SlideShare a Scribd company logo
คู่มือการใช้นวัตกรรมสื่อสังคมออนไลน์
เรื่อง คลื่นกลและเสียง
วิชาวิทยาศาสตร์ 5 (ว33101) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
นายพิพัฒน์พงษ์ สาจันทร์
ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ชานาญการ
โรงเรียนเทพลีลา เขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 2
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ก
คำนำ
คู่มือการใช้นวัตกรรมสื่อสังคมออนไลน์ เรื่อง คลื่นกลและเสียง วิชาวิทยาศาสตร์ 5 (ว33101) ซึ่งเป็น
เนื้อหาในรายวิชาพื้นฐาน สาระที่ 5 พลังงาน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4-6 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
สอดคล้องกับมาตรฐานและตัวชี้วัดของหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ภายในคู่มือ
เล่มนี้ประกอบด้วย สาระ มาตรฐานการเรียนรู้ และตัวชี้วัดที่เกี่ยวข้อง แผนการจัดการเรียนรู้ของแต่ละตัวชี้วัด
องค์ประกอบของนวัตกรรม คาชี้แจงสาหรับครู คาชี้แจงสาหรับนักเรียน ขั้นตอนการใช้นวัตกรรม สื่อสังคม
ออนไลน์ แบบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนเรียน แบบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียน เอกสารประกอบ
สื่อสังคมออนไลน์ (สาหรับนักเรียน) เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์ (สาหรับครู) นวัตกรรมชุดนี้ได้
ผ่านการประเมินคุณภาพจากผู้เชี่ยวชาญ ผ่านการทดลองใช้จนกระทั่งมีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ที่กาหนด
ครูผู้สอนหรือผู้ที่สนใจสามารถนานวัตกรรมชุดนี้ไปปรับใช้เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนทั้งในระดับ
สถานศึกษาและในระดับชาติ (O-NET) ได้เป็นอย่างดี
ขอขอบพระคุณคณะผู้เชี่ยวชาญซึ่งประกอบด้วย อาจารย์ ดร.ชาติ ทีฆะ อาจารย์ประจาสาขาวิชา
ฟิสิกส์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยสวนดุสิต อาจารย์ ดร.จิรดาวรรณ หันตุลา อาจารย์
ประจาสาขาวิชาวิทยาศาสตร์ศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น นายณรงค์ พ่วงศรี ตาแหน่ง
ข้าราชการบานาญ วิทยฐานะชานาญการพิเศษ นักวิชาการ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และ
เทคโนโลยี นายอานาจ โสภากุล ตาแหน่งครู วิทยฐานะชานาญการพิเศษ โรงเรียนสุวรรณคูหาพิทยาสรรค์
และนางนภาวรรณ สิทธิวงศ์ ตาแหน่งครู วิทยฐานะ ชานาญการพิเศษ โรงเรียนเทพลีลา ที่คอยแนะนา ให้
คาปรึกษาเกี่ยวกับการสร้างและพัฒนานวัตกรรม
ขอขอบพระคุณท่านผู้อานวยการ รองผู้อานวยการ คณะครูโรงเรียนเทพลีลา ที่คอยเป็นกาลังใจและ
สนับสนุนการจัดทานวัตกรรมชุดนี้จนทาให้การดาเนินงานสาเร็จลุล่วงไปด้วยดีบรรลุตามเป้าหมายทุกประการ
นายพิพัฒน์พงษ์ สาจันทร์
ครู คศ.2
ข
สำรบัญ
เรื่อง หน้ำ
คานา ...............................................................................................................................................................ก
สาระ มาตรฐานการเรียนรู้ และตัวชี้วัดที่เกี่ยวข้อง........................................................................................... 1
แผนการจัดการเรียนรู้ของแต่ละตัวชี้วัด ........................................................................................................... 2
องค์ประกอบของนวัตกรรม.............................................................................................................................. 3
คาชี้แจงสาหรับครู............................................................................................................................................ 4
คาชี้แจงสาหรับนักเรียน................................................................................................................................... 6
ขั้นตอนการใช้นวัตกรรม................................................................................................................................... 8
ภาคผนวก......................................................................................................................................................10
สื่อสังคมออนไลน์ ................................................................................................................................11
แบบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนเรียน............................................................................................13
แบบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียน............................................................................................22
เอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์ เรื่อง คลื่นกลและเสียง..................................................................33
1
สำระที่ 5: พลังงำน
มำตรฐำน ว 5.1 เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างพลังงานกับการดารงชีวิต การเปลี่ยนรูปพลังงาน
ปฏิสัมพันธ์ระหว่างสารและพลังงาน ผลของการใช้พลังงานต่อชีวิตและ
สิ่งแวดล้อม มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และนาความรู้ไป
ใช้ประโยชน์
ตัวชี้วัด
1. ทดลองและอธิบายสมบัติของคลื่นกล และอธิบายความสัมพันธ์ระหว่าง อัตราเร็ว
ความถี่และความยาวคลื่น
2. อธิบายการเกิดคลื่นเสียง บีตส์ของเสียง ความเข้มเสียง ระดับความเข้มเสียง การได้
ยินเสียง คุณภาพเสียง และนาความรู้ไปใช้ประโยชน์
3. อภิปรายผลการสืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับมลพิษทางเสียงที่มีต่อสุขภาพของมนุษย์ และการ
เสนอวิธีป้องกัน
รวมทั้งหมด 3 ตัวชี้วัด
สำระ มำตรฐำนกำรเรียนรู้ และตัวชี้วัดที่เกี่ยวข้อง
2
ตัวชี้วัด แผนที่ เรื่อง
เวลำเรียน
(ชม.)
ว 5.1 ม.4-6/1 ทดลองและอธิบายสมบัติ
ของคลื่นกล และอธิบายความสัมพันธ์
ระหว่างอัตราเร็ว ความถี่ และความยาว
คลื่น
1
2
3
4
5
6
ธรรมชาติของคลื่น
ชนิดของคลื่น
การสะท้อนของคลื่น
การหักเหของคลื่น
การเลี้ยวเบนของคลื่น
การแทรกสอดของคลื่น
2
2
2
2
2
2
ว 5.1 ม.4-6/2 อธิบายการเกิดคลื่นเสียง
บีตส์ของเสียง ความเข้มเสียง ระดับความ
เข้มเสียง การได้ยินเสียง คุณภาพเสียง และ
นาความรู้ไปใช้ประโยชน์
7
8
9
การเกิดเสียง
ธรรมชาติของเสียง
บีตส์ของเสียง
2
2
2
ว 5.1 ม.4-6/3 อภิปรายผลการสืบค้นข้อมูล
เกี่ยวกับมลพิษทางเสียงที่มีต่อสุขภาพของ
มนุษย์ และการเสนอวิธีป้องกัน
10 มลพิษทางเสียง 2
รวม 20
แผนกำรจัดกำรเรียนรู้ของแต่ละตัวชี้วัด
3
นวัตกรรมสื่อสังคมออนไลน์ชุดนี้ มีองค์ประกอบที่สาคัญดังนี้
1. สื่อสังคมออนไลน์ หมายถึง วีดิทัศน์บน Youtube เรื่อง คลื่นกลและเสียง ที่ผู้วิจัยได้สร้างและพัฒนาขึ้น
ซึ่งประกอบด้วย 4 ตอน ได้แก่
1.1 คลื่นกล ตอนที่ 1 (https://youtu.be/GEVXMtkItf8)
1.2 คลื่นกล ตอนที่ 2 (https://youtu.be/30ze8eYEx28)
1.3 เสียง ตอนที่ 1 (https://youtu.be/BRF5-n3eHuE)
1.4 เสียง ตอนที่ 2 (https://youtu.be/WdS8jtAPWhQ)
2. แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนเรียน เรื่อง คลื่นกลและเสียง เป็นข้อสอบแบบเลือกตอบ 4
ตัวเลือก จานวน 40 ข้อ
3. แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียน เรื่อง คลื่นกลและเสียง เป็นข้อสอบแบบเลือกตอบ 4
ตัวเลือก จานวน 40 ข้อ
4. แบบสอบถามความพึงพอใจต่อการใช้สื่อสังคมออนไลน์เสริมการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้
เรื่อง คลื่นกลและเสียง
5. เอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์ (สาหรับนักเรียน)
6. เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์ (สาหรับครู)
องค์ประกอบของนวัตกรรม
4
1. ครูผู้สอน ควรศึกษาแผนการจัดการเรียนรู้ให้เข้าใจโดยละเอียดก่อนทาการจัดกิจกรรมการเรียน ซึ่ง
แผนการจัดการเรียนรู้สามารถดาวน์โหลดได้ที่
https://www.slideshare.net/pipatpongswp/ss-75394744
2. เตรียมเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์ให้สมบูรณ์และเพียงพอกับนักเรียน
3. แจ้งมาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วัด และเนื้อหา พร้อมชี้แจงเกี่ยวกับวิธีการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ให้
นักเรียนทราบ
4. สารวจความพร้อมของอุปกรณ์ในการรับชมสื่อสังคมออนไลน์ของนักเรียนว่ามีครบทุกคนหรือไม่ ซึ่ง
อุปกรณ์ที่ใช้ในการรับชมมีหลากหลายประเภท เช่น คอมพิวเตอร์พีซี คอมพิวเตอร์โน้ตบุ๊ค แท็บเล็ต
สมาร์ทโฟน หากนักเรียนคนใดไม่มีอุปกรณ์ในการรับชม ครูผู้สอนอาจให้นักเรียนใช้บริการห้อง
คอมพิวเตอร์ของโรงเรียนหลังเลิกเรียน หรือครูผู้สอนสามารถนาแท็บเล็ตของโรงเรียนให้นักเรียนยืม
ใช้สาหรับการรับชม
5. ก่อนที่จะเริ่มเรียนในชั่วโมงแรกให้นักเรียนทาแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนเรียน เรื่อง
คลื่นกลและเสียง จานวน 40 ข้อ ซึ่งเป็นข้อสอบแบบเลือกตอบ 4 ตัวเลือก ใช้เวลา 60 นาที
6. แจกเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์ เรื่องคลื่นกลและเสียงให้กับนักเรียนคนละ 1 เล่ม
7. ดาเนินการสอนเนื้อหาเรื่องคลื่นกลโดยจัดการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ พร้อมทั้ง
มอบหมายให้นักเรียนทบทวนความรู้โดยใช้สื่อสังคมออนไลน์ โดยมีรายละเอียดดังนี้
7.1 ในช่วงที่จัดการเรียนรู้ตามแผนที่ 1-2 ให้นักเรียนทบทวนความรู้ด้วยตนเองโดยใช้สื่อสังคม
ออนไลน์ (Youtube) เรื่อง คลื่นกล ตอนที่ 1 https://youtu.be/GEVXMtkItf8 เมื่อรับชม
เสร็จให้นักเรียนทาแบบฝึกหัด เรื่องคลื่นกล ตอนที่ 1 พร้อมนาส่งครูผู้สอนก่อนที่จะจัดการ
เรียนรู้ตามแผนที่ 3
7.2 ในช่วงที่จัดการเรียนรู้ตามแผนที่ 3-6 ให้นักเรียนทบทวนความรู้ด้วยตนเองโดยใช้สื่อสังคม
ออนไลน์ (Youtube) เรื่องคลื่นกล ตอนที่ 2 https://youtu.be/30ze8eYEx28 เมื่อรับชม
เสร็จให้นักเรียนทาแบบฝึกหัด เรื่องคลื่นกล ตอนที่ 2 พร้อมนาส่งครูผู้สอนก่อนที่จะจัดการ
เรียนรู้ตามแผนที่ 7
7.3 ในช่วงที่จัดการเรียนรู้ตามแผนที่ 7-8 ให้นักเรียนทบทวนความรู้ด้วยตนเองโดยใช้สื่อสังคม
ออนไลน์ (Youtube) เรื่อง เสียง ตอนที่ 1 https://youtu.be/BRF5-n3eHuE เมื่อรับชมเสร็จ
ให้นักเรียนทาแบบฝึกหัด เรื่องเสียง ตอนที่ 1 พร้อมนาส่งครูผู้สอนก่อนที่จะจัดการเรียนรู้ตาม
แผนที่ 9
คำชี้แจงสำหรับครู
5
7.4 ในช่วงที่จัดการเรียนรู้ตามแผนที่ 9-10 ให้นักเรียนทบทวนความรู้ด้วยตนเองโดยใช้สื่อสังคม
ออนไลน์ (Youtube) เรื่อง เสียง ตอนที่ 2 https://youtu.be/WdS8jtAPWhQ เมื่อรับชม
เสร็จให้นักเรียนทาแบบฝึกหัด เรื่องเสียง ตอนที่ 2 พร้อมนาส่งครูผู้สอนก่อนที่ทาแบบวัด
ผลสัมฤทธิ์หลังเรียน
8. ครูผู้สอนควรตอบคาถามกรณีที่นักเรียนมีความสงสัยในเนื้อหาที่เรียนซึ่งอาจใช้การตอบในห้องเรียนหรือ
ตอบใต้ข้อความแสดงความคิดเห็นใน youtube
9. ครูผู้สอนควรตรวจแบบฝึกหัดแต่ละชุดก่อนที่นักเรียนจะศึกษาสื่อสังคมออนไลน์เรื่องต่อไป หากพบว่า
นักเรียนไม่ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 60 ให้นักเรียนคนดังกล่าวกลับไปทบทวนเรื่องเดิมซ้า พร้อมทั้งทา
แบบฝึกหัดส่งอีกครั้งจนกว่าจะผ่านเกณฑ์ร้อยละ 60
10. เมื่อจัดกิจกรรมครบ 10 แผน เป็นเวลา 20 ชั่วโมง และนักเรียนทบทวนความรู้โดยใช้สื่อสังคม
ออนไลน์เสร็จสิ้นแล้ว ให้นักเรียนทาแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียน พร้อมทั้งให้
นักเรียนทาแบบสอบถามความพึงพอใจต่อการใช้สื่อสังคมออนไลน์เสริมการจัดการเรียนรู้แบบสืบ
เสาะหาความรู้
11. การตรวจแบบแบบฝึกหัดแต่ชุดให้ครูผู้สอนดูในเล่มเฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์ เรื่องคลื่น
กลและเสียง
12. หากครูผู้สอนจัดการเรียนรู้รูปแบบอื่น สามารถนาสื่อสังคมออนไลน์ไปปรับใช้ได้ตามความเหมาะสม
6
1. นักเรียนควรศึกษามาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วัด จุดประสงค์การเรียนรู้ ให้เข้าใจ
2. นักเรียนต้องมีอุปกรณ์ในการรับชมสื่อสังคมออนไลน์ เช่น คอมพิวเตอร์พีซี คอมพิวเตอร์โน้ตบุ๊ค แท็บ
เล็ต สมาร์ทโฟน หากนักเรียนคนใดไม่มี ให้นักเรียนใช้บริการห้องคอมพิวเตอร์ของโรงเรียนหลังเลิก
เรียน หรือยืมแท็บเล็ตของโรงเรียนเพื่อนาไปใช้ในการรับชม
3. นักเรียนควรศึกษาคาชี้แจงในเอกสารประกอบสื่อเสริมออนไลน์ เรื่องคลื่นกลและเสียงให้เข้าใจและ
ปฏิบัติตามอย่างเคร่งครัด
4. ในขณะทาแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนเรียน เรื่อง คลื่นกลและเสียง นักเรียนควรทา
ด้วยความตั้งใจ
5. เมื่อนักเรียนเรียนรู้ผ่านการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ตามแผนการจัดการเรียนรู้ ควร
กลับไปทบทวนความรู้ด้วยความตั้งใจโดยใช้สื่อสังคมออนไลน์ ในขณะที่รับชมสื่อสังคมออนไลน์
นักเรียนต้องใช้เอกสารประกอบการรับชมเพื่อจดรายละเอียดต่าง ๆ ให้ครบถ้วน มีรายละเอียดใน
การรับชมแต่ละตอนเป็นดังนี้
5.1 ในช่วงที่จัดการเรียนรู้ตามแผนที่ 1-2 นักเรียนทบทวนความรู้ด้วยตนเองโดยใช้สื่อสังคม
ออนไลน์ (Youtube) เรื่อง คลื่นกล ตอนที่ 1 https://youtu.be/GEVXMtkItf8 เมื่อรับชม
เสร็จให้นักเรียนทาแบบฝึกหัด เรื่องคลื่นกล ตอนที่ 1 พร้อมนาส่งครูผู้สอนก่อนที่จะจัดการ
เรียนรู้ตามแผนที่ 3
5.2 ในช่วงที่จัดการเรียนรู้ตามแผนที่ 3-6 นักเรียนทบทวนความรู้ด้วยตนเองโดยใช้สื่อสังคม
ออนไลน์ (Youtube) เรื่องคลื่นกล ตอนที่ 2 https://youtu.be/30ze8eYEx28 เมื่อรับชม
เสร็จให้นักเรียนทาแบบฝึกหัด เรื่องคลื่นกล ตอนที่ 2 พร้อมนาส่งครูผู้สอนก่อนที่จะจัดการ
เรียนรู้ตามแผนที่ 7
5.3 ในช่วงที่จัดการเรียนรู้ตามแผนที่ 7-8 นักเรียนทบทวนความรู้ด้วยตนเองโดยใช้สื่อสังคม
ออนไลน์ (Youtube) เรื่อง เสียง ตอนที่ 1 https://youtu.be/BRF5-n3eHuE เมื่อรับชมเสร็จ
ให้นักเรียนทาแบบฝึกหัด เรื่องเสียง ตอนที่ 1 พร้อมนาส่งครูผู้สอนก่อนที่จะจัดการเรียนรู้ตาม
แผนที่ 9
5.4 ในช่วงที่จัดการเรียนรู้ตามแผนที่ 9-10 ให้นักเรียนทบทวนความรู้ด้วยตนเองโดยใช้สื่อสังคม
ออนไลน์ (Youtube) เรื่อง เสียง ตอนที่ 2 https://youtu.be/WdS8jtAPWhQ เมื่อรับชม
เสร็จให้นักเรียนทาแบบฝึกหัด เรื่องเสียง ตอนที่ 2 พร้อมนาส่งครูผู้สอนก่อนที่ทาแบบวัด
ผลสัมฤทธิ์หลังเรียน
คำชี้แจงสำหรับนักเรียน
7
6. หากนักเรียนสงสัยเนื้อหาในขณะที่รับชมผ่าน youtube สามารถถามในช่องแสดงความคิดเห็นได้ หรือ
จะเก็บไว้ถามในห้องเรียนก็ได้เช่นกัน
7. หากคะแนนแบบฝึกหัดของนักเรียนไม่ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 60 ให้นักเรียนกลับไปทบทวนเรื่องเดิมซ้า
พร้อมทั้งทาแบบฝึกหัดส่งอีกครั้ง
8. เมื่อนักเรียนเรียนรู้ผ่านการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ตามแผนการจัดการเรียนรู้ครบ 10
แผน เป็นเวลา 20 ชั่วโมง และนักเรียนทบทวนความรู้โดยใช้สื่อสังคมออนไลน์เสร็จสิ้นแล้ว ให้
นักเรียนทาแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียน พร้อมทั้งทาแบบสอบถามความพึงพอใจ
ต่อการใช้สื่อสังคมออนไลน์เสริมการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้
8
ในการใช้สื่อสังคมออนไลน์เสริมการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ เรื่อง คลื่นกลและ
เสียง ให้ครูดาเนินตามขั้นตอนดังนี้
1. ให้นักเรียนทาแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนเรียน เรื่อง คลื่นกลและเสียง จานวน 40 ข้อ
ซึ่งเป็นข้อสอบแบบเลือกตอบ 4 ตัวเลือก ใช้เวลา 60 นาที ก่อนที่จะเริ่มเรียนในชั่วโมงแรก
2. แจกเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์ เรื่องคลื่นกลและเสียงให้กับนักเรียนคนละ 1 เล่ม
3. ดาเนินการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ เนื้อหาเรื่องคลื่นกลและเสียง พร้อมทั้ง
มอบหมายให้นักเรียนทบทวนความรู้โดยใช้สื่อสังคมออนไลน์ โดยมีรายละเอียดดังนี้
3.1 ในช่วงที่จัดการเรียนรู้ตามแผนที่ 1-2 ให้นักเรียนทบทวนความรู้ด้วยตนเองโดยใช้สื่อสังคม
ออนไลน์ (Youtube) เรื่อง คลื่นกล ตอนที่ 1 https://youtu.be/GEVXMtkItf8 ใช้เอกสาร
ประกอบตั้งแต่หน้า 1-7 เนื้อหาประกอบด้วย ความหมายและประเภทของคลื่น และ
ส่วนประกอบของคลื่น เมื่อรับชมเสร็จให้นักเรียนทาแบบฝึกหัด เรื่องคลื่นกล ตอนที่ 1 หน้า 17-
18 พร้อมนาส่งครูผู้สอนก่อนที่จะจัดการเรียนรู้ตามแผนที่ 3
3.2 ในช่วงที่จัดการเรียนรู้ตามแผนที่ 3-6 ให้นักเรียนทบทวนความรู้ด้วยตนเองโดยใช้สื่อสังคม
ออนไลน์ (Youtube) เรื่องคลื่นกล ตอนที่ 2 https://youtu.be/30ze8eYEx28 ใช้เอกสาร
ประกอบตั้งแต่หน้า 8-16 เนื้อหาประกอบด้วย คลื่นผิวน้า และสมบัติของคลื่น เมื่อรับชมเสร็จให้
นักเรียนทาแบบฝึกหัด เรื่องคลื่นกล ตอนที่ 2 หน้า 19-20 พร้อมนาส่งครูผู้สอนก่อนที่จะ
จัดการเรียนรู้ตามแผนที่ 7
3.3 ในช่วงที่จัดการเรียนรู้ตามแผนที่ 7-8 ให้นักเรียนทบทวนความรู้ด้วยตนเองโดยใช้สื่อสังคม
ออนไลน์ (Youtube) เรื่อง เสียง ตอนที่ 1 https://youtu.be/BRF5-n3eHuE ใช้เอกสาร
ประกอบตั้งแต่หน้า 21-29 เนื้อหาประกอบด้วย การเกิดเสียงและการเคลื่อนที่ของเสียง ความถี่
อัตราเร็วของเสียง และสมบัติของเสียง เมื่อรับชมเสร็จให้นักเรียนทาแบบฝึกหัด เรื่องเสียง ตอน
ที่ 1 หน้า 37-38 พร้อมนาส่งครูผู้สอนก่อนที่จะจัดการเรียนรู้ตามแผนที่ 9
3.4 ในช่วงที่จัดการเรียนรู้ตามแผนที่ 9-10 ให้นักเรียนทบทวนความรู้ด้วยตนเองโดยใช้สื่อสังคม
ออนไลน์ (Youtube) เรื่อง เสียง ตอนที่ 2 https://youtu.be/WdS8jtAPWhQ ใช้เอกสาร
ประกอบตั้งแต่หน้า 30-36 เนื้อหาประกอบด้วย ลักษณะทางกายภาพของคลื่นเสียง และบีตส์
เมื่อรับชมเสร็จให้นักเรียนทาแบบฝึกหัด เรื่องเสียง ตอนที่ 2 หน้า 39-40 พร้อมนาส่งครูผู้สอน
ก่อนที่จะทาแบบวัดผลสัมฤทธิ์หลังเรียน
4. เมื่อจัดกิจกรรมครบ 10 แผน เป็นเวลา 20 ชั่วโมง และนักเรียนทบทวนความรู้โดยใช้สื่อสังคม
ออนไลน์เสร็จสิ้นแล้ว ให้นักเรียนทาแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียน
ขั้นตอนกำรใช้นวัตกรรม
9
5. นักเรียนทาแบบสอบถามความพึงพอใจต่อการใช้สื่อสังคมออนไลน์เสริมการจัดการเรียนรู้แบบสืบ
เสาะหาความรู้ เรื่อง คลื่นกลและเสียง ผ่านช่องทางออนไลน์
ขั้นตอนกำรใช้นวัตกรรม
ทำแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทำงกำรเรียนก่อนเรียน (60 นำที)
แจกเอกสำรประกอบสื่อสังคมออนไลน์ให้กับนักเรียนคนละ 1 เล่ม
ใช้สื่อสังคมออนไลน์เสริมกำรเรียนรู้แบบสืบเสำะหำควำมรู้
(20 ชั่วโมง)
ทำแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทำงกำรเรียนหลังเรียน (60 นำที)
ทำแบบสอบถำมควำมพึงพอใจ
10
ภำคผนวก
- สื่อสังคมออนไลน์
- แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนเรียน
- แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียน
- แบบสอบถามความพึงพอใจ
- เอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์ (สาหรับนักเรียน)
- เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์ (สาหรับครู)
11
สื่อสังคมออนไลน์
สื่อสังคมออนไลน์ หมายถึง วีดิทัศน์บน Youtube เรื่อง คลื่นกลและเสียง ที่ผู้วิจัยได้สร้างและ
พัฒนาขึ้น ซึ่งประกอบด้วย 4 ตอน ได้แก่
1. คลื่นกล ตอนที่ 1 (https://youtu.be/GEVXMtkItf8)
2. คลื่นกล ตอนที่ 2 (https://youtu.be/30ze8eYEx28)
12
3. เสียง ตอนที่ 1 (https://youtu.be/BRF5-n3eHuE)
4. เสียง ตอนที่ 2 (https://youtu.be/WdS8jtAPWhQ)
13
แบบวัดผลสัมฤทธิ์ทำงกำรเรียนก่อนเรียน เรื่อง คลื่นกลและเสียง ปีกำรศึกษำ 2559
รหัสวิชำ ว33101 วิชำวิทยำศำสตร์ 5 ชั้นมัธยมศึกษำปีที่ 6 คะแนน 40 คะแนน เวลำ 60 นำที
แบบทดสอบนี้มีจำนวน 40 ข้อ
คำสั่ง จงเลือกคาตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงคาตอบเดียวเท่านั้น แล้วทาเครื่องหมายกากบาท (X) ใน
กระดาษคาตอบ
1. คลื่นในข้อใดต่อไปนี้ เป็นคลื่นกลที่ต้องอาศัยตัวกลางในการเคลื่อนที่ทั้งหมด
1. คลื่นเสียง คลื่นวิทยุ คลื่นไมโครเวฟ 2. คลื่นเสียง คลื่นผิวน้า คลื่นในเส้นเชือก
3. คลื่นในสปริง คลื่นผิวน้า คลื่นแสง 4. คลื่นผิวน้า คลื่นเสียง คลื่นแสง
2. สมบัติใดของคลื่นกลที่แตกต่างไปจากคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
1. การสะท้อน 2. การแทรกสอด
3. การเลี้ยวเบน 4. การอาศัยตัวกลาง
3. ในขณะที่เกิดคลื่นตามขวาง อนุภาคของตัวกลางเคลื่อนที่อย่างไร
1. สั่นเป็นเส้นโค้งตามแนวคลื่น
2. สั่นเคลื่อนที่กลับไปกลับมาตามทิศการเคลื่อนที่ของคลื่น
3. สั่นเป็นเส้นตรงตามทิศการเคลื่อนที่ของคลื่น
4. สั่นตั้งฉากกับทิศการเคลื่อนที่ของคลื่น
4. ความยาวคลื่นจากถาดคลื่นมีค่า 4 เซนติเมตร ระยะจากแถบสว่างที่ 1 ถึงแถบสว่าง 5 ยาวกี่เซนติเมตร
1. 8 cm 2. 12 cm
3. 16 cm 4. 20 cm
5. จากกราฟการกระจัดกับระยะทางของคลื่น ความยาวคลื่นมีค่าเท่าใด
1. 2 cm 2. 4 cm
3. 6 cm 4. 8 cm
6. จากข้อ 5 ถ้าคลื่นดังกล่าวมีความถี่ 10 เฮิรตซ์ จะมีอัตราเร็วของคลื่นเท่าใด
1. 20 cm/s 2. 40 cm/s
3. 60 cm/s 4. 80 cm/s
14
7. จากการสังเกตแถบสว่างใต้ถาดคลื่นพบว่าแถบสว่างที่ 1 กับแถบสว่างที่ 4 ห่างกัน 12 เซนติเมตร ดัง
ภาพ ข้อใดกล่าวถูกต้องเกี่ยวกับคลื่นดังกล่าว
12 cm
1. เกิดจากแหล่งกาเนิดที่เป็นจุด และมีความยาวคลื่น 3 cm
2. เกิดจากแหล่งกาเนิดที่เป็นจุด และมีความยาวคลื่น 4 cm
3. เกิดจากแหล่งกาเนิดที่เป็นเส้นตรง และมีความยาวคลื่น 3 cm
4. เกิดจากแหล่งกาเนิดที่เป็นเส้นตรง และมีความยาวคลื่น 4 cm
8. ข้อใดกล่าวถึงแถบมืดและแถบสว่างที่ปรากฏใต้ถาดคลื่นถูกต้องที่สุด
1. ทั้งแถบมืดและแถบสว่างคือบริเวณสันคลื่น
2. ทั้งแถบมืดและแถบสว่างคือบริเวณท้องคลื่น
3. แถบมืดคือบริเวณท้องคลื่น แถบสว่างคือบริเวณสันคลื่น
4. แถบมืดคือบริเวณสันคลื่น แถบสว่างคือบริเวณท้องคลื่น
9. คลื่นขบวนหนึ่งเคลื่อนที่ไปตามผิวน้าด้วยอัตราเร็ว 20 เซนติเมตร/วินาที เมื่อปรับให้มอเตอร์หมุนด้วยความถี่
5 รอบ/วินาที แถบสว่างที่อยู่ติดกันจะห่างกันเท่าใด
1. 1.0 cm 2. 2.0 cm
3. 4.0 cm 4. 5.0 cm
10.คลื่นผิวน้ามีความเร็ว 10 เซนติเมตรต่อวินาที ถ้าระยะห่างจากท้องคลื่นถึงท้องคลื่นติดกันเท่ากับ
5 เซนติเมตร ความถี่มีค่าเท่าใด
1. 0.5 Hz 2. 2.0 Hz
3. 10 Hz 4. 50 Hz
11.ลูกบอลลูกหนึ่งตกลงน้าและสั่นขึ้นลงหลายรอบทาให้เกิดคลื่นผิวน้าแผ่ออกไปเป็นรูปวงกลม เมื่อผ่าน
ไป 5 วินาที คลื่นน้าแผ่ออกไปได้รัศมีสูงสุดประมาณ 15 เมตร มีระยะระหว่างสันคลื่นที่ติดกันเท่ากับ
1.5 เมตร ลูกบอลสั่นขึ้นลงด้วยความถี่ประมาณเท่าใด
1. 0.5 Hz 2. 1.0 Hz
3. 1.5 Hz 4. 2.0 Hz
15
12.ข้อใดกล่าวได้ถูกต้องเกี่ยวกับคลื่นในภาพ
C
A
B
1. มีคลื่นทั้งหมด 5 ลูก 2. ระยะ C คือ ความยาวคลื่น
3. ช่วงเวลา C คือ คาบของคลื่น 4. ตาแหน่ง A และ B มีการกระจัดเป็นบวก
13.คลื่นนิ่งในเส้นเชือกที่เวลาต่าง ๆ 3 เวลา ดังภาพ จงหาความเร็วของคลื่นในเชือกนี้
1. 15 m/s 2. 30 m/s
3. 60 m/s 4. 120 m/s
14.ถ้าผูกเชือกเป็นบ่วงคล้องกับเสาที่วางในแนวราบ จากนั้นสะบัดเชือกให้เกิดคลื่นเคลื่อนที่ไปตกกระทบ
เสาดังภาพ ข้อใดกล่าวถึงคลื่นสะท้อนได้ถูกต้องหากการสะท้อนไม่มีการสูญเสียพลังงาน
1. มีแอมพลิจูดลดลง
2. ทิศการกระจัดตรงข้ามกับคลื่นตกกระทบ
3. ทิศการกระจัดเหมือนกับคลื่นตกกระทบ
4. อัตราเร็วของคลื่นสะท้อนจะมากกว่าคลื่นตกกระทบ
16
15.คลื่นเคลื่อนที่ผ่านรอยต่อตัวกลางที่ไม่เหมือนกัน พบว่าสิ่งใดมีการเปลี่ยนแปลงเสมอ
ก. ความยาวคลื่น ข. อัตราเร็วของคลื่น
ค. ทิศทางการเคลื่อนที่ของคลื่น ง. ความถี่คลื่น
1. ข้อ ก และ ข 2. ข้อ ก และ ค
3. ข้อ ข ค และ ง 4. ข้อ ก ข ค และ ง
16.น้าลึกคลื่นจะมี...........(ก)...............ส่วนน้าตื้นจะมี...............(ข).................... แต่ทั้งน้าลึกและน้าตื้นจะมี
...........(ค).................
ข้อความ (ก) (ข) และ (ค) ควรเป็นข้อใดจึงจะเหมาะสมที่สุด ตามลาดับ
1. ความเร็วคลื่นน้อย ความเร็วคลื่นมาก ความถี่เท่ากัน
2. ความยาวคลื่นมาก ความยาวคลื่นน้อย ความถี่เท่ากัน
3. ความยาวคลื่นมาก ความยาวคลื่นน้อย ความเร็วคลื่นเท่ากัน
4. ความเร็วคลื่นมาก ความเร็วคลื่นน้อย ความยาวคลื่นเท่ากัน
17.ข้อใดกล่าวถึงการแทรกสอดของคลื่นในภาพ (ก) และ ภาพ (ข) ได้ถูกต้อง
(ก) (ข)
1. ภาพ (ก) และ (ข) เป็นการแทรกสอดเสริม
2. ภาพ (ก) และ (ข) เป็นการแทรกสอดหักล้าง
3. ภาพ (ก) เป็นการแทรกสอดหักล้าง ภาพ (ข) เป็นการแทรกสอดเสริม
4. ภาพ (ก) เป็นการแทรกสอดเสริม ภาพ (ข) เป็นการแทรกสอดหักล้าง
18.ข้อใดกล่าวถึงการแทรกสอดของคลื่นได้ถูกต้อง
1. ขณะเกิดการแทรกสอดเสริมจะทาให้ความถี่ของคลื่นเพิ่มขึ้น
2. ขณะเกิดการแทรกสอดหักล้างจะทาให้ความถี่ของคลื่นเพิ่มขึ้น
3. ขณะเกิดการแทรกสอดเสริมจะทาให้ขนาดการกระจัดของคลื่นเพิ่มขึ้น
4. ขณะเกิดการแทรกสอดหักล้างจะทาให้ขนาดการกระจัดของคลื่นเพิ่มขึ้น
17
19.ข้อใดกล่าวถูกต้องเกี่ยวกับการเลี้ยวเบนของคลื่น
1. คลื่นที่เลี้ยวเบนจะมีความถี่ลดลงเสมอ
2. คลื่นที่เลี้ยวเบนจะมีอัตราเร็วลดลงเสมอ
3. คลื่นที่เลี้ยวเบนจะมีความยาวลดลงเสมอ
4. คลื่นที่เลี้ยวเบนจะมีแอมพลิจูดลดลงเสมอ
20.ข้อใดเป็นสมบัติเฉพาะตัวของคลื่นเท่านั้น
1. การสะท้อน การหักเห 2. การหักเห การเลี้ยวเบน
3. การเลี้ยวเบน การแทรกสอด 4. การสะท้อน การแทรกสอด
21. เมื่อเคาะส้อมเสียง โมเลกุลของอากาศที่อยู่รอบ ๆ ส้อมเสียงจะมีการเคลื่อนที่อย่างไร
1. สั่นไปมาตามแนวระดับ 2. สั่นขึ้นและสั่นลงตามแนวดิ่ง
3. เคลื่อนที่ออกเป็นรูปคลื่น 4. เคลื่อนที่ออกจากส้อมเสียง
22. วางกระดิ่งไฟฟ้าที่ส่งเสียงดังตลอดเวลาและหลอดไฟฟ้าที่ให้แสงสว่างในครอบแก้ว ที่ภายในเป็น
สุญญากาศ ข้อใดถูกต้องที่สุด
1. ไม่ได้ยินเสียงกระดิ่ง แต่เห็นแสงจากหลอดไฟ
2. ไม่ได้ยินเสียงกระดิ่ง และไม่เห็นแสงจากหลอดไฟ
3. ได้ยินเสียงกระดิ่ง และเห็นแสงจากหลอดไฟ
4. ได้ยินเสียงกระดิ่ง แต่ไม่เห็นแสงจากหลอดไฟ
23. ข้อใดกล่าวถูกต้องเมื่อให้เสียงเคลื่อนที่จากบริเวณอากาศร้อนไปสู่บริเวณอากาศเย็น
1. อัตราเร็วของเสียงลด 2. ความถี่ลดลง
3. ความถี่เพิ่ม 4. อัตราเร็วของเสียงเพิ่ม
24. นักสารวจต้องการทราบความลึกของทะเลโดยใช้เครื่องโซนาร์ เมื่อปล่อยสัญญาณออกจากเครื่องส่ง
สามารถรับสัญญาณหลังจากส่งลงไปเป็นเวลา 0.6 วินาที ถ้าอัตราเร็วของเสียงในน้าเป็น 1,500 เมตร
ต่อวินาที ทะเลมีความลึกเท่าใด
1. 150 m 2. 300 m
3. 450 m 4. 900 m
18
25. ข้อใดกล่าวถึงความเข้มเสียงได้ถูกต้อง
1. แปรผกผันกับความถี่ของแหล่งกาเนิดเสียง
2. แปรผันตรงกับความถี่ของแหล่งกาเนิดเสียง
3. แปรผกผันกับระยะทางจากแหล่งกาเนิดเสียงยกกาลังสอง
4. แปรผันตรงกับระยะทางจากแหล่งกาเนิดเสียงยกกาลังสอง
26. ข้อใดเกี่ยวข้องกับการหักเหของคลื่นเสียง
1. ค้างคาวสามารถบินหลบสิ่งกีดขวางได้ในที่มืด
2. การไม่ได้ยินเสียงฟ้าร้อง แต่เห็นฟ้าแลบ
3. การบุผนังห้องประชุมด้วยวัสดุดูดซับเสียง
4. การได้ยินเสียงเพลงแม้หันลาโพงไปทางอื่น
27. เครื่องมือชนิดใดบ้างที่อาศัยสมบัติของเสียงมาใช้
ก. โซนาร์ ข. อัลตราซาวด์ ค. เรดาร์ ง. เลเซอร์
คาตอบที่ถูกที่สุดคือข้อใด
1. ก และ ข 2. ก และ ค
3. ข และ ค 4. ข และ ง
28. เสียงในข้อใดที่มนุษย์ปกติไม่ได้ยิน
1. เสียงที่ความเข้มเสียง 0.1 W/m2
และมีความถี่ 7 Hz
2. เสียงที่ความเข้มเสียง 10-10
W/m2
และมีความถี่ 100 Hz
3. เสียงที่ความเข้มเสียง 10 W/m2
และมีความถี่ 100 Hz
4. เสียงที่ความเข้มเสียง 10-10
W/m2
และมีความถี่ 15,000 Hz
29. เสียงที่มีระดับความเข้มเสียง 120 เดซิเบล จะมีความเข้มเสียงเท่าใด
1. 0.1 W/m2
2. 0.5 W/m2
3. 0.8 W/m2
4. 1.0 W/m2
30. เสียงที่มีความเข้ม 10-6
วัตต์ต่อตารางเมตร จะมีระดับความเข้มเสียงเท่าใด
1. 60 dB 2. 70 dB
3. 80 dB 4. 90 dB
31. ข้อใดต่อไปนี้เกี่ยวข้องกับการใช้คลื่นเสียงความถี่ต่า มากที่สุด
1. การหาอาหารของค้างคาว 2. การหาอาหารของโลมา
3. การสั่นในผลึกบางชนิด 4. การสื่อสารระยะไกลของช้าง
19
32. ถ้าบ้านอยู่ใกล้ทางรถไฟ จะมีวิธีการอย่างไรจึงจะทาให้ได้ยินเสียงที่มีระดับความเข้มเสียงลดลง
ก. สร้างรั้วให้ทึบ ข. ปลูกต้นไม้ให้หนาแน่น
ค. ติดกระจกบริเวณหน้าต่างและประตู
คาตอบที่ถูกต้องที่สุดคือข้อใด
1. ก และ ข 2. ข และ ค
3. ก และ ค 4. ก ข และ ค
33. เสียงในข้อใดมีความดังมากที่สุด
1. เสียงที่มีความถี่ 256 เฮิรตซ์ และมีความเข้มเสียง 0.1 วัตต์/ตารางเมตร
2. เสียงที่มีความถี่ 512 เฮิรตซ์ และมีระดับความเข้มเสียง 100 เดซิเบล
3. เสียงที่มีความถี่ 512 เฮิรตซ์ และมีระดับความเข้มเสียง 70 เดซิเบล
4. เสียงที่มีความถี่ 256 เฮิรตซ์ และมีความเข้มเสียง 1 วัตต์/ตารางเมตร
34. ข้อใดกล่าวถูกต้องเกี่ยวกับการได้ยินเสียง
1. เสียงแหลมจะมีระดับเสียงต่ากว่าเสียงทุ้ม
2. เสียงแหลมจะมีระดับเสียงสูงกว่าเสียงทุ้ม
3. เสียงดังมากจะมีระดับเสียงต่ากว่าเสียงดังน้อย
4. เสียงดังมากจะมีระดับเสียงสูงกว่าเสียงดังน้อย
35. ขณะยืนอยู่ขอบสระว่ายน้าได้ยินเสียงที่มีความถี่ 256 เฮิรตซ์ เมื่อฟังเสียงดังกล่าวใต้ผิวน้าความถี่ของ
เสียงที่ได้ยินจะเป็นอย่างไร
1. น้อยกว่า 256 เฮิรตซ์
2. 256 เฮิรตซ์ เท่าเดิม
3. มากกว่า 256 เฮิรตซ์
4. อาจมากกว่า หรือ น้อยกว่า 256 เฮิรตซ์ก็ได้ขึ้นอยู่กับอุณหภูมิของอากาศขณะนั้น
36. เมื่อไล่ระดับเสียงของเครื่องดนตรีจากระดับเสียงต่าไประดับเสียงสูง ข้อใดกล่าวได้ถูกต้องเกี่ยวกับโน้ต
เสียงโด (C) กับโน้ตเสียงเร (D)
1. เสียงโด (C) มีความถี่มากกว่าโน้ตเสียงเร (D)
2. เสียงโด (C) มีความถี่น้อยกว่าโน้ตเสียงเร (D)
3. เสียงโด (C) มีความดังมากกว่าโน้ตเสียงเร (D)
4. เสียงโด (C) มีความดังน้อยกว่าโน้ตเสียงเร (D)
20
37. จากสัญญาณเสียงในภาพ (ก) และ (ข) ซึ่งเป็นเสียงที่มีแอมพลิจูดเท่ากัน
(ก) (ข)
ข้อใดกล่าวถูกต้อง
1. สัญญาณเสียงในภาพ (ก) มีระดับเสียงต่ากว่าสัญญาณเสียงในภาพ (ข)
2. สัญญาณเสียงในภาพ (ก) มีระดับเสียงสูงกว่าสัญญาณเสียงในภาพ (ข)
3. สัญญาณเสียงในภาพ (ก) มีความดังน้อยกว่าสัญญาณเสียงในภาพ (ข)
4. สัญญาณเสียงในภาพ (ก) มีความดังมากกว่าสัญญาณเสียงในภาพ (ข)
38. การกระทาในข้อใดไม่สามารถป้องกันอันตรายจากมลพิษทางเสียงได้
1. ใส่เครื่องป้องกันเสียง
2. เปิดวิทยุให้เสียงดังมากกว่า
3. หลีกเลี่ยงแหล่งกาเนิดเสียงดัง
4. ปลูกต้นไม้สูง ๆ เป็นแนวกั้นเสียง
39. เสียงบีตส์เกิดจากการผสมกันของคลื่นเสียง 2 ขบวนที่มีสมบัติใดต่างกันเล็กน้อย
1. ความถี่ 2. ความดัง
3. แอมพลิจูด 4. อัตราเร็ว
40. เปล่าขลุ่ย 2 เลาพร้อมกันที่ตัวโน้ตเดียวกันเป็นเวลา 10 วินาที แต่เนื่องจากความไม่สมบูรณ์ของขลุ่ย
ทาให้เกิดเสียงบีตส์ นับเสียงดังได้ 20 ครั้ง ถ้าความถี่ของโน้ตจากขลุ่ยเลาหนึ่งคือ 350 Hz ความถี่ที่
เป็นไปได้ของตัวโน้ตจากขลุ่ยอีกเลาหนึ่งมีค่าเท่าใด
1. 346 Hz และ 348 Hz 2. 348 Hz และ 350 Hz
3. 348 Hz และ 352 Hz 4. 350 Hz และ 352 Hz
--------------------------------------------------------------------------------------------------
21
เฉลยแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทำงกำรเรียนก่อนเรียน
1. 2 2. 4 3. 4 4. 3 5. 2 6. 2 7. 4 8. 3 9. 3 10. 2
11. 4 12. 2 13. 1 14. 3 15. 1 16. 2 17. 4 18. 3 19. 4 20. 3
21. 1 22. 1 23. 1 24. 3 25. 3 26. 2 27. 1 28. 1 29. 4 30. 1
31. 4 32. 4 33. 4 34. 2 35. 2 36. 2 37. 1 38. 2 39. 1 40. 3
22
แบบวัดผลสัมฤทธิ์ทำงกำรเรียนหลังเรียน เรื่อง คลื่นกลและเสียง ปีกำรศึกษำ 2559
รหัสวิชำ ว33101 วิชำวิทยำศำสตร์ 5 ชั้นมัธยมศึกษำปีที่ 6 คะแนน 40 คะแนน เวลำ 60 นำที
แบบทดสอบนี้มีจำนวน 40 ข้อ
คำสั่ง จงเลือกคาตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงคาตอบเดียวเท่านั้น แล้วทาเครื่องหมายกากบาท (X) ใน
กระดาษคาตอบ
1. สมบัติใดของคลื่นกลที่แตกต่างไปจากคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
1. การสะท้อน 2. การแทรกสอด
3. การเลี้ยวเบน 4. การอาศัยตัวกลาง
2. ในขณะที่เกิดคลื่นตามขวาง อนุภาคของตัวกลางเคลื่อนที่อย่างไร
1. สั่นเป็นเส้นโค้งตามแนวคลื่น
2. สั่นตั้งฉากกับทิศการเคลื่อนที่ของคลื่น
3. สั่นเป็นเส้นตรงตามทิศการเคลื่อนที่ของคลื่น
4. สั่นเคลื่อนที่กลับไปกลับมาตามทิศการเคลื่อนที่ของคลื่น
3. คลื่นในข้อใดต่อไปนี้ เป็นคลื่นกลที่ต้องอาศัยตัวกลางในการเคลื่อนที่ทั้งหมด
1. คลื่นเสียง คลื่นวิทยุ คลื่นไมโครเวฟ 2. คลื่นผิวน้า คลื่นเสียง คลื่นแสง
3. คลื่นในสปริง คลื่นผิวน้า คลื่นแสง 4. คลื่นเสียง คลื่นผิวน้า คลื่นในเส้นเชือก
4. จากกราฟการกระจัดกับระยะทางของคลื่น ความยาวคลื่นมีค่าเท่าใด
1. 2 cm 2. 4 cm
3. 6 cm 4. 8 cm
5. จากข้อ 4 ถ้าคลื่นดังกล่าวมีความถี่ 10 เฮิรตซ์ จะมีอัตราเร็วของคลื่นเท่าใด
1. 20 cm/s 2. 40 cm/s
3. 60 cm/s 4. 80 cm/s
6. ความยาวคลื่นจากถาดคลื่นมีค่า 4 เซนติเมตร ระยะจากแถบสว่างที่ 1 ถึงแถบสว่าง 5 ยาวกี่
เซนติเมตร
1. 8 cm 2. 12 cm
3. 16 cm 4. 20 cm
23
7. ข้อใดกล่าวถึงแถบมืดและแถบสว่างที่ปรากฏใต้ถาดคลื่นถูกต้องที่สุด
1. ทั้งแถบมืดและแถบสว่างคือบริเวณสันคลื่น
2. ทั้งแถบมืดและแถบสว่างคือบริเวณท้องคลื่น
3. แถบมืดคือบริเวณสันคลื่น แถบสว่างคือบริเวณท้องคลื่น
4. แถบมืดคือบริเวณท้องคลื่น แถบสว่างคือบริเวณสันคลื่น
8. จากการสังเกตแถบสว่างใต้ถาดคลื่นพบว่าแถบสว่างที่ 1 กับแถบสว่างที่ 4 ห่างกัน 12 เซนติเมตร ดัง
ภาพ ข้อใดกล่าวถูกต้องเกี่ยวกับคลื่นดังกล่าว
12 cm
1. เกิดจากแหล่งกาเนิดที่เป็นจุด และมีความยาวคลื่น 3 cm
2. เกิดจากแหล่งกาเนิดที่เป็นจุด และมีความยาวคลื่น 4 cm
3. เกิดจากแหล่งกาเนิดที่เป็นเส้นตรง และมีความยาวคลื่น 3 cm
4. เกิดจากแหล่งกาเนิดที่เป็นเส้นตรง และมีความยาวคลื่น 4 cm
9. คลื่นผิวน้ามีความเร็ว 10 เซนติเมตรต่อวินาที ถ้าระยะห่างจากท้องคลื่นถึงท้องคลื่นติดกันเท่ากับ
5 เซนติเมตร ความถี่มีค่าเท่าใด
1. 0.5 Hz 2. 2.0 Hz
3. 10 Hz 4. 50 Hz
10. คลื่นขบวนหนึ่งเคลื่อนที่ไปตามผิวน้าด้วยอัตราเร็ว 20 เซนติเมตร/วินาที เมื่อปรับให้มอเตอร์หมุนด้วยความถี่
5 รอบ/วินาที แถบสว่างที่อยู่ติดกันจะห่างกันเท่าใด
1. 1.0 cm 2. 2.0 cm
3. 4.0 cm 4. 5.0 cm
11. ลูกบอลลูกหนึ่งตกลงน้าและสั่นขึ้นลงหลายรอบทาให้เกิดคลื่นผิวน้าแผ่ออกไปเป็นรูปวงกลม เมื่อผ่าน
ไป 5 วินาที คลื่นน้าแผ่ออกไปได้รัศมีสูงสุดประมาณ 15 เมตร มีระยะระหว่างสันคลื่นที่ติดกันเท่ากับ
1.5 เมตร ลูกบอลสั่นขึ้นลงด้วยความถี่ประมาณเท่าใด
1. 0.5 Hz 2. 1.0 Hz
3. 1.5 Hz 4. 2.0 Hz
24
12. คลื่นนิ่งในเส้นเชือกที่เวลาต่าง ๆ 3 เวลา ดังภาพ จงหาความเร็วของคลื่นในเชือกนี้
1. 15 m/s 2. 30 m/s
3. 60 m/s 4. 120 m/s
13. ข้อใดกล่าวได้ถูกต้องเกี่ยวกับคลื่นในภาพ
C
A
B
1. มีคลื่นทั้งหมด 5 ลูก 2. ระยะ C คือ ความยาวคลื่น
3. ช่วงเวลา C คือ คาบของคลื่น 4. ตาแหน่ง A และ B มีการกระจัดเป็นบวก
14. ถ้าผูกเชือกเป็นบ่วงคล้องกับเสาที่วางในแนวราบ จากนั้นสะบัดเชือกให้เกิดคลื่นเคลื่อนที่ไปตกกระทบ
เสาดังภาพ ข้อใดกล่าวถึงคลื่นสะท้อนได้ถูกต้องหากการสะท้อนไม่มีการสูญเสียพลังงาน
1. มีแอมพลิจูดลดลง
2. ทิศการกระจัดตรงข้ามกับคลื่นตกกระทบ
3. ทิศการกระจัดเหมือนกับคลื่นตกกระทบ
4. อัตราเร็วของคลื่นสะท้อนจะมากกว่าคลื่นตกกระทบ
25
15. น้าลึกคลื่นจะมี...........(ก)...............ส่วนน้าตื้นจะมี...............(ข).................... แต่ทั้งน้าลึกและน้าตื้นจะ
มี...........(ค).................
ข้อความ (ก) (ข) และ (ค) ควรเป็นข้อใดจึงจะเหมาะสมที่สุด ตามลาดับ
1. ความยาวคลื่นมาก ความยาวคลื่นน้อย ความถี่เท่ากัน
2. ความเร็วคลื่นน้อย ความเร็วคลื่นมาก ความถี่เท่ากัน
3. ความยาวคลื่นมาก ความยาวคลื่นน้อย ความเร็วคลื่นเท่ากัน
4. ความเร็วคลื่นมาก ความเร็วคลื่นน้อย ความยาวคลื่นเท่ากัน
16. คลื่นเคลื่อนที่ผ่านรอยต่อตัวกลางที่ไม่เหมือนกัน พบว่าสิ่งใดมีการเปลี่ยนแปลงเสมอ
ก. ความยาวคลื่น ข. อัตราเร็วของคลื่น
ค. ทิศทางการเคลื่อนที่ของคลื่น ง. ความถี่คลื่น
1. ข้อ ก และ ข 2. ข้อ ก และ ค
3. ข้อ ข ค และ ง 4. ข้อ ก ข ค และ ง
17. ข้อใดกล่าวถึงการแทรกสอดของคลื่นได้ถูกต้อง
1. ขณะเกิดการแทรกสอดเสริมจะทาให้ความถี่ของคลื่นเพิ่มขึ้น
2. ขณะเกิดการแทรกสอดหักล้างจะทาให้ความถี่ของคลื่นเพิ่มขึ้น
3. ขณะเกิดการแทรกสอดเสริมจะทาให้ขนาดการกระจัดของคลื่นเพิ่มขึ้น
4. ขณะเกิดการแทรกสอดหักล้างจะทาให้ขนาดการกระจัดของคลื่นเพิ่มขึ้น
18. ข้อใดกล่าวถึงการแทรกสอดของคลื่นในภาพ (ก) และ ภาพ (ข) ได้ถูกต้อง
(ก) (ข)
1. ภาพ (ก) และ (ข) เป็นการแทรกสอดเสริม
2. ภาพ (ก) และ (ข) เป็นการแทรกสอดหักล้าง
3. ภาพ (ก) เป็นการแทรกสอดเสริม ภาพ (ข) เป็นการแทรกสอดหักล้าง
4. ภาพ (ก) เป็นการแทรกสอดหักล้าง ภาพ (ข) เป็นการแทรกสอดเสริม
26
19. ข้อใดกล่าวถูกต้องเกี่ยวกับการเลี้ยวเบนของคลื่น
1. คลื่นที่เลี้ยวเบนจะมีความถี่ลดลงเสมอ
2. คลื่นที่เลี้ยวเบนจะมีอัตราเร็วลดลงเสมอ
3. คลื่นที่เลี้ยวเบนจะมีความยาวลดลงเสมอ
4. คลื่นที่เลี้ยวเบนจะมีแอมพลิจูดลดลงเสมอ
20. ข้อใดเป็นสมบัติเฉพาะตัวของคลื่นเท่านั้น
1. การสะท้อน การหักเห 2. การหักเห การเลี้ยวเบน
3. การเลี้ยวเบน การแทรกสอด 4. การสะท้อน การแทรกสอด
21. วางกระดิ่งไฟฟ้าที่ส่งเสียงดังตลอดเวลาและหลอดไฟฟ้าที่ให้แสงสว่างในครอบแก้ว ที่ภายในเป็น
สุญญากาศ ข้อใดถูกต้องที่สุด
1. ไม่ได้ยินเสียงกระดิ่ง แต่เห็นแสงจากหลอดไฟ
2. ไม่ได้ยินเสียงกระดิ่ง และไม่เห็นแสงจากหลอดไฟ
3. ได้ยินเสียงกระดิ่ง และเห็นแสงจากหลอดไฟ
4. ได้ยินเสียงกระดิ่ง แต่ไม่เห็นแสงจากหลอดไฟ
22. เมื่อเคาะส้อมเสียง โมเลกุลของอากาศที่อยู่รอบ ๆ ส้อมเสียงจะมีการเคลื่อนที่อย่างไร
1. สั่นไปมาตามแนวระดับ 2. สั่นขึ้นและสั่นลงตามแนวดิ่ง
3. เคลื่อนที่ออกเป็นรูปคลื่น 4. เคลื่อนที่ออกจากส้อมเสียง
23. ข้อใดกล่าวถูกต้องเมื่อให้เสียงเคลื่อนที่จากบริเวณอากาศร้อนไปสู่บริเวณอากาศเย็น
1. ความถี่เพิ่ม 2. ความถี่ลดลง
3. อัตราเร็วของเสียงลด 4. อัตราเร็วของเสียงเพิ่ม
24. นักสารวจต้องการทราบความลึกของทะเลโดยใช้เครื่องโซนาร์ เมื่อปล่อยสัญญาณออกจากเครื่องส่ง
สามารถรับสัญญาณหลังจากส่งลงไปเป็นเวลา 0.6 วินาที ถ้าอัตราเร็วของเสียงในน้าเป็น 1,500 เมตร
ต่อวินาที ทะเลมีความลึกเท่าใด
1. 150 m 2. 300 m
3. 450 m 4. 900 m
27
25. ข้อใดเกี่ยวข้องกับการหักเหของคลื่นเสียง
1. ค้างคาวสามารถบินหลบสิ่งกีดขวางได้ในที่มืด
2. การไม่ได้ยินเสียงฟ้าร้อง แต่เห็นฟ้าแลบ
3. การบุผนังห้องประชุมด้วยวัสดุดูดซับเสียง
4. การได้ยินเสียงเพลงแม้หันลาโพงไปทางอื่น
26. เครื่องมือชนิดใดบ้างที่อาศัยสมบัติของเสียงมาใช้
ก. โซนาร์ ข. อัลตราซาวด์ ค. เรดาร์ ง. เลเซอร์
คาตอบที่ถูกที่สุดคือข้อใด
1. ก และ ข 2. ก และ ค
3. ข และ ค 4. ข และ ง
27. ข้อใดกล่าวถึงความเข้มเสียงได้ถูกต้อง
1. แปรผกผันกับความถี่ของแหล่งกาเนิดเสียง
2. แปรผันตรงกับความถี่ของแหล่งกาเนิดเสียง
3. แปรผกผันกับระยะทางจากแหล่งกาเนิดเสียงยกกาลังสอง
4. แปรผันตรงกับระยะทางจากแหล่งกาเนิดเสียงยกกาลังสอง
28. เสียงที่มีระดับความเข้มเสียง 120 เดซิเบล จะมีความเข้มเสียงเท่าใด
1. 0.1 W/m2
2. 0.5 W/m2
3. 0.8 W/m2
4. 1.0 W/m2
29. เสียงที่มีความเข้ม 10-6
วัตต์ต่อตารางเมตร จะมีระดับความเข้มเสียงเท่าใด
1. 60 dB 2. 70 dB
3. 80 dB 4. 90 dB
30. เสียงในข้อใดที่มนุษย์ปกติไม่ได้ยิน
1. เสียงที่ความเข้มเสียง 0.1 W/m2
และมีความถี่ 7 Hz
2. เสียงที่ความเข้มเสียง 10-10
W/m2
และมีความถี่ 100 Hz
3. เสียงที่ความเข้มเสียง 10 W/m2
และมีความถี่ 100 Hz
4. เสียงที่ความเข้มเสียง 10-10
W/m2
และมีความถี่ 15,000 Hz
31. ข้อใดต่อไปนี้เกี่ยวข้องกับการใช้คลื่นเสียงความถี่ต่า มากที่สุด
1. การหาอาหารของค้างคาว 2. การหาอาหารของโลมา
3. การสั่นในผลึกบางชนิด 4. การสื่อสารระยะไกลของช้าง
28
32. ข้อใดกล่าวถูกต้องเกี่ยวกับการได้ยินเสียง
1. เสียงแหลมจะมีระดับเสียงต่ากว่าเสียงทุ้ม
2. เสียงแหลมจะมีระดับเสียงสูงกว่าเสียงทุ้ม
3. เสียงดังมากจะมีระดับเสียงต่ากว่าเสียงดังน้อย
4. เสียงดังมากจะมีระดับเสียงสูงกว่าเสียงดังน้อย
33. เสียงในข้อใดมีความดังมากที่สุด
1. เสียงที่มีความถี่ 256 เฮิรตซ์ และมีความเข้มเสียง 0.1 วัตต์/ตารางเมตร
2. เสียงที่มีความถี่ 512 เฮิรตซ์ และมีระดับความเข้มเสียง 100 เดซิเบล
3. เสียงที่มีความถี่ 512 เฮิรตซ์ และมีระดับความเข้มเสียง 70 เดซิเบล
4. เสียงที่มีความถี่ 256 เฮิรตซ์ และมีความเข้มเสียง 1 วัตต์/ตารางเมตร
34. เมื่อไล่ระดับเสียงของเครื่องดนตรีจากระดับเสียงต่าไประดับเสียงสูง ข้อใดกล่าวได้ถูกต้องเกี่ยวกับโน้ต
เสียงโด (C) กับโน้ตเสียงเร (D)
1. เสียงโด (C) มีความถี่มากกว่าโน้ตเสียงเร (D)
2. เสียงโด (C) มีความถี่น้อยกว่าโน้ตเสียงเร (D)
3. เสียงโด (C) มีความดังมากกว่าโน้ตเสียงเร (D)
4. เสียงโด (C) มีความดังน้อยกว่าโน้ตเสียงเร (D)
35. ขณะยืนอยู่ขอบสระว่ายน้าได้ยินเสียงที่มีความถี่ 256 เฮิรตซ์ เมื่อฟังเสียงดังกล่าวใต้ผิวน้าความถี่ของ
เสียงที่ได้ยินจะเป็นอย่างไร
1. น้อยกว่า 256 เฮิรตซ์
2. 256 เฮิรตซ์ เท่าเดิม
3. มากกว่า 256 เฮิรตซ์
4. อาจมากกว่า หรือ น้อยกว่า 256 เฮิรตซ์ก็ได้ขึ้นอยู่กับอุณหภูมิของอากาศขณะนั้น
36. จากสัญญาณเสียงในภาพ (ก) และ (ข) ซึ่งเป็นเสียงที่มีแอมพลิจูดเท่ากัน
(ก) (ข)
ข้อใดกล่าวถูกต้อง
1. สัญญาณเสียงในภาพ (ก) มีระดับเสียงต่ากว่าสัญญาณเสียงในภาพ (ข)
2. สัญญาณเสียงในภาพ (ก) มีระดับเสียงสูงกว่าสัญญาณเสียงในภาพ (ข)
3. สัญญาณเสียงในภาพ (ก) มีความดังน้อยกว่าสัญญาณเสียงในภาพ (ข)
4. สัญญาณเสียงในภาพ (ก) มีความดังมากกว่าสัญญาณเสียงในภาพ (ข)
29
37. เสียงบีตส์เกิดจากการผสมกันของคลื่นเสียง 2 ขบวนที่มีสมบัติใดต่างกันเล็กน้อย
1. ความถี่ 2. ความดัง
3. แอมพลิจูด 4. อัตราเร็ว
38. เปล่าขลุ่ย 2 เลาพร้อมกันที่ตัวโน้ตเดียวกันเป็นเวลา 10 วินาที แต่เนื่องจากความไม่สมบูรณ์ของขลุ่ย
ทาให้เกิดเสียงบีตส์ นับเสียงดังได้ 20 ครั้ง ถ้าความถี่ของโน้ตจากขลุ่ยเลาหนึ่งคือ 350 Hz ความถี่ที่
เป็นไปได้ของตัวโน้ตจากขลุ่ยอีกเลาหนึ่งมีค่าเท่าใด
1. 346 Hz และ 348 Hz 2. 348 Hz และ 350 Hz
3. 348 Hz และ 352 Hz 4. 350 Hz และ 352 Hz
39. การกระทาในข้อใดไม่สามารถป้องกันอันตรายจากมลพิษทางเสียงได้
1. ใส่เครื่องป้องกันเสียง
2. เปิดวิทยุให้เสียงดังมากกว่า
3. หลีกเลี่ยงแหล่งกาเนิดเสียงดัง
4. ปลูกต้นไม้สูง ๆ เป็นแนวกั้นเสียง
40. ถ้าบ้านอยู่ใกล้ทางรถไฟ จะมีวิธีการอย่างไรจึงจะทาให้ได้ยินเสียงที่มีระดับความเข้มเสียงลดลง
ก. สร้างรั้วให้ทึบ ข. ปลูกต้นไม้ให้หนาแน่น
ค. ติดกระจกบริเวณหน้าต่างและประตู
คาตอบที่ถูกต้องที่สุดคือข้อใด
1. ก และ ข 2. ข และ ค
3. ก และ ค 4. ก ข และ ค
--------------------------------------------------------------------------------------------------
30
เฉลยแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทำงกำรเรียนหลังเรียน
1. 4 2. 2 3. 4 4. 2 5. 2 6. 3 7. 4 8. 4 9. 2 10. 3
11. 4 12. 1 13. 2 14. 3 15. 1 16. 1 17. 3 18. 3 19. 4 20. 3
21. 1 22. 1 23. 3 24. 3 25. 2 26. 1 27. 3 28. 4 29. 1 30. 1
31. 4 32. 2 33. 4 34. 2 35. 2 36. 1 37. 1 38. 3 39. 2 40. 4
31
แบบสอบถำมควำมพึงพอใจต่อกำรใช้สื่อสังคมออนไลน์
เสริมกำรจัดกำรเรียนรู้แบบสืบเสำะหำควำมรู้ เรื่อง คลื่นกลและเสียง
คำชี้แจง: ให้นักเรียนทาเครื่องหมาย  ลงในช่องว่างที่ตรงกับความคิดเห็นของนักเรียน
ข้อ รำยกำร
ควำมพึงพอใจ
มำก
ที่สุด
มำก
ปำน
กลำง
น้อย
น้อย
ที่สุด
ด้ำนกำรจัดกำรเรียนรู้แบบสืบเสำะหำควำมรู้
1 นักเรียนมีความความสนใจ อยากรู้อยากเห็นเกี่ยวกับเรื่อง
ที่ครูสอน
2 นักเรียนได้ฝึกการทางานร่วมกันเพื่อระดมความคิดในการ
สารวจคาตอบ
3 นักเรียนได้ฝึกใช้ประสบการณ์เดิมของตนเป็นพื้นฐานใน
การอธิบายความคิดรวบยอด
4 นักเรียนได้ฝึกการนาสิ่งที่ได้เรียนรู้ไปประยุกต์ใช้หรือขยาย
ความรู้และทักษะในสถานการณ์ใหม่
5 กิจกรรมการเรียนรู้ส่งเสริมให้นักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจ
เกี่ยวกับวิทยาศาสตร์
6 กิจกรรมการเรียนรู้ส่งเสริมให้นักเรียนมีเจตคติที่ดีต่อ
วิทยาศาสตร์
7 กิจกรรมการเรียนรู้ส่งเสริมให้นักเรียนมีทักษะกระบวนการ
ทางวิทยาศาสตร์
8 ใบความรู้และสื่อที่ใช้ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้น่าสนใจ
9 ความเหมาะสมของวิธีการวัดและเครื่องมือที่ใช้วัดและ
ประเมินผล
10 กิจกรรมการเรียนรู้ช่วยในการทาแบบทดสอบวัดผล
สัมฤทธิ์ทางการเรียนได้
32
ข้อ รำยกำร
ควำมพึงพอใจ
มำก
ที่สุด
มำก
ปำน
กลำง
น้อย
น้อย
ที่สุด
ด้ำนสื่อสังคมออนไลน์และเอกสำรประกอบ
11 ความถูกต้องเชิงเนื้อหา
12 ความต่อเนื่องของเนื้อหา
13 ความสะดวกและง่ายต่อการใช้งาน
14 เร้าความสนใจ ให้เกิดการใฝ่รู้
15 ภาพและเสียงมีความชัดเจน
16 เนื้อหาในแต่ละวีดิทัศน์เหมาะสมกับเวลา
17 ช่วยในการทบทวนเนื้อหาบทเรียนได้
18 ทาให้นักเรียนเข้าใจเนื้อหาเพิ่มมากขึ้น
19 ช่วยให้นักเรียนได้ข้อสรุปในเนื้อหาที่ถูกต้อง
20 ส่งเสริมให้นักเรียนใช้สื่อสังคมออนไลน์ในการเรียนรู้เรื่อง
อื่น
ข้อเสนอแนะอื่น ๆ
....................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................
33
เอกสำรประกอบสื่อสังคมออนไลน์
เรื่อง คลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสำรประกอบสื่อสังคมออนไลน์
เรื่อง คลื่นกลและเสียง
นายพิพัฒน์พงษ์ สาจันทร์
ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ชานาญการ
โรงเรียนเทพลีลา เขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 2
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
เอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์
เรื่อง คลื่นกลและเสียง
ก
คำนำ
เอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์ เรื่อง คลื่นกลและเสียง ชุดนี้ จัดทาขึ้นสาหรับนักเรียนชั้น
มัธยมศึกษาปีที่ 6 กลุ่มที่ไม่เน้นวิทยาศาสตร์ โรงเรียนเทพลีลา ซึ่งสอดคล้องกับมาตรฐานและตัวชี้วัดของ
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 การเรียบเรียงเป็นไปอย่างกระชับชัดเจน มี
ตัวอย่างข้อสอบที่หลากหลายให้นักเรียนได้ฝึกการแก้ปัญหา นักเรียนควรใช้เอกสารชุดนี้ควบคู่กับวีดิทัศน์จาก
Youtube https://www.youtube.com/playlist?list=PLdzyCGGrSoCP2JXYhTVbkfsSas62AImiR และ
เว็บไซต์http://www.tl-learning.com/
หวังเป็นอย่างยิ่งว่าเอกสารชุดนี้จะช่วยให้นักเรียนโรงเรียนเทพลีลาตลอดจนผู้สนใจทั่วไปเข้าใจวิชา
วิทยาศาสตร์ สาระที่ 5 พลังงาน เรื่องคลื่นกลและเสียง ได้เป็นอย่างดี
ขอขอบพระคุณท่านผู้อานวยการ รองผู้อานวยการ หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ คณะครู
โรงเรียนเทพลีลา ที่ให้กาลังใจและให้การสนับสนุนการจัดทาเอกสารชุดนี้เป็นอย่างดี และขอขอบใจนักเรียน
โรงเรียนเทพลีลาทุกคนที่ให้คาแนะนาการจัดทารูปแบบ ความเหมาะสมของสื่อ จนสามารถดาเนินงานสาเร็จ
ลุล่วงไปด้วยดี
นายพิพัฒน์พงษ์ สาจันทร์
ครู คศ.2
ข
สำรบัญ
เรื่อง หน้ำ
คำนำ.........................................................................................................................................................ก
คำชี้แจง....................................................................................................................................................ค
บทที่ 1 คลื่นกล.........................................................................................................................................1
ความหมายและประเภทของคลื่น................................................................................................ 11.1
ส่วนประกอบของคลื่น................................................................................................................. 41.2
แบบฝึกหัด เรื่องคลื่นกล ชุดที่ 1..............................................................................................................17
แบบฝึกหัด เรื่องคลื่นกล ชุดที่ 2..............................................................................................................19
บทที่ 2 เสียง...........................................................................................................................................21
การเกิดเสียงและการเคลื่อนที่ของเสียง.....................................................................................212.1
ความถี่ อัตราเร็วของเสียง.........................................................................................................232.2
สมบัติของเสียง..........................................................................................................................252.3
ลักษณะทางกายภาพของคลื่นเสียง...........................................................................................302.4
บีตส์..........................................................................................................................................352.5
แบบฝึกหัด เรื่องเสียง ชุดที่ 1..................................................................................................................37
แบบฝึกหัด เรื่องเสียง ชุดที่ 2..................................................................................................................39
บรรณำนุกรม...........................................................................................................................................41
คู่มือการใช้นวัตกรรมคลื่นกลและเสียง
คู่มือการใช้นวัตกรรมคลื่นกลและเสียง
คู่มือการใช้นวัตกรรมคลื่นกลและเสียง
คู่มือการใช้นวัตกรรมคลื่นกลและเสียง
คู่มือการใช้นวัตกรรมคลื่นกลและเสียง
คู่มือการใช้นวัตกรรมคลื่นกลและเสียง
คู่มือการใช้นวัตกรรมคลื่นกลและเสียง
คู่มือการใช้นวัตกรรมคลื่นกลและเสียง
คู่มือการใช้นวัตกรรมคลื่นกลและเสียง
คู่มือการใช้นวัตกรรมคลื่นกลและเสียง
คู่มือการใช้นวัตกรรมคลื่นกลและเสียง
คู่มือการใช้นวัตกรรมคลื่นกลและเสียง
คู่มือการใช้นวัตกรรมคลื่นกลและเสียง
คู่มือการใช้นวัตกรรมคลื่นกลและเสียง
คู่มือการใช้นวัตกรรมคลื่นกลและเสียง
คู่มือการใช้นวัตกรรมคลื่นกลและเสียง
คู่มือการใช้นวัตกรรมคลื่นกลและเสียง
คู่มือการใช้นวัตกรรมคลื่นกลและเสียง
คู่มือการใช้นวัตกรรมคลื่นกลและเสียง
คู่มือการใช้นวัตกรรมคลื่นกลและเสียง
คู่มือการใช้นวัตกรรมคลื่นกลและเสียง
คู่มือการใช้นวัตกรรมคลื่นกลและเสียง
คู่มือการใช้นวัตกรรมคลื่นกลและเสียง
คู่มือการใช้นวัตกรรมคลื่นกลและเสียง
คู่มือการใช้นวัตกรรมคลื่นกลและเสียง
คู่มือการใช้นวัตกรรมคลื่นกลและเสียง
คู่มือการใช้นวัตกรรมคลื่นกลและเสียง
คู่มือการใช้นวัตกรรมคลื่นกลและเสียง
คู่มือการใช้นวัตกรรมคลื่นกลและเสียง
คู่มือการใช้นวัตกรรมคลื่นกลและเสียง
คู่มือการใช้นวัตกรรมคลื่นกลและเสียง
คู่มือการใช้นวัตกรรมคลื่นกลและเสียง
คู่มือการใช้นวัตกรรมคลื่นกลและเสียง
คู่มือการใช้นวัตกรรมคลื่นกลและเสียง
คู่มือการใช้นวัตกรรมคลื่นกลและเสียง
คู่มือการใช้นวัตกรรมคลื่นกลและเสียง
คู่มือการใช้นวัตกรรมคลื่นกลและเสียง
คู่มือการใช้นวัตกรรมคลื่นกลและเสียง
คู่มือการใช้นวัตกรรมคลื่นกลและเสียง
คู่มือการใช้นวัตกรรมคลื่นกลและเสียง
คู่มือการใช้นวัตกรรมคลื่นกลและเสียง
คู่มือการใช้นวัตกรรมคลื่นกลและเสียง
คู่มือการใช้นวัตกรรมคลื่นกลและเสียง
คู่มือการใช้นวัตกรรมคลื่นกลและเสียง
คู่มือการใช้นวัตกรรมคลื่นกลและเสียง
คู่มือการใช้นวัตกรรมคลื่นกลและเสียง
คู่มือการใช้นวัตกรรมคลื่นกลและเสียง
คู่มือการใช้นวัตกรรมคลื่นกลและเสียง
คู่มือการใช้นวัตกรรมคลื่นกลและเสียง
คู่มือการใช้นวัตกรรมคลื่นกลและเสียง
คู่มือการใช้นวัตกรรมคลื่นกลและเสียง
คู่มือการใช้นวัตกรรมคลื่นกลและเสียง
คู่มือการใช้นวัตกรรมคลื่นกลและเสียง
คู่มือการใช้นวัตกรรมคลื่นกลและเสียง
คู่มือการใช้นวัตกรรมคลื่นกลและเสียง
คู่มือการใช้นวัตกรรมคลื่นกลและเสียง
คู่มือการใช้นวัตกรรมคลื่นกลและเสียง
คู่มือการใช้นวัตกรรมคลื่นกลและเสียง
คู่มือการใช้นวัตกรรมคลื่นกลและเสียง
คู่มือการใช้นวัตกรรมคลื่นกลและเสียง
คู่มือการใช้นวัตกรรมคลื่นกลและเสียง
คู่มือการใช้นวัตกรรมคลื่นกลและเสียง
คู่มือการใช้นวัตกรรมคลื่นกลและเสียง
คู่มือการใช้นวัตกรรมคลื่นกลและเสียง
คู่มือการใช้นวัตกรรมคลื่นกลและเสียง
คู่มือการใช้นวัตกรรมคลื่นกลและเสียง
คู่มือการใช้นวัตกรรมคลื่นกลและเสียง
คู่มือการใช้นวัตกรรมคลื่นกลและเสียง
คู่มือการใช้นวัตกรรมคลื่นกลและเสียง
คู่มือการใช้นวัตกรรมคลื่นกลและเสียง
คู่มือการใช้นวัตกรรมคลื่นกลและเสียง
คู่มือการใช้นวัตกรรมคลื่นกลและเสียง
คู่มือการใช้นวัตกรรมคลื่นกลและเสียง
คู่มือการใช้นวัตกรรมคลื่นกลและเสียง
คู่มือการใช้นวัตกรรมคลื่นกลและเสียง
คู่มือการใช้นวัตกรรมคลื่นกลและเสียง
คู่มือการใช้นวัตกรรมคลื่นกลและเสียง
คู่มือการใช้นวัตกรรมคลื่นกลและเสียง
คู่มือการใช้นวัตกรรมคลื่นกลและเสียง
คู่มือการใช้นวัตกรรมคลื่นกลและเสียง
คู่มือการใช้นวัตกรรมคลื่นกลและเสียง
คู่มือการใช้นวัตกรรมคลื่นกลและเสียง
คู่มือการใช้นวัตกรรมคลื่นกลและเสียง
คู่มือการใช้นวัตกรรมคลื่นกลและเสียง
คู่มือการใช้นวัตกรรมคลื่นกลและเสียง
คู่มือการใช้นวัตกรรมคลื่นกลและเสียง
คู่มือการใช้นวัตกรรมคลื่นกลและเสียง
คู่มือการใช้นวัตกรรมคลื่นกลและเสียง
คู่มือการใช้นวัตกรรมคลื่นกลและเสียง

More Related Content

What's hot

แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3Jariya Jaiyot
 
เรื่องปัญหายาเสพติด
เรื่องปัญหายาเสพติดเรื่องปัญหายาเสพติด
เรื่องปัญหายาเสพติด
พัน พัน
 
แบบทดสอบโครงงาน
แบบทดสอบโครงงานแบบทดสอบโครงงาน
แบบทดสอบโครงงานRattana Wongphu-nga
 
บทที่ 3 การจัดการศึกษาปฐมวัยในยุโรปและอเมริกา 55
บทที่ 3 การจัดการศึกษาปฐมวัยในยุโรปและอเมริกา 55บทที่ 3 การจัดการศึกษาปฐมวัยในยุโรปและอเมริกา 55
บทที่ 3 การจัดการศึกษาปฐมวัยในยุโรปและอเมริกา 55Decode Ac
 
แผนบูรณาการสะเต็ม ร่มพยุงไข่
แผนบูรณาการสะเต็ม ร่มพยุงไข่แผนบูรณาการสะเต็ม ร่มพยุงไข่
แผนบูรณาการสะเต็ม ร่มพยุงไข่
Wijitta DevilTeacher
 
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1Sumarin Sanguanwong
 
แผนการจัดการเรียนรู้ฟิสิกส์ เรื่อง การเคลื่อนที่ของเสียง
แผนการจัดการเรียนรู้ฟิสิกส์  เรื่อง การเคลื่อนที่ของเสียงแผนการจัดการเรียนรู้ฟิสิกส์  เรื่อง การเคลื่อนที่ของเสียง
แผนการจัดการเรียนรู้ฟิสิกส์ เรื่อง การเคลื่อนที่ของเสียง
SunanthaIamprasert
 
1 รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์2557 สำรวจแมงมุม ศพว
1 รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์2557 สำรวจแมงมุม ศพว1 รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์2557 สำรวจแมงมุม ศพว
1 รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์2557 สำรวจแมงมุม ศพว
Sircom Smarnbua
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง วิวัฒนาการ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง วิวัฒนาการหน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง วิวัฒนาการ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง วิวัฒนาการ
Wichai Likitponrak
 
แนวคิด ทฤษฎีการเรียนรู้ร่วมสมัย
แนวคิด ทฤษฎีการเรียนรู้ร่วมสมัยแนวคิด ทฤษฎีการเรียนรู้ร่วมสมัย
แนวคิด ทฤษฎีการเรียนรู้ร่วมสมัย
khanidthakpt
 
ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
Thanawut Rattanadon
 
แนะนำอุปกรณ์ห้องปฏิบัติการวิทย์
แนะนำอุปกรณ์ห้องปฏิบัติการวิทย์แนะนำอุปกรณ์ห้องปฏิบัติการวิทย์
แนะนำอุปกรณ์ห้องปฏิบัติการวิทย์Jariya Jaiyot
 
แนวคิดเสรีนิยม
แนวคิดเสรีนิยมแนวคิดเสรีนิยม
แนวคิดเสรีนิยมGolfzie Loliconer
 
ตัวอย่างโครงการสอน
ตัวอย่างโครงการสอนตัวอย่างโครงการสอน
ตัวอย่างโครงการสอนKrupol Phato
 
คำกริยาที่บ่งบอกพฤติกรรมการเรียนรู้ KPA
คำกริยาที่บ่งบอกพฤติกรรมการเรียนรู้ KPAคำกริยาที่บ่งบอกพฤติกรรมการเรียนรู้ KPA
คำกริยาที่บ่งบอกพฤติกรรมการเรียนรู้ KPAณัฐพล แสงทวี
 
หน่วยที่ 5 การวางโครงเรื่องของเรียงความ
หน่วยที่ 5 การวางโครงเรื่องของเรียงความหน่วยที่ 5 การวางโครงเรื่องของเรียงความ
หน่วยที่ 5 การวางโครงเรื่องของเรียงความขนิษฐา ทวีศรี
 
บทที่ 8 การสังเกตพฤติกรรมเด็ก 55
บทที่ 8 การสังเกตพฤติกรรมเด็ก 55บทที่ 8 การสังเกตพฤติกรรมเด็ก 55
บทที่ 8 การสังเกตพฤติกรรมเด็ก 55Decode Ac
 
แบบสอบถามความคิดเห็นสำหรับผู้เชี่ยวชาญด้านเนื้อหาเกี่ยวกับ
แบบสอบถามความคิดเห็นสำหรับผู้เชี่ยวชาญด้านเนื้อหาเกี่ยวกับแบบสอบถามความคิดเห็นสำหรับผู้เชี่ยวชาญด้านเนื้อหาเกี่ยวกับ
แบบสอบถามความคิดเห็นสำหรับผู้เชี่ยวชาญด้านเนื้อหาเกี่ยวกับ
บุญรักษา ของฉัน
 
คลื่นและเสียง
คลื่นและเสียงคลื่นและเสียง
คลื่นและเสียง
โรงเรียนเทพลีลา
 

What's hot (20)

แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบดาราศาสตร์ ม.3
 
เรื่องปัญหายาเสพติด
เรื่องปัญหายาเสพติดเรื่องปัญหายาเสพติด
เรื่องปัญหายาเสพติด
 
แบบทดสอบโครงงาน
แบบทดสอบโครงงานแบบทดสอบโครงงาน
แบบทดสอบโครงงาน
 
บทที่ 3 การจัดการศึกษาปฐมวัยในยุโรปและอเมริกา 55
บทที่ 3 การจัดการศึกษาปฐมวัยในยุโรปและอเมริกา 55บทที่ 3 การจัดการศึกษาปฐมวัยในยุโรปและอเมริกา 55
บทที่ 3 การจัดการศึกษาปฐมวัยในยุโรปและอเมริกา 55
 
แผนบูรณาการสะเต็ม ร่มพยุงไข่
แผนบูรณาการสะเต็ม ร่มพยุงไข่แผนบูรณาการสะเต็ม ร่มพยุงไข่
แผนบูรณาการสะเต็ม ร่มพยุงไข่
 
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1
 
แสง และการมองเห็น
แสง และการมองเห็นแสง และการมองเห็น
แสง และการมองเห็น
 
แผนการจัดการเรียนรู้ฟิสิกส์ เรื่อง การเคลื่อนที่ของเสียง
แผนการจัดการเรียนรู้ฟิสิกส์  เรื่อง การเคลื่อนที่ของเสียงแผนการจัดการเรียนรู้ฟิสิกส์  เรื่อง การเคลื่อนที่ของเสียง
แผนการจัดการเรียนรู้ฟิสิกส์ เรื่อง การเคลื่อนที่ของเสียง
 
1 รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์2557 สำรวจแมงมุม ศพว
1 รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์2557 สำรวจแมงมุม ศพว1 รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์2557 สำรวจแมงมุม ศพว
1 รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์2557 สำรวจแมงมุม ศพว
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง วิวัฒนาการ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง วิวัฒนาการหน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง วิวัฒนาการ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง วิวัฒนาการ
 
แนวคิด ทฤษฎีการเรียนรู้ร่วมสมัย
แนวคิด ทฤษฎีการเรียนรู้ร่วมสมัยแนวคิด ทฤษฎีการเรียนรู้ร่วมสมัย
แนวคิด ทฤษฎีการเรียนรู้ร่วมสมัย
 
ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
 
แนะนำอุปกรณ์ห้องปฏิบัติการวิทย์
แนะนำอุปกรณ์ห้องปฏิบัติการวิทย์แนะนำอุปกรณ์ห้องปฏิบัติการวิทย์
แนะนำอุปกรณ์ห้องปฏิบัติการวิทย์
 
แนวคิดเสรีนิยม
แนวคิดเสรีนิยมแนวคิดเสรีนิยม
แนวคิดเสรีนิยม
 
ตัวอย่างโครงการสอน
ตัวอย่างโครงการสอนตัวอย่างโครงการสอน
ตัวอย่างโครงการสอน
 
คำกริยาที่บ่งบอกพฤติกรรมการเรียนรู้ KPA
คำกริยาที่บ่งบอกพฤติกรรมการเรียนรู้ KPAคำกริยาที่บ่งบอกพฤติกรรมการเรียนรู้ KPA
คำกริยาที่บ่งบอกพฤติกรรมการเรียนรู้ KPA
 
หน่วยที่ 5 การวางโครงเรื่องของเรียงความ
หน่วยที่ 5 การวางโครงเรื่องของเรียงความหน่วยที่ 5 การวางโครงเรื่องของเรียงความ
หน่วยที่ 5 การวางโครงเรื่องของเรียงความ
 
บทที่ 8 การสังเกตพฤติกรรมเด็ก 55
บทที่ 8 การสังเกตพฤติกรรมเด็ก 55บทที่ 8 การสังเกตพฤติกรรมเด็ก 55
บทที่ 8 การสังเกตพฤติกรรมเด็ก 55
 
แบบสอบถามความคิดเห็นสำหรับผู้เชี่ยวชาญด้านเนื้อหาเกี่ยวกับ
แบบสอบถามความคิดเห็นสำหรับผู้เชี่ยวชาญด้านเนื้อหาเกี่ยวกับแบบสอบถามความคิดเห็นสำหรับผู้เชี่ยวชาญด้านเนื้อหาเกี่ยวกับ
แบบสอบถามความคิดเห็นสำหรับผู้เชี่ยวชาญด้านเนื้อหาเกี่ยวกับ
 
คลื่นและเสียง
คลื่นและเสียงคลื่นและเสียง
คลื่นและเสียง
 

Similar to คู่มือการใช้นวัตกรรมคลื่นกลและเสียง

SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfSAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
Wichai Likitponrak
 
มคอ.3 สังคมไทยร่วมสมัย
มคอ.3 สังคมไทยร่วมสมัยมคอ.3 สังคมไทยร่วมสมัย
มคอ.3 สังคมไทยร่วมสมัย
ศุภวัฒน์ ปภัสสรากาญจน์
 
รายงานการปฏิบัติงานและผลการประเมินตนเอง
รายงานการปฏิบัติงานและผลการประเมินตนเองรายงานการปฏิบัติงานและผลการประเมินตนเอง
รายงานการปฏิบัติงานและผลการประเมินตนเองKhunkrunuch
 
บทความ บทความ การเปลี่ยนแปลงทักษะของนักเรียนในโครงการเพาะพันธุ์ปัญญา โรงเรีย...
บทความ บทความ การเปลี่ยนแปลงทักษะของนักเรียนในโครงการเพาะพันธุ์ปัญญา  โรงเรีย...บทความ บทความ การเปลี่ยนแปลงทักษะของนักเรียนในโครงการเพาะพันธุ์ปัญญา  โรงเรีย...
บทความ บทความ การเปลี่ยนแปลงทักษะของนักเรียนในโครงการเพาะพันธุ์ปัญญา โรงเรีย...
dnavaroj
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์Bai'mon Chankaew
 
ผลของการเรียนบนเครือข่ายที่พัฒนาตามแนวคอนสตรัคติวิสต์
ผลของการเรียนบนเครือข่ายที่พัฒนาตามแนวคอนสตรัคติวิสต์ ผลของการเรียนบนเครือข่ายที่พัฒนาตามแนวคอนสตรัคติวิสต์
ผลของการเรียนบนเครือข่ายที่พัฒนาตามแนวคอนสตรัคติวิสต์
Sathapron Wongchiranuwat
 
ใบงานที่ 4 เรื่อง โครงงานประเภท
ใบงานที่ 4 เรื่อง โครงงานประเภทใบงานที่ 4 เรื่อง โครงงานประเภท
ใบงานที่ 4 เรื่อง โครงงานประเภทNamphon Srikham
 
บรรยายเทคโนโลยีการศึกษา..
บรรยายเทคโนโลยีการศึกษา..บรรยายเทคโนโลยีการศึกษา..
บรรยายเทคโนโลยีการศึกษา..
Wiwat Ch
 
โครงการสอน ชีววิทยาพื้นฐาน
โครงการสอน ชีววิทยาพื้นฐานโครงการสอน ชีววิทยาพื้นฐาน
โครงการสอน ชีววิทยาพื้นฐานKrupol Phato
 
Development of Web-based Training on Social Network for Learning and Teaching...
Development of Web-based Training on Social Network for Learning and Teaching...Development of Web-based Training on Social Network for Learning and Teaching...
Development of Web-based Training on Social Network for Learning and Teaching...
Panita Wannapiroon Kmutnb
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์Thanyaret Kongraj
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์mina612
 
201 702 utilization management of media and educational innovation mco3 dr-ta...
201 702 utilization management of media and educational innovation mco3 dr-ta...201 702 utilization management of media and educational innovation mco3 dr-ta...
201 702 utilization management of media and educational innovation mco3 dr-ta...
khon Kaen University
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
โรงเรียนชุมชนโนนแดง
 
Slideshare
SlideshareSlideshare
Slidesharepaewwaew
 
มคอ 3 ชนาธิป (กฎหมายปกครอง)
มคอ 3 ชนาธิป (กฎหมายปกครอง)มคอ 3 ชนาธิป (กฎหมายปกครอง)
มคอ 3 ชนาธิป (กฎหมายปกครอง)ชนาธิป ศรีโท
 

Similar to คู่มือการใช้นวัตกรรมคลื่นกลและเสียง (20)

การใช้สื่อการเรียนรู้2003
การใช้สื่อการเรียนรู้2003การใช้สื่อการเรียนรู้2003
การใช้สื่อการเรียนรู้2003
 
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfSAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
 
มคอ.3 สังคมไทยร่วมสมัย
มคอ.3 สังคมไทยร่วมสมัยมคอ.3 สังคมไทยร่วมสมัย
มคอ.3 สังคมไทยร่วมสมัย
 
รายงานการปฏิบัติงานและผลการประเมินตนเอง
รายงานการปฏิบัติงานและผลการประเมินตนเองรายงานการปฏิบัติงานและผลการประเมินตนเอง
รายงานการปฏิบัติงานและผลการประเมินตนเอง
 
บทความ บทความ การเปลี่ยนแปลงทักษะของนักเรียนในโครงการเพาะพันธุ์ปัญญา โรงเรีย...
บทความ บทความ การเปลี่ยนแปลงทักษะของนักเรียนในโครงการเพาะพันธุ์ปัญญา  โรงเรีย...บทความ บทความ การเปลี่ยนแปลงทักษะของนักเรียนในโครงการเพาะพันธุ์ปัญญา  โรงเรีย...
บทความ บทความ การเปลี่ยนแปลงทักษะของนักเรียนในโครงการเพาะพันธุ์ปัญญา โรงเรีย...
 
M4
M4M4
M4
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
ผลของการเรียนบนเครือข่ายที่พัฒนาตามแนวคอนสตรัคติวิสต์
ผลของการเรียนบนเครือข่ายที่พัฒนาตามแนวคอนสตรัคติวิสต์ ผลของการเรียนบนเครือข่ายที่พัฒนาตามแนวคอนสตรัคติวิสต์
ผลของการเรียนบนเครือข่ายที่พัฒนาตามแนวคอนสตรัคติวิสต์
 
ใบงานที่ 4 เรื่อง โครงงานประเภท
ใบงานที่ 4 เรื่อง โครงงานประเภทใบงานที่ 4 เรื่อง โครงงานประเภท
ใบงานที่ 4 เรื่อง โครงงานประเภท
 
บรรยายเทคโนโลยีการศึกษา..
บรรยายเทคโนโลยีการศึกษา..บรรยายเทคโนโลยีการศึกษา..
บรรยายเทคโนโลยีการศึกษา..
 
โครงการสอน ชีววิทยาพื้นฐาน
โครงการสอน ชีววิทยาพื้นฐานโครงการสอน ชีววิทยาพื้นฐาน
โครงการสอน ชีววิทยาพื้นฐาน
 
Development of Web-based Training on Social Network for Learning and Teaching...
Development of Web-based Training on Social Network for Learning and Teaching...Development of Web-based Training on Social Network for Learning and Teaching...
Development of Web-based Training on Social Network for Learning and Teaching...
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
201 702 utilization management of media and educational innovation mco3 dr-ta...
201 702 utilization management of media and educational innovation mco3 dr-ta...201 702 utilization management of media and educational innovation mco3 dr-ta...
201 702 utilization management of media and educational innovation mco3 dr-ta...
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
 
Slideshare
SlideshareSlideshare
Slideshare
 
โครงร่างคอม
โครงร่างคอมโครงร่างคอม
โครงร่างคอม
 
โครงร่างคอม
โครงร่างคอมโครงร่างคอม
โครงร่างคอม
 
มคอ 3 ชนาธิป (กฎหมายปกครอง)
มคอ 3 ชนาธิป (กฎหมายปกครอง)มคอ 3 ชนาธิป (กฎหมายปกครอง)
มคอ 3 ชนาธิป (กฎหมายปกครอง)
 

More from โรงเรียนเทพลีลา

รายงานระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน
รายงานระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนรายงานระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน
รายงานระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน
โรงเรียนเทพลีลา
 
SAR 2560
SAR 2560SAR 2560
วิจัยในชั้นเรียน
วิจัยในชั้นเรียน วิจัยในชั้นเรียน
วิจัยในชั้นเรียน
โรงเรียนเทพลีลา
 
แผนประกอบวิจัยในชั้นเรียน
แผนประกอบวิจัยในชั้นเรียนแผนประกอบวิจัยในชั้นเรียน
แผนประกอบวิจัยในชั้นเรียน
โรงเรียนเทพลีลา
 
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียงเฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
โรงเรียนเทพลีลา
 
เอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียงเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
โรงเรียนเทพลีลา
 
Earthscience
EarthscienceEarthscience
ฟิสิกส์พื้นฐาน
ฟิสิกส์พื้นฐานฟิสิกส์พื้นฐาน
ฟิสิกส์พื้นฐาน
โรงเรียนเทพลีลา
 
โอเน็ตฟิสิกส์
โอเน็ตฟิสิกส์โอเน็ตฟิสิกส์
โอเน็ตฟิสิกส์
โรงเรียนเทพลีลา
 

More from โรงเรียนเทพลีลา (9)

รายงานระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน
รายงานระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนรายงานระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน
รายงานระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน
 
SAR 2560
SAR 2560SAR 2560
SAR 2560
 
วิจัยในชั้นเรียน
วิจัยในชั้นเรียน วิจัยในชั้นเรียน
วิจัยในชั้นเรียน
 
แผนประกอบวิจัยในชั้นเรียน
แผนประกอบวิจัยในชั้นเรียนแผนประกอบวิจัยในชั้นเรียน
แผนประกอบวิจัยในชั้นเรียน
 
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียงเฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
 
เอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียงเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
 
Earthscience
EarthscienceEarthscience
Earthscience
 
ฟิสิกส์พื้นฐาน
ฟิสิกส์พื้นฐานฟิสิกส์พื้นฐาน
ฟิสิกส์พื้นฐาน
 
โอเน็ตฟิสิกส์
โอเน็ตฟิสิกส์โอเน็ตฟิสิกส์
โอเน็ตฟิสิกส์
 

คู่มือการใช้นวัตกรรมคลื่นกลและเสียง

  • 1. คู่มือการใช้นวัตกรรมสื่อสังคมออนไลน์ เรื่อง คลื่นกลและเสียง วิชาวิทยาศาสตร์ 5 (ว33101) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 นายพิพัฒน์พงษ์ สาจันทร์ ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ชานาญการ โรงเรียนเทพลีลา เขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 2 สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
  • 2. ก คำนำ คู่มือการใช้นวัตกรรมสื่อสังคมออนไลน์ เรื่อง คลื่นกลและเสียง วิชาวิทยาศาสตร์ 5 (ว33101) ซึ่งเป็น เนื้อหาในรายวิชาพื้นฐาน สาระที่ 5 พลังงาน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4-6 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ สอดคล้องกับมาตรฐานและตัวชี้วัดของหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ภายในคู่มือ เล่มนี้ประกอบด้วย สาระ มาตรฐานการเรียนรู้ และตัวชี้วัดที่เกี่ยวข้อง แผนการจัดการเรียนรู้ของแต่ละตัวชี้วัด องค์ประกอบของนวัตกรรม คาชี้แจงสาหรับครู คาชี้แจงสาหรับนักเรียน ขั้นตอนการใช้นวัตกรรม สื่อสังคม ออนไลน์ แบบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนเรียน แบบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียน เอกสารประกอบ สื่อสังคมออนไลน์ (สาหรับนักเรียน) เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์ (สาหรับครู) นวัตกรรมชุดนี้ได้ ผ่านการประเมินคุณภาพจากผู้เชี่ยวชาญ ผ่านการทดลองใช้จนกระทั่งมีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ที่กาหนด ครูผู้สอนหรือผู้ที่สนใจสามารถนานวัตกรรมชุดนี้ไปปรับใช้เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนทั้งในระดับ สถานศึกษาและในระดับชาติ (O-NET) ได้เป็นอย่างดี ขอขอบพระคุณคณะผู้เชี่ยวชาญซึ่งประกอบด้วย อาจารย์ ดร.ชาติ ทีฆะ อาจารย์ประจาสาขาวิชา ฟิสิกส์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยสวนดุสิต อาจารย์ ดร.จิรดาวรรณ หันตุลา อาจารย์ ประจาสาขาวิชาวิทยาศาสตร์ศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น นายณรงค์ พ่วงศรี ตาแหน่ง ข้าราชการบานาญ วิทยฐานะชานาญการพิเศษ นักวิชาการ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยี นายอานาจ โสภากุล ตาแหน่งครู วิทยฐานะชานาญการพิเศษ โรงเรียนสุวรรณคูหาพิทยาสรรค์ และนางนภาวรรณ สิทธิวงศ์ ตาแหน่งครู วิทยฐานะ ชานาญการพิเศษ โรงเรียนเทพลีลา ที่คอยแนะนา ให้ คาปรึกษาเกี่ยวกับการสร้างและพัฒนานวัตกรรม ขอขอบพระคุณท่านผู้อานวยการ รองผู้อานวยการ คณะครูโรงเรียนเทพลีลา ที่คอยเป็นกาลังใจและ สนับสนุนการจัดทานวัตกรรมชุดนี้จนทาให้การดาเนินงานสาเร็จลุล่วงไปด้วยดีบรรลุตามเป้าหมายทุกประการ นายพิพัฒน์พงษ์ สาจันทร์ ครู คศ.2
  • 3. ข สำรบัญ เรื่อง หน้ำ คานา ...............................................................................................................................................................ก สาระ มาตรฐานการเรียนรู้ และตัวชี้วัดที่เกี่ยวข้อง........................................................................................... 1 แผนการจัดการเรียนรู้ของแต่ละตัวชี้วัด ........................................................................................................... 2 องค์ประกอบของนวัตกรรม.............................................................................................................................. 3 คาชี้แจงสาหรับครู............................................................................................................................................ 4 คาชี้แจงสาหรับนักเรียน................................................................................................................................... 6 ขั้นตอนการใช้นวัตกรรม................................................................................................................................... 8 ภาคผนวก......................................................................................................................................................10 สื่อสังคมออนไลน์ ................................................................................................................................11 แบบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนเรียน............................................................................................13 แบบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียน............................................................................................22 เอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์ เรื่อง คลื่นกลและเสียง..................................................................33
  • 4. 1 สำระที่ 5: พลังงำน มำตรฐำน ว 5.1 เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างพลังงานกับการดารงชีวิต การเปลี่ยนรูปพลังงาน ปฏิสัมพันธ์ระหว่างสารและพลังงาน ผลของการใช้พลังงานต่อชีวิตและ สิ่งแวดล้อม มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และนาความรู้ไป ใช้ประโยชน์ ตัวชี้วัด 1. ทดลองและอธิบายสมบัติของคลื่นกล และอธิบายความสัมพันธ์ระหว่าง อัตราเร็ว ความถี่และความยาวคลื่น 2. อธิบายการเกิดคลื่นเสียง บีตส์ของเสียง ความเข้มเสียง ระดับความเข้มเสียง การได้ ยินเสียง คุณภาพเสียง และนาความรู้ไปใช้ประโยชน์ 3. อภิปรายผลการสืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับมลพิษทางเสียงที่มีต่อสุขภาพของมนุษย์ และการ เสนอวิธีป้องกัน รวมทั้งหมด 3 ตัวชี้วัด สำระ มำตรฐำนกำรเรียนรู้ และตัวชี้วัดที่เกี่ยวข้อง
  • 5. 2 ตัวชี้วัด แผนที่ เรื่อง เวลำเรียน (ชม.) ว 5.1 ม.4-6/1 ทดลองและอธิบายสมบัติ ของคลื่นกล และอธิบายความสัมพันธ์ ระหว่างอัตราเร็ว ความถี่ และความยาว คลื่น 1 2 3 4 5 6 ธรรมชาติของคลื่น ชนิดของคลื่น การสะท้อนของคลื่น การหักเหของคลื่น การเลี้ยวเบนของคลื่น การแทรกสอดของคลื่น 2 2 2 2 2 2 ว 5.1 ม.4-6/2 อธิบายการเกิดคลื่นเสียง บีตส์ของเสียง ความเข้มเสียง ระดับความ เข้มเสียง การได้ยินเสียง คุณภาพเสียง และ นาความรู้ไปใช้ประโยชน์ 7 8 9 การเกิดเสียง ธรรมชาติของเสียง บีตส์ของเสียง 2 2 2 ว 5.1 ม.4-6/3 อภิปรายผลการสืบค้นข้อมูล เกี่ยวกับมลพิษทางเสียงที่มีต่อสุขภาพของ มนุษย์ และการเสนอวิธีป้องกัน 10 มลพิษทางเสียง 2 รวม 20 แผนกำรจัดกำรเรียนรู้ของแต่ละตัวชี้วัด
  • 6. 3 นวัตกรรมสื่อสังคมออนไลน์ชุดนี้ มีองค์ประกอบที่สาคัญดังนี้ 1. สื่อสังคมออนไลน์ หมายถึง วีดิทัศน์บน Youtube เรื่อง คลื่นกลและเสียง ที่ผู้วิจัยได้สร้างและพัฒนาขึ้น ซึ่งประกอบด้วย 4 ตอน ได้แก่ 1.1 คลื่นกล ตอนที่ 1 (https://youtu.be/GEVXMtkItf8) 1.2 คลื่นกล ตอนที่ 2 (https://youtu.be/30ze8eYEx28) 1.3 เสียง ตอนที่ 1 (https://youtu.be/BRF5-n3eHuE) 1.4 เสียง ตอนที่ 2 (https://youtu.be/WdS8jtAPWhQ) 2. แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนเรียน เรื่อง คลื่นกลและเสียง เป็นข้อสอบแบบเลือกตอบ 4 ตัวเลือก จานวน 40 ข้อ 3. แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียน เรื่อง คลื่นกลและเสียง เป็นข้อสอบแบบเลือกตอบ 4 ตัวเลือก จานวน 40 ข้อ 4. แบบสอบถามความพึงพอใจต่อการใช้สื่อสังคมออนไลน์เสริมการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ เรื่อง คลื่นกลและเสียง 5. เอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์ (สาหรับนักเรียน) 6. เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์ (สาหรับครู) องค์ประกอบของนวัตกรรม
  • 7. 4 1. ครูผู้สอน ควรศึกษาแผนการจัดการเรียนรู้ให้เข้าใจโดยละเอียดก่อนทาการจัดกิจกรรมการเรียน ซึ่ง แผนการจัดการเรียนรู้สามารถดาวน์โหลดได้ที่ https://www.slideshare.net/pipatpongswp/ss-75394744 2. เตรียมเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์ให้สมบูรณ์และเพียงพอกับนักเรียน 3. แจ้งมาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วัด และเนื้อหา พร้อมชี้แจงเกี่ยวกับวิธีการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ให้ นักเรียนทราบ 4. สารวจความพร้อมของอุปกรณ์ในการรับชมสื่อสังคมออนไลน์ของนักเรียนว่ามีครบทุกคนหรือไม่ ซึ่ง อุปกรณ์ที่ใช้ในการรับชมมีหลากหลายประเภท เช่น คอมพิวเตอร์พีซี คอมพิวเตอร์โน้ตบุ๊ค แท็บเล็ต สมาร์ทโฟน หากนักเรียนคนใดไม่มีอุปกรณ์ในการรับชม ครูผู้สอนอาจให้นักเรียนใช้บริการห้อง คอมพิวเตอร์ของโรงเรียนหลังเลิกเรียน หรือครูผู้สอนสามารถนาแท็บเล็ตของโรงเรียนให้นักเรียนยืม ใช้สาหรับการรับชม 5. ก่อนที่จะเริ่มเรียนในชั่วโมงแรกให้นักเรียนทาแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนเรียน เรื่อง คลื่นกลและเสียง จานวน 40 ข้อ ซึ่งเป็นข้อสอบแบบเลือกตอบ 4 ตัวเลือก ใช้เวลา 60 นาที 6. แจกเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์ เรื่องคลื่นกลและเสียงให้กับนักเรียนคนละ 1 เล่ม 7. ดาเนินการสอนเนื้อหาเรื่องคลื่นกลโดยจัดการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ พร้อมทั้ง มอบหมายให้นักเรียนทบทวนความรู้โดยใช้สื่อสังคมออนไลน์ โดยมีรายละเอียดดังนี้ 7.1 ในช่วงที่จัดการเรียนรู้ตามแผนที่ 1-2 ให้นักเรียนทบทวนความรู้ด้วยตนเองโดยใช้สื่อสังคม ออนไลน์ (Youtube) เรื่อง คลื่นกล ตอนที่ 1 https://youtu.be/GEVXMtkItf8 เมื่อรับชม เสร็จให้นักเรียนทาแบบฝึกหัด เรื่องคลื่นกล ตอนที่ 1 พร้อมนาส่งครูผู้สอนก่อนที่จะจัดการ เรียนรู้ตามแผนที่ 3 7.2 ในช่วงที่จัดการเรียนรู้ตามแผนที่ 3-6 ให้นักเรียนทบทวนความรู้ด้วยตนเองโดยใช้สื่อสังคม ออนไลน์ (Youtube) เรื่องคลื่นกล ตอนที่ 2 https://youtu.be/30ze8eYEx28 เมื่อรับชม เสร็จให้นักเรียนทาแบบฝึกหัด เรื่องคลื่นกล ตอนที่ 2 พร้อมนาส่งครูผู้สอนก่อนที่จะจัดการ เรียนรู้ตามแผนที่ 7 7.3 ในช่วงที่จัดการเรียนรู้ตามแผนที่ 7-8 ให้นักเรียนทบทวนความรู้ด้วยตนเองโดยใช้สื่อสังคม ออนไลน์ (Youtube) เรื่อง เสียง ตอนที่ 1 https://youtu.be/BRF5-n3eHuE เมื่อรับชมเสร็จ ให้นักเรียนทาแบบฝึกหัด เรื่องเสียง ตอนที่ 1 พร้อมนาส่งครูผู้สอนก่อนที่จะจัดการเรียนรู้ตาม แผนที่ 9 คำชี้แจงสำหรับครู
  • 8. 5 7.4 ในช่วงที่จัดการเรียนรู้ตามแผนที่ 9-10 ให้นักเรียนทบทวนความรู้ด้วยตนเองโดยใช้สื่อสังคม ออนไลน์ (Youtube) เรื่อง เสียง ตอนที่ 2 https://youtu.be/WdS8jtAPWhQ เมื่อรับชม เสร็จให้นักเรียนทาแบบฝึกหัด เรื่องเสียง ตอนที่ 2 พร้อมนาส่งครูผู้สอนก่อนที่ทาแบบวัด ผลสัมฤทธิ์หลังเรียน 8. ครูผู้สอนควรตอบคาถามกรณีที่นักเรียนมีความสงสัยในเนื้อหาที่เรียนซึ่งอาจใช้การตอบในห้องเรียนหรือ ตอบใต้ข้อความแสดงความคิดเห็นใน youtube 9. ครูผู้สอนควรตรวจแบบฝึกหัดแต่ละชุดก่อนที่นักเรียนจะศึกษาสื่อสังคมออนไลน์เรื่องต่อไป หากพบว่า นักเรียนไม่ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 60 ให้นักเรียนคนดังกล่าวกลับไปทบทวนเรื่องเดิมซ้า พร้อมทั้งทา แบบฝึกหัดส่งอีกครั้งจนกว่าจะผ่านเกณฑ์ร้อยละ 60 10. เมื่อจัดกิจกรรมครบ 10 แผน เป็นเวลา 20 ชั่วโมง และนักเรียนทบทวนความรู้โดยใช้สื่อสังคม ออนไลน์เสร็จสิ้นแล้ว ให้นักเรียนทาแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียน พร้อมทั้งให้ นักเรียนทาแบบสอบถามความพึงพอใจต่อการใช้สื่อสังคมออนไลน์เสริมการจัดการเรียนรู้แบบสืบ เสาะหาความรู้ 11. การตรวจแบบแบบฝึกหัดแต่ชุดให้ครูผู้สอนดูในเล่มเฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์ เรื่องคลื่น กลและเสียง 12. หากครูผู้สอนจัดการเรียนรู้รูปแบบอื่น สามารถนาสื่อสังคมออนไลน์ไปปรับใช้ได้ตามความเหมาะสม
  • 9. 6 1. นักเรียนควรศึกษามาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วัด จุดประสงค์การเรียนรู้ ให้เข้าใจ 2. นักเรียนต้องมีอุปกรณ์ในการรับชมสื่อสังคมออนไลน์ เช่น คอมพิวเตอร์พีซี คอมพิวเตอร์โน้ตบุ๊ค แท็บ เล็ต สมาร์ทโฟน หากนักเรียนคนใดไม่มี ให้นักเรียนใช้บริการห้องคอมพิวเตอร์ของโรงเรียนหลังเลิก เรียน หรือยืมแท็บเล็ตของโรงเรียนเพื่อนาไปใช้ในการรับชม 3. นักเรียนควรศึกษาคาชี้แจงในเอกสารประกอบสื่อเสริมออนไลน์ เรื่องคลื่นกลและเสียงให้เข้าใจและ ปฏิบัติตามอย่างเคร่งครัด 4. ในขณะทาแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนเรียน เรื่อง คลื่นกลและเสียง นักเรียนควรทา ด้วยความตั้งใจ 5. เมื่อนักเรียนเรียนรู้ผ่านการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ตามแผนการจัดการเรียนรู้ ควร กลับไปทบทวนความรู้ด้วยความตั้งใจโดยใช้สื่อสังคมออนไลน์ ในขณะที่รับชมสื่อสังคมออนไลน์ นักเรียนต้องใช้เอกสารประกอบการรับชมเพื่อจดรายละเอียดต่าง ๆ ให้ครบถ้วน มีรายละเอียดใน การรับชมแต่ละตอนเป็นดังนี้ 5.1 ในช่วงที่จัดการเรียนรู้ตามแผนที่ 1-2 นักเรียนทบทวนความรู้ด้วยตนเองโดยใช้สื่อสังคม ออนไลน์ (Youtube) เรื่อง คลื่นกล ตอนที่ 1 https://youtu.be/GEVXMtkItf8 เมื่อรับชม เสร็จให้นักเรียนทาแบบฝึกหัด เรื่องคลื่นกล ตอนที่ 1 พร้อมนาส่งครูผู้สอนก่อนที่จะจัดการ เรียนรู้ตามแผนที่ 3 5.2 ในช่วงที่จัดการเรียนรู้ตามแผนที่ 3-6 นักเรียนทบทวนความรู้ด้วยตนเองโดยใช้สื่อสังคม ออนไลน์ (Youtube) เรื่องคลื่นกล ตอนที่ 2 https://youtu.be/30ze8eYEx28 เมื่อรับชม เสร็จให้นักเรียนทาแบบฝึกหัด เรื่องคลื่นกล ตอนที่ 2 พร้อมนาส่งครูผู้สอนก่อนที่จะจัดการ เรียนรู้ตามแผนที่ 7 5.3 ในช่วงที่จัดการเรียนรู้ตามแผนที่ 7-8 นักเรียนทบทวนความรู้ด้วยตนเองโดยใช้สื่อสังคม ออนไลน์ (Youtube) เรื่อง เสียง ตอนที่ 1 https://youtu.be/BRF5-n3eHuE เมื่อรับชมเสร็จ ให้นักเรียนทาแบบฝึกหัด เรื่องเสียง ตอนที่ 1 พร้อมนาส่งครูผู้สอนก่อนที่จะจัดการเรียนรู้ตาม แผนที่ 9 5.4 ในช่วงที่จัดการเรียนรู้ตามแผนที่ 9-10 ให้นักเรียนทบทวนความรู้ด้วยตนเองโดยใช้สื่อสังคม ออนไลน์ (Youtube) เรื่อง เสียง ตอนที่ 2 https://youtu.be/WdS8jtAPWhQ เมื่อรับชม เสร็จให้นักเรียนทาแบบฝึกหัด เรื่องเสียง ตอนที่ 2 พร้อมนาส่งครูผู้สอนก่อนที่ทาแบบวัด ผลสัมฤทธิ์หลังเรียน คำชี้แจงสำหรับนักเรียน
  • 10. 7 6. หากนักเรียนสงสัยเนื้อหาในขณะที่รับชมผ่าน youtube สามารถถามในช่องแสดงความคิดเห็นได้ หรือ จะเก็บไว้ถามในห้องเรียนก็ได้เช่นกัน 7. หากคะแนนแบบฝึกหัดของนักเรียนไม่ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 60 ให้นักเรียนกลับไปทบทวนเรื่องเดิมซ้า พร้อมทั้งทาแบบฝึกหัดส่งอีกครั้ง 8. เมื่อนักเรียนเรียนรู้ผ่านการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ตามแผนการจัดการเรียนรู้ครบ 10 แผน เป็นเวลา 20 ชั่วโมง และนักเรียนทบทวนความรู้โดยใช้สื่อสังคมออนไลน์เสร็จสิ้นแล้ว ให้ นักเรียนทาแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียน พร้อมทั้งทาแบบสอบถามความพึงพอใจ ต่อการใช้สื่อสังคมออนไลน์เสริมการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้
  • 11. 8 ในการใช้สื่อสังคมออนไลน์เสริมการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ เรื่อง คลื่นกลและ เสียง ให้ครูดาเนินตามขั้นตอนดังนี้ 1. ให้นักเรียนทาแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนเรียน เรื่อง คลื่นกลและเสียง จานวน 40 ข้อ ซึ่งเป็นข้อสอบแบบเลือกตอบ 4 ตัวเลือก ใช้เวลา 60 นาที ก่อนที่จะเริ่มเรียนในชั่วโมงแรก 2. แจกเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์ เรื่องคลื่นกลและเสียงให้กับนักเรียนคนละ 1 เล่ม 3. ดาเนินการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ เนื้อหาเรื่องคลื่นกลและเสียง พร้อมทั้ง มอบหมายให้นักเรียนทบทวนความรู้โดยใช้สื่อสังคมออนไลน์ โดยมีรายละเอียดดังนี้ 3.1 ในช่วงที่จัดการเรียนรู้ตามแผนที่ 1-2 ให้นักเรียนทบทวนความรู้ด้วยตนเองโดยใช้สื่อสังคม ออนไลน์ (Youtube) เรื่อง คลื่นกล ตอนที่ 1 https://youtu.be/GEVXMtkItf8 ใช้เอกสาร ประกอบตั้งแต่หน้า 1-7 เนื้อหาประกอบด้วย ความหมายและประเภทของคลื่น และ ส่วนประกอบของคลื่น เมื่อรับชมเสร็จให้นักเรียนทาแบบฝึกหัด เรื่องคลื่นกล ตอนที่ 1 หน้า 17- 18 พร้อมนาส่งครูผู้สอนก่อนที่จะจัดการเรียนรู้ตามแผนที่ 3 3.2 ในช่วงที่จัดการเรียนรู้ตามแผนที่ 3-6 ให้นักเรียนทบทวนความรู้ด้วยตนเองโดยใช้สื่อสังคม ออนไลน์ (Youtube) เรื่องคลื่นกล ตอนที่ 2 https://youtu.be/30ze8eYEx28 ใช้เอกสาร ประกอบตั้งแต่หน้า 8-16 เนื้อหาประกอบด้วย คลื่นผิวน้า และสมบัติของคลื่น เมื่อรับชมเสร็จให้ นักเรียนทาแบบฝึกหัด เรื่องคลื่นกล ตอนที่ 2 หน้า 19-20 พร้อมนาส่งครูผู้สอนก่อนที่จะ จัดการเรียนรู้ตามแผนที่ 7 3.3 ในช่วงที่จัดการเรียนรู้ตามแผนที่ 7-8 ให้นักเรียนทบทวนความรู้ด้วยตนเองโดยใช้สื่อสังคม ออนไลน์ (Youtube) เรื่อง เสียง ตอนที่ 1 https://youtu.be/BRF5-n3eHuE ใช้เอกสาร ประกอบตั้งแต่หน้า 21-29 เนื้อหาประกอบด้วย การเกิดเสียงและการเคลื่อนที่ของเสียง ความถี่ อัตราเร็วของเสียง และสมบัติของเสียง เมื่อรับชมเสร็จให้นักเรียนทาแบบฝึกหัด เรื่องเสียง ตอน ที่ 1 หน้า 37-38 พร้อมนาส่งครูผู้สอนก่อนที่จะจัดการเรียนรู้ตามแผนที่ 9 3.4 ในช่วงที่จัดการเรียนรู้ตามแผนที่ 9-10 ให้นักเรียนทบทวนความรู้ด้วยตนเองโดยใช้สื่อสังคม ออนไลน์ (Youtube) เรื่อง เสียง ตอนที่ 2 https://youtu.be/WdS8jtAPWhQ ใช้เอกสาร ประกอบตั้งแต่หน้า 30-36 เนื้อหาประกอบด้วย ลักษณะทางกายภาพของคลื่นเสียง และบีตส์ เมื่อรับชมเสร็จให้นักเรียนทาแบบฝึกหัด เรื่องเสียง ตอนที่ 2 หน้า 39-40 พร้อมนาส่งครูผู้สอน ก่อนที่จะทาแบบวัดผลสัมฤทธิ์หลังเรียน 4. เมื่อจัดกิจกรรมครบ 10 แผน เป็นเวลา 20 ชั่วโมง และนักเรียนทบทวนความรู้โดยใช้สื่อสังคม ออนไลน์เสร็จสิ้นแล้ว ให้นักเรียนทาแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียน ขั้นตอนกำรใช้นวัตกรรม
  • 12. 9 5. นักเรียนทาแบบสอบถามความพึงพอใจต่อการใช้สื่อสังคมออนไลน์เสริมการจัดการเรียนรู้แบบสืบ เสาะหาความรู้ เรื่อง คลื่นกลและเสียง ผ่านช่องทางออนไลน์ ขั้นตอนกำรใช้นวัตกรรม ทำแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทำงกำรเรียนก่อนเรียน (60 นำที) แจกเอกสำรประกอบสื่อสังคมออนไลน์ให้กับนักเรียนคนละ 1 เล่ม ใช้สื่อสังคมออนไลน์เสริมกำรเรียนรู้แบบสืบเสำะหำควำมรู้ (20 ชั่วโมง) ทำแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทำงกำรเรียนหลังเรียน (60 นำที) ทำแบบสอบถำมควำมพึงพอใจ
  • 13. 10 ภำคผนวก - สื่อสังคมออนไลน์ - แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนเรียน - แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียน - แบบสอบถามความพึงพอใจ - เอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์ (สาหรับนักเรียน) - เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์ (สาหรับครู)
  • 14. 11 สื่อสังคมออนไลน์ สื่อสังคมออนไลน์ หมายถึง วีดิทัศน์บน Youtube เรื่อง คลื่นกลและเสียง ที่ผู้วิจัยได้สร้างและ พัฒนาขึ้น ซึ่งประกอบด้วย 4 ตอน ได้แก่ 1. คลื่นกล ตอนที่ 1 (https://youtu.be/GEVXMtkItf8) 2. คลื่นกล ตอนที่ 2 (https://youtu.be/30ze8eYEx28)
  • 15. 12 3. เสียง ตอนที่ 1 (https://youtu.be/BRF5-n3eHuE) 4. เสียง ตอนที่ 2 (https://youtu.be/WdS8jtAPWhQ)
  • 16. 13 แบบวัดผลสัมฤทธิ์ทำงกำรเรียนก่อนเรียน เรื่อง คลื่นกลและเสียง ปีกำรศึกษำ 2559 รหัสวิชำ ว33101 วิชำวิทยำศำสตร์ 5 ชั้นมัธยมศึกษำปีที่ 6 คะแนน 40 คะแนน เวลำ 60 นำที แบบทดสอบนี้มีจำนวน 40 ข้อ คำสั่ง จงเลือกคาตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงคาตอบเดียวเท่านั้น แล้วทาเครื่องหมายกากบาท (X) ใน กระดาษคาตอบ 1. คลื่นในข้อใดต่อไปนี้ เป็นคลื่นกลที่ต้องอาศัยตัวกลางในการเคลื่อนที่ทั้งหมด 1. คลื่นเสียง คลื่นวิทยุ คลื่นไมโครเวฟ 2. คลื่นเสียง คลื่นผิวน้า คลื่นในเส้นเชือก 3. คลื่นในสปริง คลื่นผิวน้า คลื่นแสง 4. คลื่นผิวน้า คลื่นเสียง คลื่นแสง 2. สมบัติใดของคลื่นกลที่แตกต่างไปจากคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า 1. การสะท้อน 2. การแทรกสอด 3. การเลี้ยวเบน 4. การอาศัยตัวกลาง 3. ในขณะที่เกิดคลื่นตามขวาง อนุภาคของตัวกลางเคลื่อนที่อย่างไร 1. สั่นเป็นเส้นโค้งตามแนวคลื่น 2. สั่นเคลื่อนที่กลับไปกลับมาตามทิศการเคลื่อนที่ของคลื่น 3. สั่นเป็นเส้นตรงตามทิศการเคลื่อนที่ของคลื่น 4. สั่นตั้งฉากกับทิศการเคลื่อนที่ของคลื่น 4. ความยาวคลื่นจากถาดคลื่นมีค่า 4 เซนติเมตร ระยะจากแถบสว่างที่ 1 ถึงแถบสว่าง 5 ยาวกี่เซนติเมตร 1. 8 cm 2. 12 cm 3. 16 cm 4. 20 cm 5. จากกราฟการกระจัดกับระยะทางของคลื่น ความยาวคลื่นมีค่าเท่าใด 1. 2 cm 2. 4 cm 3. 6 cm 4. 8 cm 6. จากข้อ 5 ถ้าคลื่นดังกล่าวมีความถี่ 10 เฮิรตซ์ จะมีอัตราเร็วของคลื่นเท่าใด 1. 20 cm/s 2. 40 cm/s 3. 60 cm/s 4. 80 cm/s
  • 17. 14 7. จากการสังเกตแถบสว่างใต้ถาดคลื่นพบว่าแถบสว่างที่ 1 กับแถบสว่างที่ 4 ห่างกัน 12 เซนติเมตร ดัง ภาพ ข้อใดกล่าวถูกต้องเกี่ยวกับคลื่นดังกล่าว 12 cm 1. เกิดจากแหล่งกาเนิดที่เป็นจุด และมีความยาวคลื่น 3 cm 2. เกิดจากแหล่งกาเนิดที่เป็นจุด และมีความยาวคลื่น 4 cm 3. เกิดจากแหล่งกาเนิดที่เป็นเส้นตรง และมีความยาวคลื่น 3 cm 4. เกิดจากแหล่งกาเนิดที่เป็นเส้นตรง และมีความยาวคลื่น 4 cm 8. ข้อใดกล่าวถึงแถบมืดและแถบสว่างที่ปรากฏใต้ถาดคลื่นถูกต้องที่สุด 1. ทั้งแถบมืดและแถบสว่างคือบริเวณสันคลื่น 2. ทั้งแถบมืดและแถบสว่างคือบริเวณท้องคลื่น 3. แถบมืดคือบริเวณท้องคลื่น แถบสว่างคือบริเวณสันคลื่น 4. แถบมืดคือบริเวณสันคลื่น แถบสว่างคือบริเวณท้องคลื่น 9. คลื่นขบวนหนึ่งเคลื่อนที่ไปตามผิวน้าด้วยอัตราเร็ว 20 เซนติเมตร/วินาที เมื่อปรับให้มอเตอร์หมุนด้วยความถี่ 5 รอบ/วินาที แถบสว่างที่อยู่ติดกันจะห่างกันเท่าใด 1. 1.0 cm 2. 2.0 cm 3. 4.0 cm 4. 5.0 cm 10.คลื่นผิวน้ามีความเร็ว 10 เซนติเมตรต่อวินาที ถ้าระยะห่างจากท้องคลื่นถึงท้องคลื่นติดกันเท่ากับ 5 เซนติเมตร ความถี่มีค่าเท่าใด 1. 0.5 Hz 2. 2.0 Hz 3. 10 Hz 4. 50 Hz 11.ลูกบอลลูกหนึ่งตกลงน้าและสั่นขึ้นลงหลายรอบทาให้เกิดคลื่นผิวน้าแผ่ออกไปเป็นรูปวงกลม เมื่อผ่าน ไป 5 วินาที คลื่นน้าแผ่ออกไปได้รัศมีสูงสุดประมาณ 15 เมตร มีระยะระหว่างสันคลื่นที่ติดกันเท่ากับ 1.5 เมตร ลูกบอลสั่นขึ้นลงด้วยความถี่ประมาณเท่าใด 1. 0.5 Hz 2. 1.0 Hz 3. 1.5 Hz 4. 2.0 Hz
  • 18. 15 12.ข้อใดกล่าวได้ถูกต้องเกี่ยวกับคลื่นในภาพ C A B 1. มีคลื่นทั้งหมด 5 ลูก 2. ระยะ C คือ ความยาวคลื่น 3. ช่วงเวลา C คือ คาบของคลื่น 4. ตาแหน่ง A และ B มีการกระจัดเป็นบวก 13.คลื่นนิ่งในเส้นเชือกที่เวลาต่าง ๆ 3 เวลา ดังภาพ จงหาความเร็วของคลื่นในเชือกนี้ 1. 15 m/s 2. 30 m/s 3. 60 m/s 4. 120 m/s 14.ถ้าผูกเชือกเป็นบ่วงคล้องกับเสาที่วางในแนวราบ จากนั้นสะบัดเชือกให้เกิดคลื่นเคลื่อนที่ไปตกกระทบ เสาดังภาพ ข้อใดกล่าวถึงคลื่นสะท้อนได้ถูกต้องหากการสะท้อนไม่มีการสูญเสียพลังงาน 1. มีแอมพลิจูดลดลง 2. ทิศการกระจัดตรงข้ามกับคลื่นตกกระทบ 3. ทิศการกระจัดเหมือนกับคลื่นตกกระทบ 4. อัตราเร็วของคลื่นสะท้อนจะมากกว่าคลื่นตกกระทบ
  • 19. 16 15.คลื่นเคลื่อนที่ผ่านรอยต่อตัวกลางที่ไม่เหมือนกัน พบว่าสิ่งใดมีการเปลี่ยนแปลงเสมอ ก. ความยาวคลื่น ข. อัตราเร็วของคลื่น ค. ทิศทางการเคลื่อนที่ของคลื่น ง. ความถี่คลื่น 1. ข้อ ก และ ข 2. ข้อ ก และ ค 3. ข้อ ข ค และ ง 4. ข้อ ก ข ค และ ง 16.น้าลึกคลื่นจะมี...........(ก)...............ส่วนน้าตื้นจะมี...............(ข).................... แต่ทั้งน้าลึกและน้าตื้นจะมี ...........(ค)................. ข้อความ (ก) (ข) และ (ค) ควรเป็นข้อใดจึงจะเหมาะสมที่สุด ตามลาดับ 1. ความเร็วคลื่นน้อย ความเร็วคลื่นมาก ความถี่เท่ากัน 2. ความยาวคลื่นมาก ความยาวคลื่นน้อย ความถี่เท่ากัน 3. ความยาวคลื่นมาก ความยาวคลื่นน้อย ความเร็วคลื่นเท่ากัน 4. ความเร็วคลื่นมาก ความเร็วคลื่นน้อย ความยาวคลื่นเท่ากัน 17.ข้อใดกล่าวถึงการแทรกสอดของคลื่นในภาพ (ก) และ ภาพ (ข) ได้ถูกต้อง (ก) (ข) 1. ภาพ (ก) และ (ข) เป็นการแทรกสอดเสริม 2. ภาพ (ก) และ (ข) เป็นการแทรกสอดหักล้าง 3. ภาพ (ก) เป็นการแทรกสอดหักล้าง ภาพ (ข) เป็นการแทรกสอดเสริม 4. ภาพ (ก) เป็นการแทรกสอดเสริม ภาพ (ข) เป็นการแทรกสอดหักล้าง 18.ข้อใดกล่าวถึงการแทรกสอดของคลื่นได้ถูกต้อง 1. ขณะเกิดการแทรกสอดเสริมจะทาให้ความถี่ของคลื่นเพิ่มขึ้น 2. ขณะเกิดการแทรกสอดหักล้างจะทาให้ความถี่ของคลื่นเพิ่มขึ้น 3. ขณะเกิดการแทรกสอดเสริมจะทาให้ขนาดการกระจัดของคลื่นเพิ่มขึ้น 4. ขณะเกิดการแทรกสอดหักล้างจะทาให้ขนาดการกระจัดของคลื่นเพิ่มขึ้น
  • 20. 17 19.ข้อใดกล่าวถูกต้องเกี่ยวกับการเลี้ยวเบนของคลื่น 1. คลื่นที่เลี้ยวเบนจะมีความถี่ลดลงเสมอ 2. คลื่นที่เลี้ยวเบนจะมีอัตราเร็วลดลงเสมอ 3. คลื่นที่เลี้ยวเบนจะมีความยาวลดลงเสมอ 4. คลื่นที่เลี้ยวเบนจะมีแอมพลิจูดลดลงเสมอ 20.ข้อใดเป็นสมบัติเฉพาะตัวของคลื่นเท่านั้น 1. การสะท้อน การหักเห 2. การหักเห การเลี้ยวเบน 3. การเลี้ยวเบน การแทรกสอด 4. การสะท้อน การแทรกสอด 21. เมื่อเคาะส้อมเสียง โมเลกุลของอากาศที่อยู่รอบ ๆ ส้อมเสียงจะมีการเคลื่อนที่อย่างไร 1. สั่นไปมาตามแนวระดับ 2. สั่นขึ้นและสั่นลงตามแนวดิ่ง 3. เคลื่อนที่ออกเป็นรูปคลื่น 4. เคลื่อนที่ออกจากส้อมเสียง 22. วางกระดิ่งไฟฟ้าที่ส่งเสียงดังตลอดเวลาและหลอดไฟฟ้าที่ให้แสงสว่างในครอบแก้ว ที่ภายในเป็น สุญญากาศ ข้อใดถูกต้องที่สุด 1. ไม่ได้ยินเสียงกระดิ่ง แต่เห็นแสงจากหลอดไฟ 2. ไม่ได้ยินเสียงกระดิ่ง และไม่เห็นแสงจากหลอดไฟ 3. ได้ยินเสียงกระดิ่ง และเห็นแสงจากหลอดไฟ 4. ได้ยินเสียงกระดิ่ง แต่ไม่เห็นแสงจากหลอดไฟ 23. ข้อใดกล่าวถูกต้องเมื่อให้เสียงเคลื่อนที่จากบริเวณอากาศร้อนไปสู่บริเวณอากาศเย็น 1. อัตราเร็วของเสียงลด 2. ความถี่ลดลง 3. ความถี่เพิ่ม 4. อัตราเร็วของเสียงเพิ่ม 24. นักสารวจต้องการทราบความลึกของทะเลโดยใช้เครื่องโซนาร์ เมื่อปล่อยสัญญาณออกจากเครื่องส่ง สามารถรับสัญญาณหลังจากส่งลงไปเป็นเวลา 0.6 วินาที ถ้าอัตราเร็วของเสียงในน้าเป็น 1,500 เมตร ต่อวินาที ทะเลมีความลึกเท่าใด 1. 150 m 2. 300 m 3. 450 m 4. 900 m
  • 21. 18 25. ข้อใดกล่าวถึงความเข้มเสียงได้ถูกต้อง 1. แปรผกผันกับความถี่ของแหล่งกาเนิดเสียง 2. แปรผันตรงกับความถี่ของแหล่งกาเนิดเสียง 3. แปรผกผันกับระยะทางจากแหล่งกาเนิดเสียงยกกาลังสอง 4. แปรผันตรงกับระยะทางจากแหล่งกาเนิดเสียงยกกาลังสอง 26. ข้อใดเกี่ยวข้องกับการหักเหของคลื่นเสียง 1. ค้างคาวสามารถบินหลบสิ่งกีดขวางได้ในที่มืด 2. การไม่ได้ยินเสียงฟ้าร้อง แต่เห็นฟ้าแลบ 3. การบุผนังห้องประชุมด้วยวัสดุดูดซับเสียง 4. การได้ยินเสียงเพลงแม้หันลาโพงไปทางอื่น 27. เครื่องมือชนิดใดบ้างที่อาศัยสมบัติของเสียงมาใช้ ก. โซนาร์ ข. อัลตราซาวด์ ค. เรดาร์ ง. เลเซอร์ คาตอบที่ถูกที่สุดคือข้อใด 1. ก และ ข 2. ก และ ค 3. ข และ ค 4. ข และ ง 28. เสียงในข้อใดที่มนุษย์ปกติไม่ได้ยิน 1. เสียงที่ความเข้มเสียง 0.1 W/m2 และมีความถี่ 7 Hz 2. เสียงที่ความเข้มเสียง 10-10 W/m2 และมีความถี่ 100 Hz 3. เสียงที่ความเข้มเสียง 10 W/m2 และมีความถี่ 100 Hz 4. เสียงที่ความเข้มเสียง 10-10 W/m2 และมีความถี่ 15,000 Hz 29. เสียงที่มีระดับความเข้มเสียง 120 เดซิเบล จะมีความเข้มเสียงเท่าใด 1. 0.1 W/m2 2. 0.5 W/m2 3. 0.8 W/m2 4. 1.0 W/m2 30. เสียงที่มีความเข้ม 10-6 วัตต์ต่อตารางเมตร จะมีระดับความเข้มเสียงเท่าใด 1. 60 dB 2. 70 dB 3. 80 dB 4. 90 dB 31. ข้อใดต่อไปนี้เกี่ยวข้องกับการใช้คลื่นเสียงความถี่ต่า มากที่สุด 1. การหาอาหารของค้างคาว 2. การหาอาหารของโลมา 3. การสั่นในผลึกบางชนิด 4. การสื่อสารระยะไกลของช้าง
  • 22. 19 32. ถ้าบ้านอยู่ใกล้ทางรถไฟ จะมีวิธีการอย่างไรจึงจะทาให้ได้ยินเสียงที่มีระดับความเข้มเสียงลดลง ก. สร้างรั้วให้ทึบ ข. ปลูกต้นไม้ให้หนาแน่น ค. ติดกระจกบริเวณหน้าต่างและประตู คาตอบที่ถูกต้องที่สุดคือข้อใด 1. ก และ ข 2. ข และ ค 3. ก และ ค 4. ก ข และ ค 33. เสียงในข้อใดมีความดังมากที่สุด 1. เสียงที่มีความถี่ 256 เฮิรตซ์ และมีความเข้มเสียง 0.1 วัตต์/ตารางเมตร 2. เสียงที่มีความถี่ 512 เฮิรตซ์ และมีระดับความเข้มเสียง 100 เดซิเบล 3. เสียงที่มีความถี่ 512 เฮิรตซ์ และมีระดับความเข้มเสียง 70 เดซิเบล 4. เสียงที่มีความถี่ 256 เฮิรตซ์ และมีความเข้มเสียง 1 วัตต์/ตารางเมตร 34. ข้อใดกล่าวถูกต้องเกี่ยวกับการได้ยินเสียง 1. เสียงแหลมจะมีระดับเสียงต่ากว่าเสียงทุ้ม 2. เสียงแหลมจะมีระดับเสียงสูงกว่าเสียงทุ้ม 3. เสียงดังมากจะมีระดับเสียงต่ากว่าเสียงดังน้อย 4. เสียงดังมากจะมีระดับเสียงสูงกว่าเสียงดังน้อย 35. ขณะยืนอยู่ขอบสระว่ายน้าได้ยินเสียงที่มีความถี่ 256 เฮิรตซ์ เมื่อฟังเสียงดังกล่าวใต้ผิวน้าความถี่ของ เสียงที่ได้ยินจะเป็นอย่างไร 1. น้อยกว่า 256 เฮิรตซ์ 2. 256 เฮิรตซ์ เท่าเดิม 3. มากกว่า 256 เฮิรตซ์ 4. อาจมากกว่า หรือ น้อยกว่า 256 เฮิรตซ์ก็ได้ขึ้นอยู่กับอุณหภูมิของอากาศขณะนั้น 36. เมื่อไล่ระดับเสียงของเครื่องดนตรีจากระดับเสียงต่าไประดับเสียงสูง ข้อใดกล่าวได้ถูกต้องเกี่ยวกับโน้ต เสียงโด (C) กับโน้ตเสียงเร (D) 1. เสียงโด (C) มีความถี่มากกว่าโน้ตเสียงเร (D) 2. เสียงโด (C) มีความถี่น้อยกว่าโน้ตเสียงเร (D) 3. เสียงโด (C) มีความดังมากกว่าโน้ตเสียงเร (D) 4. เสียงโด (C) มีความดังน้อยกว่าโน้ตเสียงเร (D)
  • 23. 20 37. จากสัญญาณเสียงในภาพ (ก) และ (ข) ซึ่งเป็นเสียงที่มีแอมพลิจูดเท่ากัน (ก) (ข) ข้อใดกล่าวถูกต้อง 1. สัญญาณเสียงในภาพ (ก) มีระดับเสียงต่ากว่าสัญญาณเสียงในภาพ (ข) 2. สัญญาณเสียงในภาพ (ก) มีระดับเสียงสูงกว่าสัญญาณเสียงในภาพ (ข) 3. สัญญาณเสียงในภาพ (ก) มีความดังน้อยกว่าสัญญาณเสียงในภาพ (ข) 4. สัญญาณเสียงในภาพ (ก) มีความดังมากกว่าสัญญาณเสียงในภาพ (ข) 38. การกระทาในข้อใดไม่สามารถป้องกันอันตรายจากมลพิษทางเสียงได้ 1. ใส่เครื่องป้องกันเสียง 2. เปิดวิทยุให้เสียงดังมากกว่า 3. หลีกเลี่ยงแหล่งกาเนิดเสียงดัง 4. ปลูกต้นไม้สูง ๆ เป็นแนวกั้นเสียง 39. เสียงบีตส์เกิดจากการผสมกันของคลื่นเสียง 2 ขบวนที่มีสมบัติใดต่างกันเล็กน้อย 1. ความถี่ 2. ความดัง 3. แอมพลิจูด 4. อัตราเร็ว 40. เปล่าขลุ่ย 2 เลาพร้อมกันที่ตัวโน้ตเดียวกันเป็นเวลา 10 วินาที แต่เนื่องจากความไม่สมบูรณ์ของขลุ่ย ทาให้เกิดเสียงบีตส์ นับเสียงดังได้ 20 ครั้ง ถ้าความถี่ของโน้ตจากขลุ่ยเลาหนึ่งคือ 350 Hz ความถี่ที่ เป็นไปได้ของตัวโน้ตจากขลุ่ยอีกเลาหนึ่งมีค่าเท่าใด 1. 346 Hz และ 348 Hz 2. 348 Hz และ 350 Hz 3. 348 Hz และ 352 Hz 4. 350 Hz และ 352 Hz --------------------------------------------------------------------------------------------------
  • 24. 21 เฉลยแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทำงกำรเรียนก่อนเรียน 1. 2 2. 4 3. 4 4. 3 5. 2 6. 2 7. 4 8. 3 9. 3 10. 2 11. 4 12. 2 13. 1 14. 3 15. 1 16. 2 17. 4 18. 3 19. 4 20. 3 21. 1 22. 1 23. 1 24. 3 25. 3 26. 2 27. 1 28. 1 29. 4 30. 1 31. 4 32. 4 33. 4 34. 2 35. 2 36. 2 37. 1 38. 2 39. 1 40. 3
  • 25. 22 แบบวัดผลสัมฤทธิ์ทำงกำรเรียนหลังเรียน เรื่อง คลื่นกลและเสียง ปีกำรศึกษำ 2559 รหัสวิชำ ว33101 วิชำวิทยำศำสตร์ 5 ชั้นมัธยมศึกษำปีที่ 6 คะแนน 40 คะแนน เวลำ 60 นำที แบบทดสอบนี้มีจำนวน 40 ข้อ คำสั่ง จงเลือกคาตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงคาตอบเดียวเท่านั้น แล้วทาเครื่องหมายกากบาท (X) ใน กระดาษคาตอบ 1. สมบัติใดของคลื่นกลที่แตกต่างไปจากคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า 1. การสะท้อน 2. การแทรกสอด 3. การเลี้ยวเบน 4. การอาศัยตัวกลาง 2. ในขณะที่เกิดคลื่นตามขวาง อนุภาคของตัวกลางเคลื่อนที่อย่างไร 1. สั่นเป็นเส้นโค้งตามแนวคลื่น 2. สั่นตั้งฉากกับทิศการเคลื่อนที่ของคลื่น 3. สั่นเป็นเส้นตรงตามทิศการเคลื่อนที่ของคลื่น 4. สั่นเคลื่อนที่กลับไปกลับมาตามทิศการเคลื่อนที่ของคลื่น 3. คลื่นในข้อใดต่อไปนี้ เป็นคลื่นกลที่ต้องอาศัยตัวกลางในการเคลื่อนที่ทั้งหมด 1. คลื่นเสียง คลื่นวิทยุ คลื่นไมโครเวฟ 2. คลื่นผิวน้า คลื่นเสียง คลื่นแสง 3. คลื่นในสปริง คลื่นผิวน้า คลื่นแสง 4. คลื่นเสียง คลื่นผิวน้า คลื่นในเส้นเชือก 4. จากกราฟการกระจัดกับระยะทางของคลื่น ความยาวคลื่นมีค่าเท่าใด 1. 2 cm 2. 4 cm 3. 6 cm 4. 8 cm 5. จากข้อ 4 ถ้าคลื่นดังกล่าวมีความถี่ 10 เฮิรตซ์ จะมีอัตราเร็วของคลื่นเท่าใด 1. 20 cm/s 2. 40 cm/s 3. 60 cm/s 4. 80 cm/s 6. ความยาวคลื่นจากถาดคลื่นมีค่า 4 เซนติเมตร ระยะจากแถบสว่างที่ 1 ถึงแถบสว่าง 5 ยาวกี่ เซนติเมตร 1. 8 cm 2. 12 cm 3. 16 cm 4. 20 cm
  • 26. 23 7. ข้อใดกล่าวถึงแถบมืดและแถบสว่างที่ปรากฏใต้ถาดคลื่นถูกต้องที่สุด 1. ทั้งแถบมืดและแถบสว่างคือบริเวณสันคลื่น 2. ทั้งแถบมืดและแถบสว่างคือบริเวณท้องคลื่น 3. แถบมืดคือบริเวณสันคลื่น แถบสว่างคือบริเวณท้องคลื่น 4. แถบมืดคือบริเวณท้องคลื่น แถบสว่างคือบริเวณสันคลื่น 8. จากการสังเกตแถบสว่างใต้ถาดคลื่นพบว่าแถบสว่างที่ 1 กับแถบสว่างที่ 4 ห่างกัน 12 เซนติเมตร ดัง ภาพ ข้อใดกล่าวถูกต้องเกี่ยวกับคลื่นดังกล่าว 12 cm 1. เกิดจากแหล่งกาเนิดที่เป็นจุด และมีความยาวคลื่น 3 cm 2. เกิดจากแหล่งกาเนิดที่เป็นจุด และมีความยาวคลื่น 4 cm 3. เกิดจากแหล่งกาเนิดที่เป็นเส้นตรง และมีความยาวคลื่น 3 cm 4. เกิดจากแหล่งกาเนิดที่เป็นเส้นตรง และมีความยาวคลื่น 4 cm 9. คลื่นผิวน้ามีความเร็ว 10 เซนติเมตรต่อวินาที ถ้าระยะห่างจากท้องคลื่นถึงท้องคลื่นติดกันเท่ากับ 5 เซนติเมตร ความถี่มีค่าเท่าใด 1. 0.5 Hz 2. 2.0 Hz 3. 10 Hz 4. 50 Hz 10. คลื่นขบวนหนึ่งเคลื่อนที่ไปตามผิวน้าด้วยอัตราเร็ว 20 เซนติเมตร/วินาที เมื่อปรับให้มอเตอร์หมุนด้วยความถี่ 5 รอบ/วินาที แถบสว่างที่อยู่ติดกันจะห่างกันเท่าใด 1. 1.0 cm 2. 2.0 cm 3. 4.0 cm 4. 5.0 cm 11. ลูกบอลลูกหนึ่งตกลงน้าและสั่นขึ้นลงหลายรอบทาให้เกิดคลื่นผิวน้าแผ่ออกไปเป็นรูปวงกลม เมื่อผ่าน ไป 5 วินาที คลื่นน้าแผ่ออกไปได้รัศมีสูงสุดประมาณ 15 เมตร มีระยะระหว่างสันคลื่นที่ติดกันเท่ากับ 1.5 เมตร ลูกบอลสั่นขึ้นลงด้วยความถี่ประมาณเท่าใด 1. 0.5 Hz 2. 1.0 Hz 3. 1.5 Hz 4. 2.0 Hz
  • 27. 24 12. คลื่นนิ่งในเส้นเชือกที่เวลาต่าง ๆ 3 เวลา ดังภาพ จงหาความเร็วของคลื่นในเชือกนี้ 1. 15 m/s 2. 30 m/s 3. 60 m/s 4. 120 m/s 13. ข้อใดกล่าวได้ถูกต้องเกี่ยวกับคลื่นในภาพ C A B 1. มีคลื่นทั้งหมด 5 ลูก 2. ระยะ C คือ ความยาวคลื่น 3. ช่วงเวลา C คือ คาบของคลื่น 4. ตาแหน่ง A และ B มีการกระจัดเป็นบวก 14. ถ้าผูกเชือกเป็นบ่วงคล้องกับเสาที่วางในแนวราบ จากนั้นสะบัดเชือกให้เกิดคลื่นเคลื่อนที่ไปตกกระทบ เสาดังภาพ ข้อใดกล่าวถึงคลื่นสะท้อนได้ถูกต้องหากการสะท้อนไม่มีการสูญเสียพลังงาน 1. มีแอมพลิจูดลดลง 2. ทิศการกระจัดตรงข้ามกับคลื่นตกกระทบ 3. ทิศการกระจัดเหมือนกับคลื่นตกกระทบ 4. อัตราเร็วของคลื่นสะท้อนจะมากกว่าคลื่นตกกระทบ
  • 28. 25 15. น้าลึกคลื่นจะมี...........(ก)...............ส่วนน้าตื้นจะมี...............(ข).................... แต่ทั้งน้าลึกและน้าตื้นจะ มี...........(ค)................. ข้อความ (ก) (ข) และ (ค) ควรเป็นข้อใดจึงจะเหมาะสมที่สุด ตามลาดับ 1. ความยาวคลื่นมาก ความยาวคลื่นน้อย ความถี่เท่ากัน 2. ความเร็วคลื่นน้อย ความเร็วคลื่นมาก ความถี่เท่ากัน 3. ความยาวคลื่นมาก ความยาวคลื่นน้อย ความเร็วคลื่นเท่ากัน 4. ความเร็วคลื่นมาก ความเร็วคลื่นน้อย ความยาวคลื่นเท่ากัน 16. คลื่นเคลื่อนที่ผ่านรอยต่อตัวกลางที่ไม่เหมือนกัน พบว่าสิ่งใดมีการเปลี่ยนแปลงเสมอ ก. ความยาวคลื่น ข. อัตราเร็วของคลื่น ค. ทิศทางการเคลื่อนที่ของคลื่น ง. ความถี่คลื่น 1. ข้อ ก และ ข 2. ข้อ ก และ ค 3. ข้อ ข ค และ ง 4. ข้อ ก ข ค และ ง 17. ข้อใดกล่าวถึงการแทรกสอดของคลื่นได้ถูกต้อง 1. ขณะเกิดการแทรกสอดเสริมจะทาให้ความถี่ของคลื่นเพิ่มขึ้น 2. ขณะเกิดการแทรกสอดหักล้างจะทาให้ความถี่ของคลื่นเพิ่มขึ้น 3. ขณะเกิดการแทรกสอดเสริมจะทาให้ขนาดการกระจัดของคลื่นเพิ่มขึ้น 4. ขณะเกิดการแทรกสอดหักล้างจะทาให้ขนาดการกระจัดของคลื่นเพิ่มขึ้น 18. ข้อใดกล่าวถึงการแทรกสอดของคลื่นในภาพ (ก) และ ภาพ (ข) ได้ถูกต้อง (ก) (ข) 1. ภาพ (ก) และ (ข) เป็นการแทรกสอดเสริม 2. ภาพ (ก) และ (ข) เป็นการแทรกสอดหักล้าง 3. ภาพ (ก) เป็นการแทรกสอดเสริม ภาพ (ข) เป็นการแทรกสอดหักล้าง 4. ภาพ (ก) เป็นการแทรกสอดหักล้าง ภาพ (ข) เป็นการแทรกสอดเสริม
  • 29. 26 19. ข้อใดกล่าวถูกต้องเกี่ยวกับการเลี้ยวเบนของคลื่น 1. คลื่นที่เลี้ยวเบนจะมีความถี่ลดลงเสมอ 2. คลื่นที่เลี้ยวเบนจะมีอัตราเร็วลดลงเสมอ 3. คลื่นที่เลี้ยวเบนจะมีความยาวลดลงเสมอ 4. คลื่นที่เลี้ยวเบนจะมีแอมพลิจูดลดลงเสมอ 20. ข้อใดเป็นสมบัติเฉพาะตัวของคลื่นเท่านั้น 1. การสะท้อน การหักเห 2. การหักเห การเลี้ยวเบน 3. การเลี้ยวเบน การแทรกสอด 4. การสะท้อน การแทรกสอด 21. วางกระดิ่งไฟฟ้าที่ส่งเสียงดังตลอดเวลาและหลอดไฟฟ้าที่ให้แสงสว่างในครอบแก้ว ที่ภายในเป็น สุญญากาศ ข้อใดถูกต้องที่สุด 1. ไม่ได้ยินเสียงกระดิ่ง แต่เห็นแสงจากหลอดไฟ 2. ไม่ได้ยินเสียงกระดิ่ง และไม่เห็นแสงจากหลอดไฟ 3. ได้ยินเสียงกระดิ่ง และเห็นแสงจากหลอดไฟ 4. ได้ยินเสียงกระดิ่ง แต่ไม่เห็นแสงจากหลอดไฟ 22. เมื่อเคาะส้อมเสียง โมเลกุลของอากาศที่อยู่รอบ ๆ ส้อมเสียงจะมีการเคลื่อนที่อย่างไร 1. สั่นไปมาตามแนวระดับ 2. สั่นขึ้นและสั่นลงตามแนวดิ่ง 3. เคลื่อนที่ออกเป็นรูปคลื่น 4. เคลื่อนที่ออกจากส้อมเสียง 23. ข้อใดกล่าวถูกต้องเมื่อให้เสียงเคลื่อนที่จากบริเวณอากาศร้อนไปสู่บริเวณอากาศเย็น 1. ความถี่เพิ่ม 2. ความถี่ลดลง 3. อัตราเร็วของเสียงลด 4. อัตราเร็วของเสียงเพิ่ม 24. นักสารวจต้องการทราบความลึกของทะเลโดยใช้เครื่องโซนาร์ เมื่อปล่อยสัญญาณออกจากเครื่องส่ง สามารถรับสัญญาณหลังจากส่งลงไปเป็นเวลา 0.6 วินาที ถ้าอัตราเร็วของเสียงในน้าเป็น 1,500 เมตร ต่อวินาที ทะเลมีความลึกเท่าใด 1. 150 m 2. 300 m 3. 450 m 4. 900 m
  • 30. 27 25. ข้อใดเกี่ยวข้องกับการหักเหของคลื่นเสียง 1. ค้างคาวสามารถบินหลบสิ่งกีดขวางได้ในที่มืด 2. การไม่ได้ยินเสียงฟ้าร้อง แต่เห็นฟ้าแลบ 3. การบุผนังห้องประชุมด้วยวัสดุดูดซับเสียง 4. การได้ยินเสียงเพลงแม้หันลาโพงไปทางอื่น 26. เครื่องมือชนิดใดบ้างที่อาศัยสมบัติของเสียงมาใช้ ก. โซนาร์ ข. อัลตราซาวด์ ค. เรดาร์ ง. เลเซอร์ คาตอบที่ถูกที่สุดคือข้อใด 1. ก และ ข 2. ก และ ค 3. ข และ ค 4. ข และ ง 27. ข้อใดกล่าวถึงความเข้มเสียงได้ถูกต้อง 1. แปรผกผันกับความถี่ของแหล่งกาเนิดเสียง 2. แปรผันตรงกับความถี่ของแหล่งกาเนิดเสียง 3. แปรผกผันกับระยะทางจากแหล่งกาเนิดเสียงยกกาลังสอง 4. แปรผันตรงกับระยะทางจากแหล่งกาเนิดเสียงยกกาลังสอง 28. เสียงที่มีระดับความเข้มเสียง 120 เดซิเบล จะมีความเข้มเสียงเท่าใด 1. 0.1 W/m2 2. 0.5 W/m2 3. 0.8 W/m2 4. 1.0 W/m2 29. เสียงที่มีความเข้ม 10-6 วัตต์ต่อตารางเมตร จะมีระดับความเข้มเสียงเท่าใด 1. 60 dB 2. 70 dB 3. 80 dB 4. 90 dB 30. เสียงในข้อใดที่มนุษย์ปกติไม่ได้ยิน 1. เสียงที่ความเข้มเสียง 0.1 W/m2 และมีความถี่ 7 Hz 2. เสียงที่ความเข้มเสียง 10-10 W/m2 และมีความถี่ 100 Hz 3. เสียงที่ความเข้มเสียง 10 W/m2 และมีความถี่ 100 Hz 4. เสียงที่ความเข้มเสียง 10-10 W/m2 และมีความถี่ 15,000 Hz 31. ข้อใดต่อไปนี้เกี่ยวข้องกับการใช้คลื่นเสียงความถี่ต่า มากที่สุด 1. การหาอาหารของค้างคาว 2. การหาอาหารของโลมา 3. การสั่นในผลึกบางชนิด 4. การสื่อสารระยะไกลของช้าง
  • 31. 28 32. ข้อใดกล่าวถูกต้องเกี่ยวกับการได้ยินเสียง 1. เสียงแหลมจะมีระดับเสียงต่ากว่าเสียงทุ้ม 2. เสียงแหลมจะมีระดับเสียงสูงกว่าเสียงทุ้ม 3. เสียงดังมากจะมีระดับเสียงต่ากว่าเสียงดังน้อย 4. เสียงดังมากจะมีระดับเสียงสูงกว่าเสียงดังน้อย 33. เสียงในข้อใดมีความดังมากที่สุด 1. เสียงที่มีความถี่ 256 เฮิรตซ์ และมีความเข้มเสียง 0.1 วัตต์/ตารางเมตร 2. เสียงที่มีความถี่ 512 เฮิรตซ์ และมีระดับความเข้มเสียง 100 เดซิเบล 3. เสียงที่มีความถี่ 512 เฮิรตซ์ และมีระดับความเข้มเสียง 70 เดซิเบล 4. เสียงที่มีความถี่ 256 เฮิรตซ์ และมีความเข้มเสียง 1 วัตต์/ตารางเมตร 34. เมื่อไล่ระดับเสียงของเครื่องดนตรีจากระดับเสียงต่าไประดับเสียงสูง ข้อใดกล่าวได้ถูกต้องเกี่ยวกับโน้ต เสียงโด (C) กับโน้ตเสียงเร (D) 1. เสียงโด (C) มีความถี่มากกว่าโน้ตเสียงเร (D) 2. เสียงโด (C) มีความถี่น้อยกว่าโน้ตเสียงเร (D) 3. เสียงโด (C) มีความดังมากกว่าโน้ตเสียงเร (D) 4. เสียงโด (C) มีความดังน้อยกว่าโน้ตเสียงเร (D) 35. ขณะยืนอยู่ขอบสระว่ายน้าได้ยินเสียงที่มีความถี่ 256 เฮิรตซ์ เมื่อฟังเสียงดังกล่าวใต้ผิวน้าความถี่ของ เสียงที่ได้ยินจะเป็นอย่างไร 1. น้อยกว่า 256 เฮิรตซ์ 2. 256 เฮิรตซ์ เท่าเดิม 3. มากกว่า 256 เฮิรตซ์ 4. อาจมากกว่า หรือ น้อยกว่า 256 เฮิรตซ์ก็ได้ขึ้นอยู่กับอุณหภูมิของอากาศขณะนั้น 36. จากสัญญาณเสียงในภาพ (ก) และ (ข) ซึ่งเป็นเสียงที่มีแอมพลิจูดเท่ากัน (ก) (ข) ข้อใดกล่าวถูกต้อง 1. สัญญาณเสียงในภาพ (ก) มีระดับเสียงต่ากว่าสัญญาณเสียงในภาพ (ข) 2. สัญญาณเสียงในภาพ (ก) มีระดับเสียงสูงกว่าสัญญาณเสียงในภาพ (ข) 3. สัญญาณเสียงในภาพ (ก) มีความดังน้อยกว่าสัญญาณเสียงในภาพ (ข) 4. สัญญาณเสียงในภาพ (ก) มีความดังมากกว่าสัญญาณเสียงในภาพ (ข)
  • 32. 29 37. เสียงบีตส์เกิดจากการผสมกันของคลื่นเสียง 2 ขบวนที่มีสมบัติใดต่างกันเล็กน้อย 1. ความถี่ 2. ความดัง 3. แอมพลิจูด 4. อัตราเร็ว 38. เปล่าขลุ่ย 2 เลาพร้อมกันที่ตัวโน้ตเดียวกันเป็นเวลา 10 วินาที แต่เนื่องจากความไม่สมบูรณ์ของขลุ่ย ทาให้เกิดเสียงบีตส์ นับเสียงดังได้ 20 ครั้ง ถ้าความถี่ของโน้ตจากขลุ่ยเลาหนึ่งคือ 350 Hz ความถี่ที่ เป็นไปได้ของตัวโน้ตจากขลุ่ยอีกเลาหนึ่งมีค่าเท่าใด 1. 346 Hz และ 348 Hz 2. 348 Hz และ 350 Hz 3. 348 Hz และ 352 Hz 4. 350 Hz และ 352 Hz 39. การกระทาในข้อใดไม่สามารถป้องกันอันตรายจากมลพิษทางเสียงได้ 1. ใส่เครื่องป้องกันเสียง 2. เปิดวิทยุให้เสียงดังมากกว่า 3. หลีกเลี่ยงแหล่งกาเนิดเสียงดัง 4. ปลูกต้นไม้สูง ๆ เป็นแนวกั้นเสียง 40. ถ้าบ้านอยู่ใกล้ทางรถไฟ จะมีวิธีการอย่างไรจึงจะทาให้ได้ยินเสียงที่มีระดับความเข้มเสียงลดลง ก. สร้างรั้วให้ทึบ ข. ปลูกต้นไม้ให้หนาแน่น ค. ติดกระจกบริเวณหน้าต่างและประตู คาตอบที่ถูกต้องที่สุดคือข้อใด 1. ก และ ข 2. ข และ ค 3. ก และ ค 4. ก ข และ ค --------------------------------------------------------------------------------------------------
  • 33. 30 เฉลยแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทำงกำรเรียนหลังเรียน 1. 4 2. 2 3. 4 4. 2 5. 2 6. 3 7. 4 8. 4 9. 2 10. 3 11. 4 12. 1 13. 2 14. 3 15. 1 16. 1 17. 3 18. 3 19. 4 20. 3 21. 1 22. 1 23. 3 24. 3 25. 2 26. 1 27. 3 28. 4 29. 1 30. 1 31. 4 32. 2 33. 4 34. 2 35. 2 36. 1 37. 1 38. 3 39. 2 40. 4
  • 34. 31 แบบสอบถำมควำมพึงพอใจต่อกำรใช้สื่อสังคมออนไลน์ เสริมกำรจัดกำรเรียนรู้แบบสืบเสำะหำควำมรู้ เรื่อง คลื่นกลและเสียง คำชี้แจง: ให้นักเรียนทาเครื่องหมาย  ลงในช่องว่างที่ตรงกับความคิดเห็นของนักเรียน ข้อ รำยกำร ควำมพึงพอใจ มำก ที่สุด มำก ปำน กลำง น้อย น้อย ที่สุด ด้ำนกำรจัดกำรเรียนรู้แบบสืบเสำะหำควำมรู้ 1 นักเรียนมีความความสนใจ อยากรู้อยากเห็นเกี่ยวกับเรื่อง ที่ครูสอน 2 นักเรียนได้ฝึกการทางานร่วมกันเพื่อระดมความคิดในการ สารวจคาตอบ 3 นักเรียนได้ฝึกใช้ประสบการณ์เดิมของตนเป็นพื้นฐานใน การอธิบายความคิดรวบยอด 4 นักเรียนได้ฝึกการนาสิ่งที่ได้เรียนรู้ไปประยุกต์ใช้หรือขยาย ความรู้และทักษะในสถานการณ์ใหม่ 5 กิจกรรมการเรียนรู้ส่งเสริมให้นักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจ เกี่ยวกับวิทยาศาสตร์ 6 กิจกรรมการเรียนรู้ส่งเสริมให้นักเรียนมีเจตคติที่ดีต่อ วิทยาศาสตร์ 7 กิจกรรมการเรียนรู้ส่งเสริมให้นักเรียนมีทักษะกระบวนการ ทางวิทยาศาสตร์ 8 ใบความรู้และสื่อที่ใช้ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้น่าสนใจ 9 ความเหมาะสมของวิธีการวัดและเครื่องมือที่ใช้วัดและ ประเมินผล 10 กิจกรรมการเรียนรู้ช่วยในการทาแบบทดสอบวัดผล สัมฤทธิ์ทางการเรียนได้
  • 35. 32 ข้อ รำยกำร ควำมพึงพอใจ มำก ที่สุด มำก ปำน กลำง น้อย น้อย ที่สุด ด้ำนสื่อสังคมออนไลน์และเอกสำรประกอบ 11 ความถูกต้องเชิงเนื้อหา 12 ความต่อเนื่องของเนื้อหา 13 ความสะดวกและง่ายต่อการใช้งาน 14 เร้าความสนใจ ให้เกิดการใฝ่รู้ 15 ภาพและเสียงมีความชัดเจน 16 เนื้อหาในแต่ละวีดิทัศน์เหมาะสมกับเวลา 17 ช่วยในการทบทวนเนื้อหาบทเรียนได้ 18 ทาให้นักเรียนเข้าใจเนื้อหาเพิ่มมากขึ้น 19 ช่วยให้นักเรียนได้ข้อสรุปในเนื้อหาที่ถูกต้อง 20 ส่งเสริมให้นักเรียนใช้สื่อสังคมออนไลน์ในการเรียนรู้เรื่อง อื่น ข้อเสนอแนะอื่น ๆ .................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................... .................................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................................
  • 38.
  • 39. นายพิพัฒน์พงษ์ สาจันทร์ ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ชานาญการ โรงเรียนเทพลีลา เขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 2 สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน เอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์ เรื่อง คลื่นกลและเสียง
  • 40. ก คำนำ เอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์ เรื่อง คลื่นกลและเสียง ชุดนี้ จัดทาขึ้นสาหรับนักเรียนชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 6 กลุ่มที่ไม่เน้นวิทยาศาสตร์ โรงเรียนเทพลีลา ซึ่งสอดคล้องกับมาตรฐานและตัวชี้วัดของ หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 การเรียบเรียงเป็นไปอย่างกระชับชัดเจน มี ตัวอย่างข้อสอบที่หลากหลายให้นักเรียนได้ฝึกการแก้ปัญหา นักเรียนควรใช้เอกสารชุดนี้ควบคู่กับวีดิทัศน์จาก Youtube https://www.youtube.com/playlist?list=PLdzyCGGrSoCP2JXYhTVbkfsSas62AImiR และ เว็บไซต์http://www.tl-learning.com/ หวังเป็นอย่างยิ่งว่าเอกสารชุดนี้จะช่วยให้นักเรียนโรงเรียนเทพลีลาตลอดจนผู้สนใจทั่วไปเข้าใจวิชา วิทยาศาสตร์ สาระที่ 5 พลังงาน เรื่องคลื่นกลและเสียง ได้เป็นอย่างดี ขอขอบพระคุณท่านผู้อานวยการ รองผู้อานวยการ หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ คณะครู โรงเรียนเทพลีลา ที่ให้กาลังใจและให้การสนับสนุนการจัดทาเอกสารชุดนี้เป็นอย่างดี และขอขอบใจนักเรียน โรงเรียนเทพลีลาทุกคนที่ให้คาแนะนาการจัดทารูปแบบ ความเหมาะสมของสื่อ จนสามารถดาเนินงานสาเร็จ ลุล่วงไปด้วยดี นายพิพัฒน์พงษ์ สาจันทร์ ครู คศ.2
  • 41. ข สำรบัญ เรื่อง หน้ำ คำนำ.........................................................................................................................................................ก คำชี้แจง....................................................................................................................................................ค บทที่ 1 คลื่นกล.........................................................................................................................................1 ความหมายและประเภทของคลื่น................................................................................................ 11.1 ส่วนประกอบของคลื่น................................................................................................................. 41.2 แบบฝึกหัด เรื่องคลื่นกล ชุดที่ 1..............................................................................................................17 แบบฝึกหัด เรื่องคลื่นกล ชุดที่ 2..............................................................................................................19 บทที่ 2 เสียง...........................................................................................................................................21 การเกิดเสียงและการเคลื่อนที่ของเสียง.....................................................................................212.1 ความถี่ อัตราเร็วของเสียง.........................................................................................................232.2 สมบัติของเสียง..........................................................................................................................252.3 ลักษณะทางกายภาพของคลื่นเสียง...........................................................................................302.4 บีตส์..........................................................................................................................................352.5 แบบฝึกหัด เรื่องเสียง ชุดที่ 1..................................................................................................................37 แบบฝึกหัด เรื่องเสียง ชุดที่ 2..................................................................................................................39 บรรณำนุกรม...........................................................................................................................................41