SlideShare a Scribd company logo
ครู มิใช่ ช่างปั้นอันวิจิตร
แต่ ต้องคิดวาดวางกางแผนผัง
ครู มิใช่ นายทุนหนุนกาลัง
ต้ องเก็งทั้งขาดทุนตุนกาไร
ครู มิใช่ พ่อค้ านายพาณิชย์
ดีดลูกคิดคาดการณ์ ด้านไหนไหน
แต่ ยงเป็ นผู้ค้าอย่ างเต็มใจ
     ั
ยอมขาดทุนตลอดไปชั่ วนิรันดร์
ครู มิใช่ นักปกครองช่ าชองศึก
แต่ กคึกคะนองปกปองขั้น
       ็                ้
ครู มิใช่ นักวิชาการเชี่ ยวชาญครัน
แต่ โชกโชนด้ วยผูกพันวิชาการ
ครู มิใช่ นักแสดงโลกแสงสี
แต่ สวมบททุกทีด้วยอาจหาญ
                      ่
ครู มิใช่ ผ้ ูกากับผู้บงการ
แต่ เฉียบขาดในแผนงานการบัญชา

ครู มิใช่ นักพากย์ ฝีปากจัด
แต่ สัมผัสการพากย์ยากจะหา
ครู มิใช่ ผ้ ูทรงศีลธรรมจรรยา
แต่ เมตตาแผ่ เผือเกือการุ ณย์
                   ่ ้
นี่แหละครู เป็ นได้ หลายสถาน
ทุกเหตุการณ์ ช่วยฉุ ดช่ วยอุดหนุน
ช่ วยเผือแผ่ แก้ ไขช่ วยคาจุน
        ่                ้
ผู้มีคุณเปี่ ยมแปรอย่ างแท้ จริง
* ผู้สร้ างคน *
เป็ นแสงธรรมนาทางสร้ างชีวต   ิ
เป็ นผู้คิดสื่ อสารงานศึกษา
เป็ นผู้ร้ ู ประสิ ทธิ์วทยา
                        ิ
เป็ นศาสตราคอยคุ้มครองผองเด็กไทย
ป็ นแม่ พมพ์กาหนดบทบาทศิษย์
              ิ
เป็ นผู้ชี้แนวชี วตทีฝันใฝ่
                    ิ ่
เป็ นผู้นาพาชาติปราศพิษภัย
ค่ ายิงใหญ่ เกินกล่ าวขานคืองานครู
      ่

การไหว้ ครู คิดถึงครู ผ้ สอนสั่ ง
                           ู
คุณครู ยงฝังจิตศิษย์ ไม่ หาย
           ั
ด้ วยมุ่งหมายให้ ศิษย์ ดีมีวชา
                             ิ
การไหว้ ครู คิดถึงครู เหนื่อยใจกาย
ดัวยมุ่งหมายให้ ศิษย์ ดีมีวชา  ิ
การไหว้ ครู คิดถึงครุ ผ้ ูเมตตา
เจตนาเรามั่นในคุณครู
นับแต่ นีศิษย์ฝึกตนตั้งต้ นใหม่
             ้
สารวมกายวาจาให้ แน่ นหนา
ไม่ ให้ ผดต่ อคุณครู ผ้ ูเมตตา
         ิ
ขอสั ญญาพุทธบุตรหยุดต่าทราม

ศิลปทั้งผองต้ องฝึ กหัด
ตามบรรทัดฐานเห็นเป็ นปฐม
วาทศิลป์ เลิศลาคานิยม
               ้
คมเหนือคมอาวุธใดในปฐพี
ครู อาจารย์ การพูดพิสูจน์ แล้ ว
อันดวงแก้วแจ่ มจารัสรัศมี
แต่ แรกมัวสลัวฝ้ าเหมือนราคี
เช็ดขัดดีขึนมาจึงน่ ายล
           ้
“ชีวตของคนเรานั้น…ไม่ ยาวเลย
       ิ
สู้ ก้อนกรวดก้ อนหินยังไม่ ได้
เกิดมาทั้งที ตั้งเข็มทิศให้ กบชีวต
                             ั ิ
กาหนดทิศทางของตัวเองให้ ชัดเจน
จะเดินไปสู่ จุดไหน ค้ นหาตังเองให้ ชัดเจน
จะเดินไปสู่ จุดไหน ค้ นหาตัวเองให้ เจอ
และพยายามดาเนินมุ่งไปสู่ จุดนั้นให้ ได้
และทีสาคัญอย่าประมาท…อย่าหลงตัวเอง
         ่
และอย่ าหยุดยั้งการศึกษาหาความรู้ อยู่ตลอดเวลา”


                                อยู่อย่ างไร
   อยู่อย่ างสั ตว์ นรก
   อยู่อย่ างอสู รกาย
   อยู่อย่ างเปรต
   อยู่อย่ างสั ตว์ เดรัจฉาน
   อยู่อย่ างมนุษย์
   อยู่อย่ างเทพ พรหม
   อยู่อย่ างพระอริยะ
คนทางาน
                                                    พัฒนางาน
ทางานด้ วยความหลง                                      = นรก
ทางานด้ วยความโลภ                                      = เปรต
ทางานด้ วยความกลัว                                     = อสู รกาย
ทางานด้ วยการบังคับ                                    = เดรัจฉาน
ทางานด้ วยหน้ าที่                                      = มนุษย์
ทางานด้ วยความดี                                       = อริยบุคคล
           - หัวไว              - หันดูทท่า
                                          ี
        - ใจสู้              - เบิ่งตาลังเล
                          - หันเหหัวดือ ้
                      - งอมือจับเจ่ า
                    -ไม่ เอาไหนเลย
เปาหมาย
  ้
      ตนเอง            ญาติ          ชาวโลก
                                คนที่ไม่ ต้องการ
คนพาลชอบเดินผิดทาง
วางผิดที่ ดีผดทา
               ิ
กล้าผิดถิ่น กินผิดของ
มองผิดจุด หยุดผิดกาล
ค้ านผิดเรื่อง เฟื่ องผิดวัย ใหญ่ผดวัด
                                  ิ


                                   หน้ าที่ของครู
         การศึกษาเป็ นเรื่องใหญ่ และสาคัญยิงของมนุษย์ คนเราเมื่อเกิดมาก็ได้ รับการสั่ ง
                                              ่
สอนจากบิดามารดาอันเป็ นความรู้ เบืองต้ น เมื่อเจริญเติบโตขึนก็เป็ นหน้ าทีของครู และ
                                       ้                      ้            ่
อาจารย์ สั่ งสอนให้ ได้ รับวิชาความรู้ สูงและอบรมจิตใจให้ ถึงพร้ อมด้ วยคุณธรรม เพือจะ
                                                                                   ่
ได้ เป็ นพลเมืองดีของชาติสืบต่ อไป งานของครู จึงเป็ นงานทีสาคัญยิง ท่านทั้งหลายซึ่งจะ
                                                                ่      ่
ออกไปทาหน้ าทีเ่ ป็ นครู จะต้ องตั้งมั่นอยู่ในหลักศีลธรรม และพยายามถ่ ายทอดวิชาความรู้
แก่ เด็กให้ ดีทสุดทีจะทาได้ นอกจากนี้ จงวางตนให้ สมกับทีเ่ ป็ นครุ ให้ นักเรียนมีความ
               ี่ ่
เคารพนับถือ และเป็ นทีเ่ ลือมใสไว้ วางใจของผู้ปกครองนักเรียนด้ วย
                            ่
                                                 พระบรมราโชวาท
                                                  ๑๓ ธันวาคม ๒๕๐๕

                                    ผู้สร้ างคน
              เป็ นแสงธรรมนาทางสร้ างชีวต
                                        ิ
เป็ นผู้คิดสื่ อสารงานศึกษา
เป็ นผู้ร้ ู ประสิ ทธิ์วทยา
                        ิ
เป็ นศาสตราคอยคุ้มครองผองเด็กไทย
เป็ นแม่ พมพ์กาหนดบทบาทศิษย์
               ิ
เป็ นผู้แนวชี วตทีฝันใฝ่
                   ิ ่
เป็ นผู้นาพาชาติปราศพิษภัย
ค่ ายิงใหญ่เกินกล่าวขานคืองาน ครู
      ่

                                    แม่ ปูสอนลูกลูกปู
                                   แม่ ปูสอนลูกปูดูอย่ างแม่
                                   ทั้งทีแท้ตัวเดินเกเทียวเฉไฉ
                                         ่              ่
                                   ลูกจะเดินตรงทางอย่ างไร
                                   จะสอนใครเริ่มต้ นสอนตนเอง !

                                   ครูดี ๔ คุณลักษณะ
๑. รู ปดี (รู ปัปฺปมาณิกฺ )
๒. เสี ยงดี ( โฆสั ปฺปมาณิกฺ )
๓. ประพฤติดี ( ลูขัปปมาณิกฺ )
                        ฺ
๔. รู้ ดี (ธัมฺมัปฺปมาณิกฺ )

           เปิ ดของทีปิด
                      ่
           หงายของทีควา่ ่
           บอกทางแก่คนหลงทาง
           จุดประทีปในความมืด
โวหาร ๔
๑. เทศนาโวหาร
๒. พรรณนาโวหาร
๓. สาธกโหาร
๔. อุปมาโวหาร


                                         ศิษย์ ๔ ชนิด
๑. หัวไวใจสู้               - บัวพ้นนา  ้
๒. รอดูจังหวะ               - บัวปริ่มนา  ้
๓. พอจะแนะนา                - บัวในนา ้
๔. ต้ อยต่าจายอม            - บัวติดตม
                            ( บัว ๔ เหล่ า )



                             รักโรงเรียนเหมือนบ้ าน
                            รักงานสอนเหมือนชีวต   ิ
                            รักลูกศิษย์ เหมือนลูกจริง

                                          วิธีการสอน
๑. ชี้หลัก          - สั นทัสฺสนา          - วิชาการ
๒. ชักชวน           - สมาทปนา              - พิธีกรรม
๓. ปลุกใจ           - สมุตฺเตชนา           - เกม
๔. ให้ เพลิน        - สั มฺปหังสนา         - เพลง
                                               ( ๔ ส. )
๑. รู้ จักเลือกทีสอน
                 ่
๒. รุ้ จักเลือกอุปกรณ์
๓. รู้ จักเลือกคนสอน
๔. รู้ จักเลือกเรื่องสอน
               ( ๔ สบาย )
หลักการสอน
๑. ปริยติ
       ั            ๐       สอนให้ ร้ ู จัก
๒. ปฏิบัติ          ๐       สอนให้ ร้ ู จริง
๓. ปฏิเวธ           ๐       สอนให้ ร้ ู แจ้ ง
                                           ( เปาหมาย )
                                               ้
๑.อิทธิปาฏิหาริย์
                ๐      ปราบแล้วสอน
๒. อาเทสฺ นาปากิหาริย์
                ๐      ปลุกแล้ วสอน
๓. อนุสาสนีปาฏิหาริย์
                ๐      ประโลมสอน
                                            (กลยุทธ์ )


                                          พึงใคร
                                            ่
จะหวังพึงพ่อแม่ กแย่จัด
          ่           ็
จะพึงวัดพระก็แย่ยากแก้ไข
    ่
จะพึงครู ครู กเ็ ลวเหลวแหลกไป
        ่
จะพึงใครกันดีหนอ ?
      ่
                   ( ท้อใจจริง ! )

                                            นักสู้
         นักสู้ …ใครว่าเป็ นกันได้ ง่ายๆ มันต้ องพร้ อมทั้งใจและกายทีเดียว ทุคนมีท้งความ
                                                                                   ั
ดีและความชั่ วอยู่ในตัวด้ วยกันทั้งนั้น เรามีหน้ าทีเ่ พียงทาเหตุเฉพาะหน้ าให้ ดีทสุดเท่ านั้น
                                                                                  ี่
ส่ วนผลก้ จะเกิดขึนเองตามเหตุปัจจัย อย่ าคิดว่ าสิ่ งทีทานั้นเป็ นการทาเพือคนอืน หรือ
                  ้                                    ่                  ่    ่

เพราะคนอืนไม่ ทา หรือเพราะคนอืนใชให้ ทา ข้ อสาคัญทีสุด อย่ าคิดว่ าทีต้องทาหรือไม่
         ่                    ่                    ่                 ่
ต้ องทานั้น เป็ นเพราะคนอืนจะพอใจหรือไม่ พอใจ
                          ่

         ดังนั้นเปาหมายของการเป็ น นักสู้ คือ … ต้ องหาทางออกทีดทสุดให้ ได้
                  ้                                            ่ ี ี่
ก้าวต่ อไป
ก้ าวต่ อไปต่ อไปอย่ าได้ หยุด

แม้ สะดุดล้ มลงไปอย่ าใจฝ่ อ

เป็ นนักสู้ ต้องสู้ สิอย่ ารีรอ

อย่าย่อท้อหนทางยาวทีก้าวไป
                    ่

โน่ นจุดหมายปลายทางอยู่ข้างหน้ า

จะเหินฟาข้ ามเขาเอาให้ ได้
       ้

มิหวันพลาดมิหวาดแพ้มิแคร์ ภัย
     ่

มิหวันใจมิหวันจิตสั กนิดเดียว
     ่       ่

                                  สังคมไทย
สั งคมไทยจะดารงคงอยู่ได้

เพราะคนไทยคอยปกปักเฝ้ ารักษา

บารุ งชาติศาสน์ กษัตริ์พฒนา
                        ั

รวมอาสาพัฒนาจิตใจไทยทั้งปวง

ปัญหาความยากจนคนยากไร้

ปัญหาความยากจนคนยากไร้

ปัญหาความเจ็บไข้ ภัยใหญ่หลวง

ปัญหาศีลธรรมด้ อยคอยหลอกลวง

น่ าเป็ นห่ วงอนาคตหรือหมดทาง
แผ่ นดินทอง
                        ต้ องสร้ างด้ วย
                        แผ่ นดินธรรม
                        ในแผ่ นไทย
                        ทีมใช่ …
                           ่ ิ
                                  แผ่ นดินทาส
ภายใต้ ดวงอาทิตย์นี้…
ไม่ มีอะไรทีน่าเสี ยใจไปยิงกว่า…
            ่             ่
การเสี ยเวลาไปทั้งวัน…
โดยตัวท่าน…
ไม่ ได้ ทาอะไรเลย…


               * บันไดสู่ ความเป็ นดาว *
   เตรียมให้ พร้ อม
   ฝึ กซ้ อมให้ ดี
   ท่าทีให้ สง่ า
   หน้ าตาให้ สุขุม
   ทักทีประชุ มอย่ าวกวน
           ่
   เริ่มต้ นให้ โน้ มน้ าว
   เรื่องราวให้ กระชับ
   ตาจับทีผ้ ูฟัง
              ่
   เสี ยงดังแต่ พอดี
   อย่ามีเอ้ออ้า
   ดูเวลาพอครบ
   สรุ ปจบให้ จับใจ
   ยิมแย้ มแจ่ มใสตลอดการพูด
       ้
อย่ า…อย่ า…อย่ า
อย่าคิดว่าตัวท่านนั้นอ่อนแอ
หรือคิดแต่ ท้อแท้และแพ้พ่าย
จงคิดว่าจะแข็งแกร่ งขึนเรื่อยไป
                        ้
แกร่ งทั้งกายและจิตใจไม่ พรั่นพรึง
อย่าร้ อนรนค้ นหาความลาบาก
จนกว่ าความทุกย์ ยากจะมาถึง
ถ้ าวิตกทุกข์ ร้อนนอนราพึง
เมื่อทุกข์ ถึงทุกข์ ทบทวีคุณ
                     ั
อย่าแบกโลกเอาไว้ให้ หนักบ่ า
อย่ากลัวว่าอนาคตไม่ สดใส
อยู่ให้ สุขแต่ ละวันผันผ่ านไป
เก็บแรงใจไว้แก้ไขเมื่อภัยมา


                             ผู้นา
นารู้ นาทา นาคิด คือชี วตของเราผู้นา
                        ิ
นารู้ นาคิด นาทา ๆ จะเป็ นผู้นาต้ องจาเอาไปคิด

         นาตน นาคน นางาน
         พัฒนาการ สั งคม เศรษฐกิจ
         ทาอะไร อย่าให้ หลงผิด ๆ
         สาคัญทีจิตต้ องมีคุณธรรม ( ซ้า )
                   ่
ครองตน ครองคน ครองงาน
มีอุดุมการณ์ อยู่เป็ นประจา
ทาอะไรอย่าให้ ตกต่า ๆ
มีคุณธรรมประจาจิตใจ ( ซ้า )
แบ่ งทาไม
แบ่ งพวก              ทาให้ เสี ยรัก
แบ่ งพรรค             ทาให้ เสี ยสามัคคี
แบ่ งทั้งพวกทั้งพรรค เสี ยทั้ง
ความรักและความสามัคคี


                           จน ๔ อย่ าง
๑. จนตรอกไม่ มีทางไป
๒. จนใจไม่ มีทางคิด
๓. จนแต้ มไม่ มีทางเดิน
๔. จนมุมไม่ มีทางหนี


                         ผู้ชนะที่แท้ จริง
ผู้ทชนะคนอืนเป็ น ๆ ในสงคราม
    ี่          ่
ไม่ จัดว่ าเป็ นผู้ชนะทีแท้ จริง
                        ่
แต่ ผ้ ูทชนะ (ใจ ) ตนเองได้
         ี่
นับว่ าเป็ นผู้ชนะสงครามทียอดเยียม
                               ่ ่




        เราจะทาในสิ่ งทีผ้ ูอน
                        ่ ื่
        เราจะอดทนในสิ่ งทีผ้ ูอน
                               ่ ื่       ทาได้ ยาก
        เราจะสละในสิ่ งทีผ้ อน
                            ่ ู ื่        สละได้ ยาก
        เราจะเอาชนะในสิ่ งทีผ้ ูอน ่ ื่   ชนะได้ ยาก
        ทีสาคัญคือ
          ่
            การชนะ                          ตนเอง
พระสัมมาสัมพุทธเจ้ าตรัสว่า
  อตตา หเว ชิต เสยโย
    “ ชนะตนนีแลดีกว่า ”
             ้

          การฟังทีฉลาด
                     ่
                 
             อย่าพึงเชื่อ
                   ่
                 
            อย่าปฏิเสธ
                 
               จดจา
                 
      ศึกษา , ค้ นคว้า
                 
     หาข้ อมูล , เหตุผล
                 
      ปฏิบัติ , ทดลอง
                 
    จนรู้ ว่าอะไรถูกอะไรผิด

            การศึกษา
การศึกษา    เป็ นพืนฐานของชีวต
                     ้           ิ
 การศึกษา   เน้ นความคิดมีเหตุผล
การศึกษา     พัฒนาค่ าของคน
การศึกษา     เริ่มฝึ กฝนคนให้ ดี
การศึกษา    ต้ องศึกษาอย่ าหยุดยั้ง
การศึกษา    ต้ องปลูกฝังเรื่องศักดิ์ศรี
การศึกษา    ต้ องฝึ กใจไร้ ราคี
การศึกษา    ต้ องมุ่งทีความเป็ นคน
                       ่
การศึกษา    ต้ องใฝ่ หาความถูกต้ อง
การศึกษา    พึงหมายปองบุญกุศล
การศึกษา    ต้ องสานึกฝึ กทีตน
                             ่
การศึกษา    ต้ องหลุดพ้ นอวิชชา
“มุ่ งหาความรู้ เชิ ดชู ความเป็ นไทย หลีกไกลอบายมุข”


                     ขอโทษ
         การขอโทษมิใช่ การพ่ายแพ้
         จะเป็ นความอ่อนแอก็หาไม่
         การขอโทษคีอการชนะใจ
         เป็ นความกล้ าอันยิงใหญ่ ของมนุษย์
                            ่


                    หนึ่งนาที
               การอบรมบ่ มนิสัยให้ ศิษย์น้ัน
                  เพียงวันละนาทีกดีถม  ็
                 ศิษย์จะดีมีชื่อหรือล่มจม
            อาจเป็ นเพราะอบรมหนึ่งนาที
                    ศิษย์ดี ดูทครู ดี
                                    ี่
                     ครู ดี ดูทศิษย์ ดี
                                 ี่
            ถิ่นไทยในป่ ากว้าง ห่ างไกล
       แสงวัฒนธรรมใด ส่ องบ้ าง
       เห็นเทียนอยู่ราไร เล่มหนึ่ง
       ครู น้ ันแหละอาจสร้ าง เสกให้ ชัชวาลย์


                หลอก หลอก หลอก
       เราอาจหลอกคนได้ บางคน
       เราอาจหลอกคนได้ บาวครั้ง
       เราอาจหลอกคนบางคนได้ ทุกครั้ง
       แต่ เราไม่ อาจหลอกคนทุกคนได้ ทุกครั้ง
       ความหายนะของชีวต คือ ี
       แม้ เราเริ่มหลอกแม้ กระทัง … ตัวเอง
                                ่
เด็กวันนี้
                  เด็กวันนีคือผู้ใหญ่ ในวันหน้ า
                             ้
             ทาทีท่าแม้ นละม้ ายคล้ายพ่อแม่
             ผู้ใหญ่ ดีเด็กก็งามตามเหล่ ากอ
             ผู้ใหญ่ บ้าเด็กก็บอพอพอกัน

                          ยิมดี 4 อย่ าง
                            ้
                      เขาโกรธ เรายิมเขาแย่
                                      ้
                      เราโกรธ เขายิมเราเเย่
                                    ้
                      เขาโกรธ เราโกรธ ต่ างแย่
                      เขายิม เรายิม สบายแน่
                           ้      ้
                              รู้ 4 อย่ าง
                 รู้ เรี่อง          รู้ สึก
                 รู้ สานึก           รู้ กระทา

                   กระบวนการฝึ กอบรม
            ละลายพฤติกรรมมนุษย์
            จุดประกายความคิด
            สะกิดความรู้ สึก
            ปลูกสานึกคุณธรรม
            นาสู่ คุณภาพชี วต
                             ิ

        หนทางยังยาวไกล
        รีบเติมไฟเพือต่ อสู้
                      ่
        ความกล้ าพอมีอยู่
        ไยสู เจ้ าจึงหมดแรง
หลักชัยทีเ่ ราหมาย
อย่าหลงไหลทาให้ แจ้ ง
วันเดือนเลือนเปลียนแปลง
             ่      ่
ชีวตเราก็โรยรา
   ิ
ฮึดสู้ กนอีกใหม่
        ั
โถมกายให้ แกร่ งกล้า
มุ่งมั่นในศรัทธา
เพือเสริมแรงพลังใจ
    ่


                   เติบโต
                   ให้ เธอเติบโตด้ วยความกล้า
        ก้าวไปข้ างหน้ าฝ่ าพงหนาม
        ดวงใจมิหยุดพยายาม
        กล้าจักเดินตามหนทางตน
                   ให้ เธอเติบโตดด้ วยความคิด
        เรียนรู้ ชีวตทุกแห่ งหน
                     ิ
        ตรองด้ วยปัญญาอันแยบนล
        “รู้ คิด รู้ ค้น รู้ ตนเอง”


                   วิถชีวต
                      ี ิ
                    การผ่านการพบการหลบหลีก
        ไม่ ใช่ เพียงเป็ นแค่ ความเคลือนไหว่
        จากก้ าวทุกก้ าวทียาวไกล
                             ่
        กลายเป็ นวึยเป็ นวิถแห่ งชีวต    ิ
                    ปวดร้ าวเป็ นทุกข์ สนุกสนาน
        มีการก้ าวถูกและก้ าวผิด
        ต้ องการดวงเทียนและเข็มทิศ
        เพือพิชิตทางชัยในชีวี
            ่
                    ต้ องมีความรู้ ค่ ูความคิด
        เป็ นเข็มทิศดวงเทียนสองวิถี
        ต้ องมีความรู้ ค่ ูความดี
        เพือชีพนีมีค่าและงดงาม
              ่     ้

More Related Content

What's hot

คู่มือวิทยากรโครงการอบรมคุณธรรม ค่ายพุทธบุตร
คู่มือวิทยากรโครงการอบรมคุณธรรม ค่ายพุทธบุตรคู่มือวิทยากรโครงการอบรมคุณธรรม ค่ายพุทธบุตร
คู่มือวิทยากรโครงการอบรมคุณธรรม ค่ายพุทธบุตร
niralai
 
บทสรภัญญะบูชาพระคุณบิดามารดา
บทสรภัญญะบูชาพระคุณบิดามารดาบทสรภัญญะบูชาพระคุณบิดามารดา
บทสรภัญญะบูชาพระคุณบิดามารดา
niralai
 
รวมบทกลอนสำหรับงานค่าย1
รวมบทกลอนสำหรับงานค่าย1รวมบทกลอนสำหรับงานค่าย1
รวมบทกลอนสำหรับงานค่าย1
niralai
 
พิธีมอบตัวเป็นศิษย์
พิธีมอบตัวเป็นศิษย์พิธีมอบตัวเป็นศิษย์
พิธีมอบตัวเป็นศิษย์
niralai
 
บทบรรยายรายการขอขมาบูชาครู3
บทบรรยายรายการขอขมาบูชาครู3บทบรรยายรายการขอขมาบูชาครู3
บทบรรยายรายการขอขมาบูชาครู3
niralai
 
พิธีจุดเทียนแด่แม่ร่วมกับจุดเทียนอุดมการณ์(ฉากสุดท้ายของชีวิต)
พิธีจุดเทียนแด่แม่ร่วมกับจุดเทียนอุดมการณ์(ฉากสุดท้ายของชีวิต)พิธีจุดเทียนแด่แม่ร่วมกับจุดเทียนอุดมการณ์(ฉากสุดท้ายของชีวิต)
พิธีจุดเทียนแด่แม่ร่วมกับจุดเทียนอุดมการณ์(ฉากสุดท้ายของชีวิต)
niralai
 
คำปฎิญาณพิธีจุดเทียนปัญญา2
คำปฎิญาณพิธีจุดเทียนปัญญา2คำปฎิญาณพิธีจุดเทียนปัญญา2
คำปฎิญาณพิธีจุดเทียนปัญญา2
niralai
 
คำปฎิญาณพิธีจุดเทียนอุดมการณ์
คำปฎิญาณพิธีจุดเทียนอุดมการณ์คำปฎิญาณพิธีจุดเทียนอุดมการณ์
คำปฎิญาณพิธีจุดเทียนอุดมการณ์
niralai
 
คำคมคารมธรรม
คำคมคารมธรรมคำคมคารมธรรม
คำคมคารมธรรม
niralai
 
สรุป หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน51
สรุป หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน51สรุป หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน51
สรุป หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน51
Watcharapon Donpakdee
 
พิธีจุดเทียนแด่แม่ร่วมกับจุดเทียนปัญญา
พิธีจุดเทียนแด่แม่ร่วมกับจุดเทียนปัญญาพิธีจุดเทียนแด่แม่ร่วมกับจุดเทียนปัญญา
พิธีจุดเทียนแด่แม่ร่วมกับจุดเทียนปัญญา
niralai
 
คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์
คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์
คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์
niralai
 
คำคมคารมปราชญ์
คำคมคารมปราชญ์คำคมคารมปราชญ์
คำคมคารมปราชญ์
niralai
 
บทกลอนเกี่ยวกับครู
บทกลอนเกี่ยวกับครูบทกลอนเกี่ยวกับครู
บทกลอนเกี่ยวกับครู
niralai
 
อำลา อาลัย จากใจครู
อำลา  อาลัย  จากใจครูอำลา  อาลัย  จากใจครู
อำลา อาลัย จากใจครู
นายสมหมาย ฉิมมาลี
 
บทกลอนแด่แม่
บทกลอนแด่แม่บทกลอนแด่แม่
บทกลอนแด่แม่
niralai
 
วรรคทองในวรรณคดี
วรรคทองในวรรณคดีวรรคทองในวรรณคดี
วรรคทองในวรรณคดี
kingkarn somchit
 
โคลงโลกนิติ
โคลงโลกนิติโคลงโลกนิติ
โคลงโลกนิติพัน พัน
 

What's hot (20)

คู่มือวิทยากรโครงการอบรมคุณธรรม ค่ายพุทธบุตร
คู่มือวิทยากรโครงการอบรมคุณธรรม ค่ายพุทธบุตรคู่มือวิทยากรโครงการอบรมคุณธรรม ค่ายพุทธบุตร
คู่มือวิทยากรโครงการอบรมคุณธรรม ค่ายพุทธบุตร
 
บทสรภัญญะบูชาพระคุณบิดามารดา
บทสรภัญญะบูชาพระคุณบิดามารดาบทสรภัญญะบูชาพระคุณบิดามารดา
บทสรภัญญะบูชาพระคุณบิดามารดา
 
รวมบทกลอนสำหรับงานค่าย1
รวมบทกลอนสำหรับงานค่าย1รวมบทกลอนสำหรับงานค่าย1
รวมบทกลอนสำหรับงานค่าย1
 
พิธีมอบตัวเป็นศิษย์
พิธีมอบตัวเป็นศิษย์พิธีมอบตัวเป็นศิษย์
พิธีมอบตัวเป็นศิษย์
 
บทบรรยายรายการขอขมาบูชาครู3
บทบรรยายรายการขอขมาบูชาครู3บทบรรยายรายการขอขมาบูชาครู3
บทบรรยายรายการขอขมาบูชาครู3
 
พิธีจุดเทียนแด่แม่ร่วมกับจุดเทียนอุดมการณ์(ฉากสุดท้ายของชีวิต)
พิธีจุดเทียนแด่แม่ร่วมกับจุดเทียนอุดมการณ์(ฉากสุดท้ายของชีวิต)พิธีจุดเทียนแด่แม่ร่วมกับจุดเทียนอุดมการณ์(ฉากสุดท้ายของชีวิต)
พิธีจุดเทียนแด่แม่ร่วมกับจุดเทียนอุดมการณ์(ฉากสุดท้ายของชีวิต)
 
คำปฎิญาณพิธีจุดเทียนปัญญา2
คำปฎิญาณพิธีจุดเทียนปัญญา2คำปฎิญาณพิธีจุดเทียนปัญญา2
คำปฎิญาณพิธีจุดเทียนปัญญา2
 
คำปฎิญาณพิธีจุดเทียนอุดมการณ์
คำปฎิญาณพิธีจุดเทียนอุดมการณ์คำปฎิญาณพิธีจุดเทียนอุดมการณ์
คำปฎิญาณพิธีจุดเทียนอุดมการณ์
 
กลอน
กลอนกลอน
กลอน
 
คำคมคารมธรรม
คำคมคารมธรรมคำคมคารมธรรม
คำคมคารมธรรม
 
สรุป หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน51
สรุป หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน51สรุป หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน51
สรุป หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน51
 
พิธีจุดเทียนแด่แม่ร่วมกับจุดเทียนปัญญา
พิธีจุดเทียนแด่แม่ร่วมกับจุดเทียนปัญญาพิธีจุดเทียนแด่แม่ร่วมกับจุดเทียนปัญญา
พิธีจุดเทียนแด่แม่ร่วมกับจุดเทียนปัญญา
 
คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์
คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์
คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์
 
คำคมคารมปราชญ์
คำคมคารมปราชญ์คำคมคารมปราชญ์
คำคมคารมปราชญ์
 
แหล่ลา
แหล่ลาแหล่ลา
แหล่ลา
 
บทกลอนเกี่ยวกับครู
บทกลอนเกี่ยวกับครูบทกลอนเกี่ยวกับครู
บทกลอนเกี่ยวกับครู
 
อำลา อาลัย จากใจครู
อำลา  อาลัย  จากใจครูอำลา  อาลัย  จากใจครู
อำลา อาลัย จากใจครู
 
บทกลอนแด่แม่
บทกลอนแด่แม่บทกลอนแด่แม่
บทกลอนแด่แม่
 
วรรคทองในวรรณคดี
วรรคทองในวรรณคดีวรรคทองในวรรณคดี
วรรคทองในวรรณคดี
 
โคลงโลกนิติ
โคลงโลกนิติโคลงโลกนิติ
โคลงโลกนิติ
 

Similar to กลอนครูและคำคม

ครูมิใช่ช่างปั้นอันวิจิตร
ครูมิใช่ช่างปั้นอันวิจิตรครูมิใช่ช่างปั้นอันวิจิตร
ครูมิใช่ช่างปั้นอันวิจิตร
niralai
 
ครูเอี้ยงสมัยนานมาแล้ว
ครูเอี้ยงสมัยนานมาแล้วครูเอี้ยงสมัยนานมาแล้ว
ครูเอี้ยงสมัยนานมาแล้วครู เอี้ยง
 
ความหมายของครู
ความหมายของครูความหมายของครู
ความหมายของครู
niralai
 
เล่าสู่กันฟัง
เล่าสู่กันฟังเล่าสู่กันฟัง
เล่าสู่กันฟังIct Krutao
 
โทรทัศน์ครูเพื่อครูมืออาชีพ
โทรทัศน์ครูเพื่อครูมืออาชีพโทรทัศน์ครูเพื่อครูมืออาชีพ
โทรทัศน์ครูเพื่อครูมืออาชีพKobwit Piriyawat
 
เล่าสู่กันฟัง
เล่าสู่กันฟังเล่าสู่กันฟัง
เล่าสู่กันฟังIct Krutao
 
ศึกษาวิถีธรรมวิถีพุทธ
ศึกษาวิถีธรรมวิถีพุทธศึกษาวิถีธรรมวิถีพุทธ
ศึกษาวิถีธรรมวิถีพุทธ
niralai
 
บทบรรยายรายการขอขมาบูชาครู5
บทบรรยายรายการขอขมาบูชาครู5บทบรรยายรายการขอขมาบูชาครู5
บทบรรยายรายการขอขมาบูชาครู5
niralai
 
การอสอนประวัติศาสตร์
การอสอนประวัติศาสตร์การอสอนประวัติศาสตร์
การอสอนประวัติศาสตร์teacherhistory
 
มาลาบูชาครู
มาลาบูชาครูมาลาบูชาครู
มาลาบูชาครู
niralai
 
สรุปแบบย้อนกลับ แก้ไขด้วย
สรุปแบบย้อนกลับ แก้ไขด้วยสรุปแบบย้อนกลับ แก้ไขด้วย
สรุปแบบย้อนกลับ แก้ไขด้วยkrunakhonch
 
โครงงานสุขภาพส่งเสริมคุณธรรม
โครงงานสุขภาพส่งเสริมคุณธรรมโครงงานสุขภาพส่งเสริมคุณธรรม
โครงงานสุขภาพส่งเสริมคุณธรรม
tassanee chaicharoen
 
บทนมัสการมาตาปิตุคุณ1
บทนมัสการมาตาปิตุคุณ1บทนมัสการมาตาปิตุคุณ1
บทนมัสการมาตาปิตุคุณ1Mameaw Pawa
 
สัญญาใจค่ายจริยธรรม
สัญญาใจค่ายจริยธรรมสัญญาใจค่ายจริยธรรม
สัญญาใจค่ายจริยธรรม
niralai
 
สาส์นนิเทศศาสตร์
สาส์นนิเทศศาสตร์สาส์นนิเทศศาสตร์
สาส์นนิเทศศาสตร์
Nattapong Manlee
 
พุทธวิธีในการสอน พระพรหมคุณาภรณ์(ป.อ.ปยุตฺโต)
พุทธวิธีในการสอน พระพรหมคุณาภรณ์(ป.อ.ปยุตฺโต) พุทธวิธีในการสอน พระพรหมคุณาภรณ์(ป.อ.ปยุตฺโต)
พุทธวิธีในการสอน พระพรหมคุณาภรณ์(ป.อ.ปยุตฺโต)
niralai
 
นิว.Pdf
นิว.Pdfนิว.Pdf
นิว.PdfAwantee
 

Similar to กลอนครูและคำคม (20)

ครูมิใช่ช่างปั้นอันวิจิตร
ครูมิใช่ช่างปั้นอันวิจิตรครูมิใช่ช่างปั้นอันวิจิตร
ครูมิใช่ช่างปั้นอันวิจิตร
 
ครูเอี้ยงสมัยนานมาแล้ว
ครูเอี้ยงสมัยนานมาแล้วครูเอี้ยงสมัยนานมาแล้ว
ครูเอี้ยงสมัยนานมาแล้ว
 
ความหมายของครู
ความหมายของครูความหมายของครู
ความหมายของครู
 
เล่าสู่กันฟัง
เล่าสู่กันฟังเล่าสู่กันฟัง
เล่าสู่กันฟัง
 
โทรทัศน์ครูเพื่อครูมืออาชีพ
โทรทัศน์ครูเพื่อครูมืออาชีพโทรทัศน์ครูเพื่อครูมืออาชีพ
โทรทัศน์ครูเพื่อครูมืออาชีพ
 
เล่าสู่กันฟัง
เล่าสู่กันฟังเล่าสู่กันฟัง
เล่าสู่กันฟัง
 
ศึกษาวิถีธรรมวิถีพุทธ
ศึกษาวิถีธรรมวิถีพุทธศึกษาวิถีธรรมวิถีพุทธ
ศึกษาวิถีธรรมวิถีพุทธ
 
บทบรรยายรายการขอขมาบูชาครู5
บทบรรยายรายการขอขมาบูชาครู5บทบรรยายรายการขอขมาบูชาครู5
บทบรรยายรายการขอขมาบูชาครู5
 
การอสอนประวัติศาสตร์
การอสอนประวัติศาสตร์การอสอนประวัติศาสตร์
การอสอนประวัติศาสตร์
 
การอสอนประวัติศาสตร์
การอสอนประวัติศาสตร์การอสอนประวัติศาสตร์
การอสอนประวัติศาสตร์
 
มาลาบูชาครู
มาลาบูชาครูมาลาบูชาครู
มาลาบูชาครู
 
m3thai51
m3thai51m3thai51
m3thai51
 
สรุปแบบย้อนกลับ แก้ไขด้วย
สรุปแบบย้อนกลับ แก้ไขด้วยสรุปแบบย้อนกลับ แก้ไขด้วย
สรุปแบบย้อนกลับ แก้ไขด้วย
 
โครงงานสุขภาพส่งเสริมคุณธรรม
โครงงานสุขภาพส่งเสริมคุณธรรมโครงงานสุขภาพส่งเสริมคุณธรรม
โครงงานสุขภาพส่งเสริมคุณธรรม
 
บทนมัสการมาตาปิตุคุณ1
บทนมัสการมาตาปิตุคุณ1บทนมัสการมาตาปิตุคุณ1
บทนมัสการมาตาปิตุคุณ1
 
สัญญาใจค่ายจริยธรรม
สัญญาใจค่ายจริยธรรมสัญญาใจค่ายจริยธรรม
สัญญาใจค่ายจริยธรรม
 
พิธีไหว้ครู
พิธีไหว้ครูพิธีไหว้ครู
พิธีไหว้ครู
 
สาส์นนิเทศศาสตร์
สาส์นนิเทศศาสตร์สาส์นนิเทศศาสตร์
สาส์นนิเทศศาสตร์
 
พุทธวิธีในการสอน พระพรหมคุณาภรณ์(ป.อ.ปยุตฺโต)
พุทธวิธีในการสอน พระพรหมคุณาภรณ์(ป.อ.ปยุตฺโต) พุทธวิธีในการสอน พระพรหมคุณาภรณ์(ป.อ.ปยุตฺโต)
พุทธวิธีในการสอน พระพรหมคุณาภรณ์(ป.อ.ปยุตฺโต)
 
นิว.Pdf
นิว.Pdfนิว.Pdf
นิว.Pdf
 

More from niralai

334กุศลกรรมบถ10
334กุศลกรรมบถ10334กุศลกรรมบถ10
334กุศลกรรมบถ10
niralai
 
332วันอาสาฬหบูชา
332วันอาสาฬหบูชา332วันอาสาฬหบูชา
332วันอาสาฬหบูชา
niralai
 
331วันเข้าพรรษา
331วันเข้าพรรษา331วันเข้าพรรษา
331วันเข้าพรรษา
niralai
 
338มารยาทไทย
338มารยาทไทย338มารยาทไทย
338มารยาทไทย
niralai
 
337ประวัติพระพุทธศาสนา
337ประวัติพระพุทธศาสนา337ประวัติพระพุทธศาสนา
337ประวัติพระพุทธศาสนา
niralai
 
335เข้าใจในมิตร(มิตรแท้ มิตรเทียม)
335เข้าใจในมิตร(มิตรแท้ มิตรเทียม)335เข้าใจในมิตร(มิตรแท้ มิตรเทียม)
335เข้าใจในมิตร(มิตรแท้ มิตรเทียม)
niralai
 
336เบญจศีล
336เบญจศีล336เบญจศีล
336เบญจศีล
niralai
 
340วัฒนธรรมชาวพุทธ
340วัฒนธรรมชาวพุทธ340วัฒนธรรมชาวพุทธ
340วัฒนธรรมชาวพุทธ
niralai
 
339ระวังอย่าให้อาย!
339ระวังอย่าให้อาย!339ระวังอย่าให้อาย!
339ระวังอย่าให้อาย!
niralai
 
345สถานการณ์วัยรุ่นไทย
345สถานการณ์วัยรุ่นไทย345สถานการณ์วัยรุ่นไทย
345สถานการณ์วัยรุ่นไทย
niralai
 
344สถานการณ์เด็กและเยาวชน ดร.อมรวิศ
344สถานการณ์เด็กและเยาวชน ดร.อมรวิศ344สถานการณ์เด็กและเยาวชน ดร.อมรวิศ
344สถานการณ์เด็กและเยาวชน ดร.อมรวิศ
niralai
 
343ศิลปการพูด
343ศิลปการพูด343ศิลปการพูด
343ศิลปการพูด
niralai
 
342วิธีสร้างสุข5
342วิธีสร้างสุข5342วิธีสร้างสุข5
342วิธีสร้างสุข5
niralai
 
341วันออกพรรษา
341วันออกพรรษา341วันออกพรรษา
341วันออกพรรษา
niralai
 
346สังคมศึกษา ป.3 เรื่องวันเข้าพรรษา
346สังคมศึกษา ป.3 เรื่องวันเข้าพรรษา346สังคมศึกษา ป.3 เรื่องวันเข้าพรรษา
346สังคมศึกษา ป.3 เรื่องวันเข้าพรรษา
niralai
 
347สังคมศึกษา ป.5สมบัติของผู้ดี
347สังคมศึกษา ป.5สมบัติของผู้ดี347สังคมศึกษา ป.5สมบัติของผู้ดี
347สังคมศึกษา ป.5สมบัติของผู้ดี
niralai
 
348สังคมศึกษา วันสำคัญทางศาสนาพุทธ12
348สังคมศึกษา วันสำคัญทางศาสนาพุทธ12348สังคมศึกษา วันสำคัญทางศาสนาพุทธ12
348สังคมศึกษา วันสำคัญทางศาสนาพุทธ12
niralai
 
350สารานิยธรรม6
350สารานิยธรรม6350สารานิยธรรม6
350สารานิยธรรม6
niralai
 
349สังคหวัตถุ4
349สังคหวัตถุ4349สังคหวัตถุ4
349สังคหวัตถุ4
niralai
 
351หน้าที่ชาวพุทธ3
351หน้าที่ชาวพุทธ3351หน้าที่ชาวพุทธ3
351หน้าที่ชาวพุทธ3
niralai
 

More from niralai (20)

334กุศลกรรมบถ10
334กุศลกรรมบถ10334กุศลกรรมบถ10
334กุศลกรรมบถ10
 
332วันอาสาฬหบูชา
332วันอาสาฬหบูชา332วันอาสาฬหบูชา
332วันอาสาฬหบูชา
 
331วันเข้าพรรษา
331วันเข้าพรรษา331วันเข้าพรรษา
331วันเข้าพรรษา
 
338มารยาทไทย
338มารยาทไทย338มารยาทไทย
338มารยาทไทย
 
337ประวัติพระพุทธศาสนา
337ประวัติพระพุทธศาสนา337ประวัติพระพุทธศาสนา
337ประวัติพระพุทธศาสนา
 
335เข้าใจในมิตร(มิตรแท้ มิตรเทียม)
335เข้าใจในมิตร(มิตรแท้ มิตรเทียม)335เข้าใจในมิตร(มิตรแท้ มิตรเทียม)
335เข้าใจในมิตร(มิตรแท้ มิตรเทียม)
 
336เบญจศีล
336เบญจศีล336เบญจศีล
336เบญจศีล
 
340วัฒนธรรมชาวพุทธ
340วัฒนธรรมชาวพุทธ340วัฒนธรรมชาวพุทธ
340วัฒนธรรมชาวพุทธ
 
339ระวังอย่าให้อาย!
339ระวังอย่าให้อาย!339ระวังอย่าให้อาย!
339ระวังอย่าให้อาย!
 
345สถานการณ์วัยรุ่นไทย
345สถานการณ์วัยรุ่นไทย345สถานการณ์วัยรุ่นไทย
345สถานการณ์วัยรุ่นไทย
 
344สถานการณ์เด็กและเยาวชน ดร.อมรวิศ
344สถานการณ์เด็กและเยาวชน ดร.อมรวิศ344สถานการณ์เด็กและเยาวชน ดร.อมรวิศ
344สถานการณ์เด็กและเยาวชน ดร.อมรวิศ
 
343ศิลปการพูด
343ศิลปการพูด343ศิลปการพูด
343ศิลปการพูด
 
342วิธีสร้างสุข5
342วิธีสร้างสุข5342วิธีสร้างสุข5
342วิธีสร้างสุข5
 
341วันออกพรรษา
341วันออกพรรษา341วันออกพรรษา
341วันออกพรรษา
 
346สังคมศึกษา ป.3 เรื่องวันเข้าพรรษา
346สังคมศึกษา ป.3 เรื่องวันเข้าพรรษา346สังคมศึกษา ป.3 เรื่องวันเข้าพรรษา
346สังคมศึกษา ป.3 เรื่องวันเข้าพรรษา
 
347สังคมศึกษา ป.5สมบัติของผู้ดี
347สังคมศึกษา ป.5สมบัติของผู้ดี347สังคมศึกษา ป.5สมบัติของผู้ดี
347สังคมศึกษา ป.5สมบัติของผู้ดี
 
348สังคมศึกษา วันสำคัญทางศาสนาพุทธ12
348สังคมศึกษา วันสำคัญทางศาสนาพุทธ12348สังคมศึกษา วันสำคัญทางศาสนาพุทธ12
348สังคมศึกษา วันสำคัญทางศาสนาพุทธ12
 
350สารานิยธรรม6
350สารานิยธรรม6350สารานิยธรรม6
350สารานิยธรรม6
 
349สังคหวัตถุ4
349สังคหวัตถุ4349สังคหวัตถุ4
349สังคหวัตถุ4
 
351หน้าที่ชาวพุทธ3
351หน้าที่ชาวพุทธ3351หน้าที่ชาวพุทธ3
351หน้าที่ชาวพุทธ3
 

Recently uploaded

3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
Prachyanun Nilsook
 
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdfรายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
NitayataNuansri
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 

Recently uploaded (9)

3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
 
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdfรายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
 

กลอนครูและคำคม

  • 1. ครู มิใช่ ช่างปั้นอันวิจิตร แต่ ต้องคิดวาดวางกางแผนผัง ครู มิใช่ นายทุนหนุนกาลัง ต้ องเก็งทั้งขาดทุนตุนกาไร ครู มิใช่ พ่อค้ านายพาณิชย์ ดีดลูกคิดคาดการณ์ ด้านไหนไหน แต่ ยงเป็ นผู้ค้าอย่ างเต็มใจ ั ยอมขาดทุนตลอดไปชั่ วนิรันดร์ ครู มิใช่ นักปกครองช่ าชองศึก แต่ กคึกคะนองปกปองขั้น ็ ้ ครู มิใช่ นักวิชาการเชี่ ยวชาญครัน แต่ โชกโชนด้ วยผูกพันวิชาการ ครู มิใช่ นักแสดงโลกแสงสี แต่ สวมบททุกทีด้วยอาจหาญ ่ ครู มิใช่ ผ้ ูกากับผู้บงการ แต่ เฉียบขาดในแผนงานการบัญชา ครู มิใช่ นักพากย์ ฝีปากจัด แต่ สัมผัสการพากย์ยากจะหา ครู มิใช่ ผ้ ูทรงศีลธรรมจรรยา แต่ เมตตาแผ่ เผือเกือการุ ณย์ ่ ้ นี่แหละครู เป็ นได้ หลายสถาน ทุกเหตุการณ์ ช่วยฉุ ดช่ วยอุดหนุน ช่ วยเผือแผ่ แก้ ไขช่ วยคาจุน ่ ้ ผู้มีคุณเปี่ ยมแปรอย่ างแท้ จริง
  • 2. * ผู้สร้ างคน * เป็ นแสงธรรมนาทางสร้ างชีวต ิ เป็ นผู้คิดสื่ อสารงานศึกษา เป็ นผู้ร้ ู ประสิ ทธิ์วทยา ิ เป็ นศาสตราคอยคุ้มครองผองเด็กไทย ป็ นแม่ พมพ์กาหนดบทบาทศิษย์ ิ เป็ นผู้ชี้แนวชี วตทีฝันใฝ่ ิ ่ เป็ นผู้นาพาชาติปราศพิษภัย ค่ ายิงใหญ่ เกินกล่ าวขานคืองานครู ่ การไหว้ ครู คิดถึงครู ผ้ สอนสั่ ง ู คุณครู ยงฝังจิตศิษย์ ไม่ หาย ั ด้ วยมุ่งหมายให้ ศิษย์ ดีมีวชา ิ การไหว้ ครู คิดถึงครู เหนื่อยใจกาย ดัวยมุ่งหมายให้ ศิษย์ ดีมีวชา ิ การไหว้ ครู คิดถึงครุ ผ้ ูเมตตา เจตนาเรามั่นในคุณครู นับแต่ นีศิษย์ฝึกตนตั้งต้ นใหม่ ้ สารวมกายวาจาให้ แน่ นหนา ไม่ ให้ ผดต่ อคุณครู ผ้ ูเมตตา ิ ขอสั ญญาพุทธบุตรหยุดต่าทราม ศิลปทั้งผองต้ องฝึ กหัด ตามบรรทัดฐานเห็นเป็ นปฐม วาทศิลป์ เลิศลาคานิยม ้ คมเหนือคมอาวุธใดในปฐพี ครู อาจารย์ การพูดพิสูจน์ แล้ ว อันดวงแก้วแจ่ มจารัสรัศมี แต่ แรกมัวสลัวฝ้ าเหมือนราคี เช็ดขัดดีขึนมาจึงน่ ายล ้
  • 3. “ชีวตของคนเรานั้น…ไม่ ยาวเลย ิ สู้ ก้อนกรวดก้ อนหินยังไม่ ได้ เกิดมาทั้งที ตั้งเข็มทิศให้ กบชีวต ั ิ กาหนดทิศทางของตัวเองให้ ชัดเจน จะเดินไปสู่ จุดไหน ค้ นหาตังเองให้ ชัดเจน จะเดินไปสู่ จุดไหน ค้ นหาตัวเองให้ เจอ และพยายามดาเนินมุ่งไปสู่ จุดนั้นให้ ได้ และทีสาคัญอย่าประมาท…อย่าหลงตัวเอง ่ และอย่ าหยุดยั้งการศึกษาหาความรู้ อยู่ตลอดเวลา” อยู่อย่ างไร  อยู่อย่ างสั ตว์ นรก  อยู่อย่ างอสู รกาย  อยู่อย่ างเปรต  อยู่อย่ างสั ตว์ เดรัจฉาน  อยู่อย่ างมนุษย์  อยู่อย่ างเทพ พรหม  อยู่อย่ างพระอริยะ
  • 4. คนทางาน พัฒนางาน ทางานด้ วยความหลง = นรก ทางานด้ วยความโลภ = เปรต ทางานด้ วยความกลัว = อสู รกาย ทางานด้ วยการบังคับ = เดรัจฉาน ทางานด้ วยหน้ าที่ = มนุษย์ ทางานด้ วยความดี = อริยบุคคล - หัวไว - หันดูทท่า ี - ใจสู้ - เบิ่งตาลังเล - หันเหหัวดือ ้ - งอมือจับเจ่ า -ไม่ เอาไหนเลย เปาหมาย ้ ตนเอง ญาติ ชาวโลก คนที่ไม่ ต้องการ คนพาลชอบเดินผิดทาง วางผิดที่ ดีผดทา ิ กล้าผิดถิ่น กินผิดของ มองผิดจุด หยุดผิดกาล ค้ านผิดเรื่อง เฟื่ องผิดวัย ใหญ่ผดวัด ิ หน้ าที่ของครู การศึกษาเป็ นเรื่องใหญ่ และสาคัญยิงของมนุษย์ คนเราเมื่อเกิดมาก็ได้ รับการสั่ ง ่ สอนจากบิดามารดาอันเป็ นความรู้ เบืองต้ น เมื่อเจริญเติบโตขึนก็เป็ นหน้ าทีของครู และ ้ ้ ่ อาจารย์ สั่ งสอนให้ ได้ รับวิชาความรู้ สูงและอบรมจิตใจให้ ถึงพร้ อมด้ วยคุณธรรม เพือจะ ่ ได้ เป็ นพลเมืองดีของชาติสืบต่ อไป งานของครู จึงเป็ นงานทีสาคัญยิง ท่านทั้งหลายซึ่งจะ ่ ่ ออกไปทาหน้ าทีเ่ ป็ นครู จะต้ องตั้งมั่นอยู่ในหลักศีลธรรม และพยายามถ่ ายทอดวิชาความรู้
  • 5. แก่ เด็กให้ ดีทสุดทีจะทาได้ นอกจากนี้ จงวางตนให้ สมกับทีเ่ ป็ นครุ ให้ นักเรียนมีความ ี่ ่ เคารพนับถือ และเป็ นทีเ่ ลือมใสไว้ วางใจของผู้ปกครองนักเรียนด้ วย ่ พระบรมราโชวาท ๑๓ ธันวาคม ๒๕๐๕ ผู้สร้ างคน เป็ นแสงธรรมนาทางสร้ างชีวต ิ เป็ นผู้คิดสื่ อสารงานศึกษา เป็ นผู้ร้ ู ประสิ ทธิ์วทยา ิ เป็ นศาสตราคอยคุ้มครองผองเด็กไทย เป็ นแม่ พมพ์กาหนดบทบาทศิษย์ ิ เป็ นผู้แนวชี วตทีฝันใฝ่ ิ ่ เป็ นผู้นาพาชาติปราศพิษภัย ค่ ายิงใหญ่เกินกล่าวขานคืองาน ครู ่ แม่ ปูสอนลูกลูกปู แม่ ปูสอนลูกปูดูอย่ างแม่ ทั้งทีแท้ตัวเดินเกเทียวเฉไฉ ่ ่ ลูกจะเดินตรงทางอย่ างไร จะสอนใครเริ่มต้ นสอนตนเอง ! ครูดี ๔ คุณลักษณะ ๑. รู ปดี (รู ปัปฺปมาณิกฺ ) ๒. เสี ยงดี ( โฆสั ปฺปมาณิกฺ ) ๓. ประพฤติดี ( ลูขัปปมาณิกฺ ) ฺ ๔. รู้ ดี (ธัมฺมัปฺปมาณิกฺ )  เปิ ดของทีปิด ่  หงายของทีควา่ ่  บอกทางแก่คนหลงทาง  จุดประทีปในความมืด
  • 6. โวหาร ๔ ๑. เทศนาโวหาร ๒. พรรณนาโวหาร ๓. สาธกโหาร ๔. อุปมาโวหาร ศิษย์ ๔ ชนิด ๑. หัวไวใจสู้ - บัวพ้นนา ้ ๒. รอดูจังหวะ - บัวปริ่มนา ้ ๓. พอจะแนะนา - บัวในนา ้ ๔. ต้ อยต่าจายอม - บัวติดตม ( บัว ๔ เหล่ า ) รักโรงเรียนเหมือนบ้ าน รักงานสอนเหมือนชีวต ิ รักลูกศิษย์ เหมือนลูกจริง วิธีการสอน ๑. ชี้หลัก - สั นทัสฺสนา - วิชาการ ๒. ชักชวน - สมาทปนา - พิธีกรรม ๓. ปลุกใจ - สมุตฺเตชนา - เกม ๔. ให้ เพลิน - สั มฺปหังสนา - เพลง ( ๔ ส. ) ๑. รู้ จักเลือกทีสอน ่ ๒. รุ้ จักเลือกอุปกรณ์ ๓. รู้ จักเลือกคนสอน ๔. รู้ จักเลือกเรื่องสอน ( ๔ สบาย )
  • 7. หลักการสอน ๑. ปริยติ ั ๐ สอนให้ ร้ ู จัก ๒. ปฏิบัติ ๐ สอนให้ ร้ ู จริง ๓. ปฏิเวธ ๐ สอนให้ ร้ ู แจ้ ง ( เปาหมาย ) ้ ๑.อิทธิปาฏิหาริย์ ๐ ปราบแล้วสอน ๒. อาเทสฺ นาปากิหาริย์ ๐ ปลุกแล้ วสอน ๓. อนุสาสนีปาฏิหาริย์ ๐ ประโลมสอน (กลยุทธ์ ) พึงใคร ่ จะหวังพึงพ่อแม่ กแย่จัด ่ ็ จะพึงวัดพระก็แย่ยากแก้ไข ่ จะพึงครู ครู กเ็ ลวเหลวแหลกไป ่ จะพึงใครกันดีหนอ ? ่ ( ท้อใจจริง ! ) นักสู้ นักสู้ …ใครว่าเป็ นกันได้ ง่ายๆ มันต้ องพร้ อมทั้งใจและกายทีเดียว ทุคนมีท้งความ ั ดีและความชั่ วอยู่ในตัวด้ วยกันทั้งนั้น เรามีหน้ าทีเ่ พียงทาเหตุเฉพาะหน้ าให้ ดีทสุดเท่ านั้น ี่ ส่ วนผลก้ จะเกิดขึนเองตามเหตุปัจจัย อย่ าคิดว่ าสิ่ งทีทานั้นเป็ นการทาเพือคนอืน หรือ ้ ่ ่ ่ เพราะคนอืนไม่ ทา หรือเพราะคนอืนใชให้ ทา ข้ อสาคัญทีสุด อย่ าคิดว่ าทีต้องทาหรือไม่ ่ ่ ่ ่ ต้ องทานั้น เป็ นเพราะคนอืนจะพอใจหรือไม่ พอใจ ่ ดังนั้นเปาหมายของการเป็ น นักสู้ คือ … ต้ องหาทางออกทีดทสุดให้ ได้ ้ ่ ี ี่
  • 8. ก้าวต่ อไป ก้ าวต่ อไปต่ อไปอย่ าได้ หยุด แม้ สะดุดล้ มลงไปอย่ าใจฝ่ อ เป็ นนักสู้ ต้องสู้ สิอย่ ารีรอ อย่าย่อท้อหนทางยาวทีก้าวไป ่ โน่ นจุดหมายปลายทางอยู่ข้างหน้ า จะเหินฟาข้ ามเขาเอาให้ ได้ ้ มิหวันพลาดมิหวาดแพ้มิแคร์ ภัย ่ มิหวันใจมิหวันจิตสั กนิดเดียว ่ ่ สังคมไทย สั งคมไทยจะดารงคงอยู่ได้ เพราะคนไทยคอยปกปักเฝ้ ารักษา บารุ งชาติศาสน์ กษัตริ์พฒนา ั รวมอาสาพัฒนาจิตใจไทยทั้งปวง ปัญหาความยากจนคนยากไร้ ปัญหาความยากจนคนยากไร้ ปัญหาความเจ็บไข้ ภัยใหญ่หลวง ปัญหาศีลธรรมด้ อยคอยหลอกลวง น่ าเป็ นห่ วงอนาคตหรือหมดทาง
  • 9. แผ่ นดินทอง ต้ องสร้ างด้ วย แผ่ นดินธรรม ในแผ่ นไทย ทีมใช่ … ่ ิ แผ่ นดินทาส ภายใต้ ดวงอาทิตย์นี้… ไม่ มีอะไรทีน่าเสี ยใจไปยิงกว่า… ่ ่ การเสี ยเวลาไปทั้งวัน… โดยตัวท่าน… ไม่ ได้ ทาอะไรเลย… * บันไดสู่ ความเป็ นดาว *  เตรียมให้ พร้ อม  ฝึ กซ้ อมให้ ดี  ท่าทีให้ สง่ า  หน้ าตาให้ สุขุม  ทักทีประชุ มอย่ าวกวน ่  เริ่มต้ นให้ โน้ มน้ าว  เรื่องราวให้ กระชับ  ตาจับทีผ้ ูฟัง ่  เสี ยงดังแต่ พอดี  อย่ามีเอ้ออ้า  ดูเวลาพอครบ  สรุ ปจบให้ จับใจ  ยิมแย้ มแจ่ มใสตลอดการพูด ้
  • 10. อย่ า…อย่ า…อย่ า อย่าคิดว่าตัวท่านนั้นอ่อนแอ หรือคิดแต่ ท้อแท้และแพ้พ่าย จงคิดว่าจะแข็งแกร่ งขึนเรื่อยไป ้ แกร่ งทั้งกายและจิตใจไม่ พรั่นพรึง อย่าร้ อนรนค้ นหาความลาบาก จนกว่ าความทุกย์ ยากจะมาถึง ถ้ าวิตกทุกข์ ร้อนนอนราพึง เมื่อทุกข์ ถึงทุกข์ ทบทวีคุณ ั อย่าแบกโลกเอาไว้ให้ หนักบ่ า อย่ากลัวว่าอนาคตไม่ สดใส อยู่ให้ สุขแต่ ละวันผันผ่ านไป เก็บแรงใจไว้แก้ไขเมื่อภัยมา ผู้นา นารู้ นาทา นาคิด คือชี วตของเราผู้นา ิ นารู้ นาคิด นาทา ๆ จะเป็ นผู้นาต้ องจาเอาไปคิด นาตน นาคน นางาน พัฒนาการ สั งคม เศรษฐกิจ ทาอะไร อย่าให้ หลงผิด ๆ สาคัญทีจิตต้ องมีคุณธรรม ( ซ้า ) ่ ครองตน ครองคน ครองงาน มีอุดุมการณ์ อยู่เป็ นประจา ทาอะไรอย่าให้ ตกต่า ๆ มีคุณธรรมประจาจิตใจ ( ซ้า )
  • 11. แบ่ งทาไม แบ่ งพวก ทาให้ เสี ยรัก แบ่ งพรรค ทาให้ เสี ยสามัคคี แบ่ งทั้งพวกทั้งพรรค เสี ยทั้ง ความรักและความสามัคคี จน ๔ อย่ าง ๑. จนตรอกไม่ มีทางไป ๒. จนใจไม่ มีทางคิด ๓. จนแต้ มไม่ มีทางเดิน ๔. จนมุมไม่ มีทางหนี ผู้ชนะที่แท้ จริง ผู้ทชนะคนอืนเป็ น ๆ ในสงคราม ี่ ่ ไม่ จัดว่ าเป็ นผู้ชนะทีแท้ จริง ่ แต่ ผ้ ูทชนะ (ใจ ) ตนเองได้ ี่ นับว่ าเป็ นผู้ชนะสงครามทียอดเยียม ่ ่ เราจะทาในสิ่ งทีผ้ ูอน ่ ื่ เราจะอดทนในสิ่ งทีผ้ ูอน ่ ื่ ทาได้ ยาก เราจะสละในสิ่ งทีผ้ อน ่ ู ื่ สละได้ ยาก เราจะเอาชนะในสิ่ งทีผ้ ูอน ่ ื่ ชนะได้ ยาก ทีสาคัญคือ ่ การชนะ ตนเอง
  • 12. พระสัมมาสัมพุทธเจ้ าตรัสว่า อตตา หเว ชิต เสยโย “ ชนะตนนีแลดีกว่า ” ้ การฟังทีฉลาด ่  อย่าพึงเชื่อ ่  อย่าปฏิเสธ  จดจา  ศึกษา , ค้ นคว้า  หาข้ อมูล , เหตุผล  ปฏิบัติ , ทดลอง  จนรู้ ว่าอะไรถูกอะไรผิด การศึกษา การศึกษา เป็ นพืนฐานของชีวต ้ ิ การศึกษา เน้ นความคิดมีเหตุผล การศึกษา พัฒนาค่ าของคน การศึกษา เริ่มฝึ กฝนคนให้ ดี การศึกษา ต้ องศึกษาอย่ าหยุดยั้ง การศึกษา ต้ องปลูกฝังเรื่องศักดิ์ศรี การศึกษา ต้ องฝึ กใจไร้ ราคี การศึกษา ต้ องมุ่งทีความเป็ นคน ่ การศึกษา ต้ องใฝ่ หาความถูกต้ อง การศึกษา พึงหมายปองบุญกุศล การศึกษา ต้ องสานึกฝึ กทีตน ่ การศึกษา ต้ องหลุดพ้ นอวิชชา
  • 13. “มุ่ งหาความรู้ เชิ ดชู ความเป็ นไทย หลีกไกลอบายมุข” ขอโทษ การขอโทษมิใช่ การพ่ายแพ้ จะเป็ นความอ่อนแอก็หาไม่ การขอโทษคีอการชนะใจ เป็ นความกล้ าอันยิงใหญ่ ของมนุษย์ ่ หนึ่งนาที การอบรมบ่ มนิสัยให้ ศิษย์น้ัน เพียงวันละนาทีกดีถม ็ ศิษย์จะดีมีชื่อหรือล่มจม อาจเป็ นเพราะอบรมหนึ่งนาที ศิษย์ดี ดูทครู ดี ี่ ครู ดี ดูทศิษย์ ดี ี่ ถิ่นไทยในป่ ากว้าง ห่ างไกล แสงวัฒนธรรมใด ส่ องบ้ าง เห็นเทียนอยู่ราไร เล่มหนึ่ง ครู น้ ันแหละอาจสร้ าง เสกให้ ชัชวาลย์ หลอก หลอก หลอก เราอาจหลอกคนได้ บางคน เราอาจหลอกคนได้ บาวครั้ง เราอาจหลอกคนบางคนได้ ทุกครั้ง แต่ เราไม่ อาจหลอกคนทุกคนได้ ทุกครั้ง ความหายนะของชีวต คือ ี แม้ เราเริ่มหลอกแม้ กระทัง … ตัวเอง ่
  • 14. เด็กวันนี้ เด็กวันนีคือผู้ใหญ่ ในวันหน้ า ้ ทาทีท่าแม้ นละม้ ายคล้ายพ่อแม่ ผู้ใหญ่ ดีเด็กก็งามตามเหล่ ากอ ผู้ใหญ่ บ้าเด็กก็บอพอพอกัน ยิมดี 4 อย่ าง ้ เขาโกรธ เรายิมเขาแย่ ้ เราโกรธ เขายิมเราเเย่ ้ เขาโกรธ เราโกรธ ต่ างแย่ เขายิม เรายิม สบายแน่ ้ ้ รู้ 4 อย่ าง รู้ เรี่อง รู้ สึก รู้ สานึก รู้ กระทา กระบวนการฝึ กอบรม  ละลายพฤติกรรมมนุษย์  จุดประกายความคิด  สะกิดความรู้ สึก  ปลูกสานึกคุณธรรม  นาสู่ คุณภาพชี วต ิ หนทางยังยาวไกล รีบเติมไฟเพือต่ อสู้ ่ ความกล้ าพอมีอยู่ ไยสู เจ้ าจึงหมดแรง หลักชัยทีเ่ ราหมาย อย่าหลงไหลทาให้ แจ้ ง วันเดือนเลือนเปลียนแปลง ่ ่ ชีวตเราก็โรยรา ิ
  • 15. ฮึดสู้ กนอีกใหม่ ั โถมกายให้ แกร่ งกล้า มุ่งมั่นในศรัทธา เพือเสริมแรงพลังใจ ่ เติบโต ให้ เธอเติบโตด้ วยความกล้า ก้าวไปข้ างหน้ าฝ่ าพงหนาม ดวงใจมิหยุดพยายาม กล้าจักเดินตามหนทางตน ให้ เธอเติบโตดด้ วยความคิด เรียนรู้ ชีวตทุกแห่ งหน ิ ตรองด้ วยปัญญาอันแยบนล “รู้ คิด รู้ ค้น รู้ ตนเอง” วิถชีวต ี ิ การผ่านการพบการหลบหลีก ไม่ ใช่ เพียงเป็ นแค่ ความเคลือนไหว่ จากก้ าวทุกก้ าวทียาวไกล ่ กลายเป็ นวึยเป็ นวิถแห่ งชีวต ิ ปวดร้ าวเป็ นทุกข์ สนุกสนาน มีการก้ าวถูกและก้ าวผิด ต้ องการดวงเทียนและเข็มทิศ เพือพิชิตทางชัยในชีวี ่ ต้ องมีความรู้ ค่ ูความคิด เป็ นเข็มทิศดวงเทียนสองวิถี ต้ องมีความรู้ ค่ ูความดี เพือชีพนีมีค่าและงดงาม ่ ้