SlideShare a Scribd company logo
พลตรี มารวย ส่งทานินทร์
maruays@hotmail.com
27 พฤศจิกายน 2565
Skip Prichard
Published February 6th 2018 by Center Street
The Book of Mistakes follows the adventures of David, a young adult who is going through a rough patch and receives
guidance from a wise man who teaches him the nine mistakes he should avoid, how to become successful, and a series of
valuable life lessons that can save anyone many years of their life.
เกี่ยวกับผู้ประพันธ์
 David Skip Prichard เป็นผู้บริหารธุรกิจชาวอเมริกัน CEO และประธานของ
OCLC (บริษัทที่ก่อตั้งและดูแล WorldCat ที่ผลิต catalog ซึ่งมีการเข้าถึงแบบ
สาธารณะทางออนไลน์ที่ใหญ่ที่สุดในโลก)
 Skip Prichard จบการศึกษาจาก University of Baltimore School of Law ดารง
ตาแหน่งผู้บริหารกับ LexisNexis ระหว่างปี ค.ศ. 1995 ถึง 2003
 หลังจากนั้นเขาย้ายไปทางานให้กับ ProQuest ซึ่งในที่สุดเขาก็กลายเป็น CEO
และเขายังเคยดารงตาแหน่งเดียวกันที่ Ingram Content Group Inc. ก่อนที่จะ
มาเป็น CEO ของ OCLC
เกริ่นนา
 The Book of Mistakes เป็นการอธิบายวิธีที่คนที่ประสบความสาเร็จ แยกแยะตัวเองออกจากคนอื่นๆ
โดยหลีกเลี่ยงข้อผิดพลาดหลัก 9 ข้อในชีวิต
 หนังสือเล่มนี้ เป็ นเรื่องเล่าของ David และการผจญภัยของเขา หลังจากพบจดหมายที่ลงนามโดยผู้ใจ
บุญที่มีชื่อเสียง ในจดหมายระบุที่อยู่และเวลาที่เขาจะได้พบกับผู้ใจบุญและเจ้าของธุรกิจ ซึ่งจะให้
คาแนะนาตลอดชีวิตแก่เขา
 ในหนังสือ อธิบายความผิดพลาดแต่ละข้อโดยละเอียด ที่ชี้ ให้เห็นถึงหนทางที่นาไปสู่ความล้มเหลว
เพื่อให้ผู้อ่านมีความเข้าใจที่ชัดเจนเกี่ยวกับสิ่งที่ต้องทาเพื่อให้ประสบความสาเร็จ
 หนังสือเล่มนี้ แตกต่างจากนิทานธุรกิจเรื่องอื่นๆ โดยผสมผสานการเล่าเรื่องสามส่วนคือ เรื่องแรก
เกี่ยวข้องกับนักบวชที่มีภารกิจในอังกฤษปี ค.ศ. 1425 เรื่องที่สองเกี่ยวกับหญิงสาวชื่อ Aria ที่อาศัย
อยู่ในอาณานิคมของอเมริกาในปี ค.ศ. 1770 และเรื่องหลักเกี่ยวกับชายหนุ่มที่หดหู่ใจ ชื่อว่า David
ที่กาลังดิ้นรนอยู่ในปัจจุบัน
 ก่อนที่คุณจะคิดว่า "เฮ้ ฉันไม่ได้ต้องการอ่านนวนิยายนะ" ให้อดทนไว้ก่อน เพราะ The Book of
Mistakes เป็นเรื่องที่เข้าท่ามาก และแม้ว่าจะมีโครงเรื่องสามเรื่อง คุณก็สามารถติดตามแต่ละตอนได้
อย่างง่ายดาย
อังกฤษ ค.ศ. 1425: อารัมภบท
 เรื่องแรก ซึ่งจริง ๆ แล้วเป็นจุดเริ่มต้นของเรื่องทั้งหมด
 เป็นเรื่องราวของนักบวชที่มีภารกิจและทัศนคติ ที่แม้แต่ Elbert Hubbard ก็ยังยอมรับว่า "ภารกิจที่เขา
ทานั้น เกิดขึ้ นตามความเป็ นจริงในยุคก่อน และมันก็ลึกลับพอๆ กับตัวมนุษย์เอง เขาไม่ถาม หน้าที่
ของเขาคือทาตามคาสั่ง และปฏิบัติตามคาปฏิญาณของตนที่ให้ไว้"
 อะไรคือลักษณะของภารกิจ?
 ก่อนอื่น ให้บรรจงคัดลอกหนังสือทั้งหมดสิบเล่มอย่างระมัดระวังคือ "หนังสือแห่งปัญญาโบราณ จาก
ดินแดนทะเลทรายทางใต้อันไกลโพ้น เป็ นดินแดนแห่งภูเขาหินที่มนุษย์สร้างขึ้ นสูงเสียดฟ้า"
 แล้วแจกจ่ายต้นฉบับแต่ละฉบับ ซึ่งหลังจากสาเร็จภารกิจทั้งสองนี้ แล้ว ให้เผาต้นฉบับเดิม
 สาเนาสิบชุดที่ถูกแจกจ่ายนั้น ชุดหนึ่งอยู่กับผู้รักษาหนังสือ และอีกเก้าชุดอยู่กับครูทั้งเก้าคน (ผู้ดูแล
การเผยแพร่ความรู้ของหนังสือ)
 "เมื่อใดโลกทั้งใบจะพร้อมรับสติปัญญานี้ " นักบวชสงสัย "จะมีสักวันไหมที่พลังด้านมืดจะลดน้อย
ถอยลง จนทุกคนสามารถเข้าถึงได้อย่างเสรี"
Aria ยุคอาณานิคมของอเมริกาในทศวรรษที่ 1770
 โครงเรื่องอีกสองเรื่องถัดไปเป็นการผสมผสาน หลังจากผ่านไปสองสามบทซึ่งครอบคลุมเหตุการณ์ใน
ชีวิตของ David ตามมาด้วยบทซึ่งครอบคลุมเรื่องราวของ Aria (เด็กสาวที่อาศัยอยู่ในยุคอาณานิคม
ของอเมริกาในปีทศวรรษที่ 1770)
 Aria ตามคาแนะนาของ Raymond ลุงของเธอ เธอออกเดินทางเพื่อการค้นพบที่เสี่ยงกับอันตราย ใน
ระหว่างนั้น เราจะได้เรียนรู้เพิ่มเติมเกี่ยวกับต้นกาเนิดของหนังสือ ที่นักบวชเขียนไว้ในโครงเรื่องแรก
ตลอดจนเกี่ยวกับเนื้ อหาและการแจกจ่ายหนังสือ
 ในเรื่องเล่านี้ เราเรียนรู้เพิ่มเติมเกี่ยวกับบทบาทของผู้รักษาและครูทั้งเก้า ซึ่งได้คัดเลือกอย่าง
ต่อเนื่อง เพื่อเผยแพร่ข้อความของหนังสือ
 ขณะที่ Aria พยายามดิ้นรนเพื่อรักษาหนังสือลึกลับให้ปลอดภัยจากการตกไปอยู่ในมือคนชั่ว เธอก็
ค้นพบกฎสามข้อแห่งความสาเร็จด้วย
 เราจะติดตามเรื่องของพวกเขาในอีกสักครู่
David สหรัฐอเมริกา ยุคปัจจุบัน
 David เป็นชายหนุ่มในวัยยี่สิบกว่า เขาไม่ใช่คนที่มีความสุขเสียทีเดียว เขารู้สึกท่วมท้นไปด้วยความ
สงสัยและความกังวลใจ และไม่รู้ว่าควรจะดาเนินชีวิตไปในทิศทางใด
 วันหนึ่งเขาได้รับข้อความสั้นๆ ที่คาดไม่ถึงจากเจ้านายของเขาว่า "ฉันต้องการพบคุณที่สานักงาน
เวลา 11:00 น."
 ด้วยความกลัวว่าเขาจะถูกไล่ออกและเพราะความวิตกกังวล ก่อนที่จะมุ่งหน้าไปยังสานักงานของ
เจ้านาย เขาใช้เวลาช่วงหนึ่งในการอ่านข่าวท้องถิ่น เพื่อให้ความคิดของเขาปลอดโปร่ง
 ณ ที่นั่น เขาอ่านเรื่องราวของนักธุรกิจที่มีชื่อเสียง ซึ่งได้รับการยกย่องจากงานการกุศลของเขา
 ระหว่างเดินกลับสานักงาน โดยไม่ทันตั้งตัว เขาเกือบจะสะดุดกับหญิงสาวหน้าตาดีคนหนึ่ง ที่
พยายามคว้ากระดาษสีเหลืองที่ปลิวจากมือไปตามแรงลม
 หลังจากการประชุมกับเจ้านายของเขา (ที่เขาได้รับคาเตือนด้วยวาจา) David กลับบ้านโดยคิดว่ามัน
จะสาคัญขนาดไหน
 เมื่อถึงบ้าน เขาพบกระดาษแผ่นหนึ่งอยู่ในกระเป
๋ า มีข้อความว่า "NORTH CAFÉ 10:00 น. วันศุกร์ที่
14 กันยายน"
 และอีกด้านหนึ่งของกระดาษ:
 "ความสาเร็จของคุณจะเป็นไปได้ก็ต่อเมื่อคุณหลีกเลี่ยงข้อผิดพลาด 9 ประการ ที่คนส่วนใหญ่ไม่เคย
ตระหนักถึงสิ่งเหล่านี้ จนกว่าจะสายเกินไป อย่าปล่อยให้สิ่งนั้นเกิดขึ้ น พบฉันที่บริเวณซุ้มสุดท้ายริม
หน้าต่าง และพวกเขารู้ว่าคุณกาลังมา"
 จดหมายฉบับนี้ ลงนามโดยนักธุรกิจที่กล่าวถึงในหนังสือพิมพ์ ซึ่งเป็ นหนึ่งในผู้ที่ประสบความสาเร็จ
มากที่สุดในยุคของเขา ซึ่งเป็นเรื่องราว "จากยาจกสู่ความร่ารวย" อย่างแท้จริง
 ดังนั้น แม้ว่าเขาจะรู้ว่าสิ่งนี้ ต้องเป็ นของหญิงสาวที่เขาเกือบจะสะดุด David ก็ตัดสินใจที่จะไปพบโดย
เชื่อว่าการเชื่อมโยงใดๆ กับนักธุรกิจที่ประสบความสาเร็จคนนี้ อาจทาให้เขามีชื่อเสียงในอนาคต
9 ข้อผิดพลาดที่คุณไม่ควรทา
 David มาถึงที่ North Café และที่นั่นเขาได้พบกับนักธุรกิจที่ได้อ่านจากหนังสือพิมพ์
 เขาพบกับชายชรา ซึ่งไม่ได้เป็นอย่างที่ David คาดหวังเลย เขาสวมกางเกงยีนส์สีซีด เสื้อเชิ้ ตเรียบๆ
และรองเท้าไม่มีส้น ชายชรามีใบหน้าที่ไม่ได้โกนหนวดและถือหนังสือปกหนังเล่มเล็กๆ
 และชายผู้นั้นเปิ ดเผยกับ David ว่า เขาไม่ได้พบคาเชิญโดยบังเอิญ เพราะเขา อยู่ในสภาพจิตใจที่
สมบูรณ์ ที่จะเรียนรู้บทเรียนจากหนังสือ
 David ตอบ "ตกลง ฉันพร้อมฟัง สอนบทเรียนแก่ฉัน"
 "คุณคิดว่าฉันจะส่งหนังสือให้คุณได้ไหม" ชายชรากล่าว "ฉันคิดว่าฉันทาได้… แต่พลังไม่ได้อยู่ที่นั่น
ฉันไม่แน่ใจว่ามันจะได้ผลด้วยซ้า"
 "คุณไม่มีทางรู้ว่าคุณกาลังจะมีเส้นทางเดินอย่างไร" เขากล่าวต่อไป "ตอนนี้ มันได้เริ่มขึ้ นแล้ว และ
แทบจะไม่มีอะไรหยุดมันได้ ในความเป็นจริง ครูจะปรากฏในเวลาที่เหมาะสม และในสถานที่ที่ไม่น่า
เป็นไปได้ ซึ่งคุณจะได้พบในเร็ว ๆ นี้ !"
 และเป็ นจริงตามคาพูดของชายชรา ในสัปดาห์ต่อมา ครูทั้งเก้าคนปรากฏตัวต่อ David แต่ละคนสอน
ข้อผิดพลาด 9 ข้อ ที่อาจส่งผลถึงเส้นทางสู่ความสาเร็จแก่เขา
ข้อผิดพลาดที่1: ทาตามความฝันของคนอื่น
 ครูคนแรกคือ นักเขียนบทละคร ครั้งหนึ่งเธอเคยเป็ นนักแสดง แต่เธอตัดสินใจที่จะเป็ นนักเขียนบท
ละคร เมื่อเธอได้เรียนรู้ข้อผิดพลาดแรกที่ทุกคนทานั่นคือ ไม่มีประโยชน์ที่จะทาตามความฝันของคน
อื่น
 "เมื่อคุณแสดง" เธอกล่าว "คุณแสดงไปตามเรื่องราว เมื่อคุณเขียน คุณกาลังสร้างเรื่องราวด้วยตัวของ
คุณเอง"
 ข้อความจากหนังสือ อย่าแสดงบทที่คนอื่นกาหนด คุณคือตัวแทนที่หล่อหลอมโดยเป้าหมายในชีวิตของ
คุณเอง ชีวิตที่ออกแบบท่าเต้นโดยคนอื่นไม่ใช่การแสดงที่ดีที่สุดของเรา จุดประสงค์ของคุณไม่เหมือน
ใคร ออกแบบชีวิตของคุณ เพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ของคุณ
ข้อผิดพลาดที่ 2: การยอมให้คนอื่นกาหนดคุณค่าของคุณ
 ครูคนที่สองคือ นายธนาคาร ผู้สอน David ว่า เงินเหรียญหนึ่งสตางค์มีค่ามากกว่าหนึ่งสตางค์ หรือที่รู้
กันว่า การทาเงินเหรียญหนึ่งสตางค์มีค่าใช้จ่ายมากกว่าหนึ่งสตางค์
 บทเรียนพื้นฐาน: อย่าตัดสินหนังสือจากปก
 อย่ายอมรับข้อจากัดที่คนอื่นมอบให้คุณ
 แค่ปล่อยให้ตัวเองเป็ นตัวของตัวเอง สิ่งนี้ จะปลดปล่อยพลังอันน่าอัศจรรย์
ข้อผิดพลาดที่ 3: การยอมรับข้อแก้ตัว
 ครูคนที่สามเป็น เทรนเนอร์ ที่โรงยิมประจาของ David
 แม้ว่าเขาจะค่อนข้างป่ วยมาตลอดชีวิต (และเศร้าเพราะไม่สามารถเป็นนักกีฬาได้) แต่เขาก็
เปลี่ยนไป เมื่อเขาได้พบกับหญิงสาวที่เอาชนะมะเร็ง จนชนะการแข่งขันไตรกีฬา
 บทเรียน: ข้อแก้ตัวขัดขวางความก้าวหน้าของเรา หลีกเลี่ยงคนที่ชอบแก้ตัว
ข้อผิดพลาดที่ 4: ล้อมรอบตัวคุณด้วยคนที่ไม่ถูกต้อง
 ครูคนที่สี่คือ บาร์เทนเดอร์ เขาสอน David ว่า "ผู้คนรอบตัวเราส่งผลต่อทุกสิ่ง เพื่อนของเรากาหนด
ชะตากรรมของเรา"
 กล่าวอีกนัยหนึ่งว่า "คนที่คุณอยู่รอบ ๆ ตัว กาหนดว่าคุณจะเป็นอย่างไร"
 ดังนั้น เขาจึงสรุปว่า "ให้แทนผู้ที่ปฏิเสธ สงสัย และหมดพลัง ด้วยผู้ที่ให้กาลังใจ ผู้ชนะ และผู้คอย
กระตุ้น"
 นั่นคือหนทางเดียวสู่ความสาเร็จ
ข้อผิดพลาดที่ 5: อยู่แต่ในขอบเขตที่สบายใจ (Comfort Zone) ของคุณ
 ครูคนที่ห้าคือ คนขายหนังสือ เธอบอก David ว่า สิ่งเลวร้ายที่สุดอย่างหนึ่งในชีวิตคือ การถูกกักขังอยู่
ในขอบเขตที่สบายใจของคุณ
 "ผู้ชนะมองหาสิ่งที่ไม่สบายใจ" เธอกล่าว "ผู้นามักจะผลักดันตนเอง มากกว่าอยู่อย่างสะดวกสบาย
เพื่อมุ่งสู่ระดับใหม่ของความสาเร็จ"
 ในความเป็นจริง เธอกล่าวเสริมอย่างเป็นเชิงลบว่า "ความธรรมดา เป็นผลลัพธ์สุดท้ายของการสุข
สบายมากเกินไป"
ข้อผิดพลาดที่ 6: การปล่อยให้ความพ่ายแพ้ชั่วคราวกลายเป็นความล้มเหลวถาวร
 ครูคนที่หกคือ ผู้ประกอบการ
 เขาสอน David ว่า ความคิดไม่ได้กาหนดชะตากรรม และเขาไม่ควรปล่อยให้สถานการณ์ปัจจุบันมา
กาหนดชะตากรรมของเขา
 เขาย้าแนวคิดที่ว่า "ข้อแก้ตัวคือวัชพืชที่พยายามปิ ดกั้นความก้าวหน้า" และเสริมว่า "คนที่ประสบ
ความสาเร็จมองว่า ความล้มเหลวชั่วคราวเป็นบันไดสู่ความสาเร็จ"
ข้อผิดพลาดที่ 7: พยายามผสมผสานแทนที่จะโดดเด่น
 ครูคนที่เจ็ดคือ วาทยกร ที่สอน David ว่านักเรียนที่ดีที่สุดของเขาโดดเด่นอย่างไร
 "ความโดดเด่น" เขากล่าว "เป็นเรื่องง่ายๆ คือการแสดงได้เกินความคาดหวังอย่างสม่าเสมอ" ที่น่า
เศร้าคือ "พวกเราส่วนใหญ่ใช้ชีวิตเรียนรู้ที่จะผสมผสาน เมื่อความสาเร็จคือการโดดเด่น" ความโดด
เด่นนั้นเหมือนกับการเป็ นตัวของตัวเอง และเป็ นตัวของตัวเองอย่างแท้จริง
 มันเหมือนกับการได้สัมผัสกับพรสวรรค์ ที่ไม่เหมือนใครของคุณ
ข้อผิดพลาดที่ 8: คิดว่าความสาเร็จมีจากัดและมีจานวนจากัด
 ครูคนที่แปดคือ จิตกร
 หลังจากที่ David บอกเธอว่า เขาไม่มีความสามารถในการวาดภาพเลย เธอก็ทาให้เขารู้ว่า โลกนี้ มี
โอกาสไม่จากัด
 กล่าวอีกนัยหนึ่ง ปัญหาไม่ได้อยู่ที่ความสามารถในการวาดภาพของเขา แต่อยู่ที่ความคิดของเขา ซึ่ง
จากัดศักยภาพของเขาที่ไม่มีขีดจากัด
 "ข้อจากัดเดียวที่คุณต้องกังวลคือ ข้อจากัดในใจของคุณ" เธอสรุป
ข้อผิดพลาดที่ 9: เชื่อว่าคุณมีเวลาเหลือเฟื อ
 ครูคนสุดท้ายคือ หมอและคนไข้ไม่กี่คน
 พวกเขาสอน David ถึงความผิดพลาดสุดท้ายที่เราทุกคนทา นั่นคือ การเชื่อว่าเรายังมีเวลาอีก
มากมายในโลกนี้
 การรู้ว่าชีวิตไม่แน่นอน เป็นสิ่งเดียวที่จะทาให้คุณมุ่งความสนใจไปที่ส่วนที่สาคัญที่สุดของจุดประสงค์
ของคุณ
 David เรียนรู้ว่า คนที่ประสบความสาเร็จ คือผู้มีความรู้สึกเร่งด่วน
กฎ 3 ข้อที่คุณไม่ควรฝ่ าฝืน
 ขณะที่ David กาลังคุยกับหมอ มีแขกคนหนึ่งมาเคาะประตู
 "โอ้ คุณมีผู้มาเยี่ยม" เธอกล่าว "ฉันควรจะกลับมาในภายหลังไหม"
 David มองหน้าเธอและตระหนักว่า ผู้หญิงคนนั้นไม่ใช่ใครอื่น นอกจากคนที่เขาเกือบจะสะดุดก่อนเริ่ม
การเดินทาง
 ชื่อของเธอคือ Aria เป็นชื่อที่คงอยู่ในครอบครัวของเธอมาสองสามร้อยปี และนั่นเชื่อมโยงโครงเรื่อง
ของ David ในปัจจุบันกับ Aria ที่มีบรรพบุรุษที่มีชื่อเหมือนกันในปีทศวรรษที่ 1770
 ซึ่งเธอเป็นผู้เปิดเผยกฎแห่งความสาเร็จสามข้อ
1. กฎแห่งความปรารถนา (The Law of Desire)
 กฎแห่งความปรารถนาเป็นกฎข้อแรก
 ความปรารถนาคือน้าพุที่ล้นออกมาเติมเต็มชีวิตของคุณด้วยความดี โอกาสทั้งหมด ความสาเร็จ
ทั้งหมด พลังทั้งหมดจะถูกเปิ ดใช้งานก่อน จากความปรารถนาอันแรงกล้า
 ให้ปรารถนาเป็นผู้สูงศักดิ์ คิดให้สูงไว้ ดื่มด่ากับความเป็นไปได้มากมาย
 ป้องกันการสูญเสียความปรารถนาของคุณ ด้วยการไม่ปรารถนาในสิ่งเล็กน้อยและไม่สาคัญ
กฎแห่งความปรารถนา (ต่อ)
 ก็ต่อเมื่อความปรารถนาของคุณมีมากพอเท่านั้น ที่จะทาให้เกิดพลังแห่งความสาเร็จ เพื่อขับเคลื่อน
คุณไปสู่สิ่งที่เป็นไปไม่ได้
 อย่าดาเนินการโดยไม่ได้นึกภาพความปรารถนาของคุณเมื่อบรรลุผลอย่างเต็มที่ ความปรารถนาของ
คุณเป็นตัวกาหนดชะตากรรมของคุณ
 ความปรารถนาจะป้องกันไม่ให้ผู้อื่นจากัดหรือตราหน้าคุณอย่างไม่ยุติธรรม ความปรารถนาผลักดัน
ความคิดของคุณไปสู่ระดับใหม่ ซึ่งสูงกว่าที่คุณคิดว่าจะเป็นไปได้ ปล่อยให้ความปรารถนาของคุณ
เผาไหม้ภายใน เพื่อขับเคลื่อนความสาเร็จของคุณ
2. กฎแห่งความกตัญญูกตเวที (The Law of Gratitude)
 กฎแห่งความกตัญญูกตเวทีเป็นกฎข้อที่สอง
 ความกตัญญูกตเวทีเป็นปุ
๋ ยแห่งความสาเร็จ เป็นผู้ให้ผลผลิต จิตวิญญาณแห่งความกตัญญูจะดึงดูด
ผู้คน ความคิด และโอกาส
 ด้วยใจที่สานึกคุณ เราสามารถได้รับพรที่ช่วยข้ามพ้นความขมขื่น ให้ยกมือที่แสดงถึงความกตัญญู
กตเวที ไม่คาดหวัง และเต็มไปด้วยความสุขอย่างล้นเหลือ
กฎแห่งความกตัญญูกตเวที (ต่อ)
 ในตัวคนที่ขอบคุณ คือความรักและความสุขล้น เราอาจไขความลึกลับภายในด้วยท่าทีขอบคุณอย่าง
ต่อเนื่อง ผู้ที่เต็มไปด้วยความขอบคุณ จะพบว่าตนเองสดชื่น และได้รับการเติมเต็ม เชื่อในพรของคุณ
ทุกวันจนกว่าความสาเร็จจะเป็นของคุณ
 ปีกของความกตัญญูกตเวที จะยกผู้ที่สิ้นหวังขึ้ นสู่สายลมแห่งความอุดมสมบูรณ์ เพื่อโบยบินเหนือ
ความเจ็บปวดของชีวิต ไปสู่สถานที่แห่งความอุดมสมบูรณ์อันเป็นนิรันดร์
 พูดขอบคุณผู้อื่น แล้วคุณจะได้เติมพลังลึกลับของจิตวิญญาณ
3. กฎแห่งความเชื่อ (The Law of Belief)
 กฎแห่งความเชื่อเป็นกฎข้อที่สามและข้อสุดท้าย
 พระผู้ทรงอานาจสร้างคุณด้วยจุดประสงค์ จงเชื่อในตัวคุณเอง สิ่งที่ดูเหมือนเป็นไปไม่ได้และไม่น่า
เชื่อ เป็นเพียงศัตรูของศักยภาพของคุณเท่านั้น
 พัฒนาศรัทธาที่ไม่สั่นคลอน แน่วแน่ และมั่นคงในความสามารถของคุณ โชคชะตาของคุณจะขยาย
ออกไป เมื่อความเชื่อของคุณขยายออกไปไม่มีข้อจากัดในสิ่งที่เป็นไปได้สาหรับคุณ
 ปล่อยให้ความเชื่อของคุณโบยบินเหมือนนกอินทรี คุณไม่สามารถสูงขึ้ นกว่าความเชื่อของคุณเอง
 สิ่งสาคัญที่สุดคือ เมื่อคุณช่วยปลูกฝังความเชื่อในผู้อื่นด้วย นี่เป็นงานที่สาคัญที่สุด เพราะเมื่อมีความ
เชื่อเพิ่มขึ้ น ไม่มีอะไรที่เป็ นไปไม่ได้
ความลับ 9 ประการในการสร้างอนาคตที่ประสบความสาเร็จ
 ไม่น่าแปลกใจเลยที่ 9 เคล็ดลับแห่งความสาเร็จนั้นตรงกันข้ามกับ 9 ข้อผิดพลาดแห่งความล้มเหลว
ตามลาดับ มีดังนี้
 1. ใช้ชีวิตตามความฝันของตัวเอง
 2. ตระหนักถึงคุณค่าโดยธรรมชาติของคุณ
 3. ปฏิเสธข้อแก้ตัว
 4. ล้อมรอบตัวเองด้วยคนที่ใช่
ความลับ 9 ประการในการสร้างอนาคตที่ประสบความสาเร็จ (ต่อ)
 5. สารวจนอกเขตความสะดวกสบายของคุณ
 6. ก้าวไปข้างหน้าผ่านความท้าทายด้วยความมุ่งมั่นและเป้าหมาย
 7. โดดเด่น
 8. ลงมือทาอย่างกล้าหาญด้วยความรู้ที่ว่า ศักยภาพสู่ความสาเร็จของคุณนั้นไร้ขีดจากัด
 9. ทาตามเป้าหมายของคุณด้วยความเร่งด่วน
- Skip Prichard
บทเรียน 3 ข้อจากหนังสือ
 1. การทาตามความฝันของคนอื่น การไม่รู้คุณค่าของตัวเอง และการใช้ชีวิตโดยมีข้อแก้ตัว เป็นความ
ผิดพลาดที่เลวร้ายที่สุด 3 ประการที่คุณสามารถทาได้ (Working on someone else’s dream, not
knowing your values, and living by excuses are three of the worst mistakes you can make.)
 2. ปล่อยให้คนที่เป็นพิษในแวดวงของคุณ ไม่ออกจากเขตสบาย ๆ ของคุณ และยอมแพ้ง่ายเกินไป
คือสิ่งที่คนไม่ประสบความสาเร็จทา (Allowing toxic people in your circle, not getting out of your
comfort zone, and giving up too easily are what unsuccessful people do.)
 3. อย่ากลัวที่จะแตกต่าง เรียนรู้ว่าทรัพยากรที่มีค่าที่สุดนั้นมีอยู่อย่างจากัด และเชื่อมั่นในหัวใจว่าคุณ
จะประสบความสาเร็จ (Don’t be afraid to be different, learn that the most precious resources are
finite, and believe in your heart that you will be successful.)
บทเรียนข้อที่ 1: กาหนดค่านิยมของคุณ ทางานเพื่อตัวคุณเอง และทิ้งข้อแก้ตัวทั้งหมดของคุณ หากคุณ
ต้องการความสาเร็จ
 ข้อแก้ตัวเป็ นฆาตกรเงียบของความฝันทั้งหมดของคุณ คุณเคยได้ยินมาก่อนว่า ถ้าฉันมีเงินมากขึ้ น
หรือฉันมีเวลามากขึ้ น หรือถ้าฉันสวยขึ้ น/แข็งแรงขึ้ น/ฉลาดขึ้ น/มีความคิดสร้างสรรค์มากขึ้ น/ฯลฯ
 ถ้าโลกนี้ แตกต่างออกไป คุณก็สามารถเดินหน้าต่อไปตามความฝันและทาตามเป้าหมายของคุณได้
 คุณไม่สามารถปล่อยให้สิ่งเหล่านั้นหยุดคุณจากความสาเร็จได้ ความสาเร็จไม่ใช่สิ่งที่เกิดขึ้ นใน
สุญญากาศ แต่เป็นกระบวนการที่เปลี่ยนแปลงตลอดเวลาซึ่งเกี่ยวข้องกับตัวเลือกที่คุณเลือกทุกวัน มัน
เกี่ยวกับว่าคุณเป็นใครและคุณยืนหยัดเพื่ออะไร ไม่ว่าใครจะคิดหรือพูดอะไรเกี่ยวกับเรื่องนี้ ก็ตาม
 รู้คุณค่าของคุณให้ดีก่อนสิ่งอื่นใด คุณต้องกาหนดค่านิยมของคุณ (สิ่งที่สาคัญที่สุดสาหรับคุณ)
จากนั้นทางานตามนั้นทุกวัน อย่าให้ใครบอกคุณเป็ นอย่างอื่น! ตัวอย่างเช่น หากคุณวาดภาพชีวิตที่
เต็มไปด้วยการเดินทาง อย่าให้โลกบอกคุณว่าคุณต้องทางาน 9-5 และอยู่ในเมืองเดียวกัน
 สุดท้าย ให้แน่ใจว่าได้ทางานเพื่อความฝันของคุณเอง ไม่ใช่ของคนอื่น
 ผู้ประพันธ์รู้ว่า คนที่ประสบความสาเร็จต่อสู้เพื่อภารกิจของพวกเขา ในขณะที่คนที่ล้มเหลวในการติด
อยู่ในชีวิตที่มีชีวิตอยู่เพื่อคนอื่น รู้จักความฝันของคุณและลงมือทาเพื่อทาให้เป็นจริง!
บทเรียนข้อที่ 2: คุณต้องออกจากเขตความสะดวกสบาย พบปะผู้คนเชิงบวก และเรียนรู้จากความ
ล้มเหลวของคุณอยู่เสมอ
 หากต้องการพบความสาเร็จ คุณต้องกาหนดความฝันและทางานด้วยตัวคุณเอง ซึ่งได้พิสูจน์แล้ว
 แต่ถ้าคนรอบข้างคิดไม่เหมือนกันล่ะ? ที่พวกเขายอมรับแล้วว่าจะใช้ชีวิตตามความฝันของคนอื่น
 คุณต้องหยุดให้คนเหล่านี้ บุกเข้ามาในแวดวงของคุณหรือทาให้คุณผิดหวัง จากสุภาษิตที่ว่า: แอปเปิ้ ล
ที่ไม่ดีหนึ่งผลสามารถทาลายทั้งตะกร้าได้! นั่นใช้กับความสัมพันธ์เช่นกัน แม้ว่าคนที่คิดบวกและ
สนับสนุนจะช่วยพยุงคุณขึ้ น แต่เพื่อนที่เป็ นพิษอาจเป็ นอันตรายต่อความฝันของคุณ
 เมื่อคุณเรียนรู้ที่จะปล่อยวาง คุณมุ่งความสนใจไปที่การออกจากเขตสะดวกสบายของคุณ นั่นเป็นอีก
แง่มุมที่จาเป็นในการฝึกฝนเพื่อความสาเร็จ หากคุณไม่เสี่ยง คุณจะติดอยู่กับความธรรมดาในชีวิต
ของคุณตลอดไป การเสียใจกับชีวิตบนเตียงมรณะ ไม่ใช่สิ่งที่คนประสบความสาเร็จทากัน
 หลังจากที่คุณออกจากเขตความสะดวกสบายแล้ว ความล้มเหลวมากมายจะเกิดขึ้ น เป็ นส่วนหนึ่งของ
การเติบโตตามธรรมชาติ และคุณควรคาดหวังว่าจะล้มเหลว ถ้าคุณไม่ทา แสดงว่าคุณไม่ได้เรียนรู้
อะไรเลย ในขณะที่คุณล้มเหลว ให้จดบันทึกสิ่งที่นาไปสู่ความล้มเหลวนั้นและเรียนรู้จากมัน ลุกขึ้ น
และลองใช้วิธีอื่น แต่อย่าท้อแท้ในความสามารถของคุณ
บทเรียนข้อที่ 3: เวลาเป็ นทรัพยากรที่มีค่า ดังนั้นจงใช้มันให้เกิดประโยชน์สูงสุด โดยแสดงเรื่องราว
ความสาเร็จของคุณให้โดดเด่น
 คุณคงเคยได้ยินเรื่องราวของการที่ Steve Jobs ถูกไล่ออกจาก Apple ที่เขาถูกไล่ออกเพราะเขาไม่
เหมาะกับทีมที่เหลือ แต่เขาไม่ปล่อยให้ความล้มเหลวนั้นหยุดไม่ให้เขาสร้างหนึ่งในบริษัทที่ประสบ
ความสาเร็จมากที่สุดในประวัติศาสตร์
 คุณสามารถเรียนรู้อะไรจากสิ่งนี้ ความแตกต่างนั้นไม่เป็ นไร เมื่อคุณมีความฝันที่คนอื่นไม่เข้าใจ นั่น
ไม่ได้หมายความว่าความคิดของคุณแย่!
 คุณโดดเด่นเพราะคุณมีวิสัยทัศน์ที่แตกต่าง คนที่ประสบความสาเร็จมักจะพยายามขยายขอบเขต
และพวกเขาไม่ปฏิบัติตามบรรทัดฐานของสังคม
 แนวคิดหลักอีกประการหนึ่งที่ผู้ประพันธ์นาเสนอคือ หากคุณเชื่อว่าความสาเร็จมีจากัด คุณจะไม่มี
ทางได้รับสิ่งที่คุณต้องการจากชีวิต (มีความเป็นไปได้ไม่จากัดจานวน สาหรับผู้ชนะหลายคน
เพียงแต่คุณต้องเต็มใจทางานหนักพอที่จะหาให้พบ!)
 และสุดท้าย: อย่าคิดว่าเวลาอยู่ข้างคุณ หากคุณต้องการบางสิ่งที่มากๆ อย่ารอช้า! ดาเนินการทันที
และคิดแก้ปัญหาในภายหลังหากไม่ได้ผลตามที่วางแผนไว้ ด้วยวิธีนี้ คุณจะยังมีเวลาเหลืออีกมาก
สาหรับสิ่งอื่นๆ ในชีวิต!
 ทรัพยากรที่มีจากัด เช่นเวลาเป็นทรัพย์สินที่มีค่าที่สุดของคุณ
สรุป
 หนังสือเรื่อง The Book of Mistakes จะเปลี่ยนชีวิตของคุณให้ดีขึ้ นตลอดไป
 หนังสือเล่มนี้ แสดงให้คุณเห็นถึงการใช้ชีวิตอย่างมีความหมาย และก้าวไปสู่ทิศทางความฝันของคุณ
อย่างมั่นใจ โดยไม่ต้องกลัวความล้มเหลวหรือคาวิจารณ์
 ผมขอแนะนาหนังสือเล่มนี้ ให้กับทุกคน ที่ต้องการดูแลรับผิดชอบชีวิตของตนเอง
- Paul Bear Bryant

More Related Content

What's hot

บทที่ 4 การจัดการองค์การสมัยใหม่
บทที่ 4 การจัดการองค์การสมัยใหม่บทที่ 4 การจัดการองค์การสมัยใหม่
บทที่ 4 การจัดการองค์การสมัยใหม่
Aj.Mallika Phongphaew
 
การประยุกต์ใช้เศรษฐกิจพอเพียง
การประยุกต์ใช้เศรษฐกิจพอเพียงการประยุกต์ใช้เศรษฐกิจพอเพียง
การประยุกต์ใช้เศรษฐกิจพอเพียงVinz Primo
 
พระพุทธศาสนา
พระพุทธศาสนาพระพุทธศาสนา
พระพุทธศาสนา
Padvee Academy
 
เนื้อหาสรุป Comprehensive หมวด c
เนื้อหาสรุป Comprehensive หมวด cเนื้อหาสรุป Comprehensive หมวด c
เนื้อหาสรุป Comprehensive หมวด c
ประพันธ์ เวารัมย์
 
พรบ.คอมพิวเตอร์ 2560
พรบ.คอมพิวเตอร์ 2560พรบ.คอมพิวเตอร์ 2560
พรบ.คอมพิวเตอร์ 2560
qnlivyatan
 
ชีวประวัติ มหาตมา คานธี
ชีวประวัติ มหาตมา  คานธีชีวประวัติ มหาตมา  คานธี
ชีวประวัติ มหาตมา คานธี
พระอภิชัช ธมฺมโชโต
 
351หน้าที่ชาวพุทธ3
351หน้าที่ชาวพุทธ3351หน้าที่ชาวพุทธ3
351หน้าที่ชาวพุทธ3
niralai
 
ทฤษฎีระบบราชการ
ทฤษฎีระบบราชการทฤษฎีระบบราชการ
ทฤษฎีระบบราชการwiraja
 
1ความหมายความสำคัญของการบริหารการพัฒนา
1ความหมายความสำคัญของการบริหารการพัฒนา1ความหมายความสำคัญของการบริหารการพัฒนา
1ความหมายความสำคัญของการบริหารการพัฒนาSaiiew
 
ผู้นำ 4 ทิศ,สายธารชีวิต,สื่อสารอย่างสันติ
ผู้นำ 4 ทิศ,สายธารชีวิต,สื่อสารอย่างสันติผู้นำ 4 ทิศ,สายธารชีวิต,สื่อสารอย่างสันติ
ผู้นำ 4 ทิศ,สายธารชีวิต,สื่อสารอย่างสันติณรงค์ สัพโส
 
ผู้นำและการเปลี่ยนแปลงทางดิจิทัล Leaders and Digital Transformations.pptx
 ผู้นำและการเปลี่ยนแปลงทางดิจิทัล Leaders and Digital Transformations.pptx ผู้นำและการเปลี่ยนแปลงทางดิจิทัล Leaders and Digital Transformations.pptx
ผู้นำและการเปลี่ยนแปลงทางดิจิทัล Leaders and Digital Transformations.pptx
maruay songtanin
 
ความหมายและทฤษฏีการบริหารสถานศึกษา
ความหมายและทฤษฏีการบริหารสถานศึกษาความหมายและทฤษฏีการบริหารสถานศึกษา
ความหมายและทฤษฏีการบริหารสถานศึกษา
Pitchayakarn Nitisahakul
 
คัมภีร์ฉันทศาสตร์
คัมภีร์ฉันทศาสตร์คัมภีร์ฉันทศาสตร์
คัมภีร์ฉันทศาสตร์
chamaipornning
 
ปรัชญาตะวันตก บทที่ ๖ ปรัชญากรีกสมัยเสื่อม
ปรัชญาตะวันตก บทที่ ๖ ปรัชญากรีกสมัยเสื่อมปรัชญาตะวันตก บทที่ ๖ ปรัชญากรีกสมัยเสื่อม
ปรัชญาตะวันตก บทที่ ๖ ปรัชญากรีกสมัยเสื่อม
Padvee Academy
 
ชีวิตตามแนวคิดทางวิทยาศาสตร์
ชีวิตตามแนวคิดทางวิทยาศาสตร์ชีวิตตามแนวคิดทางวิทยาศาสตร์
ชีวิตตามแนวคิดทางวิทยาศาสตร์
ppompuy pantham
 
หน่วยที่-4 สหกรณ์และการรวมกลุ่มเพื่อพัฒนาชุมชนของไทย
หน่วยที่-4 สหกรณ์และการรวมกลุ่มเพื่อพัฒนาชุมชนของไทยหน่วยที่-4 สหกรณ์และการรวมกลุ่มเพื่อพัฒนาชุมชนของไทย
หน่วยที่-4 สหกรณ์และการรวมกลุ่มเพื่อพัฒนาชุมชนของไทย
Paew Tongpanya
 
งานนำเสนอ1 วสันตดิลก ฉันท์ ๑๔
งานนำเสนอ1 วสันตดิลก ฉันท์ ๑๔งานนำเสนอ1 วสันตดิลก ฉันท์ ๑๔
งานนำเสนอ1 วสันตดิลก ฉันท์ ๑๔อิ่' เฉิ่ม
 
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๑) สัปดาห์ที่ ๑
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๑) สัปดาห์ที่ ๑กรรมฐาน (สื่อการสอน ๑) สัปดาห์ที่ ๑
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๑) สัปดาห์ที่ ๑
วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 
ความสัมพันธ์กับอาณาจักรต่างๆในสมัยสุโขทัย อยุธยา
ความสัมพันธ์กับอาณาจักรต่างๆในสมัยสุโขทัย อยุธยาความสัมพันธ์กับอาณาจักรต่างๆในสมัยสุโขทัย อยุธยา
ความสัมพันธ์กับอาณาจักรต่างๆในสมัยสุโขทัย อยุธยา
Princess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 

What's hot (20)

บทที่ 4 การจัดการองค์การสมัยใหม่
บทที่ 4 การจัดการองค์การสมัยใหม่บทที่ 4 การจัดการองค์การสมัยใหม่
บทที่ 4 การจัดการองค์การสมัยใหม่
 
การประยุกต์ใช้เศรษฐกิจพอเพียง
การประยุกต์ใช้เศรษฐกิจพอเพียงการประยุกต์ใช้เศรษฐกิจพอเพียง
การประยุกต์ใช้เศรษฐกิจพอเพียง
 
พระพุทธศาสนา
พระพุทธศาสนาพระพุทธศาสนา
พระพุทธศาสนา
 
เนื้อหาสรุป Comprehensive หมวด c
เนื้อหาสรุป Comprehensive หมวด cเนื้อหาสรุป Comprehensive หมวด c
เนื้อหาสรุป Comprehensive หมวด c
 
พรบ.คอมพิวเตอร์ 2560
พรบ.คอมพิวเตอร์ 2560พรบ.คอมพิวเตอร์ 2560
พรบ.คอมพิวเตอร์ 2560
 
การประเมินผล 4 มิติ
การประเมินผล 4 มิติการประเมินผล 4 มิติ
การประเมินผล 4 มิติ
 
ชีวประวัติ มหาตมา คานธี
ชีวประวัติ มหาตมา  คานธีชีวประวัติ มหาตมา  คานธี
ชีวประวัติ มหาตมา คานธี
 
351หน้าที่ชาวพุทธ3
351หน้าที่ชาวพุทธ3351หน้าที่ชาวพุทธ3
351หน้าที่ชาวพุทธ3
 
ทฤษฎีระบบราชการ
ทฤษฎีระบบราชการทฤษฎีระบบราชการ
ทฤษฎีระบบราชการ
 
1ความหมายความสำคัญของการบริหารการพัฒนา
1ความหมายความสำคัญของการบริหารการพัฒนา1ความหมายความสำคัญของการบริหารการพัฒนา
1ความหมายความสำคัญของการบริหารการพัฒนา
 
ผู้นำ 4 ทิศ,สายธารชีวิต,สื่อสารอย่างสันติ
ผู้นำ 4 ทิศ,สายธารชีวิต,สื่อสารอย่างสันติผู้นำ 4 ทิศ,สายธารชีวิต,สื่อสารอย่างสันติ
ผู้นำ 4 ทิศ,สายธารชีวิต,สื่อสารอย่างสันติ
 
ผู้นำและการเปลี่ยนแปลงทางดิจิทัล Leaders and Digital Transformations.pptx
 ผู้นำและการเปลี่ยนแปลงทางดิจิทัล Leaders and Digital Transformations.pptx ผู้นำและการเปลี่ยนแปลงทางดิจิทัล Leaders and Digital Transformations.pptx
ผู้นำและการเปลี่ยนแปลงทางดิจิทัล Leaders and Digital Transformations.pptx
 
ความหมายและทฤษฏีการบริหารสถานศึกษา
ความหมายและทฤษฏีการบริหารสถานศึกษาความหมายและทฤษฏีการบริหารสถานศึกษา
ความหมายและทฤษฏีการบริหารสถานศึกษา
 
คัมภีร์ฉันทศาสตร์
คัมภีร์ฉันทศาสตร์คัมภีร์ฉันทศาสตร์
คัมภีร์ฉันทศาสตร์
 
ปรัชญาตะวันตก บทที่ ๖ ปรัชญากรีกสมัยเสื่อม
ปรัชญาตะวันตก บทที่ ๖ ปรัชญากรีกสมัยเสื่อมปรัชญาตะวันตก บทที่ ๖ ปรัชญากรีกสมัยเสื่อม
ปรัชญาตะวันตก บทที่ ๖ ปรัชญากรีกสมัยเสื่อม
 
ชีวิตตามแนวคิดทางวิทยาศาสตร์
ชีวิตตามแนวคิดทางวิทยาศาสตร์ชีวิตตามแนวคิดทางวิทยาศาสตร์
ชีวิตตามแนวคิดทางวิทยาศาสตร์
 
หน่วยที่-4 สหกรณ์และการรวมกลุ่มเพื่อพัฒนาชุมชนของไทย
หน่วยที่-4 สหกรณ์และการรวมกลุ่มเพื่อพัฒนาชุมชนของไทยหน่วยที่-4 สหกรณ์และการรวมกลุ่มเพื่อพัฒนาชุมชนของไทย
หน่วยที่-4 สหกรณ์และการรวมกลุ่มเพื่อพัฒนาชุมชนของไทย
 
งานนำเสนอ1 วสันตดิลก ฉันท์ ๑๔
งานนำเสนอ1 วสันตดิลก ฉันท์ ๑๔งานนำเสนอ1 วสันตดิลก ฉันท์ ๑๔
งานนำเสนอ1 วสันตดิลก ฉันท์ ๑๔
 
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๑) สัปดาห์ที่ ๑
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๑) สัปดาห์ที่ ๑กรรมฐาน (สื่อการสอน ๑) สัปดาห์ที่ ๑
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๑) สัปดาห์ที่ ๑
 
ความสัมพันธ์กับอาณาจักรต่างๆในสมัยสุโขทัย อยุธยา
ความสัมพันธ์กับอาณาจักรต่างๆในสมัยสุโขทัย อยุธยาความสัมพันธ์กับอาณาจักรต่างๆในสมัยสุโขทัย อยุธยา
ความสัมพันธ์กับอาณาจักรต่างๆในสมัยสุโขทัย อยุธยา
 

More from maruay songtanin

ผู้นำที่มีความเห็นอกเห็นใจ Compassionate leadership.pdf
ผู้นำที่มีความเห็นอกเห็นใจ Compassionate leadership.pdfผู้นำที่มีความเห็นอกเห็นใจ Compassionate leadership.pdf
ผู้นำที่มีความเห็นอกเห็นใจ Compassionate leadership.pdf
maruay songtanin
 
537 มหาสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
537 มหาสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...537 มหาสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
537 มหาสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
maruay songtanin
 
536 กุณาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
536 กุณาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx536 กุณาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
536 กุณาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
maruay songtanin
 
535 สุธาโภชนชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
535 สุธาโภชนชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...535 สุธาโภชนชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
535 สุธาโภชนชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
maruay songtanin
 
534 มหาหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
534 มหาหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....534 มหาหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
534 มหาหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
maruay songtanin
 
533 จูฬหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
533 จูฬหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....533 จูฬหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
533 จูฬหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
maruay songtanin
 
532 โสณนันทชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
532 โสณนันทชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....532 โสณนันทชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
532 โสณนันทชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
maruay songtanin
 
531 กุสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
531 กุสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx531 กุสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
531 กุสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
maruay songtanin
 
530 สังกิจจชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
530 สังกิจจชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....530 สังกิจจชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
530 สังกิจจชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
maruay songtanin
 
529 โสณกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
529 โสณกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx529 โสณกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
529 โสณกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
maruay songtanin
 
528 มหาโพธิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
528 มหาโพธิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....528 มหาโพธิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
528 มหาโพธิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
maruay songtanin
 
527 อุมมาทันตีชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
527 อุมมาทันตีชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...527 อุมมาทันตีชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
527 อุมมาทันตีชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
maruay songtanin
 
526 นฬินิกาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
526 นฬินิกาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....526 นฬินิกาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
526 นฬินิกาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
maruay songtanin
 
525 จูฬสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
525 จูฬสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...525 จูฬสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
525 จูฬสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
maruay songtanin
 
524 สังขปาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
524 สังขปาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....524 สังขปาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
524 สังขปาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
maruay songtanin
 
523 อลัมพุสาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
523 อลัมพุสาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...523 อลัมพุสาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
523 อลัมพุสาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
maruay songtanin
 
522 สรภังคชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
522 สรภังคชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx522 สรภังคชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
522 สรภังคชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
maruay songtanin
 
521 เตสกุณชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
521 เตสกุณชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx521 เตสกุณชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
521 เตสกุณชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
maruay songtanin
 
520 คันธตินทุกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
520 คันธตินทุกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...520 คันธตินทุกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
520 คันธตินทุกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
maruay songtanin
 
519 สัมพุลาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
519 สัมพุลาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....519 สัมพุลาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
519 สัมพุลาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
maruay songtanin
 

More from maruay songtanin (20)

ผู้นำที่มีความเห็นอกเห็นใจ Compassionate leadership.pdf
ผู้นำที่มีความเห็นอกเห็นใจ Compassionate leadership.pdfผู้นำที่มีความเห็นอกเห็นใจ Compassionate leadership.pdf
ผู้นำที่มีความเห็นอกเห็นใจ Compassionate leadership.pdf
 
537 มหาสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
537 มหาสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...537 มหาสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
537 มหาสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
 
536 กุณาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
536 กุณาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx536 กุณาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
536 กุณาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
535 สุธาโภชนชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
535 สุธาโภชนชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...535 สุธาโภชนชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
535 สุธาโภชนชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
 
534 มหาหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
534 มหาหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....534 มหาหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
534 มหาหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
 
533 จูฬหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
533 จูฬหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....533 จูฬหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
533 จูฬหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
 
532 โสณนันทชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
532 โสณนันทชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....532 โสณนันทชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
532 โสณนันทชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
 
531 กุสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
531 กุสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx531 กุสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
531 กุสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
530 สังกิจจชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
530 สังกิจจชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....530 สังกิจจชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
530 สังกิจจชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
 
529 โสณกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
529 โสณกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx529 โสณกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
529 โสณกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
528 มหาโพธิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
528 มหาโพธิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....528 มหาโพธิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
528 มหาโพธิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
 
527 อุมมาทันตีชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
527 อุมมาทันตีชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...527 อุมมาทันตีชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
527 อุมมาทันตีชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
 
526 นฬินิกาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
526 นฬินิกาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....526 นฬินิกาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
526 นฬินิกาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
 
525 จูฬสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
525 จูฬสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...525 จูฬสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
525 จูฬสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
 
524 สังขปาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
524 สังขปาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....524 สังขปาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
524 สังขปาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
 
523 อลัมพุสาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
523 อลัมพุสาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...523 อลัมพุสาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
523 อลัมพุสาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
 
522 สรภังคชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
522 สรภังคชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx522 สรภังคชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
522 สรภังคชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
521 เตสกุณชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
521 เตสกุณชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx521 เตสกุณชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
521 เตสกุณชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
520 คันธตินทุกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
520 คันธตินทุกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...520 คันธตินทุกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
520 คันธตินทุกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
 
519 สัมพุลาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
519 สัมพุลาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....519 สัมพุลาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
519 สัมพุลาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
 

เรียนรู้จาก 9 ข้อผิดพลาด The Book of Mistakes.pdf

  • 2. Skip Prichard Published February 6th 2018 by Center Street The Book of Mistakes follows the adventures of David, a young adult who is going through a rough patch and receives guidance from a wise man who teaches him the nine mistakes he should avoid, how to become successful, and a series of valuable life lessons that can save anyone many years of their life.
  • 3. เกี่ยวกับผู้ประพันธ์  David Skip Prichard เป็นผู้บริหารธุรกิจชาวอเมริกัน CEO และประธานของ OCLC (บริษัทที่ก่อตั้งและดูแล WorldCat ที่ผลิต catalog ซึ่งมีการเข้าถึงแบบ สาธารณะทางออนไลน์ที่ใหญ่ที่สุดในโลก)  Skip Prichard จบการศึกษาจาก University of Baltimore School of Law ดารง ตาแหน่งผู้บริหารกับ LexisNexis ระหว่างปี ค.ศ. 1995 ถึง 2003  หลังจากนั้นเขาย้ายไปทางานให้กับ ProQuest ซึ่งในที่สุดเขาก็กลายเป็น CEO และเขายังเคยดารงตาแหน่งเดียวกันที่ Ingram Content Group Inc. ก่อนที่จะ มาเป็น CEO ของ OCLC
  • 4. เกริ่นนา  The Book of Mistakes เป็นการอธิบายวิธีที่คนที่ประสบความสาเร็จ แยกแยะตัวเองออกจากคนอื่นๆ โดยหลีกเลี่ยงข้อผิดพลาดหลัก 9 ข้อในชีวิต  หนังสือเล่มนี้ เป็ นเรื่องเล่าของ David และการผจญภัยของเขา หลังจากพบจดหมายที่ลงนามโดยผู้ใจ บุญที่มีชื่อเสียง ในจดหมายระบุที่อยู่และเวลาที่เขาจะได้พบกับผู้ใจบุญและเจ้าของธุรกิจ ซึ่งจะให้ คาแนะนาตลอดชีวิตแก่เขา  ในหนังสือ อธิบายความผิดพลาดแต่ละข้อโดยละเอียด ที่ชี้ ให้เห็นถึงหนทางที่นาไปสู่ความล้มเหลว เพื่อให้ผู้อ่านมีความเข้าใจที่ชัดเจนเกี่ยวกับสิ่งที่ต้องทาเพื่อให้ประสบความสาเร็จ
  • 5.  หนังสือเล่มนี้ แตกต่างจากนิทานธุรกิจเรื่องอื่นๆ โดยผสมผสานการเล่าเรื่องสามส่วนคือ เรื่องแรก เกี่ยวข้องกับนักบวชที่มีภารกิจในอังกฤษปี ค.ศ. 1425 เรื่องที่สองเกี่ยวกับหญิงสาวชื่อ Aria ที่อาศัย อยู่ในอาณานิคมของอเมริกาในปี ค.ศ. 1770 และเรื่องหลักเกี่ยวกับชายหนุ่มที่หดหู่ใจ ชื่อว่า David ที่กาลังดิ้นรนอยู่ในปัจจุบัน  ก่อนที่คุณจะคิดว่า "เฮ้ ฉันไม่ได้ต้องการอ่านนวนิยายนะ" ให้อดทนไว้ก่อน เพราะ The Book of Mistakes เป็นเรื่องที่เข้าท่ามาก และแม้ว่าจะมีโครงเรื่องสามเรื่อง คุณก็สามารถติดตามแต่ละตอนได้ อย่างง่ายดาย
  • 6. อังกฤษ ค.ศ. 1425: อารัมภบท  เรื่องแรก ซึ่งจริง ๆ แล้วเป็นจุดเริ่มต้นของเรื่องทั้งหมด  เป็นเรื่องราวของนักบวชที่มีภารกิจและทัศนคติ ที่แม้แต่ Elbert Hubbard ก็ยังยอมรับว่า "ภารกิจที่เขา ทานั้น เกิดขึ้ นตามความเป็ นจริงในยุคก่อน และมันก็ลึกลับพอๆ กับตัวมนุษย์เอง เขาไม่ถาม หน้าที่ ของเขาคือทาตามคาสั่ง และปฏิบัติตามคาปฏิญาณของตนที่ให้ไว้"
  • 7.  อะไรคือลักษณะของภารกิจ?  ก่อนอื่น ให้บรรจงคัดลอกหนังสือทั้งหมดสิบเล่มอย่างระมัดระวังคือ "หนังสือแห่งปัญญาโบราณ จาก ดินแดนทะเลทรายทางใต้อันไกลโพ้น เป็ นดินแดนแห่งภูเขาหินที่มนุษย์สร้างขึ้ นสูงเสียดฟ้า"  แล้วแจกจ่ายต้นฉบับแต่ละฉบับ ซึ่งหลังจากสาเร็จภารกิจทั้งสองนี้ แล้ว ให้เผาต้นฉบับเดิม  สาเนาสิบชุดที่ถูกแจกจ่ายนั้น ชุดหนึ่งอยู่กับผู้รักษาหนังสือ และอีกเก้าชุดอยู่กับครูทั้งเก้าคน (ผู้ดูแล การเผยแพร่ความรู้ของหนังสือ)  "เมื่อใดโลกทั้งใบจะพร้อมรับสติปัญญานี้ " นักบวชสงสัย "จะมีสักวันไหมที่พลังด้านมืดจะลดน้อย ถอยลง จนทุกคนสามารถเข้าถึงได้อย่างเสรี"
  • 8. Aria ยุคอาณานิคมของอเมริกาในทศวรรษที่ 1770  โครงเรื่องอีกสองเรื่องถัดไปเป็นการผสมผสาน หลังจากผ่านไปสองสามบทซึ่งครอบคลุมเหตุการณ์ใน ชีวิตของ David ตามมาด้วยบทซึ่งครอบคลุมเรื่องราวของ Aria (เด็กสาวที่อาศัยอยู่ในยุคอาณานิคม ของอเมริกาในปีทศวรรษที่ 1770)  Aria ตามคาแนะนาของ Raymond ลุงของเธอ เธอออกเดินทางเพื่อการค้นพบที่เสี่ยงกับอันตราย ใน ระหว่างนั้น เราจะได้เรียนรู้เพิ่มเติมเกี่ยวกับต้นกาเนิดของหนังสือ ที่นักบวชเขียนไว้ในโครงเรื่องแรก ตลอดจนเกี่ยวกับเนื้ อหาและการแจกจ่ายหนังสือ
  • 9.  ในเรื่องเล่านี้ เราเรียนรู้เพิ่มเติมเกี่ยวกับบทบาทของผู้รักษาและครูทั้งเก้า ซึ่งได้คัดเลือกอย่าง ต่อเนื่อง เพื่อเผยแพร่ข้อความของหนังสือ  ขณะที่ Aria พยายามดิ้นรนเพื่อรักษาหนังสือลึกลับให้ปลอดภัยจากการตกไปอยู่ในมือคนชั่ว เธอก็ ค้นพบกฎสามข้อแห่งความสาเร็จด้วย  เราจะติดตามเรื่องของพวกเขาในอีกสักครู่
  • 10. David สหรัฐอเมริกา ยุคปัจจุบัน  David เป็นชายหนุ่มในวัยยี่สิบกว่า เขาไม่ใช่คนที่มีความสุขเสียทีเดียว เขารู้สึกท่วมท้นไปด้วยความ สงสัยและความกังวลใจ และไม่รู้ว่าควรจะดาเนินชีวิตไปในทิศทางใด  วันหนึ่งเขาได้รับข้อความสั้นๆ ที่คาดไม่ถึงจากเจ้านายของเขาว่า "ฉันต้องการพบคุณที่สานักงาน เวลา 11:00 น."  ด้วยความกลัวว่าเขาจะถูกไล่ออกและเพราะความวิตกกังวล ก่อนที่จะมุ่งหน้าไปยังสานักงานของ เจ้านาย เขาใช้เวลาช่วงหนึ่งในการอ่านข่าวท้องถิ่น เพื่อให้ความคิดของเขาปลอดโปร่ง
  • 11.  ณ ที่นั่น เขาอ่านเรื่องราวของนักธุรกิจที่มีชื่อเสียง ซึ่งได้รับการยกย่องจากงานการกุศลของเขา  ระหว่างเดินกลับสานักงาน โดยไม่ทันตั้งตัว เขาเกือบจะสะดุดกับหญิงสาวหน้าตาดีคนหนึ่ง ที่ พยายามคว้ากระดาษสีเหลืองที่ปลิวจากมือไปตามแรงลม  หลังจากการประชุมกับเจ้านายของเขา (ที่เขาได้รับคาเตือนด้วยวาจา) David กลับบ้านโดยคิดว่ามัน จะสาคัญขนาดไหน  เมื่อถึงบ้าน เขาพบกระดาษแผ่นหนึ่งอยู่ในกระเป ๋ า มีข้อความว่า "NORTH CAFÉ 10:00 น. วันศุกร์ที่ 14 กันยายน"
  • 12.  และอีกด้านหนึ่งของกระดาษ:  "ความสาเร็จของคุณจะเป็นไปได้ก็ต่อเมื่อคุณหลีกเลี่ยงข้อผิดพลาด 9 ประการ ที่คนส่วนใหญ่ไม่เคย ตระหนักถึงสิ่งเหล่านี้ จนกว่าจะสายเกินไป อย่าปล่อยให้สิ่งนั้นเกิดขึ้ น พบฉันที่บริเวณซุ้มสุดท้ายริม หน้าต่าง และพวกเขารู้ว่าคุณกาลังมา"  จดหมายฉบับนี้ ลงนามโดยนักธุรกิจที่กล่าวถึงในหนังสือพิมพ์ ซึ่งเป็ นหนึ่งในผู้ที่ประสบความสาเร็จ มากที่สุดในยุคของเขา ซึ่งเป็นเรื่องราว "จากยาจกสู่ความร่ารวย" อย่างแท้จริง  ดังนั้น แม้ว่าเขาจะรู้ว่าสิ่งนี้ ต้องเป็ นของหญิงสาวที่เขาเกือบจะสะดุด David ก็ตัดสินใจที่จะไปพบโดย เชื่อว่าการเชื่อมโยงใดๆ กับนักธุรกิจที่ประสบความสาเร็จคนนี้ อาจทาให้เขามีชื่อเสียงในอนาคต
  • 13. 9 ข้อผิดพลาดที่คุณไม่ควรทา  David มาถึงที่ North Café และที่นั่นเขาได้พบกับนักธุรกิจที่ได้อ่านจากหนังสือพิมพ์  เขาพบกับชายชรา ซึ่งไม่ได้เป็นอย่างที่ David คาดหวังเลย เขาสวมกางเกงยีนส์สีซีด เสื้อเชิ้ ตเรียบๆ และรองเท้าไม่มีส้น ชายชรามีใบหน้าที่ไม่ได้โกนหนวดและถือหนังสือปกหนังเล่มเล็กๆ  และชายผู้นั้นเปิ ดเผยกับ David ว่า เขาไม่ได้พบคาเชิญโดยบังเอิญ เพราะเขา อยู่ในสภาพจิตใจที่ สมบูรณ์ ที่จะเรียนรู้บทเรียนจากหนังสือ  David ตอบ "ตกลง ฉันพร้อมฟัง สอนบทเรียนแก่ฉัน"
  • 14.  "คุณคิดว่าฉันจะส่งหนังสือให้คุณได้ไหม" ชายชรากล่าว "ฉันคิดว่าฉันทาได้… แต่พลังไม่ได้อยู่ที่นั่น ฉันไม่แน่ใจว่ามันจะได้ผลด้วยซ้า"  "คุณไม่มีทางรู้ว่าคุณกาลังจะมีเส้นทางเดินอย่างไร" เขากล่าวต่อไป "ตอนนี้ มันได้เริ่มขึ้ นแล้ว และ แทบจะไม่มีอะไรหยุดมันได้ ในความเป็นจริง ครูจะปรากฏในเวลาที่เหมาะสม และในสถานที่ที่ไม่น่า เป็นไปได้ ซึ่งคุณจะได้พบในเร็ว ๆ นี้ !"  และเป็ นจริงตามคาพูดของชายชรา ในสัปดาห์ต่อมา ครูทั้งเก้าคนปรากฏตัวต่อ David แต่ละคนสอน ข้อผิดพลาด 9 ข้อ ที่อาจส่งผลถึงเส้นทางสู่ความสาเร็จแก่เขา
  • 15. ข้อผิดพลาดที่1: ทาตามความฝันของคนอื่น  ครูคนแรกคือ นักเขียนบทละคร ครั้งหนึ่งเธอเคยเป็ นนักแสดง แต่เธอตัดสินใจที่จะเป็ นนักเขียนบท ละคร เมื่อเธอได้เรียนรู้ข้อผิดพลาดแรกที่ทุกคนทานั่นคือ ไม่มีประโยชน์ที่จะทาตามความฝันของคน อื่น  "เมื่อคุณแสดง" เธอกล่าว "คุณแสดงไปตามเรื่องราว เมื่อคุณเขียน คุณกาลังสร้างเรื่องราวด้วยตัวของ คุณเอง"  ข้อความจากหนังสือ อย่าแสดงบทที่คนอื่นกาหนด คุณคือตัวแทนที่หล่อหลอมโดยเป้าหมายในชีวิตของ คุณเอง ชีวิตที่ออกแบบท่าเต้นโดยคนอื่นไม่ใช่การแสดงที่ดีที่สุดของเรา จุดประสงค์ของคุณไม่เหมือน ใคร ออกแบบชีวิตของคุณ เพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ของคุณ
  • 16. ข้อผิดพลาดที่ 2: การยอมให้คนอื่นกาหนดคุณค่าของคุณ  ครูคนที่สองคือ นายธนาคาร ผู้สอน David ว่า เงินเหรียญหนึ่งสตางค์มีค่ามากกว่าหนึ่งสตางค์ หรือที่รู้ กันว่า การทาเงินเหรียญหนึ่งสตางค์มีค่าใช้จ่ายมากกว่าหนึ่งสตางค์  บทเรียนพื้นฐาน: อย่าตัดสินหนังสือจากปก  อย่ายอมรับข้อจากัดที่คนอื่นมอบให้คุณ  แค่ปล่อยให้ตัวเองเป็ นตัวของตัวเอง สิ่งนี้ จะปลดปล่อยพลังอันน่าอัศจรรย์
  • 17. ข้อผิดพลาดที่ 3: การยอมรับข้อแก้ตัว  ครูคนที่สามเป็น เทรนเนอร์ ที่โรงยิมประจาของ David  แม้ว่าเขาจะค่อนข้างป่ วยมาตลอดชีวิต (และเศร้าเพราะไม่สามารถเป็นนักกีฬาได้) แต่เขาก็ เปลี่ยนไป เมื่อเขาได้พบกับหญิงสาวที่เอาชนะมะเร็ง จนชนะการแข่งขันไตรกีฬา  บทเรียน: ข้อแก้ตัวขัดขวางความก้าวหน้าของเรา หลีกเลี่ยงคนที่ชอบแก้ตัว
  • 18. ข้อผิดพลาดที่ 4: ล้อมรอบตัวคุณด้วยคนที่ไม่ถูกต้อง  ครูคนที่สี่คือ บาร์เทนเดอร์ เขาสอน David ว่า "ผู้คนรอบตัวเราส่งผลต่อทุกสิ่ง เพื่อนของเรากาหนด ชะตากรรมของเรา"  กล่าวอีกนัยหนึ่งว่า "คนที่คุณอยู่รอบ ๆ ตัว กาหนดว่าคุณจะเป็นอย่างไร"  ดังนั้น เขาจึงสรุปว่า "ให้แทนผู้ที่ปฏิเสธ สงสัย และหมดพลัง ด้วยผู้ที่ให้กาลังใจ ผู้ชนะ และผู้คอย กระตุ้น"  นั่นคือหนทางเดียวสู่ความสาเร็จ
  • 19. ข้อผิดพลาดที่ 5: อยู่แต่ในขอบเขตที่สบายใจ (Comfort Zone) ของคุณ  ครูคนที่ห้าคือ คนขายหนังสือ เธอบอก David ว่า สิ่งเลวร้ายที่สุดอย่างหนึ่งในชีวิตคือ การถูกกักขังอยู่ ในขอบเขตที่สบายใจของคุณ  "ผู้ชนะมองหาสิ่งที่ไม่สบายใจ" เธอกล่าว "ผู้นามักจะผลักดันตนเอง มากกว่าอยู่อย่างสะดวกสบาย เพื่อมุ่งสู่ระดับใหม่ของความสาเร็จ"  ในความเป็นจริง เธอกล่าวเสริมอย่างเป็นเชิงลบว่า "ความธรรมดา เป็นผลลัพธ์สุดท้ายของการสุข สบายมากเกินไป"
  • 20. ข้อผิดพลาดที่ 6: การปล่อยให้ความพ่ายแพ้ชั่วคราวกลายเป็นความล้มเหลวถาวร  ครูคนที่หกคือ ผู้ประกอบการ  เขาสอน David ว่า ความคิดไม่ได้กาหนดชะตากรรม และเขาไม่ควรปล่อยให้สถานการณ์ปัจจุบันมา กาหนดชะตากรรมของเขา  เขาย้าแนวคิดที่ว่า "ข้อแก้ตัวคือวัชพืชที่พยายามปิ ดกั้นความก้าวหน้า" และเสริมว่า "คนที่ประสบ ความสาเร็จมองว่า ความล้มเหลวชั่วคราวเป็นบันไดสู่ความสาเร็จ"
  • 21. ข้อผิดพลาดที่ 7: พยายามผสมผสานแทนที่จะโดดเด่น  ครูคนที่เจ็ดคือ วาทยกร ที่สอน David ว่านักเรียนที่ดีที่สุดของเขาโดดเด่นอย่างไร  "ความโดดเด่น" เขากล่าว "เป็นเรื่องง่ายๆ คือการแสดงได้เกินความคาดหวังอย่างสม่าเสมอ" ที่น่า เศร้าคือ "พวกเราส่วนใหญ่ใช้ชีวิตเรียนรู้ที่จะผสมผสาน เมื่อความสาเร็จคือการโดดเด่น" ความโดด เด่นนั้นเหมือนกับการเป็ นตัวของตัวเอง และเป็ นตัวของตัวเองอย่างแท้จริง  มันเหมือนกับการได้สัมผัสกับพรสวรรค์ ที่ไม่เหมือนใครของคุณ
  • 22. ข้อผิดพลาดที่ 8: คิดว่าความสาเร็จมีจากัดและมีจานวนจากัด  ครูคนที่แปดคือ จิตกร  หลังจากที่ David บอกเธอว่า เขาไม่มีความสามารถในการวาดภาพเลย เธอก็ทาให้เขารู้ว่า โลกนี้ มี โอกาสไม่จากัด  กล่าวอีกนัยหนึ่ง ปัญหาไม่ได้อยู่ที่ความสามารถในการวาดภาพของเขา แต่อยู่ที่ความคิดของเขา ซึ่ง จากัดศักยภาพของเขาที่ไม่มีขีดจากัด  "ข้อจากัดเดียวที่คุณต้องกังวลคือ ข้อจากัดในใจของคุณ" เธอสรุป
  • 23. ข้อผิดพลาดที่ 9: เชื่อว่าคุณมีเวลาเหลือเฟื อ  ครูคนสุดท้ายคือ หมอและคนไข้ไม่กี่คน  พวกเขาสอน David ถึงความผิดพลาดสุดท้ายที่เราทุกคนทา นั่นคือ การเชื่อว่าเรายังมีเวลาอีก มากมายในโลกนี้  การรู้ว่าชีวิตไม่แน่นอน เป็นสิ่งเดียวที่จะทาให้คุณมุ่งความสนใจไปที่ส่วนที่สาคัญที่สุดของจุดประสงค์ ของคุณ  David เรียนรู้ว่า คนที่ประสบความสาเร็จ คือผู้มีความรู้สึกเร่งด่วน
  • 24. กฎ 3 ข้อที่คุณไม่ควรฝ่ าฝืน  ขณะที่ David กาลังคุยกับหมอ มีแขกคนหนึ่งมาเคาะประตู  "โอ้ คุณมีผู้มาเยี่ยม" เธอกล่าว "ฉันควรจะกลับมาในภายหลังไหม"  David มองหน้าเธอและตระหนักว่า ผู้หญิงคนนั้นไม่ใช่ใครอื่น นอกจากคนที่เขาเกือบจะสะดุดก่อนเริ่ม การเดินทาง  ชื่อของเธอคือ Aria เป็นชื่อที่คงอยู่ในครอบครัวของเธอมาสองสามร้อยปี และนั่นเชื่อมโยงโครงเรื่อง ของ David ในปัจจุบันกับ Aria ที่มีบรรพบุรุษที่มีชื่อเหมือนกันในปีทศวรรษที่ 1770  ซึ่งเธอเป็นผู้เปิดเผยกฎแห่งความสาเร็จสามข้อ
  • 25. 1. กฎแห่งความปรารถนา (The Law of Desire)  กฎแห่งความปรารถนาเป็นกฎข้อแรก  ความปรารถนาคือน้าพุที่ล้นออกมาเติมเต็มชีวิตของคุณด้วยความดี โอกาสทั้งหมด ความสาเร็จ ทั้งหมด พลังทั้งหมดจะถูกเปิ ดใช้งานก่อน จากความปรารถนาอันแรงกล้า  ให้ปรารถนาเป็นผู้สูงศักดิ์ คิดให้สูงไว้ ดื่มด่ากับความเป็นไปได้มากมาย  ป้องกันการสูญเสียความปรารถนาของคุณ ด้วยการไม่ปรารถนาในสิ่งเล็กน้อยและไม่สาคัญ
  • 26. กฎแห่งความปรารถนา (ต่อ)  ก็ต่อเมื่อความปรารถนาของคุณมีมากพอเท่านั้น ที่จะทาให้เกิดพลังแห่งความสาเร็จ เพื่อขับเคลื่อน คุณไปสู่สิ่งที่เป็นไปไม่ได้  อย่าดาเนินการโดยไม่ได้นึกภาพความปรารถนาของคุณเมื่อบรรลุผลอย่างเต็มที่ ความปรารถนาของ คุณเป็นตัวกาหนดชะตากรรมของคุณ  ความปรารถนาจะป้องกันไม่ให้ผู้อื่นจากัดหรือตราหน้าคุณอย่างไม่ยุติธรรม ความปรารถนาผลักดัน ความคิดของคุณไปสู่ระดับใหม่ ซึ่งสูงกว่าที่คุณคิดว่าจะเป็นไปได้ ปล่อยให้ความปรารถนาของคุณ เผาไหม้ภายใน เพื่อขับเคลื่อนความสาเร็จของคุณ
  • 27. 2. กฎแห่งความกตัญญูกตเวที (The Law of Gratitude)  กฎแห่งความกตัญญูกตเวทีเป็นกฎข้อที่สอง  ความกตัญญูกตเวทีเป็นปุ ๋ ยแห่งความสาเร็จ เป็นผู้ให้ผลผลิต จิตวิญญาณแห่งความกตัญญูจะดึงดูด ผู้คน ความคิด และโอกาส  ด้วยใจที่สานึกคุณ เราสามารถได้รับพรที่ช่วยข้ามพ้นความขมขื่น ให้ยกมือที่แสดงถึงความกตัญญู กตเวที ไม่คาดหวัง และเต็มไปด้วยความสุขอย่างล้นเหลือ
  • 28. กฎแห่งความกตัญญูกตเวที (ต่อ)  ในตัวคนที่ขอบคุณ คือความรักและความสุขล้น เราอาจไขความลึกลับภายในด้วยท่าทีขอบคุณอย่าง ต่อเนื่อง ผู้ที่เต็มไปด้วยความขอบคุณ จะพบว่าตนเองสดชื่น และได้รับการเติมเต็ม เชื่อในพรของคุณ ทุกวันจนกว่าความสาเร็จจะเป็นของคุณ  ปีกของความกตัญญูกตเวที จะยกผู้ที่สิ้นหวังขึ้ นสู่สายลมแห่งความอุดมสมบูรณ์ เพื่อโบยบินเหนือ ความเจ็บปวดของชีวิต ไปสู่สถานที่แห่งความอุดมสมบูรณ์อันเป็นนิรันดร์  พูดขอบคุณผู้อื่น แล้วคุณจะได้เติมพลังลึกลับของจิตวิญญาณ
  • 29. 3. กฎแห่งความเชื่อ (The Law of Belief)  กฎแห่งความเชื่อเป็นกฎข้อที่สามและข้อสุดท้าย  พระผู้ทรงอานาจสร้างคุณด้วยจุดประสงค์ จงเชื่อในตัวคุณเอง สิ่งที่ดูเหมือนเป็นไปไม่ได้และไม่น่า เชื่อ เป็นเพียงศัตรูของศักยภาพของคุณเท่านั้น  พัฒนาศรัทธาที่ไม่สั่นคลอน แน่วแน่ และมั่นคงในความสามารถของคุณ โชคชะตาของคุณจะขยาย ออกไป เมื่อความเชื่อของคุณขยายออกไปไม่มีข้อจากัดในสิ่งที่เป็นไปได้สาหรับคุณ  ปล่อยให้ความเชื่อของคุณโบยบินเหมือนนกอินทรี คุณไม่สามารถสูงขึ้ นกว่าความเชื่อของคุณเอง  สิ่งสาคัญที่สุดคือ เมื่อคุณช่วยปลูกฝังความเชื่อในผู้อื่นด้วย นี่เป็นงานที่สาคัญที่สุด เพราะเมื่อมีความ เชื่อเพิ่มขึ้ น ไม่มีอะไรที่เป็ นไปไม่ได้
  • 30. ความลับ 9 ประการในการสร้างอนาคตที่ประสบความสาเร็จ  ไม่น่าแปลกใจเลยที่ 9 เคล็ดลับแห่งความสาเร็จนั้นตรงกันข้ามกับ 9 ข้อผิดพลาดแห่งความล้มเหลว ตามลาดับ มีดังนี้  1. ใช้ชีวิตตามความฝันของตัวเอง  2. ตระหนักถึงคุณค่าโดยธรรมชาติของคุณ  3. ปฏิเสธข้อแก้ตัว  4. ล้อมรอบตัวเองด้วยคนที่ใช่
  • 31. ความลับ 9 ประการในการสร้างอนาคตที่ประสบความสาเร็จ (ต่อ)  5. สารวจนอกเขตความสะดวกสบายของคุณ  6. ก้าวไปข้างหน้าผ่านความท้าทายด้วยความมุ่งมั่นและเป้าหมาย  7. โดดเด่น  8. ลงมือทาอย่างกล้าหาญด้วยความรู้ที่ว่า ศักยภาพสู่ความสาเร็จของคุณนั้นไร้ขีดจากัด  9. ทาตามเป้าหมายของคุณด้วยความเร่งด่วน
  • 33. บทเรียน 3 ข้อจากหนังสือ  1. การทาตามความฝันของคนอื่น การไม่รู้คุณค่าของตัวเอง และการใช้ชีวิตโดยมีข้อแก้ตัว เป็นความ ผิดพลาดที่เลวร้ายที่สุด 3 ประการที่คุณสามารถทาได้ (Working on someone else’s dream, not knowing your values, and living by excuses are three of the worst mistakes you can make.)  2. ปล่อยให้คนที่เป็นพิษในแวดวงของคุณ ไม่ออกจากเขตสบาย ๆ ของคุณ และยอมแพ้ง่ายเกินไป คือสิ่งที่คนไม่ประสบความสาเร็จทา (Allowing toxic people in your circle, not getting out of your comfort zone, and giving up too easily are what unsuccessful people do.)  3. อย่ากลัวที่จะแตกต่าง เรียนรู้ว่าทรัพยากรที่มีค่าที่สุดนั้นมีอยู่อย่างจากัด และเชื่อมั่นในหัวใจว่าคุณ จะประสบความสาเร็จ (Don’t be afraid to be different, learn that the most precious resources are finite, and believe in your heart that you will be successful.)
  • 34. บทเรียนข้อที่ 1: กาหนดค่านิยมของคุณ ทางานเพื่อตัวคุณเอง และทิ้งข้อแก้ตัวทั้งหมดของคุณ หากคุณ ต้องการความสาเร็จ  ข้อแก้ตัวเป็ นฆาตกรเงียบของความฝันทั้งหมดของคุณ คุณเคยได้ยินมาก่อนว่า ถ้าฉันมีเงินมากขึ้ น หรือฉันมีเวลามากขึ้ น หรือถ้าฉันสวยขึ้ น/แข็งแรงขึ้ น/ฉลาดขึ้ น/มีความคิดสร้างสรรค์มากขึ้ น/ฯลฯ  ถ้าโลกนี้ แตกต่างออกไป คุณก็สามารถเดินหน้าต่อไปตามความฝันและทาตามเป้าหมายของคุณได้  คุณไม่สามารถปล่อยให้สิ่งเหล่านั้นหยุดคุณจากความสาเร็จได้ ความสาเร็จไม่ใช่สิ่งที่เกิดขึ้ นใน สุญญากาศ แต่เป็นกระบวนการที่เปลี่ยนแปลงตลอดเวลาซึ่งเกี่ยวข้องกับตัวเลือกที่คุณเลือกทุกวัน มัน เกี่ยวกับว่าคุณเป็นใครและคุณยืนหยัดเพื่ออะไร ไม่ว่าใครจะคิดหรือพูดอะไรเกี่ยวกับเรื่องนี้ ก็ตาม
  • 35.  รู้คุณค่าของคุณให้ดีก่อนสิ่งอื่นใด คุณต้องกาหนดค่านิยมของคุณ (สิ่งที่สาคัญที่สุดสาหรับคุณ) จากนั้นทางานตามนั้นทุกวัน อย่าให้ใครบอกคุณเป็ นอย่างอื่น! ตัวอย่างเช่น หากคุณวาดภาพชีวิตที่ เต็มไปด้วยการเดินทาง อย่าให้โลกบอกคุณว่าคุณต้องทางาน 9-5 และอยู่ในเมืองเดียวกัน  สุดท้าย ให้แน่ใจว่าได้ทางานเพื่อความฝันของคุณเอง ไม่ใช่ของคนอื่น  ผู้ประพันธ์รู้ว่า คนที่ประสบความสาเร็จต่อสู้เพื่อภารกิจของพวกเขา ในขณะที่คนที่ล้มเหลวในการติด อยู่ในชีวิตที่มีชีวิตอยู่เพื่อคนอื่น รู้จักความฝันของคุณและลงมือทาเพื่อทาให้เป็นจริง!
  • 36. บทเรียนข้อที่ 2: คุณต้องออกจากเขตความสะดวกสบาย พบปะผู้คนเชิงบวก และเรียนรู้จากความ ล้มเหลวของคุณอยู่เสมอ  หากต้องการพบความสาเร็จ คุณต้องกาหนดความฝันและทางานด้วยตัวคุณเอง ซึ่งได้พิสูจน์แล้ว  แต่ถ้าคนรอบข้างคิดไม่เหมือนกันล่ะ? ที่พวกเขายอมรับแล้วว่าจะใช้ชีวิตตามความฝันของคนอื่น  คุณต้องหยุดให้คนเหล่านี้ บุกเข้ามาในแวดวงของคุณหรือทาให้คุณผิดหวัง จากสุภาษิตที่ว่า: แอปเปิ้ ล ที่ไม่ดีหนึ่งผลสามารถทาลายทั้งตะกร้าได้! นั่นใช้กับความสัมพันธ์เช่นกัน แม้ว่าคนที่คิดบวกและ สนับสนุนจะช่วยพยุงคุณขึ้ น แต่เพื่อนที่เป็ นพิษอาจเป็ นอันตรายต่อความฝันของคุณ
  • 37.  เมื่อคุณเรียนรู้ที่จะปล่อยวาง คุณมุ่งความสนใจไปที่การออกจากเขตสะดวกสบายของคุณ นั่นเป็นอีก แง่มุมที่จาเป็นในการฝึกฝนเพื่อความสาเร็จ หากคุณไม่เสี่ยง คุณจะติดอยู่กับความธรรมดาในชีวิต ของคุณตลอดไป การเสียใจกับชีวิตบนเตียงมรณะ ไม่ใช่สิ่งที่คนประสบความสาเร็จทากัน  หลังจากที่คุณออกจากเขตความสะดวกสบายแล้ว ความล้มเหลวมากมายจะเกิดขึ้ น เป็ นส่วนหนึ่งของ การเติบโตตามธรรมชาติ และคุณควรคาดหวังว่าจะล้มเหลว ถ้าคุณไม่ทา แสดงว่าคุณไม่ได้เรียนรู้ อะไรเลย ในขณะที่คุณล้มเหลว ให้จดบันทึกสิ่งที่นาไปสู่ความล้มเหลวนั้นและเรียนรู้จากมัน ลุกขึ้ น และลองใช้วิธีอื่น แต่อย่าท้อแท้ในความสามารถของคุณ
  • 38. บทเรียนข้อที่ 3: เวลาเป็ นทรัพยากรที่มีค่า ดังนั้นจงใช้มันให้เกิดประโยชน์สูงสุด โดยแสดงเรื่องราว ความสาเร็จของคุณให้โดดเด่น  คุณคงเคยได้ยินเรื่องราวของการที่ Steve Jobs ถูกไล่ออกจาก Apple ที่เขาถูกไล่ออกเพราะเขาไม่ เหมาะกับทีมที่เหลือ แต่เขาไม่ปล่อยให้ความล้มเหลวนั้นหยุดไม่ให้เขาสร้างหนึ่งในบริษัทที่ประสบ ความสาเร็จมากที่สุดในประวัติศาสตร์  คุณสามารถเรียนรู้อะไรจากสิ่งนี้ ความแตกต่างนั้นไม่เป็ นไร เมื่อคุณมีความฝันที่คนอื่นไม่เข้าใจ นั่น ไม่ได้หมายความว่าความคิดของคุณแย่!  คุณโดดเด่นเพราะคุณมีวิสัยทัศน์ที่แตกต่าง คนที่ประสบความสาเร็จมักจะพยายามขยายขอบเขต และพวกเขาไม่ปฏิบัติตามบรรทัดฐานของสังคม
  • 39.  แนวคิดหลักอีกประการหนึ่งที่ผู้ประพันธ์นาเสนอคือ หากคุณเชื่อว่าความสาเร็จมีจากัด คุณจะไม่มี ทางได้รับสิ่งที่คุณต้องการจากชีวิต (มีความเป็นไปได้ไม่จากัดจานวน สาหรับผู้ชนะหลายคน เพียงแต่คุณต้องเต็มใจทางานหนักพอที่จะหาให้พบ!)  และสุดท้าย: อย่าคิดว่าเวลาอยู่ข้างคุณ หากคุณต้องการบางสิ่งที่มากๆ อย่ารอช้า! ดาเนินการทันที และคิดแก้ปัญหาในภายหลังหากไม่ได้ผลตามที่วางแผนไว้ ด้วยวิธีนี้ คุณจะยังมีเวลาเหลืออีกมาก สาหรับสิ่งอื่นๆ ในชีวิต!  ทรัพยากรที่มีจากัด เช่นเวลาเป็นทรัพย์สินที่มีค่าที่สุดของคุณ
  • 40. สรุป  หนังสือเรื่อง The Book of Mistakes จะเปลี่ยนชีวิตของคุณให้ดีขึ้ นตลอดไป  หนังสือเล่มนี้ แสดงให้คุณเห็นถึงการใช้ชีวิตอย่างมีความหมาย และก้าวไปสู่ทิศทางความฝันของคุณ อย่างมั่นใจ โดยไม่ต้องกลัวความล้มเหลวหรือคาวิจารณ์  ผมขอแนะนาหนังสือเล่มนี้ ให้กับทุกคน ที่ต้องการดูแลรับผิดชอบชีวิตของตนเอง
  • 41. - Paul Bear Bryant