย 77 จังหวัด
เที่ยวทั่วไทย 77 จังหวัด
 
ประวัติความเป็นมาของหมู่บ้านหนองเต่า
ประวัติความเป็นมาของหมู่บ้านหนองเต่าประวัติความเป็นมาของหมู่บ้านหนองเต่า
ประวัติความเป็นมาของหมู่บ้านหนองเต่า
 
งานนำเสนอนางสาวสิรินุช ม่วงนิล
งานนำเสนอนางสาวสิรินุช  ม่วงนิลงานนำเสนอนางสาวสิรินุช  ม่วงนิล
งานนำเสนอนางสาวสิรินุช ม่วงนิล
 
ประวัติศาสตร์ท้องถิ่น เมืองระยอง
ประวัติศาสตร์ท้องถิ่น เมืองระยองประวัติศาสตร์ท้องถิ่น เมืองระยอง
ประวัติศาสตร์ท้องถิ่น เมืองระยอง
 
ศรีษเกษ
ศรีษเกษศรีษเกษ
ศรีษเกษ
 
คำตอบโต้กับคนรักสถาบันฯ
คำตอบโต้กับคนรักสถาบันฯคำตอบโต้กับคนรักสถาบันฯ
คำตอบโต้กับคนรักสถาบันฯ
 
ราชบุรี
ราชบุรีราชบุรี
ราชบุรี
 
กลุ่ม 1 การสถาปนา
กลุ่ม 1 การสถาปนากลุ่ม 1 การสถาปนา
กลุ่ม 1 การสถาปนา
 
การสถาปนา
การสถาปนาการสถาปนา
การสถาปนา
 

Similar to 2

งานเล็ก
งานเล็กงานเล็ก
งานเล็กJarutsee
 
เล่มที่ 9 ชาวบ้านบางระจัน
เล่มที่ 9  ชาวบ้านบางระจันเล่มที่ 9  ชาวบ้านบางระจัน
เล่มที่ 9 ชาวบ้านบางระจันChoengchai Rattanachai
 
งานนำเสนอนางสาวสิรินุช ม่วงนิล
งานนำเสนอนางสาวสิรินุช  ม่วงนิลงานนำเสนอนางสาวสิรินุช  ม่วงนิล
งานนำเสนอนางสาวสิรินุช ม่วงนิลSirinoot
 
เล่ม 1 ตำนานหมู่บ้านป่าคาตำบลแม่เงิน
เล่ม 1 ตำนานหมู่บ้านป่าคาตำบลแม่เงินเล่ม 1 ตำนานหมู่บ้านป่าคาตำบลแม่เงิน
เล่ม 1 ตำนานหมู่บ้านป่าคาตำบลแม่เงินChoengchai Rattanachai
 
“พลังบ้านขวาง พลังผู้สูงวัย หัวใจละอ่อน”
“พลังบ้านขวาง พลังผู้สูงวัย หัวใจละอ่อน”“พลังบ้านขวาง พลังผู้สูงวัย หัวใจละอ่อน”
“พลังบ้านขวาง พลังผู้สูงวัย หัวใจละอ่อน”Tum Meng
 
เล่ม 2 อำเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย
เล่ม 2 อำเภอเชียงแสน  จังหวัดเชียงรายเล่ม 2 อำเภอเชียงแสน  จังหวัดเชียงราย
เล่ม 2 อำเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงรายChoengchai Rattanachai
 
ทุ่งไหหิน 2 คืน 3 วัน .pdf
ทุ่งไหหิน  2  คืน 3 วัน .pdfทุ่งไหหิน  2  คืน 3 วัน .pdf
ทุ่งไหหิน 2 คืน 3 วัน .pdfssuser278017
 
‘มัจฉานุ' พลังท้องถิ่นบ้านควน
‘มัจฉานุ' พลังท้องถิ่นบ้านควน‘มัจฉานุ' พลังท้องถิ่นบ้านควน
‘มัจฉานุ' พลังท้องถิ่นบ้านควนTum Meng
 
เล่มที่ 4 โบราณสถานที่สำคัญของเชียงแสน
เล่มที่ 4  โบราณสถานที่สำคัญของเชียงแสนเล่มที่ 4  โบราณสถานที่สำคัญของเชียงแสน
เล่มที่ 4 โบราณสถานที่สำคัญของเชียงแสนChoengchai Rattanachai
 
เล่มที่ 4 โบราณสถานที่สำคัญของเชียงแสน
เล่มที่ 4  โบราณสถานที่สำคัญของเชียงแสนเล่มที่ 4  โบราณสถานที่สำคัญของเชียงแสน
เล่มที่ 4 โบราณสถานที่สำคัญของเชียงแสนChoengchai Rattanachai
 
A ประวัติโรงเรียนวัดดอนลาน
A ประวัติโรงเรียนวัดดอนลานA ประวัติโรงเรียนวัดดอนลาน
A ประวัติโรงเรียนวัดดอนลานJuice Khongwai
 
ประเพณีแห่น้ำขึ้นโฮง สรงน้ำเจ้าหมื่นด้ง
ประเพณีแห่น้ำขึ้นโฮง  สรงน้ำเจ้าหมื่นด้งประเพณีแห่น้ำขึ้นโฮง  สรงน้ำเจ้าหมื่นด้ง
ประเพณีแห่น้ำขึ้นโฮง สรงน้ำเจ้าหมื่นด้งGob Chantaramanee
 
ประเพณีแห่น้ำขึ้นโฮง
ประเพณีแห่น้ำขึ้นโฮงประเพณีแห่น้ำขึ้นโฮง
ประเพณีแห่น้ำขึ้นโฮงGob Chantaramanee
 
เล่มที่ 8 เมืองหลวงของประเทศในอาเซียน
เล่มที่ 8  เมืองหลวงของประเทศในอาเซียนเล่มที่ 8  เมืองหลวงของประเทศในอาเซียน
เล่มที่ 8 เมืองหลวงของประเทศในอาเซียนหรร 'ษๅ
 
3.ข้อมูลทั่วไป
3.ข้อมูลทั่วไป3.ข้อมูลทั่วไป
3.ข้อมูลทั่วไปJunior Bush
 

Similar to 2 (20)

งานเล็ก
งานเล็กงานเล็ก
งานเล็ก
 
เล่มที่ 9 ชาวบ้านบางระจัน
เล่มที่ 9  ชาวบ้านบางระจันเล่มที่ 9  ชาวบ้านบางระจัน
เล่มที่ 9 ชาวบ้านบางระจัน
 
งานนำเสนอนางสาวสิรินุช ม่วงนิล
งานนำเสนอนางสาวสิรินุช  ม่วงนิลงานนำเสนอนางสาวสิรินุช  ม่วงนิล
งานนำเสนอนางสาวสิรินุช ม่วงนิล
 
เล่ม 1 ตำนานหมู่บ้านป่าคาตำบลแม่เงิน
เล่ม 1 ตำนานหมู่บ้านป่าคาตำบลแม่เงินเล่ม 1 ตำนานหมู่บ้านป่าคาตำบลแม่เงิน
เล่ม 1 ตำนานหมู่บ้านป่าคาตำบลแม่เงิน
 
“พลังบ้านขวาง พลังผู้สูงวัย หัวใจละอ่อน”
“พลังบ้านขวาง พลังผู้สูงวัย หัวใจละอ่อน”“พลังบ้านขวาง พลังผู้สูงวัย หัวใจละอ่อน”
“พลังบ้านขวาง พลังผู้สูงวัย หัวใจละอ่อน”
 
ราชบุรี
ราชบุรีราชบุรี
ราชบุรี
 
เล่ม 2 อำเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย
เล่ม 2 อำเภอเชียงแสน  จังหวัดเชียงรายเล่ม 2 อำเภอเชียงแสน  จังหวัดเชียงราย
เล่ม 2 อำเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย
 
ทุ่งไหหิน 2 คืน 3 วัน .pdf
ทุ่งไหหิน  2  คืน 3 วัน .pdfทุ่งไหหิน  2  คืน 3 วัน .pdf
ทุ่งไหหิน 2 คืน 3 วัน .pdf
 
‘มัจฉานุ' พลังท้องถิ่นบ้านควน
‘มัจฉานุ' พลังท้องถิ่นบ้านควน‘มัจฉานุ' พลังท้องถิ่นบ้านควน
‘มัจฉานุ' พลังท้องถิ่นบ้านควน
 
การสถาปนา..
การสถาปนา..การสถาปนา..
การสถาปนา..
 
เล่มที่ 4 โบราณสถานที่สำคัญของเชียงแสน
เล่มที่ 4  โบราณสถานที่สำคัญของเชียงแสนเล่มที่ 4  โบราณสถานที่สำคัญของเชียงแสน
เล่มที่ 4 โบราณสถานที่สำคัญของเชียงแสน
 
เล่มที่ 4 โบราณสถานที่สำคัญของเชียงแสน
เล่มที่ 4  โบราณสถานที่สำคัญของเชียงแสนเล่มที่ 4  โบราณสถานที่สำคัญของเชียงแสน
เล่มที่ 4 โบราณสถานที่สำคัญของเชียงแสน
 
Pprasat04
Pprasat04Pprasat04
Pprasat04
 
ตาก
ตากตาก
ตาก
 
A ประวัติโรงเรียนวัดดอนลาน
A ประวัติโรงเรียนวัดดอนลานA ประวัติโรงเรียนวัดดอนลาน
A ประวัติโรงเรียนวัดดอนลาน
 
ประเพณีแห่น้ำขึ้นโฮง สรงน้ำเจ้าหมื่นด้ง
ประเพณีแห่น้ำขึ้นโฮง  สรงน้ำเจ้าหมื่นด้งประเพณีแห่น้ำขึ้นโฮง  สรงน้ำเจ้าหมื่นด้ง
ประเพณีแห่น้ำขึ้นโฮง สรงน้ำเจ้าหมื่นด้ง
 
ประเพณีแห่น้ำขึ้นโฮง
ประเพณีแห่น้ำขึ้นโฮงประเพณีแห่น้ำขึ้นโฮง
ประเพณีแห่น้ำขึ้นโฮง
 
เล่มที่ 8 เมืองหลวงของประเทศในอาเซียน
เล่มที่ 8  เมืองหลวงของประเทศในอาเซียนเล่มที่ 8  เมืองหลวงของประเทศในอาเซียน
เล่มที่ 8 เมืองหลวงของประเทศในอาเซียน
 
พระนครศรีอยุธยา
พระนครศรีอยุธยาพระนครศรีอยุธยา
พระนครศรีอยุธยา
 
3.ข้อมูลทั่วไป
3.ข้อมูลทั่วไป3.ข้อมูลทั่วไป
3.ข้อมูลทั่วไป
 

More from Princess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand

พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)
พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)
พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)Princess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 
การฟื้นฟูเศรษฐกิจในสมัยรัชกาลที่ 1
การฟื้นฟูเศรษฐกิจในสมัยรัชกาลที่ 1การฟื้นฟูเศรษฐกิจในสมัยรัชกาลที่ 1
การฟื้นฟูเศรษฐกิจในสมัยรัชกาลที่ 1Princess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้นPrincess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 

More from Princess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand (20)

กำแพงเบอร์ลิน
กำแพงเบอร์ลินกำแพงเบอร์ลิน
กำแพงเบอร์ลิน
 
รายงานนวัตกรรม Social media
รายงานนวัตกรรม Social mediaรายงานนวัตกรรม Social media
รายงานนวัตกรรม Social media
 
เศรษฐกิจ
เศรษฐกิจเศรษฐกิจ
เศรษฐกิจ
 
สถาปนากรุงรัตนโกสินทร์
สถาปนากรุงรัตนโกสินทร์สถาปนากรุงรัตนโกสินทร์
สถาปนากรุงรัตนโกสินทร์
 
พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)
พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)
พัฒนาการปกครองสมัยรัตนโกสินทร์ (ใช้)
 
การฟื้นฟูเศรษฐกิจในสมัยรัชกาลที่ 1
การฟื้นฟูเศรษฐกิจในสมัยรัชกาลที่ 1การฟื้นฟูเศรษฐกิจในสมัยรัชกาลที่ 1
การฟื้นฟูเศรษฐกิจในสมัยรัชกาลที่ 1
 
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
 
ประวัติศาสตร์ไทย 3
ประวัติศาสตร์ไทย 3ประวัติศาสตร์ไทย 3
ประวัติศาสตร์ไทย 3
 
รวม 5 สาระสัคม
รวม  5 สาระสัคมรวม  5 สาระสัคม
รวม 5 สาระสัคม
 
แบบรายงานการนำเสนอผลงาน
แบบรายงานการนำเสนอผลงานแบบรายงานการนำเสนอผลงาน
แบบรายงานการนำเสนอผลงาน
 
รวม 5 สาระสัคม
รวม  5 สาระสัคมรวม  5 สาระสัคม
รวม 5 สาระสัคม
 
Statby school 2555_m3_1057012007
Statby school 2555_m3_1057012007Statby school 2555_m3_1057012007
Statby school 2555_m3_1057012007
 
Content statbyschool 2554_m3_1057012007
Content statbyschool 2554_m3_1057012007Content statbyschool 2554_m3_1057012007
Content statbyschool 2554_m3_1057012007
 
Content statbyschool 2553_m3_1057012007
Content statbyschool 2553_m3_1057012007Content statbyschool 2553_m3_1057012007
Content statbyschool 2553_m3_1057012007
 
ผลOnetม.6ปี55ฉบับเต็ม
ผลOnetม.6ปี55ฉบับเต็มผลOnetม.6ปี55ฉบับเต็ม
ผลOnetม.6ปี55ฉบับเต็ม
 
O net ม.3
O net ม.3O net ม.3
O net ม.3
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
แบบนำเสนอผลงานวิชาการ
แบบนำเสนอผลงานวิชาการแบบนำเสนอผลงานวิชาการ
แบบนำเสนอผลงานวิชาการ
 
1
11
1
 
การแบ่งภูมิภาค
การแบ่งภูมิภาคการแบ่งภูมิภาค
การแบ่งภูมิภาค
 

2

  • 1. โครงงานประวัติศาสตร์ ท้องถิ่นของเรา
  • 2. จัดทำโดย ด.ญ. อภิสรา มูลจ้อย ชั้น ม.1/2 เลขที่ 23 ด.ญ.จิตอาภรณ์ สงค์น้อย ชั้น ม.1/3 เลขที่ 14
  • 4. บทคัดย่อ โครงงานฉบับนี้ เป็นโครงงานที่ผู้จัดทาได้ศึกษาเก็บข้อมูล ประวัติศาสตร์เมืองเชียงราย เมืองเชียงแสน และภูมิลาเนาของ ผู้จัดทาเอง ศึกษาเก็บรวบรวมข้อมูลมีทั้งการศึกษาข้อมูลจากระบบ อินเตอร์เน็ท และรวบรวมข้อมูลจากในชุมชน รวมทั้งข้อมูลจากคา บอกเล่าของปราชญ์ชาวบ้านในชุมชน ซึ่งประกอบทั้งข้อมูลที่เป็น ข้อความ และข้อมูลที่เป็นภาพประกอบ
  • 7. แนวการศึกษาค้นคว้า • จากคาบอกเล่าของปราชญ์ชาวบ้านในชุมชน • จากการจัดทาฐานข้อมูลประวัติศาสตร์ชมชน ุ • จากการรวบรวมขององค์กรหรือหน่วยงานในพื้นที่ (community folder) • จากหอสมุดรวมของชุมชน ฯลฯ
  • 8. แผนปฏิบติงำน ั ลำดับที่ กิจกรรม ระยะเวลำ ๑ วำงแผนกำรทำงำน ๑ ส.ค. ๕๕ ๒ สื บค้นข้อมูล ๑๐ ส.ค. ๕๕ ๓ จัดเตรี ยมข้อมูล วัสดุ อุปกรณ์ ๒๔ ส.ค. ๕๕ ๔ ดำเนินกำรสำรวจ ๒๕-๒๖ ส.ค. ๕๕ ๕ รวบรวมและวิเครำะห์ขอมูล ้ ๓ ส.ค. ๕๕ ๖ จัดทำรู ปเล่มรำยงำน ๙ ก.ย. ๕๕
  • 9. ผลของการศึกษาค้นคว้า ประวัติความเป็นมา บ้านเวียงเหนือ หมู่ที่ 2 ต.เวียง อ.เชียงแสน จ.เชียงราย เป็นหมู่บ้านที่อยู่ในเขตเทศบาลเวียงเชียงแสนการ ปกครองมีผู้ใหญ่บ้าน และมีการแบ่งเป็นชุมชนอีก 3 ชุมชน ได้แก่ชุมชนล้านทอง ชุมชนนางเซิ้ง และชุมชนผ้าขาวป้าน
  • 10. ผลของการศึกษาค้นคว้า มีอาณาเขตติดต่อดังนี้ ทิศเหนือ ติดกับกาแพงเมืองเก่า และบ้านห้วยเกี๋ยงหมู่ 8 ต.เวียง ทิศใต้ ติดกับบ้านเวียงใต้ หมู่ 3 ทิศตะวันออก ติดกับแม่น้าโขง ทิศตะวันตก ติดกับกาแพงเมืองเก่า และบ้านจอมกิตติหมู่ 6 ต.เวียง
  • 11. ประวัติความเป็นมา บ้านสบรวก หมู่ที่ 1 ต.เวียง อ.เชียงแสน จ.เชียงราย เป็นชุมชนไทลื้อซึ่งอพยพมาจากสิบสองปันนา ประเทศจีนแล้วมาตั้ง รกรากค้าขายตามแนวชายแดนทาให้มีวฒนธรรมเป็นของตนเอง โดยมี ั สามเหลี่ยมทองคา ซึ่งเป็นบริเวณที่แผ่นดินของ ๓ ประเทศได้มาพบกัน คือ ไทย พม่า ลาว โดยมีแม่น้ารวกกั้นเขตระหว่างไทยและพม่า และแม่น้าโขง กั้นระหว่างไทยและ ลาว เป็นสถานที่ท่องเที่ยวสาคัญ
  • 12. ประวัติความเป็นมา บ้านสบรวก หมู่ที่ 1 ต.เวียง อ.เชียงแสน จ.เชียงราย มีอาณาเขตติดต่อดังนี้ ทิศเหนือ ติดกับน้ารวก และสหภาพเมี้ยนมา ทิศใต้ ติดกับบ้านห้วยเกี๋ยง หมู่ 8 ทิศตะวันออก ติดกับแม่น้าโขง ทิศตะวันตก ติดกับบ้านวังลาว หมู่ 4 ต.เวียง
  • 13. ในบริเวณหมู่บ้านยังเป็นที่ตั้งของสถานที่ท่องเที่ยวสาคัญ หลายแห่ง เช่น • วิวสามแผ่นดิน • หอฝิ่น • พระพุทธรูปสิงห์หนึ่งจาลอง • โรงแรมที่พัก • ศูนย์การค้าของที่ระลึกชายแดนฯลฯ
  • 14. ประวัติเมืองเชียงแสน …………………………. สถานที่ตั้ง อาเภอเชียงแสนตั้งอยู่ตรงข้ามกับ เมืองต้นผึ้ง ของประเทศ สปป.ลาว โดยมีแม่น้าโขงเป็นพรหมแดนกั้น โดยอยู่ห่างจากอาเภอเมืองเชียงราย จังหวัดเชียงรายไปทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือประมาณ 50 กิโลเมตร ตั้งอยู่ทางทิศเหนือของจังหวัดเชียงราย
  • 15. มีอำณำเขตติดต่อกับเขตกำรปกครองข้ำงเคียงดังต่อไปนี้ ทิศเหนือ ติดต่อกับอำเภอแม่สำย รัฐฉำน (ประเทศพม่ำ) และแขวงบ่อ แก้ว (ประเทศลำว) ทิศตะวันออก ติดต่อกับแขวงบ่อแก้ว (ประเทศลำว) และอำเภอเชียงของ ทิศใต้ ติดต่อกับอำเภอเชียงของ อำเภอดอยหลวง และอำเภอแม่จนั ทิศตะวันตก ติดต่อกับอำเภอแม่จนและอำเภอแม่สำย ั
  • 16. ประวัติ ในปี พ.ศ. 2413 รัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้า เจ้าอยู่หัว พระเจ้าอินทวิชยานนท์ ได้ทรงส่งใบบอกข้าราชการไปยัง กรุงเทพมหานครว่า มีชาวพม่า ไทลื้อ และไทเขินจากเมืองเชียงตุง ประมาณ 300 ครอบครัวได้อพยพลงมาอยู่เมืองเชียงแสนและตั้งตนเป็น อิสระไม่ยอมอยู่ใต้การปกครองของสยามและล้านนา จึงแต่งคนไปว่า กล่าวให้ถอยออกจากเมือง ถ้าอยากจะอยู่ ให้อยู่ภายใต้การบังคับบัญชา ของเมืองเชียงรายและนครเชียงใหม่ แต่ก็ไม่ได้ผล ไม่มีใครยอมออกไปใน ปี พ.ศ. 2417 พระเจ้านครเชียงใหม่จึงทรงเกณฑ์กาลัง 4,500 คน จาก เมืองต่าง ๆ ยกทัพจากนครเชียงใหม่มาเมืองเชียงรายและ เมืองเชียง แสน ไล่ชนเหล่านั้นออกจากเมืองเชียงแสน จึงทาให้เชียงแสนกลายเป็น เมืองร้าง จนถึงปี พ.ศ. 2423 ได้ทรงให้เจ้าอินต๊ะ ราชโอรสในพระเจ้า บุญมาเมือง พระเจ้าผู้ครองนครลาพูน
  • 17. มาเป็นเจ้าเมือง องค์แรก และให้พระเจ้าผู้ครองนครลาพูนทรงเกณฑ์ ราษฎรจากหลาย ๆ เมืองประมาณ 1,500 ครอบครัว ขึ้นมาตั้งรกราก "ปัก ซั้งตั้งถิน" อยูที่เมืองเชียงแสนจวบจนถึงปัจจุบัน ปี พ.ศ. 2442 ทาง ่ ่ ราชการได้ย้ายศูนย์การปกครองเมืองไปอยู่ที่ตาบลกาสา เรียกชื่อว่า อาเภอ เชียงแสน ส่วนบริเวณเมืองเชียงแสนเดิมถูกยุบลงเป็น กิ่งอาเภอเชียงแสน หลวง ขึ้นกับอาเภอเชียงแสน และต่อมาได้เปลี่ยนชื่อเป็น กิ่งอาเภอเชียง แสน ในปี พ.ศ. 2482 (โดยอาเภอเชียงแสนซึ่งตั้งอยู่ทตาบลกาสานันได้ ี่ ้ เปลี่ยนชื่อเป็นอาเภอแม่จันแทน) จนกระทังได้รับการยกฐานะเป็น อาเภอ ่ เชียงแสน ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2500 เป็นต้นมา
  • 18. การปกครอง อาเภอเชียงแสนแบ่งพื้นที่การปกครองออกเป็น 6 ตาบล 70 หมู่บ้าน ได้แก่ 1.เวียง(Wiang) มี 9 หมู่บ้าน 2.ป่าสัก(Pa Sak) มี 13 หมู่บ้าน 3.บ้านแซว(Ban Saew) มี 15 หมู่บ้าน 4.ศรีดอนมูล(Si Don Mun) มี 13 หมู่บ้าน 5.แม่เงิน(Mae Ngern) มี 12 หมู่บ้าน 6.โยนก(Yonok) มี 8 หมู่บ้าน
  • 19. จังหวัดเชียงราย จังหวัดเชียงราย เป็นเมืองท่องเที่ยว เป็นจังหวัดที่ใหญ่อีกจังหวัดหนึ่งของประเทศไทย โดยมีพื้นที่จังหวัดใหญ่เป็นอันดับที่ 12 ของประเทศไทยและเป็นเมือง เศรษฐกิจสาคัญตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจชายแดนจีนตอนใต้-อินโดจีน ประวัติ พญามังรายสร้างขึน ณ ที่ซึ่งเดิมเป็นเวียงชัยนารายณ์ เมื่อ พ.ศ. ้ 1805 และครองราชย์สมบัติอยู่ ณ เมืองเชียงรายจนถึง พ.ศ. 1839 จึงไป สร้างเมืองเชียงใหม่ขนในท้องที่ระหว่างดอยสุเทพกับแม่น้าปิง และ ึ้ ครองราชย์สมบัติอยู่ ณ เมืองเชียงใหม่จนถึง พ.ศ. 1860
  • 20. สาหรับเมืองเชียงรายนั้น เมื่อพญามังรายย้ายไปครองราชย์สมบัติที่เมือง เชียงใหม่แล้ว พระราชโอรสคือ ขุนคราม หรืออีกชื่อหนึ่งว่าพญาไชยสงคราม ก็ได้ครองราชย์สมบัติสืบต่อมา นับแต่นั้นเมืองเชียงรายก็ขึ้นต่อเมืองเชียงใหม่ ต่อมาเมื่อล้านนาตกไปอยู่ในปกครองของพม่า ในปี พ.ศ. 2101 พม่าได้ตั้งขุน นางปกครองเมืองเชียงรายเรื่อยมา หลังจากนั้น พ.ศ. 2317 เจ้ากาวิละแห่ง ลาปางได้สวามิภักดิ์ต่อกรุงเทพฯ ทาให้หัวเมืองล้านนาฝ่ายใต้ตกเป็นประเทศ ราชของสยาม ขณะที่เชียงรายและหัวเมืองล้านนาฝ่ายเหนืออื่น ๆ ยังคงอยู่ใต้ อานาจพม่า ล้านนากลายเป็นพื้นที่แย่งชิงอานาจระหว่างสยามกับพม่า ในช่วงเวลาดังกล่าวเมืองเชียงรายเริ่มร้างผู้คน ประชาชนอพยพหนีภัย สงครามไปอยู่เมืองอื่น พ.ศ. 2247 เมืองเชียงแสนฐานที่มั่นสุดท้ายของพม่า ถูกกองทัพเชียงใหม่ ลาปาง และน่านตีแตก เมืองเชียงรายจึงกลายสภาพเป็น เมืองร้างตามเมืองเชียงแสน
  • 21. ในปี พ.ศ. 2386 พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัวมีพระบรมรา ชานุญาติให้เจ้าหลวงเชียงใหม่ฟื้นฟูเชียงรายขึ้นใหม่ ภายหลังเมืองเชียงราย ได้เป็นส่วนหนึ่งของมณฑลพฤศจิกายน กระทั่งปี พ.ศ. 2453 พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวจึงมีพระราชบัญญัติ ยกเชียงราย ขึ้นเป็น เมืองเชียงราย ซึ่ง "เมือง" เป็นหน่วยการปกครองหนึ่งที่อยู่ถัดจาก "มณฑล" ลงมา โดยเมืองเชียงรายเป็นศูนย์กลางควบคุมเชียงแสน ฝาง และ พะเยา ภายหลังเมืองเชียงรายได้เปลี่ยนเป็นจังหวัดเชียงราย และเมื่อวันที่ 28 สิงหาคม พ.ศ. 2520 ได้แบ่งแยกพื้นที่บางส่วนทางตอนใต้ของจังหวัด จัดตั้งขึ้นเป็นจังหวัดพะเยา จนถึงปัจจุบัน
  • 22. สรุปและข้อเสนอแนะ สรุป โครงงานฉบับนี้ ได้ศึกษาค้นคว้าข้อมูลด้านประวัติศาสตร์ ด้าน ศิลปกรรม อันจะนาไปสู่การสืบสาน การอนุรักษ์ และทาให้ผู้ศึกษาค้นคว้า ได้รู้สึกภาคภูมิใจในบ้านเกิดตนเองอีกอย่างหนึ่ง ผู้ค้นคว้าจะได้ทราบว่า บุคคลที่เป็นปราชญ์ชาวบ้านที่รอบรู้ในด้านที่จะศึกษาเป็นใครซึ่งจะเป็น ประโยชน์ในภายหลังหากต้องการศึกษาค้นคว้าในเรื่องอื่น ๆ ต่อไป
  • 23. ข้อเสนอแนะ อยากให้หมู่บ้านของเรา มีการนาประวัติความเป็นมา โดยย่อของหมู่บ้าน มาเผยแพร่ให้มากกว่านี้ เพราะเมือง เชียงแสน และ สบรวกก็ล้วนเป็นเมืองท่องเที่ยวและเมือง ที่มีโบราณสถานที่งดงามมากมาย หากนามาเผยแพร่ อาจจะทาให้ผู้อื่นเกิดความสนใจมากขึ้น และนารายได้มา สู่ชุมชนมากขึ้น ด้วย
  • 24. เอกสารอ้างอิง ข้อมูลเชิงบุคคล • พระครูสุวรรณวิสุทธิคุณ เจ้าอาวาสวัดพระเจ้าล้านทอง • พระประหยัด ปสันจิตโต ผู้สร้างสรรค์งานศิลป์วัดพระเจ้าล้านทอง • นายวินัย มูลจ้อย ผู้ปกครอง ผู้ช่วยการค้นคว้าข้อมูล
  • 26. ข้ อมูลจากสื่ อออนไลน์ • thailine.com/thailand/thai/north-t/chrai-t/chsae- t5.htm • www.tourinthai.com/sitetravel/travel- detail.php?travel_id=312 • www.bansansuk.com/.../วัดพระเจ้ าล้ านทองเมืองเชี ยงแสน.ht... - • www.zabzaa.com/chiangrai/history.htm • www.tripdeedee.com/traveldata/chiangrai/chiang rai24.php