SlideShare a Scribd company logo
Session   หนา
รูปแบบการเรียนการสอนแบบรวมมือดวยระบบการจัดกิจกรรมการเรียนรู           C1_6     123
Model of Collaborative Learning Using Learning Activity
Management System
ณมน จีรังสุวรรณ, ธนยศ สิรโชดก
                         ิ

การออกแบบเว็บไซตและบทเรียนอิเล็กทรอนิกสที่เหมาะสมสําหรับ               C1_7     131
อีเลิรนนิงในอาเซียน: กรอบวัฒนธรรมที่ควรคํานึงถึง
Proper Design of Website and Electronic Courseware for e-
Learning in ASEAN : Cultural framework for Consideration
จินตวีร คลายสังข

การพัฒนาสื่อฝกอบรมออนไลน เรื่อง เครือขายสังคมออนไลน เพื่อการเรียน    C1_8     140
การสอน สําหรับโครงการมหาวิทยาลัย ไซเบอรไทย (Facebook)
Development of Web-based Training on Social Network for
Learning and Teaching of Thailand Cyber University Project
ชนากานต ปนวิเศษ, ปณิตา วรรณพิรุณ, ณมน จีรังสุวรรณ

การพัฒนารูปแบบการนิเทศทางไกลสําหรับนิสิตฝกประสบการณวิชาชีพ             C1_9     147
ธีรวดี ถังคบุตร

การใชกระบวนการเขียนบล็อกแบบรวมมือกันในวิชาภาษาอังกฤษ: พัฒนา            B2_1     152
ทัศนคติ คุณภาพ และ ปริมาณงานเขียน
Application of a Collaborative Blogging in EFL Classroom:
Improving Attitude, Quality and Quantity in Writing
ดารารัตน คําภูแสน

รูปแบบการเรียนรูรวมกันผานสื่อสังคมออนไลนเพื่อสนับสนุนการเรียนดวย    B2_2     161
โครงงานนิเทศศาสตรสําหรับนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา
Collaborative Learning Model through Social Media for
Supporting Communications Project-based Learning for
Postgraduate Students
ปณิตา วรรณพิรุณ, วีระ สุภะ

ผลการบูรณาการการเรียนรูดวยเครือขายสังคมกับ e-Learning                 B2_3     170
Effects of Integrated Learning using Social Media with e-Learning
ปรัชญนันท นิลสุข, ปณิตา วรรณพิรุณ
การพัฒนาสื่อฝกอบรมออนไลน เรื่อง เครือขายสังคมออนไลนเพื่อการเรียนการสอน
                   สําหรับโครงการมหาวิทยาลัยไซเบอรไทย
 Development of Web-based Training on Social Network for Learning and
            Teaching of Thailand Cyber University Project

                    ชนากานต ปนวิเศษ1, อ.ดร. ปณิตา วรรณพิรุณ2, ผศ.ดร.ณมน จีรงสุวรรณ3
                                                                              ั
   1
     สาขาวิชาเทคโนโลยีเทคนิคศึกษา คณะครุศาสตรอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาพระนครเหนือ
                                         (chanakan@thaicyberu.go.th)
                 2,3
                       คณะครุศาสตรอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาพระนครเหนือ
                              2                       3
                               (panita.w@hotmail.com) (namon9@hotmail.com)


ABSTRACT
                                                            บทคัดยอ
The purposes of the research study were to
1) develop Web-based Training on Social Network             การวิ จั ย ครั้ ง นี้ มี วั ต ถุ ป ระสงค เ พื่ อ 1) พั ฒ นาสื่ อ ฝ ก อบรม
for learning and teaching of Thailand Cyber
University Project, 2) compare training outcomes            ออนไลน เรื่อง เครือขายสังคมออนไลนเพื่อการเรียนการสอน
before and after introduction of Web-based
Training, and 3) evaluate the satisfaction of the
                                                            สําหรับโครงการมหาวิทยาลัยไซเบอรไทย 2) เปรียบเทียบ
trainees with respect Web-based Training.                   ผลสัมฤทธิ์ทางการฝกอบรมระหวางกอนฝกอบรมกับหลัง
The sample group in this research was 30
registered members of the Thailand Cyber                    ฝ กอบรม และ 3) ศึ กษาความพึ งพอใจของผู เข ารั บการฝ ก
University Project selected by purposive
sampling Technique. In addition, the selected
                                                            อบรมที่ มี ต อ สื่ อ ฝ ก อบรมออนไลน กลุ ม ตั ว อย า งที่ ใ ช ใ น
numbers were specified only ones who signed up              การวิจัย คือ สมาชิกผูลงทะเบียนผานระบบในเว็บไซตของ
for e-Training on Social Network for learning
and teaching. The research tools used were                  โครงการมหาวิ ท ยาลั ย ไซเบอร ไ ทย จํ า นวน 30 คน โดย
1) e-Training on Social Network for learning                การคัดเลือกกลุมตัวอยางแบบเจาะจง เฉพาะผูที่สมัครเขารวม
and teaching, 2) Web-based Training evaluation
form in related to content and technique,                   เป นผู เ ข า รั บ การฝ ก อบรมออนไลน เรื่ อง เครื อ ข ายสั ง คม
3) training test, and 4) trainee satisfaction
evaluation form. Moreover, the statistical methods          ออนไลนเพื่อการเรียนการสอน เครื่องมือที่ใชในการวิจัย คือ
used in the research were arithmetic mean,                  1) สื่อฝกอบรมออนไลน เรื่อง เครือขายสังคมออนไลนเพื่อ
Standard Deviation, and t-test (Dependent).
The results of the research were summarized as:             การเรียนการสอน 2) แบบประเมินคุณภาพของสื่อฝกอบรม
1) the Web-based Training developed in the
research composed of four lessons: 1.1) Facebook            ออนไลน ด านเนื้ อหาและด านเทคนิ ค 3) แบบทดสอบวั ดผล
with learning and teaching, 1.2) Starting with              สัมฤทธิ์ทางการฝกอบรม และ 4) แบบประเมินความพึงพอใจ
Facebook, 1.3) Facebook Application for
Knowledge Sharing, and 1.4) Communication                   ของผูเขารับการฝกอบรม สถิติที่ใชในการวิจัย คือ คาเฉลี่ย
channels and the useful tools, 2) qualitative of
evaluation results of Web-based Training were
                                                            เลขคณิต สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และ t-test แบบ Dependent
defined as: the content quality was very                    ผลการวิ จั ย ครั้ ง นี้ พบว า 1) สื่ อ ฝ ก อบรมออนไลน เรื่ อ ง
satisfactory and the technical quality was very
satisfactory, 3) after-training outcomes were               เครือขายสังคมออนไลนเพื่อการเรียนการสอน ไดพัฒนาขึ้น
above before-training ones in the significant
level of .05, and 4) satisfaction level of trainees
                                                            ประกอบดวยบทเรีย น 4 บทเรียน คือ 1.1) Facebook กับ
was at the “highest” level.                                 การเรียนการสอน 1.2) เริ่มตนใชงาน Facebook 1.3) การใช
                                                            งาน Facebook สําหรับแลกเปลี่ยนเรียนรู และ 1.4) ชองทาง
Keywords: Web-based Training, e-Training, Social
Network, Thailand Cyber University Project                  ติ ด ต อ สื่ อ สารและการใช ง านเครื่ อ งมื อ ที่ น า สนใจ 2) ผล
                                                            การประเมิน คุ ณภาพของสื่ อฝ ก อบรมออนไลน มี คุ ณภาพ

                                                      140
ดานเนื้อหาอยูในระดับดีมาก และมีคุณภาพดานเทคนิค                     อยางมาก และสามารถนํามาประยุกตใชในการจัดการเรียนการ
อยูในระดับดีมาก 3) ผลสัมฤทธิ์ทางการฝกอบรมหลัง                       สอนได ดังนั้นหากบุคลากรทางการศึกษามีการนํา Facebook มา
ฝกอบรมสูงกวากอนฝกอบรมอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่                  ใชในการติดตอสื่อสารกับผูเรียน และนําทรัพยากรเครื่องมือ
ระดั บ .05 และ 4) ความพึ ง พอใจของผู เ ข า รั บ การ                 ตาง ๆ ใน Facebook มาประยุกตใชในการจัดการเรียนการสอน
ฝกอบรมอยูในระดับมากที่สุด                                           นั บ ว า เป น การขยายวงกว า งทางการศึ ก ษาและช ว ยเพิ่ ม
                                                                      ประสิทธิภาพในการจัดการเรียนการสอนอีกดวย
คําสําคัญ: สื่อฝกอบรมออนไลน, การฝกอบรมบนเว็บ ,                     แผนแม บ ทเทคโนโลยี ส ารสนเทศและการสื่ อ สาร เพื่ อ
เครือขายสังคมออนไลน, โครงการมหาวิทยาลัยไซเบอรไทย                   การศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2554 – 2556 ไดกําหนด
                                                                      หนึ่งในพันธกิจ คือ สงเสริมสนับสนุนการพัฒนาทรัพยากร
1) บทนํา                                                              บุคคล โดยเพิ่มสมรรถนะใหมีวัฒนธรรม การใช ICT อยางมี
                                                                      คุ ณ ธรรม จริ ย ธรรม วิ จ ารณญาณ และรู เ ท า ทั น โดยมี
ปจ จุบั น การศึก ษาของประเทศไทยได มีการพั ฒ นาขึ้ น                 ยุทธศาสตรที่หนึ่ ง คื อ สร างกํ าลังคนให มีศักยภาพในการใช
อยางมาก โดยเฉพาะการนําเครือขายอินเทอรเน็ตเขามา                    เทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่ อสารอย างสร างสรรค มี
ชวยเพิ่มประสิ ทธิภาพในการจัด การศึกษา โดยใชเป น                    ธรรมาภิ บาล คุ ณธรรม จริ ยธรรม วิจารณญาณ และรูเท าทั น
ตัวกลางในการนําสงเนื้อหาในการเรียนการสอนทางไกล                       รวมทั้งเพิ่มขีดความสามารถในการแขงขันของประเทศไทย
หรือระบบการเรียนการสอนผานสื่อบทเรียนออนไลน                          (ศู น ย เ ทคโนโลยี ส ารสนเทศและการสื่ อ สาร สํ า นั ก งาน
(e-Learning) สํ า นั ก งานคณะกรรมการการอุ ด มศึ ก ษา                  ปลัดกระทรวงศึกษาธิการ, 2554)
กระทรวงศึกษาธิการ ไดจัด ตั้ง โครงการมหาวิท ยาลัย                     โครงการมหาวิทยาลัยไซเบอรไทยไดริเริ่มโครงการ TCU
ไซเบอรไ ทย (Thailand Cyber University Project-                       Academy เพื่อดําเนินการตามมาตรการหลักในแผนแมบ ท
TCU) โดยมีห นึ ่ง ในยุ ท ธศาสตร สํ า คั ญ คื อ การจั ด               เทคโนโลยี ส ารสนเทศและการสื่ อ สาร เพื่ อ การศึ ก ษา
การศึกษาทางไกลผา นระบบเครือ ขา ยสารสนเทศเพื่อ                       กระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2554 - 2556 โดยไดจัดทําบทเรียน
พัฒนาการศึกษา โดยมีรายวิชาในหลักสูตรการเรียนตาม                       ที่ แ นะนํ า ด า นการผลิ ต สื่ อ บทเรี ย นอิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส และ
อั ธ ยาศั ย และหลั ก สู ต รฝ ก อบรมออนไลน เ พื่ อ รั บ              สนับสนุน การจัด การเรีย นการสอนออนไลน ในสวนของ
ประกาศนียบัตร เผยแพรและใหบริการผานเว็บไซตของ                      โครงการไดมีการนํา Facebook เขามารวมในการเชื่อมตอถึง
โครงการที่ http://www.thaicyberu.go.th (โครงการ                       ผูเขารับการฝกอบรม เปนอีกชองทางหนึ่งในการจัดการเรียน
มหาวิทยาลัยไซเบอรไทย, 2548)                                          การสอน
รูปแบบหนึ่งในการจัดการเรียนการสอนออนไลนผาน                          ผูวิจัยได เล็ งเห็นความสํ าคั ญของการนํา Facebook เข ามาเป น
ระบบเครื อ ข า ยสารสนเทศเพื่ อ พั ฒ นาการศึ ก ษา คื อ                สวนหนึ่งในการติดต อสื่อสาร และการประยุกตใชกับการจัด
การจัดการฝ กอบรมออนไลน e-Training ซึ่งทางโครงการ                    การเรียนการสอน ซึ่งหากสามารถใชงาน Facebook ไดอยาง
มหาวิทยาลัยไซเบอรไทย มีจัดการฝกอบรมในลักษณะนี้                      มีประสิทธิภาพในการจั ดการเรียนการสอนยอ มทําใหเกิ ด
ใหกับบุคลากรทางการศึกษา เพื่อขยายโอกาสทางการศึกษา                    ผลดีตอการศึกษาสืบตอไป ดวยเหตุผลดังกลาวทําใหผูวิจัย
และสงเสริมการจัดการเรียนการสอนออนไลน                                สนใจที่ จ ะศึ ก ษาและพั ฒ นาสื่ อ ฝ ก อบรมออนไลน เรื่ อ ง
นอกจากการจัดฝกอบรมในลักษณะ e-Training เปนที่                        เครือขายสังคมออนไลนเพื่อการเรียนการสอน เพื่อสนองตอ
แพรหลายแลว พฤติกรรมการใชเครือขายสังคมออนไลน                      หนึ่งในยุทธศาสตรจากแผนแมบทดังกลาวขางตน โดยใชระบบ
ยังเปนที่นิยมในทุกเพศ ทุกวัย รวมทั้งกลุมบุคลากรทาง                  การจัดการเรียนการสอนของโครงการมหาวิทยาลัยไซเบอรไทย
การศึกษา โดยมีการใชบริการเครือขายสังคมออนไลน มา                    นํา ไปจั ด ฝก อบรมออนไลน เพื่ อ ให เ กิด ความรูค วามเขา ใจ
ช ว ยในการติ ด ต อ สื่ อ สารในชี วิ ต ประจํ า วั น Facebook         และสามารถนําไปประยุกตใชในการจัดการเรียนการสอน
นับเปนหนึ่งในเครือขายสังคมออนไลนที่ไดรับความนิยม                  ออนไลนไดอยางมีประสิทธิภาพตอไป
                                                                141
เรี ย นการสอน โดยลงทะเบี ย นในรายวิ ช า TCU-Facebook
2) วัตถุประสงคการวิจัย                                                      “Facebook สําหรับการเรียนการสอน”
                                                                             4.2) ตัวแปรในการวิจัย
                                                                             ตัวแปรตน คือ สื่อฝกอบรมออนไลน เรื่อง เครือขายสังคม
2.1) เพื่อพัฒนาสื่อฝกอบรมออนไลน เรื่อง เครือขายสังคม
                                                                             ออนไลนเพื่อการเรียนการสอน
ออนไลนเพื่อการเรียนการสอน
                                                                             ตัวแปรตาม คือ ผลการประเมินคุณภาพสื่อฝกอบรมออนไลน
2.2) เพื่อเปรี ยบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการฝกอบรมของ
                                                                             ผลสัมฤทธิ์ทางการฝกอบรม และความพึงพอใจของผูเขารับ
ผูเขารับการฝกอบรม ระหวางกอนฝกอบรมกับหลังฝก
                                                                             การฝกอบรม
อบรมโดยใชสื่อฝกอบรมออนไลน เรื่อง เครือขายสังคม
                                                                             4.3) เนื้อหาที่ใชในการวิจัย
ออนไลนเพื่อการเรียนการสอน
                                                                             สื่อ ฝ ก อบรมออนไลน เรื่ อ ง เครื อ ข า ยสั ง คมออนไลน เ พื่ อ
2.3) เพื่อศึกษาความพึงพอใจของผูเขารับการฝกอบรมทีมี ่
                                                                             การเรีย นการสอน รายวิ ชา “Facebook สํ าหรับ การเรี ย น
ตอสื่อฝกอบรมออนไลน เรื่อง เครือขายสังคมออนไลน
                                                                             การสอน” ประกอบดวยบทเรียน 4 บทเรียน ดังนี้
เพื่อการเรียนการสอน
                                                                             บทที่ 1 Facebook กับการเรียนการสอน
                                                                             บทที่ 2 เริ่มตนใชงาน Facebook
3) สมมติฐานการวิจัย                                                          บทที่ 3 การใชงาน Facebook สําหรับแลกเปลี่ยนเรียนรู
                                                                             บทที่ 4 ชองทางติดตอสื่อสารและการใชงานเครื่องมือที่นาสนใจ
3.1) ผลการพัฒนาสื่อฝกอบรมออนไลน เรื่อง เครื อขาย
สังคมออนไลนเพื่อการเรียนการสอน ที่ผานการประเมิน
                                                                             5) วิธีดําเนินการวิจัย
คุณภาพโดยผูเชี่ยวชาญอยูในระดับดี
3.2) ผู เ ข า รั บ การฝ ก อบรมด ว ยสื่ อ ฝ ก อบรมออนไลน
                                                                             การวิจัยครั้งนี้เปนการวิจัยเชิงทดลอง (Experimental Research)
เรื่อง เครือขายสังคมออนไลนเพื่อการเรียนการสอน มี
                                                                             ซึ่งไดกําหนดแบบแผนการทดลองโดยใชรูปแบบ One-Group
ผลสัมฤทธิ์ทางการฝ กอบรมหลัง ฝกอบรมสูงกวากอ น
                                                                             Pretest-Posttest Design โดยมีวิธีดําเนินการวิจัย ดังนี้
ฝกอบรม อยางมีนัยสําคัญทางสถิติ
3.3) ความพึ ง พอใจของผู เ ข า รั บ การฝ ก อบรมที่ มี ต อ                 ระยะที่ 1 การพัฒนาสื่อฝกอบรมออนไลน เรื่อง Facebook
สื่อฝกอบรมออนไลน เรื่อง เครือขายสังคมออนไลนเพื่อ                         สําหรับการเรียนการสอน
การเรียนการสอน มีระดับความพึงพอใจอยูในระดับมาก                              1) พั ฒนากรอบแนวคิด ในการวิ จัย โดยศึกษาเอกสารและ
                                                                             งานวิจัยที่เกี่ยวของกับการพัฒนาสื่อฝกอบรมออนไลน เรื่อง
4) ขอบเขตการวิจัย                                                            Facebook สําหรับการเรียนการสอน รวมทั้งศึกษาเนื้อหาที่จะ
                                                                             ใชในการพัฒนาสื่อฝกอบรมออนไลน
                                                                             2) พั ฒนาสื่ อ ฝก อบรมออนไลน เรื่ อ ง Facebook สํ าหรั บ
4.1) ประชากรและกลุมตัวอยาง
                                                                             การเรี ย นการสอน โดยมี ขั้ น ตอนการพั ฒ นาสื่ อ ฝ ก อบรม
ประชากร คื อ สมาชิ ก ผู ล งทะเบี ย นผ า นระบบในหน า
                                                                             ออนไลนตามรูปแบบการสอนของ ADDIE Model 5 ขั้นตอน
เว็บไซตของโครงการมหาวิทยาลัยไซเบอรไทย
                                                                             ดังนี้
กลุมตัวอยาง คือ สมาชิกผูลงทะเบียนผานระบบในหนา
เว็บไซตของโครงการมหาวิทยาลัยไซเบอรไทย จํานวน 30                            2.1) ขั้นการวิเคราะห (Analysis)
คน โดยการคัดเลือกกลุมตัวอยางแบบเจาะจง (Purposive                           กําหนดหัวเรื่อง วิเคราะหเนื้อหาและวัตถุประสงค พิจารณา
Sampling) เฉพาะผู ที่ ส มั ค รเข า ร ว มเป น ผู เ ข า รั บ การ         เลือกหัวเรื่องที่จะนํามาสรางเปนสื่อฝกอบรมออนไลน โดย
ฝกอบรมออนไลน เรื่อง เครือขายสังคมออนไลนเพื่อการ                          เลือก Facebook มาเปนเครือขายสังคมออนไลนที่จะนําเสนอ
                                                                             เนื้อหาแกผูเขารับการฝกอบรม จากนั้น สรางแผนภูมิระดม
                                                                       142
O1               X              O2                    โดยใชรูปแบบการวิจัยแบบ One Group Pretest Posttest
สมอง (Brainstorm Chart) และสรางแผนภูมิโครงขาย                   Design (Kirk, Roger E., 1968)
เนื้อหา (Content Network)
2.2) ขันการออกแบบ (Design)
        ้                                                         มีขั้นตอนการดําเนินการดังนี้
2.2.1) ออกแบบผังการเขาใชงาน แสดงความสัมพันธของ                  1) การเตรียมการกอนการทดลอง
บทดํ าเนิ นเรื่ อง โดยเปน การนํ า เสนอลํ า ดับ การเขา            ประชาสัมพันธเปดรับสมัครผูเขารับการฝกอบรมออนไลน
ฝกอบรมออนไลน                                                    จากโครงการมหาวิทยาลัยไซเบอรไทย ภายใตโครงการ TCU
2.2.2) ออกแบบบทดําเนินเรื่อง (Storyboard) ซึ่งมีรูปแบบ            Academy และนําเสนอชี้แจงจุดประสงคของการเปดรับ เขา
หนาที่นําเสนอเนื้อหา การจัดวาง (Layout) การเชื่อมโยง             ฝกอบรม และชี้แจงขอจํากัดในฐานะกลุมทดลอง 30 คน
(Link) เนื้ อหาในแต ละบท เครื่ อ งช ว ยนํ า ทาง (Design         2) ดําเนินการทดลอง
navigator) และระบบการควบคุมบทเรียน (Design System                 กําหนดใหผูเขารับการฝกอบรมเขารับการอบรมออนไลน
Control)                                                          ผานสื่อฝกอบรมออนไลน เรื่องFacebook สําหรับการเรียน
2.3) ขันการพัฒนา (Development)
          ้                                                       การสอน เปนระยะเวลา 2 สัปดาห ผานเว็บไซตของโครงการ
พัฒนาสื่อฝกอบรมออนไลน โดยกําหนดรูปแบบหนาจอ                     ที่ http://www.thaicyberu.go.th โดยวัดผลสัมฤทธิ์ทางการฝก
สราง Template และ Mascot Animation ประกอบบทเรียน                 อบรมกอนฝกอบรม แลวดําเนินการฝกอบรม เมื่อจบการฝก
และจัดทําเนื้อหาตามบทดําเนินเรื่อง แลวนําสื่อฝกอบรม             อบรมแลววัดผลสัมฤทธิ์ทางการฝกอบรมหลังการฝกอบรม
ออนไลน ขึ้ นระบบการจั ด การเรีย นการสอนออนไลน                   และการดําเนินการประเมินความพึงพอใจของผูเขารับการฝก
โครงการมหาวิ ท ยาลั ยไซเบอร ไทย (TCU_LMS) โดย                    อบรม
เพิ่มเปนรายวิชาใหม และสรางแบบทดสอบไวในระบบ                    3) หลังดําเนินการทดลอง
ผานเว็บไซตของโครงการที่ http://www.thaicyberu.go.th             3.1) เก็บรวบรวมขอมูล ผลคะแนนแบบทดสอบกอนและ
2.4) การตรวจสอบและนําไปใช (Implementation)                       หลั ง การฝ ก อบรม แล ว นํ า ผลคะแนนที่ ไ ด ม าวิ เ คราะห
นําสื่อฝกอบรมออนไลน ไปทดลองใชแบบหนึ่งตอหนึ่ง                  เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการฝกอบรมของผูเขารับการฝก
(One to One Testing) กับผูเขารับการฝกอบรม 3 คน ที่             อบรม ก อ นฝ ก อบรมกั บ หลั ง ฝ ก อบรมด ว ยสื่ อ ฝ ก อบรม
ไมใชกลุมตัวอยาง โดยเลือกผูที่มีระดับความรู 3 ระดับ          ออนไลน โดยนํ าระดั บ คาคะแนนที่ ไ ด มาเปรี ย บเที ยบใช
คื อ เก ง ปานกลาง และอ อน ระดั บละ 1 คน เพื่ อสํ ารวจ           สูตร t-test แบบ Dependent เพื่อทําการทดสอบสมมติฐาน
ความเหมาะสมในการเขาใชงาน โดยสอบถามความคิดเห็น                   3.2) เก็บรวบรวมขอมูล ผลการประเมินความพึงพอใจของ
เกี่ ย วกั บ การใช ง านสื่ อ ฝ ก อบรมออนไลน และนํ า            ผู เ ข า รั บ การฝ ก อบรมที่ มี ต อ สื่ อ ฝ ก อบรมออนไลน แล ว
ขอเสนอแนะมาปรับปรุงแกไข                                         วิเคราะหผลการประเมินความพึงพอใจของผูเขารับการฝก
2.5) การประเมิน (Evaluation)                                      อบรม โดยนําระดับคาคะแนนความคิดเห็น มาวิเคราะหผล
นําสื่อฝกอบรมออนไลนใหผเู ชี่ยวชาญดานเนื้อหาจํานวน            หาค าทางสถิติ โดยใช คาเฉลี่ ยเลขคณิต และสวนเบี่ยงเบน
3 ทาน และผูเชี่ยวชาญดานเทคนิคจํานวน 3 ทาน ประเมิน             มาตรฐาน
คุณภาพสื่อฝกอบรมออนไลน
                                                                  6) สรุปการวิจัย
ระยะที่ 2 การศึกษาผลของการใชสื่อฝกอบรมออนไลน
เรื่อง Facebook สําหรับการเรียนการสอน
                                                                  6.1) การพัฒนาสื่อฝกอบรมออนไลน เรื่อง เครือขายสังคม
การศึกษาผลของการใชสื่อฝกอบรมออนไลน โดยนํา
                                                                  ออนไลน เ พื่ อ การเรี ย นการสอน ผู วิจั ย ได ทํ า การวิ เคราะห
สื่อฝกอบรมออนไลนทดลองกับกลุมตัวอยางที่กําหนด
                                                                  ออกแบบและพัฒนาขึ้น ประกอบดวย 4 บทเรียน ซึ่งผูเขารับ

                                                            143
การฝ กอบรมสามารถเรี ยนรู เ นื้ อ หาได ด วยตนเองตาม               จากตารางที่ 1 พบวา ผลการประเมินคุณภาพดานเนื้อหาของ
ความตองการไดทุกที่ ทุกเวลา                                         สื่อฝกอบรมออนไลน เรื่อง เครือขายสังคมออนไลนเพื่อการ
                                                                     เรียนการสอน ในภาพรวมอยูในระดับดีมาก

                                                                     ตารางที่ 2 ผลการประเมิ น คุ ณภาพด านเทคนิ ค ของสื่ อ ฝ ก
                                                                     อบรมออนไลน
                                                                                                                     ระดับ
                                                                               เรื่องทีประเมิน
                                                                                       ่             คาเฉลี่ย S.D.
                                                                                                                    คุณภาพ
                                                                      1. เนื้อหาและการดําเนินเรื่อง   4.73 0.46 ดีมาก
                                                                      2. ภาพ ภาษา เสียง และวีดิทัศน 4.93 0.26 ดีมาก
                                                                      3. ตัวอักษร และสี               4.67 0.49 ดีมาก
                                                                      4. การจัดการบทเรียน             4.61 0.50 ดีมาก
                                                                                     รวม              4.73 0.45 ดีมาก
                                                                     จากตารางที่ 2 พบวา ผลการประเมินคุณภาพดานเทคนิคของ
                                                                     สื่อ ฝ ก อบรมออนไลน เรื่ อ ง เครื อ ข า ยสั ง คมออนไลน เ พื่ อ
                                                                     การเรียนการสอน ในภาพรวมอยูในระดับดีมาก
                                                                     6.3) ผลการวิเคราะหการเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการฝก
                                                                     อบรมระหวางกอนฝกอบรมกับหลังฝกอบรมของผูเขารับ
                                                                     การฝกอบรมจํานวน 30 คน โดยใชสื่อฝกอบรมออนไลน
                                                                     เรื่อง เครือขายสังคมออนไลนเพื่อการเรียนการสอน แสดงใน
                                                                     ตารางที่ 3
รูปที่ 1 : ตัวอยางหนาจอบทเรียนสื่อฝก อบรมออนไลน
เรื่อง เครือขายสังคมออนไลนเพื่อการเรียนการสอน                      ตารางที่ 3 เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการฝกอบรมระหวาง
                                                                     กอนฝกอบรมกับหลังฝกอบรม
6.2) การประเมิ น คุ ณ ภาพของสื่ อ ฝ ก อบรมออนไลน                    ผลสัมฤทธิ์ทาง คะแนน
เรื่อง เครือขายสังคมออนไลนเพื่อการเรียนการสอน ผล                                                     S.D. t-test Sig.
                                                                       การฝกอบรม เต็ม
การประเมิ น คุ ณ ภาพสื่ อ ฝ ก อบรมออนไลน โ ด ย                     กอนฝกอบรม 30            16.30 4.31 14.44* .00*
ผูเ ชี่ย วชาญดานเนื้ อหาจํา นวน 3 ทา น และผู เชี่ ย วชาญ         หลังฝกอบรม 30            26.20 3.02
ดานเทคนิคจํานวน 3 ทาน ดังแสดงในตารางที่ 1 และ 2                    * p < .05 , df = 29
ตารางที่ 1 ผลการประเมินคุณภาพดานเนื้อหาของสื่อฝก                   6.4) ผลการประเมินความพึงพอใจของผูเขารับการฝก อบรม
อบรมออนไลน                                                          ที่มีตอสื่อฝกอบรมออนไลน เรื่อง เครือขายสังคมออนไลน
                                                ระดับ                เพื่อการเรียนการสอน ดังแสดงในตารางที่ 4
       เรื่องทีประเมิน
               ่                 คาเฉลี่ย S.D.
                                               คุณภาพ                ตารางที่ 4 ผลการประเมิ น ความพึ ง พอใจของผู เ ข า รั บ
1. เนื้อหาและการดําเนินเรื่อง    4.57     0.60 ดีมาก                 การฝกอบรมที่มีตอสื่อฝกอบรมออนไลน
2. ภาษา เสียง และภาพ             4.67     0.50 ดีมาก
                                                                                รายการ            คาเฉลี่ย S.D. ความหมาย
            รวม                  4.62     0.57 ดีมาก                 1. คําแนะนําการใชงานบทเรียน 4.58 0.53 มากที่สุด
                                                                     2. การนําเสนอเนือหาบทเรียน 4.59 0.54 มากที่สุด
                                                                                     ้
                                                                     3. การออกแบบบทเรียน            4.64 0.57 มากที่สุด
                                                               144
4. ประโยชนจากการฝกอบรม                                                  3 ทาน ประเมินความสอดคลองของแบบทดสอบระหวางขอ
                                           4.63 0.59 มากที่สุด
      ดวยสือฝกอบรมออนไลน
               ่                                                          คําถามกับเนื้อหาโดยวัดจากวัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม เพื่อ
                  รวม                      4.62 0.56 มากที่สุด            คัด เลือ กเฉพาะข อสอบที่ มี คา IOC=1.00 โดยคั ด เลื อ กและ
จากตารางที่ 4 พบวา ผลการประเมินความพึงพอใจของ                            นําไปใช เป นแบบทดสอบวัด ผลสั มฤทธิ์ท างการฝกอบรม
ผู เ ข า รั บการฝ กอบรมที่ มี ต อ สื่ อฝ กอบรมออนไลน ใน             ทั้ ง ห ม ด 3 0 ข อ จ า ก ผ ล ก า ร วิ จั ย ส รุ ป ไ ด ว า
ภาพรวมผู เ ข า รั บ การฝ ก อบรมมี ค วามพึ ง พอใจอยู ใ น               สื่ อฝ กอบรมออนไลน เรื่ อง เครื อข ายสั งคมออนไลน เ พื่ อ
ระดับมากที่สุด                                                            การเรียนการสอน มีคุณภาพเหมาะสมที่จะนําไปใชฝกอบรม
                                                                          ไดจริง ซึ่งสอดคลองกับงานวิจัยของ คณิต (2552) ที่ไดสราง
7) อภิปรายผล                                                              และหาคุณภาพบทเรีย นออนไลน เรื่ อ ง เทคโนโลยี ระบบ
                                                                          เครือ ขา ยภายในองคก ร สํา หรับ ผูเ ขา รับ การฝ กอบรมของ
ผลจากการพัฒนาสื่อฝกอบรมออนไลน สามารถนํามา                               สถาบันพัฒนาฝมือแรงงาน ภาค 11 สุราษฎรธานี โดยใช
อภิปรายผลการวิจัยไดดังตอไปนี้                                           กลุมตัวอยางเปนผูเขารับการฝกหลักสูตรเตรียมเขาทํางาน
7.1) ดานการประเมินคุณภาพของสื่อฝกอบรมออนไลน                            สาขาคอมพิวเตอร รุนที่ 2 ปการศึกษา 2552 จํานวน 20 คน
เรื่อง เครือขายสังคมออนไลนเพื่อการเรียนการสอน ผล                        ผลการวิจัยพบวา คะแนนการทดสอบหลังเรียนมีคะแนนสูง
จากการประเมินมีคุณภาพสูงกวาเกณฑที่ตั้งไว กลาวคือ                      กวากอนเรียนอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05
คุ ณภาพของสื่ อ ฝ ก อบรมออนไลน ทั้ ง ด า นเนื้ อ หาและ                 7.3) ดานผลการประเมินความพึงพอใจของผูเขารับการฝก
ดานเทคนิคอยูในระดับดีมาก เนื่องมาจากการออกแบบ                           อบรมที่ มี ต อ สื่ อ ฝ ก อบรมออนไลน เรื่ อ ง เครื อ ข า ยสั ง คม
และพัฒนาโดยนําขั้นตอน ADDIE Model ทั้ง 5 ขั้นตอน                          ออนไลนเพื่อการเรียนการสอน มีผลการประเมินความพึงพอใจ
คื อ ขั้ น การวิ เ คราะห ขั้ น การออกแบบ ขั้ น การพั ฒ นา                อยูในระดับมากที่สุด กลาวคือ ความพึงพอใจของผูเข ารับ
ขั้นการตรวจสอบและนําไปใช และขั้นการประเมิน ซึ่ง                          การฝกอบรมจํานวน 30 คนที่มีตอ สื่อฝกอบรมออนไลนที่
ในแต ล ะขั้ น ตอนนั้ น ผู วิ จั ย ได ว างแผนและดํ า เนิ น การ          พัฒนาขึ้น มีผลการประเมินความพึงพอใจอยูที่คาเฉลี่ยเทากับ
อยางสมบูรณ จึ งได สื่อฝ กอบรมออนไลน ที่ มีคุณภาพ                     4.62 อยูในระดับมากที่สุด ซึ่งสอดคลองกับผลการวิจัยของ
และตรงตามสมมติฐานที่ตั้งไว ซึ่งสอดคลองกับงานวิจัย                       ไพโรจน (2550) ที่ มี ก ารวิ เ คราะห ข อ มู ล หาค า ระดั บ
ของ สุ จิ น ต (2552) ที่ ไ ด ส ร า งและหาคุ ณ ภาพสื่ อ ฝ ก            ความพึงพอใจของผูเขารับการฝกอบรมที่มีตอบทเรียนชุดฝก
อบรมผานเครือขายอินเทอรเน็ต เรื่อง การสรางบทเรียน                      อบรมบนเว็บ (WBT) เรื่อง เทคโนโลยีการสรางระบบเครือขาย
ออนไลน ดวยโปรแกรม Moodle ซึ่งใชการออกแบบสื่อ                           ภายในองค ก รสํ า หรั บ พนั ก งานธนาคาร สายปฏิ บั ติ ก าร
ตามขั้นตอน ADDIE Model โดยผลการวิจัยพบวา สื่อฝก                         ดานเทคโนโลยีสารสนเทศ พบวา ระดับความพึงพอใจของ
อบรมที่สรางขึ้นมีคุณภาพดานเนื้อหาคาเฉลี่ยเทากับ 4.10                  ผูเขารับการฝกอบรมมีคาเฉลี่ยที่ระดับ 4.04 ซึ่งอยูในระดับ
อยูในระดับดี มีคุณภาพดานสื่อเทคโนโลยีคาเฉลี่ยเทากับ                   ความพึงพอใจมาก ทั้งนี้อาจเนื่อ งจากการจัดการฝกอบรม
3.89 อยู ใ นระดั บ ดี ผู เ ข า รั บ การอบรมผ า นเครื อ ข า ย         ออนไลน ส ามารถศึ ก ษาเนื้ อ หาได อ ย า งอิ ส ระ ทํ า ให
อินเทอรเน็ต มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรูหลังฝกอบรมสูง                     การฝกอบรมเปนไปตามมาตรฐาน เพราะผูเขารับการฝก
กวากอนฝกอบรมอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .01                       อบรมจะไดรับการฝก อบรมที่เหมือนกัน แตกตางกันเพียง
7.2) ดานผลสัมฤทธิ์ทางการฝกอบรมของผูเขารับการฝก                       เวลาในการเรียนรูของแตละบุคคล สามารถฝกทักษะใน
อบรมหลั ง ฝ ก อบรมสู ง กว า ก อ นฝ ก อบรม อย า งมี                   ลักษณะที่สมจริงใหกับผูเขารับการฝกอบรมได
นัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 เปนไปตามสมมติฐานที่                        ดวยเหตุผลที่กลาวมาแลวขางตน สามารถสรุปไดวาสื่อฝก
ตั้ ง ไว เนื่ อ งจากการสร างแบบทดสอบที่ สอดคล องกั บ                   อบรมออนไลน เรื่ อ ง เครื อ ข า ยสั ง คมออนไลน เ พื่ อ
เนื้ อหาและวั ตถุ ประสงค เ ชิ ง พฤติก รรม และมี ก ารออก                  การเรี ย นการสอน มี คุ ณ ภาพสู ง กว า เกณฑ กํ า หนดไว
ขอสอบทั้งหมด 40 ขอ แลวใหผูเชี่ยวชาญดานเนื้อหาทั้ง                   ผลสั ม ฤทธิ์ ท างการฝ ก อบรมหลั ง ฝ ก อบรมสู ง กว า ก อ น
                                                                    145
ฝกอบรมอยางมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ .05 และผูเขา                        บั ณ ฑิ ต วิ ท ย าลั ย ม ห า วิ ท ย า ลั ย เ ท ค โ น โ ล ยี
รับ การฝ ก อบรมมีค วามพึง พอใจอยูใ นระดับ มากที่ สุด                        พระจอมเกลาธนบุรี .
สามารถนําไปใชในการฝกอบรมไดตามความเหมาะสม
                                                                                          E ( 1 9 6 8 ) . Experimental Design:
เอกสารอางอิง                                                          Kirk, Roger
                                                                              Procedures for the Behavioral Sciences. Ohio :
                                                                              Wadsworth .

คณิต ทองวิลัย (2552). การสรางบทเรียนออนไลน เรื่อง
        เทคโนโลยีระบบเครือขายภายในองคกร สําหรับ
        ผู เ ข า รั บ การฝ ก อบรมของสถาบั น พั ฒนาฝ มื อ
        แรงงาน ภาค 11 สุ ร าษฎร ธ านี . วิ ท ยานิ พ นธ
        ครุศาสตรอุตสาหกรรมมหาบัณฑิต สาขาวิชา
        ครุศาสตรเทคโนโลยี ภาควิชาเทคโนโลยีและ
        ก า ร สื่ อ สา ร กา ร ศึ ก ษ า บั ณ ฑิ ต วิ ท ย า ลั ย
        มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี.
โครงการมหาวิ ท ยาลั ย ไซเบอร ไ ทย (2548). ประวั ติ
        ความเปนมาของ TCU. [ออนไลน]. [สืบคน
        วันที่ 20 ธ.ค. 2554]. จากhttp://lms.thaicyberu.
        go.th/OfficialTCU/main/main2.asp
ไพโรจน เพชรแอง (2550). การสร า งและหา
        ประสิทธิภาพชุดฝกอบรมบนเว็บ (WBT) เรื่อง
        เทคโนโลยี ก ารสร า งระบบเครื อ ข า ยภายใน
        องคกรสําหรับพนักงานธนาคารสายปฏิบัติการ
        ด า นเทคโนโลยี ส ารสนเทศ. วิ ท ยานิ พ นธ
        ครุ ศ าสตร อุ ต สาหกรรมหาบั ณ ฑิ ต สาขาวิ ช า
        ไฟฟา ภาควิชาครุศาสตรไฟฟา บัณฑิตวิทยาลัย
        มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาพระนครเหนือ.
ศูนยเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สํานักงาน
        ปลัดกระทรวงศึกษาธิการ (2554) . แผนแมบท
        เทคโนโลยี ส ารสนเทศและการสื่ อ สารเพื่ อ
        การศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2554-2556 .
        [ออนไลน]. [สืบคนวันที่ 12 ม.ค. 2555]. จาก
        http://www.bict.moe.go.th
สุจินต ภิญญานิล (2552). การฝกอบรมผานเครือขาย
        อินเทอรเน็ต เรื่อง การสรางบทเรียนออนไลน
        ด ว ยโปรแกรม Moodle สํ า หรั บ ครู โ รงเรี ย น
        คุระบุรีชัยพัฒนาพิทยาคม อําเภอคุระบุรี จังหวัด
        พั ง งา. วิ ท ยานิ พ นธ ค รุ ศ าสตร อุ ต สาหกรรม
        มหาบั ณ ฑิ ต สาขาวิ ช าครุ ศ าสตร เ ทคโนโลยี
        ภาควิ ช าเทคโนโลยี แ ละการสื่ อ สารการศึ ก ษา
                                                                 146

More Related Content

What's hot

Collaborative Learning Model through Social Media for Supporting Communicatio...
Collaborative Learning Model through Social Media for Supporting Communicatio...Collaborative Learning Model through Social Media for Supporting Communicatio...
Collaborative Learning Model through Social Media for Supporting Communicatio...
Panita Wannapiroon Kmutnb
 
Pptการนำ dlit ไปใช้ในการจัดการเรียนรู้
Pptการนำ dlit ไปใช้ในการจัดการเรียนรู้Pptการนำ dlit ไปใช้ในการจัดการเรียนรู้
Pptการนำ dlit ไปใช้ในการจัดการเรียนรู้
jamrat
 
นวัตกรรม
นวัตกรรมนวัตกรรม
นวัตกรรม
Non HobBit
 
วิทยานิพนธ์
วิทยานิพนธ์วิทยานิพนธ์
วิทยานิพนธ์
ruathai
 
โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการประยุกต์ใช้คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนการสอน
โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการประยุกต์ใช้คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนการสอนโครงการอบรมเชิงปฏิบัติการประยุกต์ใช้คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนการสอน
โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการประยุกต์ใช้คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนการสอนยิ่งใหญ่ไอที อ.รัตนวาปี
 
01.คู่มือรูปแบบการจัดการศึกษาด้วยเทคโนโลยีการศึกษาทางไกลเพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ท...
01.คู่มือรูปแบบการจัดการศึกษาด้วยเทคโนโลยีการศึกษาทางไกลเพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ท...01.คู่มือรูปแบบการจัดการศึกษาด้วยเทคโนโลยีการศึกษาทางไกลเพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ท...
01.คู่มือรูปแบบการจัดการศึกษาด้วยเทคโนโลยีการศึกษาทางไกลเพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ท...
Prachoom Rangkasikorn
 
การจัดเรียนเรียนรู้โดยใช้ Social Media ตามทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ (Construct...
การจัดเรียนเรียนรู้โดยใช้ Social Media ตามทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ (Construct...การจัดเรียนเรียนรู้โดยใช้ Social Media ตามทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ (Construct...
การจัดเรียนเรียนรู้โดยใช้ Social Media ตามทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ (Construct...Nattapon
 
06.การพัฒนาคุณภาพการศึกษาด้วยเทคโนโลยีการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม
06.การพัฒนาคุณภาพการศึกษาด้วยเทคโนโลยีการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม06.การพัฒนาคุณภาพการศึกษาด้วยเทคโนโลยีการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม
06.การพัฒนาคุณภาพการศึกษาด้วยเทคโนโลยีการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม
Prachoom Rangkasikorn
 
Team-based Learning
Team-based LearningTeam-based Learning
Team-based Learning
Prachyanun Nilsook
 
02.แนวปฏิบัติการจัดการเรียนการสอนโดยใช้สื่อการสึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม dltv
02.แนวปฏิบัติการจัดการเรียนการสอนโดยใช้สื่อการสึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม dltv02.แนวปฏิบัติการจัดการเรียนการสอนโดยใช้สื่อการสึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม dltv
02.แนวปฏิบัติการจัดการเรียนการสอนโดยใช้สื่อการสึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม dltv
Prachoom Rangkasikorn
 

What's hot (20)

Collaborative Learning Model through Social Media for Supporting Communicatio...
Collaborative Learning Model through Social Media for Supporting Communicatio...Collaborative Learning Model through Social Media for Supporting Communicatio...
Collaborative Learning Model through Social Media for Supporting Communicatio...
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
บทคัดย่อ
บทคัดย่อบทคัดย่อ
บทคัดย่อ
 
Pptการนำ dlit ไปใช้ในการจัดการเรียนรู้
Pptการนำ dlit ไปใช้ในการจัดการเรียนรู้Pptการนำ dlit ไปใช้ในการจัดการเรียนรู้
Pptการนำ dlit ไปใช้ในการจัดการเรียนรู้
 
นวัตกรรม
นวัตกรรมนวัตกรรม
นวัตกรรม
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5
 
วิทยานิพนธ์
วิทยานิพนธ์วิทยานิพนธ์
วิทยานิพนธ์
 
โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการประยุกต์ใช้คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนการสอน
โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการประยุกต์ใช้คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนการสอนโครงการอบรมเชิงปฏิบัติการประยุกต์ใช้คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนการสอน
โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการประยุกต์ใช้คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนการสอน
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5
 
01.คู่มือรูปแบบการจัดการศึกษาด้วยเทคโนโลยีการศึกษาทางไกลเพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ท...
01.คู่มือรูปแบบการจัดการศึกษาด้วยเทคโนโลยีการศึกษาทางไกลเพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ท...01.คู่มือรูปแบบการจัดการศึกษาด้วยเทคโนโลยีการศึกษาทางไกลเพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ท...
01.คู่มือรูปแบบการจัดการศึกษาด้วยเทคโนโลยีการศึกษาทางไกลเพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ท...
 
บทคัดย่อ
บทคัดย่อบทคัดย่อ
บทคัดย่อ
 
ปก
ปกปก
ปก
 
การจัดเรียนเรียนรู้โดยใช้ Social Media ตามทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ (Construct...
การจัดเรียนเรียนรู้โดยใช้ Social Media ตามทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ (Construct...การจัดเรียนเรียนรู้โดยใช้ Social Media ตามทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ (Construct...
การจัดเรียนเรียนรู้โดยใช้ Social Media ตามทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ (Construct...
 
ปก
ปกปก
ปก
 
06.การพัฒนาคุณภาพการศึกษาด้วยเทคโนโลยีการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม
06.การพัฒนาคุณภาพการศึกษาด้วยเทคโนโลยีการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม06.การพัฒนาคุณภาพการศึกษาด้วยเทคโนโลยีการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม
06.การพัฒนาคุณภาพการศึกษาด้วยเทคโนโลยีการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม
 
Team-based Learning
Team-based LearningTeam-based Learning
Team-based Learning
 
02.แนวปฏิบัติการจัดการเรียนการสอนโดยใช้สื่อการสึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม dltv
02.แนวปฏิบัติการจัดการเรียนการสอนโดยใช้สื่อการสึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม dltv02.แนวปฏิบัติการจัดการเรียนการสอนโดยใช้สื่อการสึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม dltv
02.แนวปฏิบัติการจัดการเรียนการสอนโดยใช้สื่อการสึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม dltv
 

Similar to Development of Web-based Training on Social Network for Learning and Teaching of Thailand Cyber University Project [NEC2012]

Wera_Collaborative Learning Model through Social Media for Supporting Communi...
Wera_Collaborative Learning Model through Social Media for Supporting Communi...Wera_Collaborative Learning Model through Social Media for Supporting Communi...
Wera_Collaborative Learning Model through Social Media for Supporting Communi...
Wera Supa CPC
 
Collaborative Learning Model through Social Media for Supporting Communicatio...
Collaborative Learning Model through Social Media for Supporting Communicatio...Collaborative Learning Model through Social Media for Supporting Communicatio...
Collaborative Learning Model through Social Media for Supporting Communicatio...
Panita Wannapiroon Kmutnb
 
Pegagogy-based Hybrid Learning : จากแนวคิดสู่การปฏิบัติ
Pegagogy-based Hybrid Learning : จากแนวคิดสู่การปฏิบัติPegagogy-based Hybrid Learning : จากแนวคิดสู่การปฏิบัติ
Pegagogy-based Hybrid Learning : จากแนวคิดสู่การปฏิบัติ
Tee Lek
 
การใช้นวัตกรรมการศึกษาในประเทศ
การใช้นวัตกรรมการศึกษาในประเทศการใช้นวัตกรรมการศึกษาในประเทศ
การใช้นวัตกรรมการศึกษาในประเทศDekDoy Khonderm
 
Development of Web-based Training to Develop Job Competencies for Instructor ...
Development of Web-based Training to Develop Job Competencies for Instructor ...Development of Web-based Training to Develop Job Competencies for Instructor ...
Development of Web-based Training to Develop Job Competencies for Instructor ...
Panita Wannapiroon Kmutnb
 
The Development of Web-based Training to Develop Job Competencies for Instruc...
The Development of Web-based Training to Develop Job Competencies for Instruc...The Development of Web-based Training to Develop Job Competencies for Instruc...
The Development of Web-based Training to Develop Job Competencies for Instruc...Panita Wannapiroon Kmutnb
 
ผลของการเรียนแบบผสมผสานโดยใช้เครื่องมือทางปัญญาเพื่อพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์...
ผลของการเรียนแบบผสมผสานโดยใช้เครื่องมือทางปัญญาเพื่อพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์...ผลของการเรียนแบบผสมผสานโดยใช้เครื่องมือทางปัญญาเพื่อพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์...
ผลของการเรียนแบบผสมผสานโดยใช้เครื่องมือทางปัญญาเพื่อพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์...
Panita Wannapiroon Kmutnb
 
Blended Learning Model for Buddhist Education via DMC Satellite Channel. [NEC...
Blended Learning Model for Buddhist Education via DMC Satellite Channel. [NEC...Blended Learning Model for Buddhist Education via DMC Satellite Channel. [NEC...
Blended Learning Model for Buddhist Education via DMC Satellite Channel. [NEC...
Panita Wannapiroon Kmutnb
 
รายงานวิจัยบทที่ 1 5
รายงานวิจัยบทที่ 1 5รายงานวิจัยบทที่ 1 5
รายงานวิจัยบทที่ 1 5
kruwaeo
 
Development of Blended Learning Model by Using Cognitive Tools to Develop Cri...
Development of Blended Learning Model by Using Cognitive Tools to Develop Cri...Development of Blended Learning Model by Using Cognitive Tools to Develop Cri...
Development of Blended Learning Model by Using Cognitive Tools to Develop Cri...
Panita Wannapiroon Kmutnb
 
สัมมนาการจัดการเรียนการสอนทางอิเล็กทรอนิกส์
สัมมนาการจัดการเรียนการสอนทางอิเล็กทรอนิกส์สัมมนาการจัดการเรียนการสอนทางอิเล็กทรอนิกส์
สัมมนาการจัดการเรียนการสอนทางอิเล็กทรอนิกส์jeabjeabloei
 
Aect present wichit-current issue in edu tech
Aect present wichit-current issue in edu techAect present wichit-current issue in edu tech
Aect present wichit-current issue in edu tech
Wichit Chawaha
 
"aect ecucational technology"
"aect ecucational technology""aect ecucational technology"
"aect ecucational technology"
Wichit Chawaha
 
Abstract wbt jamrat_surin1
Abstract wbt jamrat_surin1Abstract wbt jamrat_surin1
Abstract wbt jamrat_surin1
jamrat sornkla
 
โครงการอบรมการผลิตสื่อออนไลน์
โครงการอบรมการผลิตสื่อออนไลน์โครงการอบรมการผลิตสื่อออนไลน์
โครงการอบรมการผลิตสื่อออนไลน์tassanee chaicharoen
 
งาน
งานงาน
งาน
kimegapong
 
ขอบข่ายเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา
ขอบข่ายเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษาขอบข่ายเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา
ขอบข่ายเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษาapostrophe0327
 
รายงานอบรม Ict innovation at korea
รายงานอบรม Ict innovation at  koreaรายงานอบรม Ict innovation at  korea
รายงานอบรม Ict innovation at koreaKobwit Piriyawat
 

Similar to Development of Web-based Training on Social Network for Learning and Teaching of Thailand Cyber University Project [NEC2012] (20)

Wera_Collaborative Learning Model through Social Media for Supporting Communi...
Wera_Collaborative Learning Model through Social Media for Supporting Communi...Wera_Collaborative Learning Model through Social Media for Supporting Communi...
Wera_Collaborative Learning Model through Social Media for Supporting Communi...
 
Collaborative Learning Model through Social Media for Supporting Communicatio...
Collaborative Learning Model through Social Media for Supporting Communicatio...Collaborative Learning Model through Social Media for Supporting Communicatio...
Collaborative Learning Model through Social Media for Supporting Communicatio...
 
Pegagogy-based Hybrid Learning : จากแนวคิดสู่การปฏิบัติ
Pegagogy-based Hybrid Learning : จากแนวคิดสู่การปฏิบัติPegagogy-based Hybrid Learning : จากแนวคิดสู่การปฏิบัติ
Pegagogy-based Hybrid Learning : จากแนวคิดสู่การปฏิบัติ
 
Email system
Email systemEmail system
Email system
 
การใช้นวัตกรรมการศึกษาในประเทศ
การใช้นวัตกรรมการศึกษาในประเทศการใช้นวัตกรรมการศึกษาในประเทศ
การใช้นวัตกรรมการศึกษาในประเทศ
 
Development of Web-based Training to Develop Job Competencies for Instructor ...
Development of Web-based Training to Develop Job Competencies for Instructor ...Development of Web-based Training to Develop Job Competencies for Instructor ...
Development of Web-based Training to Develop Job Competencies for Instructor ...
 
The Development of Web-based Training to Develop Job Competencies for Instruc...
The Development of Web-based Training to Develop Job Competencies for Instruc...The Development of Web-based Training to Develop Job Competencies for Instruc...
The Development of Web-based Training to Develop Job Competencies for Instruc...
 
ผลของการเรียนแบบผสมผสานโดยใช้เครื่องมือทางปัญญาเพื่อพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์...
ผลของการเรียนแบบผสมผสานโดยใช้เครื่องมือทางปัญญาเพื่อพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์...ผลของการเรียนแบบผสมผสานโดยใช้เครื่องมือทางปัญญาเพื่อพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์...
ผลของการเรียนแบบผสมผสานโดยใช้เครื่องมือทางปัญญาเพื่อพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์...
 
Blended Learning Model for Buddhist Education via DMC Satellite Channel. [NEC...
Blended Learning Model for Buddhist Education via DMC Satellite Channel. [NEC...Blended Learning Model for Buddhist Education via DMC Satellite Channel. [NEC...
Blended Learning Model for Buddhist Education via DMC Satellite Channel. [NEC...
 
E Learning Concept El Yru
E Learning Concept El YruE Learning Concept El Yru
E Learning Concept El Yru
 
รายงานวิจัยบทที่ 1 5
รายงานวิจัยบทที่ 1 5รายงานวิจัยบทที่ 1 5
รายงานวิจัยบทที่ 1 5
 
Development of Blended Learning Model by Using Cognitive Tools to Develop Cri...
Development of Blended Learning Model by Using Cognitive Tools to Develop Cri...Development of Blended Learning Model by Using Cognitive Tools to Develop Cri...
Development of Blended Learning Model by Using Cognitive Tools to Develop Cri...
 
สัมมนาการจัดการเรียนการสอนทางอิเล็กทรอนิกส์
สัมมนาการจัดการเรียนการสอนทางอิเล็กทรอนิกส์สัมมนาการจัดการเรียนการสอนทางอิเล็กทรอนิกส์
สัมมนาการจัดการเรียนการสอนทางอิเล็กทรอนิกส์
 
Aect present wichit-current issue in edu tech
Aect present wichit-current issue in edu techAect present wichit-current issue in edu tech
Aect present wichit-current issue in edu tech
 
"aect ecucational technology"
"aect ecucational technology""aect ecucational technology"
"aect ecucational technology"
 
Abstract wbt jamrat_surin1
Abstract wbt jamrat_surin1Abstract wbt jamrat_surin1
Abstract wbt jamrat_surin1
 
โครงการอบรมการผลิตสื่อออนไลน์
โครงการอบรมการผลิตสื่อออนไลน์โครงการอบรมการผลิตสื่อออนไลน์
โครงการอบรมการผลิตสื่อออนไลน์
 
งาน
งานงาน
งาน
 
ขอบข่ายเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา
ขอบข่ายเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษาขอบข่ายเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา
ขอบข่ายเทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษา
 
รายงานอบรม Ict innovation at korea
รายงานอบรม Ict innovation at  koreaรายงานอบรม Ict innovation at  korea
รายงานอบรม Ict innovation at korea
 

More from Panita Wannapiroon Kmutnb

Emerging Trends and Technologies in Education
Emerging Trends and Technologies in EducationEmerging Trends and Technologies in Education
Emerging Trends and Technologies in Education
Panita Wannapiroon Kmutnb
 
Strategy for designing and developing Interactive e-Learning
Strategy for designing and developing Interactive e-LearningStrategy for designing and developing Interactive e-Learning
Strategy for designing and developing Interactive e-Learning
Panita Wannapiroon Kmutnb
 
Education 3.0: Interactive e-Learning and Could Learning
Education 3.0: Interactive e-Learning and Could LearningEducation 3.0: Interactive e-Learning and Could Learning
Education 3.0: Interactive e-Learning and Could Learning
Panita Wannapiroon Kmutnb
 
USING WEB CONFERENCING FOR INTERNATIONAL MEETING
USING WEB CONFERENCING FOR INTERNATIONAL MEETINGUSING WEB CONFERENCING FOR INTERNATIONAL MEETING
USING WEB CONFERENCING FOR INTERNATIONAL MEETING
Panita Wannapiroon Kmutnb
 
มหาวิทยาลัยธนบุรี
มหาวิทยาลัยธนบุรีมหาวิทยาลัยธนบุรี
มหาวิทยาลัยธนบุรีPanita Wannapiroon Kmutnb
 
Interactive e learning_etech
Interactive e learning_etechInteractive e learning_etech
Interactive e learning_etech
Panita Wannapiroon Kmutnb
 
ชุดที่3 การเรียนรู้และระดับพฤติกรรม
ชุดที่3 การเรียนรู้และระดับพฤติกรรมชุดที่3 การเรียนรู้และระดับพฤติกรรม
ชุดที่3 การเรียนรู้และระดับพฤติกรรม
Panita Wannapiroon Kmutnb
 
ชุดที่4 การเรียนการสอนรูปแบบmiap
ชุดที่4 การเรียนการสอนรูปแบบmiapชุดที่4 การเรียนการสอนรูปแบบmiap
ชุดที่4 การเรียนการสอนรูปแบบmiap
Panita Wannapiroon Kmutnb
 
เทคนิคการสอนชุดที่2 ส่วนประกอบของเอกสารการสอน
เทคนิคการสอนชุดที่2 ส่วนประกอบของเอกสารการสอนเทคนิคการสอนชุดที่2 ส่วนประกอบของเอกสารการสอน
เทคนิคการสอนชุดที่2 ส่วนประกอบของเอกสารการสอน
Panita Wannapiroon Kmutnb
 
เทคนิคการสอน ชุดที่1 แนะนำโปรแกรมและกิจกรรม
เทคนิคการสอน  ชุดที่1 แนะนำโปรแกรมและกิจกรรมเทคนิคการสอน  ชุดที่1 แนะนำโปรแกรมและกิจกรรม
เทคนิคการสอน ชุดที่1 แนะนำโปรแกรมและกิจกรรม
Panita Wannapiroon Kmutnb
 
Ctu 1 intro_analyze_the_issue
Ctu 1 intro_analyze_the_issueCtu 1 intro_analyze_the_issue
Ctu 1 intro_analyze_the_issue
Panita Wannapiroon Kmutnb
 
Interactive e leraning_ctu
Interactive e leraning_ctuInteractive e leraning_ctu
Interactive e leraning_ctu
Panita Wannapiroon Kmutnb
 
Interactive e leraning_vec5
Interactive e leraning_vec5Interactive e leraning_vec5
Interactive e leraning_vec5
Panita Wannapiroon Kmutnb
 
Interactive e-Learning & cloud learning @ VEC [13-17/08/13]
Interactive e-Learning & cloud learning @ VEC [13-17/08/13]Interactive e-Learning & cloud learning @ VEC [13-17/08/13]
Interactive e-Learning & cloud learning @ VEC [13-17/08/13]
Panita Wannapiroon Kmutnb
 
Interactive e leraning_vec2
Interactive e leraning_vec2Interactive e leraning_vec2
Interactive e leraning_vec2
Panita Wannapiroon Kmutnb
 
Educational innovation for enhancing student in the 21st century to the asean...
Educational innovation for enhancing student in the 21st century to the asean...Educational innovation for enhancing student in the 21st century to the asean...
Educational innovation for enhancing student in the 21st century to the asean...
Panita Wannapiroon Kmutnb
 
Interactive e leraning
Interactive e leraningInteractive e leraning
Interactive e leraning
Panita Wannapiroon Kmutnb
 
Development of total quality management information system (tqmis) for model ...
Development of total quality management information system (tqmis) for model ...Development of total quality management information system (tqmis) for model ...
Development of total quality management information system (tqmis) for model ...
Panita Wannapiroon Kmutnb
 
Development of an edutainment instructional model using learning object for e...
Development of an edutainment instructional model using learning object for e...Development of an edutainment instructional model using learning object for e...
Development of an edutainment instructional model using learning object for e...
Panita Wannapiroon Kmutnb
 
Development of a collaborative learning with creative problem solving process...
Development of a collaborative learning with creative problem solving process...Development of a collaborative learning with creative problem solving process...
Development of a collaborative learning with creative problem solving process...
Panita Wannapiroon Kmutnb
 

More from Panita Wannapiroon Kmutnb (20)

Emerging Trends and Technologies in Education
Emerging Trends and Technologies in EducationEmerging Trends and Technologies in Education
Emerging Trends and Technologies in Education
 
Strategy for designing and developing Interactive e-Learning
Strategy for designing and developing Interactive e-LearningStrategy for designing and developing Interactive e-Learning
Strategy for designing and developing Interactive e-Learning
 
Education 3.0: Interactive e-Learning and Could Learning
Education 3.0: Interactive e-Learning and Could LearningEducation 3.0: Interactive e-Learning and Could Learning
Education 3.0: Interactive e-Learning and Could Learning
 
USING WEB CONFERENCING FOR INTERNATIONAL MEETING
USING WEB CONFERENCING FOR INTERNATIONAL MEETINGUSING WEB CONFERENCING FOR INTERNATIONAL MEETING
USING WEB CONFERENCING FOR INTERNATIONAL MEETING
 
มหาวิทยาลัยธนบุรี
มหาวิทยาลัยธนบุรีมหาวิทยาลัยธนบุรี
มหาวิทยาลัยธนบุรี
 
Interactive e learning_etech
Interactive e learning_etechInteractive e learning_etech
Interactive e learning_etech
 
ชุดที่3 การเรียนรู้และระดับพฤติกรรม
ชุดที่3 การเรียนรู้และระดับพฤติกรรมชุดที่3 การเรียนรู้และระดับพฤติกรรม
ชุดที่3 การเรียนรู้และระดับพฤติกรรม
 
ชุดที่4 การเรียนการสอนรูปแบบmiap
ชุดที่4 การเรียนการสอนรูปแบบmiapชุดที่4 การเรียนการสอนรูปแบบmiap
ชุดที่4 การเรียนการสอนรูปแบบmiap
 
เทคนิคการสอนชุดที่2 ส่วนประกอบของเอกสารการสอน
เทคนิคการสอนชุดที่2 ส่วนประกอบของเอกสารการสอนเทคนิคการสอนชุดที่2 ส่วนประกอบของเอกสารการสอน
เทคนิคการสอนชุดที่2 ส่วนประกอบของเอกสารการสอน
 
เทคนิคการสอน ชุดที่1 แนะนำโปรแกรมและกิจกรรม
เทคนิคการสอน  ชุดที่1 แนะนำโปรแกรมและกิจกรรมเทคนิคการสอน  ชุดที่1 แนะนำโปรแกรมและกิจกรรม
เทคนิคการสอน ชุดที่1 แนะนำโปรแกรมและกิจกรรม
 
Ctu 1 intro_analyze_the_issue
Ctu 1 intro_analyze_the_issueCtu 1 intro_analyze_the_issue
Ctu 1 intro_analyze_the_issue
 
Interactive e leraning_ctu
Interactive e leraning_ctuInteractive e leraning_ctu
Interactive e leraning_ctu
 
Interactive e leraning_vec5
Interactive e leraning_vec5Interactive e leraning_vec5
Interactive e leraning_vec5
 
Interactive e-Learning & cloud learning @ VEC [13-17/08/13]
Interactive e-Learning & cloud learning @ VEC [13-17/08/13]Interactive e-Learning & cloud learning @ VEC [13-17/08/13]
Interactive e-Learning & cloud learning @ VEC [13-17/08/13]
 
Interactive e leraning_vec2
Interactive e leraning_vec2Interactive e leraning_vec2
Interactive e leraning_vec2
 
Educational innovation for enhancing student in the 21st century to the asean...
Educational innovation for enhancing student in the 21st century to the asean...Educational innovation for enhancing student in the 21st century to the asean...
Educational innovation for enhancing student in the 21st century to the asean...
 
Interactive e leraning
Interactive e leraningInteractive e leraning
Interactive e leraning
 
Development of total quality management information system (tqmis) for model ...
Development of total quality management information system (tqmis) for model ...Development of total quality management information system (tqmis) for model ...
Development of total quality management information system (tqmis) for model ...
 
Development of an edutainment instructional model using learning object for e...
Development of an edutainment instructional model using learning object for e...Development of an edutainment instructional model using learning object for e...
Development of an edutainment instructional model using learning object for e...
 
Development of a collaborative learning with creative problem solving process...
Development of a collaborative learning with creative problem solving process...Development of a collaborative learning with creative problem solving process...
Development of a collaborative learning with creative problem solving process...
 

Development of Web-based Training on Social Network for Learning and Teaching of Thailand Cyber University Project [NEC2012]

  • 1.
  • 2. Session หนา รูปแบบการเรียนการสอนแบบรวมมือดวยระบบการจัดกิจกรรมการเรียนรู C1_6 123 Model of Collaborative Learning Using Learning Activity Management System ณมน จีรังสุวรรณ, ธนยศ สิรโชดก ิ การออกแบบเว็บไซตและบทเรียนอิเล็กทรอนิกสที่เหมาะสมสําหรับ C1_7 131 อีเลิรนนิงในอาเซียน: กรอบวัฒนธรรมที่ควรคํานึงถึง Proper Design of Website and Electronic Courseware for e- Learning in ASEAN : Cultural framework for Consideration จินตวีร คลายสังข การพัฒนาสื่อฝกอบรมออนไลน เรื่อง เครือขายสังคมออนไลน เพื่อการเรียน C1_8 140 การสอน สําหรับโครงการมหาวิทยาลัย ไซเบอรไทย (Facebook) Development of Web-based Training on Social Network for Learning and Teaching of Thailand Cyber University Project ชนากานต ปนวิเศษ, ปณิตา วรรณพิรุณ, ณมน จีรังสุวรรณ การพัฒนารูปแบบการนิเทศทางไกลสําหรับนิสิตฝกประสบการณวิชาชีพ C1_9 147 ธีรวดี ถังคบุตร การใชกระบวนการเขียนบล็อกแบบรวมมือกันในวิชาภาษาอังกฤษ: พัฒนา B2_1 152 ทัศนคติ คุณภาพ และ ปริมาณงานเขียน Application of a Collaborative Blogging in EFL Classroom: Improving Attitude, Quality and Quantity in Writing ดารารัตน คําภูแสน รูปแบบการเรียนรูรวมกันผานสื่อสังคมออนไลนเพื่อสนับสนุนการเรียนดวย B2_2 161 โครงงานนิเทศศาสตรสําหรับนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา Collaborative Learning Model through Social Media for Supporting Communications Project-based Learning for Postgraduate Students ปณิตา วรรณพิรุณ, วีระ สุภะ ผลการบูรณาการการเรียนรูดวยเครือขายสังคมกับ e-Learning B2_3 170 Effects of Integrated Learning using Social Media with e-Learning ปรัชญนันท นิลสุข, ปณิตา วรรณพิรุณ
  • 3. การพัฒนาสื่อฝกอบรมออนไลน เรื่อง เครือขายสังคมออนไลนเพื่อการเรียนการสอน สําหรับโครงการมหาวิทยาลัยไซเบอรไทย Development of Web-based Training on Social Network for Learning and Teaching of Thailand Cyber University Project ชนากานต ปนวิเศษ1, อ.ดร. ปณิตา วรรณพิรุณ2, ผศ.ดร.ณมน จีรงสุวรรณ3 ั 1 สาขาวิชาเทคโนโลยีเทคนิคศึกษา คณะครุศาสตรอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาพระนครเหนือ (chanakan@thaicyberu.go.th) 2,3 คณะครุศาสตรอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาพระนครเหนือ 2 3 (panita.w@hotmail.com) (namon9@hotmail.com) ABSTRACT บทคัดยอ The purposes of the research study were to 1) develop Web-based Training on Social Network การวิ จั ย ครั้ ง นี้ มี วั ต ถุ ป ระสงค เ พื่ อ 1) พั ฒ นาสื่ อ ฝ ก อบรม for learning and teaching of Thailand Cyber University Project, 2) compare training outcomes ออนไลน เรื่อง เครือขายสังคมออนไลนเพื่อการเรียนการสอน before and after introduction of Web-based Training, and 3) evaluate the satisfaction of the สําหรับโครงการมหาวิทยาลัยไซเบอรไทย 2) เปรียบเทียบ trainees with respect Web-based Training. ผลสัมฤทธิ์ทางการฝกอบรมระหวางกอนฝกอบรมกับหลัง The sample group in this research was 30 registered members of the Thailand Cyber ฝ กอบรม และ 3) ศึ กษาความพึ งพอใจของผู เข ารั บการฝ ก University Project selected by purposive sampling Technique. In addition, the selected อบรมที่ มี ต อ สื่ อ ฝ ก อบรมออนไลน กลุ ม ตั ว อย า งที่ ใ ช ใ น numbers were specified only ones who signed up การวิจัย คือ สมาชิกผูลงทะเบียนผานระบบในเว็บไซตของ for e-Training on Social Network for learning and teaching. The research tools used were โครงการมหาวิ ท ยาลั ย ไซเบอร ไ ทย จํ า นวน 30 คน โดย 1) e-Training on Social Network for learning การคัดเลือกกลุมตัวอยางแบบเจาะจง เฉพาะผูที่สมัครเขารวม and teaching, 2) Web-based Training evaluation form in related to content and technique, เป นผู เ ข า รั บ การฝ ก อบรมออนไลน เรื่ อง เครื อ ข ายสั ง คม 3) training test, and 4) trainee satisfaction evaluation form. Moreover, the statistical methods ออนไลนเพื่อการเรียนการสอน เครื่องมือที่ใชในการวิจัย คือ used in the research were arithmetic mean, 1) สื่อฝกอบรมออนไลน เรื่อง เครือขายสังคมออนไลนเพื่อ Standard Deviation, and t-test (Dependent). The results of the research were summarized as: การเรียนการสอน 2) แบบประเมินคุณภาพของสื่อฝกอบรม 1) the Web-based Training developed in the research composed of four lessons: 1.1) Facebook ออนไลน ด านเนื้ อหาและด านเทคนิ ค 3) แบบทดสอบวั ดผล with learning and teaching, 1.2) Starting with สัมฤทธิ์ทางการฝกอบรม และ 4) แบบประเมินความพึงพอใจ Facebook, 1.3) Facebook Application for Knowledge Sharing, and 1.4) Communication ของผูเขารับการฝกอบรม สถิติที่ใชในการวิจัย คือ คาเฉลี่ย channels and the useful tools, 2) qualitative of evaluation results of Web-based Training were เลขคณิต สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และ t-test แบบ Dependent defined as: the content quality was very ผลการวิ จั ย ครั้ ง นี้ พบว า 1) สื่ อ ฝ ก อบรมออนไลน เรื่ อ ง satisfactory and the technical quality was very satisfactory, 3) after-training outcomes were เครือขายสังคมออนไลนเพื่อการเรียนการสอน ไดพัฒนาขึ้น above before-training ones in the significant level of .05, and 4) satisfaction level of trainees ประกอบดวยบทเรีย น 4 บทเรียน คือ 1.1) Facebook กับ was at the “highest” level. การเรียนการสอน 1.2) เริ่มตนใชงาน Facebook 1.3) การใช งาน Facebook สําหรับแลกเปลี่ยนเรียนรู และ 1.4) ชองทาง Keywords: Web-based Training, e-Training, Social Network, Thailand Cyber University Project ติ ด ต อ สื่ อ สารและการใช ง านเครื่ อ งมื อ ที่ น า สนใจ 2) ผล การประเมิน คุ ณภาพของสื่ อฝ ก อบรมออนไลน มี คุ ณภาพ 140
  • 4. ดานเนื้อหาอยูในระดับดีมาก และมีคุณภาพดานเทคนิค อยางมาก และสามารถนํามาประยุกตใชในการจัดการเรียนการ อยูในระดับดีมาก 3) ผลสัมฤทธิ์ทางการฝกอบรมหลัง สอนได ดังนั้นหากบุคลากรทางการศึกษามีการนํา Facebook มา ฝกอบรมสูงกวากอนฝกอบรมอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ ใชในการติดตอสื่อสารกับผูเรียน และนําทรัพยากรเครื่องมือ ระดั บ .05 และ 4) ความพึ ง พอใจของผู เ ข า รั บ การ ตาง ๆ ใน Facebook มาประยุกตใชในการจัดการเรียนการสอน ฝกอบรมอยูในระดับมากที่สุด นั บ ว า เป น การขยายวงกว า งทางการศึ ก ษาและช ว ยเพิ่ ม ประสิทธิภาพในการจัดการเรียนการสอนอีกดวย คําสําคัญ: สื่อฝกอบรมออนไลน, การฝกอบรมบนเว็บ , แผนแม บ ทเทคโนโลยี ส ารสนเทศและการสื่ อ สาร เพื่ อ เครือขายสังคมออนไลน, โครงการมหาวิทยาลัยไซเบอรไทย การศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2554 – 2556 ไดกําหนด หนึ่งในพันธกิจ คือ สงเสริมสนับสนุนการพัฒนาทรัพยากร 1) บทนํา บุคคล โดยเพิ่มสมรรถนะใหมีวัฒนธรรม การใช ICT อยางมี คุ ณ ธรรม จริ ย ธรรม วิ จ ารณญาณ และรู เ ท า ทั น โดยมี ปจ จุบั น การศึก ษาของประเทศไทยได มีการพั ฒ นาขึ้ น ยุทธศาสตรที่หนึ่ ง คื อ สร างกํ าลังคนให มีศักยภาพในการใช อยางมาก โดยเฉพาะการนําเครือขายอินเทอรเน็ตเขามา เทคโนโลยี สารสนเทศและการสื่ อสารอย างสร างสรรค มี ชวยเพิ่มประสิ ทธิภาพในการจัด การศึกษา โดยใชเป น ธรรมาภิ บาล คุ ณธรรม จริ ยธรรม วิจารณญาณ และรูเท าทั น ตัวกลางในการนําสงเนื้อหาในการเรียนการสอนทางไกล รวมทั้งเพิ่มขีดความสามารถในการแขงขันของประเทศไทย หรือระบบการเรียนการสอนผานสื่อบทเรียนออนไลน (ศู น ย เ ทคโนโลยี ส ารสนเทศและการสื่ อ สาร สํ า นั ก งาน (e-Learning) สํ า นั ก งานคณะกรรมการการอุ ด มศึ ก ษา ปลัดกระทรวงศึกษาธิการ, 2554) กระทรวงศึกษาธิการ ไดจัด ตั้ง โครงการมหาวิท ยาลัย โครงการมหาวิทยาลัยไซเบอรไทยไดริเริ่มโครงการ TCU ไซเบอรไ ทย (Thailand Cyber University Project- Academy เพื่อดําเนินการตามมาตรการหลักในแผนแมบ ท TCU) โดยมีห นึ ่ง ในยุ ท ธศาสตร สํ า คั ญ คื อ การจั ด เทคโนโลยี ส ารสนเทศและการสื่ อ สาร เพื่ อ การศึ ก ษา การศึกษาทางไกลผา นระบบเครือ ขา ยสารสนเทศเพื่อ กระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2554 - 2556 โดยไดจัดทําบทเรียน พัฒนาการศึกษา โดยมีรายวิชาในหลักสูตรการเรียนตาม ที่ แ นะนํ า ด า นการผลิ ต สื่ อ บทเรี ย นอิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส และ อั ธ ยาศั ย และหลั ก สู ต รฝ ก อบรมออนไลน เ พื่ อ รั บ สนับสนุน การจัด การเรีย นการสอนออนไลน ในสวนของ ประกาศนียบัตร เผยแพรและใหบริการผานเว็บไซตของ โครงการไดมีการนํา Facebook เขามารวมในการเชื่อมตอถึง โครงการที่ http://www.thaicyberu.go.th (โครงการ ผูเขารับการฝกอบรม เปนอีกชองทางหนึ่งในการจัดการเรียน มหาวิทยาลัยไซเบอรไทย, 2548) การสอน รูปแบบหนึ่งในการจัดการเรียนการสอนออนไลนผาน ผูวิจัยได เล็ งเห็นความสํ าคั ญของการนํา Facebook เข ามาเป น ระบบเครื อ ข า ยสารสนเทศเพื่ อ พั ฒ นาการศึ ก ษา คื อ สวนหนึ่งในการติดต อสื่อสาร และการประยุกตใชกับการจัด การจัดการฝ กอบรมออนไลน e-Training ซึ่งทางโครงการ การเรียนการสอน ซึ่งหากสามารถใชงาน Facebook ไดอยาง มหาวิทยาลัยไซเบอรไทย มีจัดการฝกอบรมในลักษณะนี้ มีประสิทธิภาพในการจั ดการเรียนการสอนยอ มทําใหเกิ ด ใหกับบุคลากรทางการศึกษา เพื่อขยายโอกาสทางการศึกษา ผลดีตอการศึกษาสืบตอไป ดวยเหตุผลดังกลาวทําใหผูวิจัย และสงเสริมการจัดการเรียนการสอนออนไลน สนใจที่ จ ะศึ ก ษาและพั ฒ นาสื่ อ ฝ ก อบรมออนไลน เรื่ อ ง นอกจากการจัดฝกอบรมในลักษณะ e-Training เปนที่ เครือขายสังคมออนไลนเพื่อการเรียนการสอน เพื่อสนองตอ แพรหลายแลว พฤติกรรมการใชเครือขายสังคมออนไลน หนึ่งในยุทธศาสตรจากแผนแมบทดังกลาวขางตน โดยใชระบบ ยังเปนที่นิยมในทุกเพศ ทุกวัย รวมทั้งกลุมบุคลากรทาง การจัดการเรียนการสอนของโครงการมหาวิทยาลัยไซเบอรไทย การศึกษา โดยมีการใชบริการเครือขายสังคมออนไลน มา นํา ไปจั ด ฝก อบรมออนไลน เพื่ อ ให เ กิด ความรูค วามเขา ใจ ช ว ยในการติ ด ต อ สื่ อ สารในชี วิ ต ประจํ า วั น Facebook และสามารถนําไปประยุกตใชในการจัดการเรียนการสอน นับเปนหนึ่งในเครือขายสังคมออนไลนที่ไดรับความนิยม ออนไลนไดอยางมีประสิทธิภาพตอไป 141
  • 5. เรี ย นการสอน โดยลงทะเบี ย นในรายวิ ช า TCU-Facebook 2) วัตถุประสงคการวิจัย “Facebook สําหรับการเรียนการสอน” 4.2) ตัวแปรในการวิจัย ตัวแปรตน คือ สื่อฝกอบรมออนไลน เรื่อง เครือขายสังคม 2.1) เพื่อพัฒนาสื่อฝกอบรมออนไลน เรื่อง เครือขายสังคม ออนไลนเพื่อการเรียนการสอน ออนไลนเพื่อการเรียนการสอน ตัวแปรตาม คือ ผลการประเมินคุณภาพสื่อฝกอบรมออนไลน 2.2) เพื่อเปรี ยบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการฝกอบรมของ ผลสัมฤทธิ์ทางการฝกอบรม และความพึงพอใจของผูเขารับ ผูเขารับการฝกอบรม ระหวางกอนฝกอบรมกับหลังฝก การฝกอบรม อบรมโดยใชสื่อฝกอบรมออนไลน เรื่อง เครือขายสังคม 4.3) เนื้อหาที่ใชในการวิจัย ออนไลนเพื่อการเรียนการสอน สื่อ ฝ ก อบรมออนไลน เรื่ อ ง เครื อ ข า ยสั ง คมออนไลน เ พื่ อ 2.3) เพื่อศึกษาความพึงพอใจของผูเขารับการฝกอบรมทีมี ่ การเรีย นการสอน รายวิ ชา “Facebook สํ าหรับ การเรี ย น ตอสื่อฝกอบรมออนไลน เรื่อง เครือขายสังคมออนไลน การสอน” ประกอบดวยบทเรียน 4 บทเรียน ดังนี้ เพื่อการเรียนการสอน บทที่ 1 Facebook กับการเรียนการสอน บทที่ 2 เริ่มตนใชงาน Facebook 3) สมมติฐานการวิจัย บทที่ 3 การใชงาน Facebook สําหรับแลกเปลี่ยนเรียนรู บทที่ 4 ชองทางติดตอสื่อสารและการใชงานเครื่องมือที่นาสนใจ 3.1) ผลการพัฒนาสื่อฝกอบรมออนไลน เรื่อง เครื อขาย สังคมออนไลนเพื่อการเรียนการสอน ที่ผานการประเมิน 5) วิธีดําเนินการวิจัย คุณภาพโดยผูเชี่ยวชาญอยูในระดับดี 3.2) ผู เ ข า รั บ การฝ ก อบรมด ว ยสื่ อ ฝ ก อบรมออนไลน การวิจัยครั้งนี้เปนการวิจัยเชิงทดลอง (Experimental Research) เรื่อง เครือขายสังคมออนไลนเพื่อการเรียนการสอน มี ซึ่งไดกําหนดแบบแผนการทดลองโดยใชรูปแบบ One-Group ผลสัมฤทธิ์ทางการฝ กอบรมหลัง ฝกอบรมสูงกวากอ น Pretest-Posttest Design โดยมีวิธีดําเนินการวิจัย ดังนี้ ฝกอบรม อยางมีนัยสําคัญทางสถิติ 3.3) ความพึ ง พอใจของผู เ ข า รั บ การฝ ก อบรมที่ มี ต อ ระยะที่ 1 การพัฒนาสื่อฝกอบรมออนไลน เรื่อง Facebook สื่อฝกอบรมออนไลน เรื่อง เครือขายสังคมออนไลนเพื่อ สําหรับการเรียนการสอน การเรียนการสอน มีระดับความพึงพอใจอยูในระดับมาก 1) พั ฒนากรอบแนวคิด ในการวิ จัย โดยศึกษาเอกสารและ งานวิจัยที่เกี่ยวของกับการพัฒนาสื่อฝกอบรมออนไลน เรื่อง 4) ขอบเขตการวิจัย Facebook สําหรับการเรียนการสอน รวมทั้งศึกษาเนื้อหาที่จะ ใชในการพัฒนาสื่อฝกอบรมออนไลน 2) พั ฒนาสื่ อ ฝก อบรมออนไลน เรื่ อ ง Facebook สํ าหรั บ 4.1) ประชากรและกลุมตัวอยาง การเรี ย นการสอน โดยมี ขั้ น ตอนการพั ฒ นาสื่ อ ฝ ก อบรม ประชากร คื อ สมาชิ ก ผู ล งทะเบี ย นผ า นระบบในหน า ออนไลนตามรูปแบบการสอนของ ADDIE Model 5 ขั้นตอน เว็บไซตของโครงการมหาวิทยาลัยไซเบอรไทย ดังนี้ กลุมตัวอยาง คือ สมาชิกผูลงทะเบียนผานระบบในหนา เว็บไซตของโครงการมหาวิทยาลัยไซเบอรไทย จํานวน 30 2.1) ขั้นการวิเคราะห (Analysis) คน โดยการคัดเลือกกลุมตัวอยางแบบเจาะจง (Purposive กําหนดหัวเรื่อง วิเคราะหเนื้อหาและวัตถุประสงค พิจารณา Sampling) เฉพาะผู ที่ ส มั ค รเข า ร ว มเป น ผู เ ข า รั บ การ เลือกหัวเรื่องที่จะนํามาสรางเปนสื่อฝกอบรมออนไลน โดย ฝกอบรมออนไลน เรื่อง เครือขายสังคมออนไลนเพื่อการ เลือก Facebook มาเปนเครือขายสังคมออนไลนที่จะนําเสนอ เนื้อหาแกผูเขารับการฝกอบรม จากนั้น สรางแผนภูมิระดม 142
  • 6. O1 X O2 โดยใชรูปแบบการวิจัยแบบ One Group Pretest Posttest สมอง (Brainstorm Chart) และสรางแผนภูมิโครงขาย Design (Kirk, Roger E., 1968) เนื้อหา (Content Network) 2.2) ขันการออกแบบ (Design) ้ มีขั้นตอนการดําเนินการดังนี้ 2.2.1) ออกแบบผังการเขาใชงาน แสดงความสัมพันธของ 1) การเตรียมการกอนการทดลอง บทดํ าเนิ นเรื่ อง โดยเปน การนํ า เสนอลํ า ดับ การเขา ประชาสัมพันธเปดรับสมัครผูเขารับการฝกอบรมออนไลน ฝกอบรมออนไลน จากโครงการมหาวิทยาลัยไซเบอรไทย ภายใตโครงการ TCU 2.2.2) ออกแบบบทดําเนินเรื่อง (Storyboard) ซึ่งมีรูปแบบ Academy และนําเสนอชี้แจงจุดประสงคของการเปดรับ เขา หนาที่นําเสนอเนื้อหา การจัดวาง (Layout) การเชื่อมโยง ฝกอบรม และชี้แจงขอจํากัดในฐานะกลุมทดลอง 30 คน (Link) เนื้ อหาในแต ละบท เครื่ อ งช ว ยนํ า ทาง (Design 2) ดําเนินการทดลอง navigator) และระบบการควบคุมบทเรียน (Design System กําหนดใหผูเขารับการฝกอบรมเขารับการอบรมออนไลน Control) ผานสื่อฝกอบรมออนไลน เรื่องFacebook สําหรับการเรียน 2.3) ขันการพัฒนา (Development) ้ การสอน เปนระยะเวลา 2 สัปดาห ผานเว็บไซตของโครงการ พัฒนาสื่อฝกอบรมออนไลน โดยกําหนดรูปแบบหนาจอ ที่ http://www.thaicyberu.go.th โดยวัดผลสัมฤทธิ์ทางการฝก สราง Template และ Mascot Animation ประกอบบทเรียน อบรมกอนฝกอบรม แลวดําเนินการฝกอบรม เมื่อจบการฝก และจัดทําเนื้อหาตามบทดําเนินเรื่อง แลวนําสื่อฝกอบรม อบรมแลววัดผลสัมฤทธิ์ทางการฝกอบรมหลังการฝกอบรม ออนไลน ขึ้ นระบบการจั ด การเรีย นการสอนออนไลน และการดําเนินการประเมินความพึงพอใจของผูเขารับการฝก โครงการมหาวิ ท ยาลั ยไซเบอร ไทย (TCU_LMS) โดย อบรม เพิ่มเปนรายวิชาใหม และสรางแบบทดสอบไวในระบบ 3) หลังดําเนินการทดลอง ผานเว็บไซตของโครงการที่ http://www.thaicyberu.go.th 3.1) เก็บรวบรวมขอมูล ผลคะแนนแบบทดสอบกอนและ 2.4) การตรวจสอบและนําไปใช (Implementation) หลั ง การฝ ก อบรม แล ว นํ า ผลคะแนนที่ ไ ด ม าวิ เ คราะห นําสื่อฝกอบรมออนไลน ไปทดลองใชแบบหนึ่งตอหนึ่ง เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการฝกอบรมของผูเขารับการฝก (One to One Testing) กับผูเขารับการฝกอบรม 3 คน ที่ อบรม ก อ นฝ ก อบรมกั บ หลั ง ฝ ก อบรมด ว ยสื่ อ ฝ ก อบรม ไมใชกลุมตัวอยาง โดยเลือกผูที่มีระดับความรู 3 ระดับ ออนไลน โดยนํ าระดั บ คาคะแนนที่ ไ ด มาเปรี ย บเที ยบใช คื อ เก ง ปานกลาง และอ อน ระดั บละ 1 คน เพื่ อสํ ารวจ สูตร t-test แบบ Dependent เพื่อทําการทดสอบสมมติฐาน ความเหมาะสมในการเขาใชงาน โดยสอบถามความคิดเห็น 3.2) เก็บรวบรวมขอมูล ผลการประเมินความพึงพอใจของ เกี่ ย วกั บ การใช ง านสื่ อ ฝ ก อบรมออนไลน และนํ า ผู เ ข า รั บ การฝ ก อบรมที่ มี ต อ สื่ อ ฝ ก อบรมออนไลน แล ว ขอเสนอแนะมาปรับปรุงแกไข วิเคราะหผลการประเมินความพึงพอใจของผูเขารับการฝก 2.5) การประเมิน (Evaluation) อบรม โดยนําระดับคาคะแนนความคิดเห็น มาวิเคราะหผล นําสื่อฝกอบรมออนไลนใหผเู ชี่ยวชาญดานเนื้อหาจํานวน หาค าทางสถิติ โดยใช คาเฉลี่ ยเลขคณิต และสวนเบี่ยงเบน 3 ทาน และผูเชี่ยวชาญดานเทคนิคจํานวน 3 ทาน ประเมิน มาตรฐาน คุณภาพสื่อฝกอบรมออนไลน 6) สรุปการวิจัย ระยะที่ 2 การศึกษาผลของการใชสื่อฝกอบรมออนไลน เรื่อง Facebook สําหรับการเรียนการสอน 6.1) การพัฒนาสื่อฝกอบรมออนไลน เรื่อง เครือขายสังคม การศึกษาผลของการใชสื่อฝกอบรมออนไลน โดยนํา ออนไลน เ พื่ อ การเรี ย นการสอน ผู วิจั ย ได ทํ า การวิ เคราะห สื่อฝกอบรมออนไลนทดลองกับกลุมตัวอยางที่กําหนด ออกแบบและพัฒนาขึ้น ประกอบดวย 4 บทเรียน ซึ่งผูเขารับ 143
  • 7. การฝ กอบรมสามารถเรี ยนรู เ นื้ อ หาได ด วยตนเองตาม จากตารางที่ 1 พบวา ผลการประเมินคุณภาพดานเนื้อหาของ ความตองการไดทุกที่ ทุกเวลา สื่อฝกอบรมออนไลน เรื่อง เครือขายสังคมออนไลนเพื่อการ เรียนการสอน ในภาพรวมอยูในระดับดีมาก ตารางที่ 2 ผลการประเมิ น คุ ณภาพด านเทคนิ ค ของสื่ อ ฝ ก อบรมออนไลน ระดับ เรื่องทีประเมิน ่ คาเฉลี่ย S.D. คุณภาพ 1. เนื้อหาและการดําเนินเรื่อง 4.73 0.46 ดีมาก 2. ภาพ ภาษา เสียง และวีดิทัศน 4.93 0.26 ดีมาก 3. ตัวอักษร และสี 4.67 0.49 ดีมาก 4. การจัดการบทเรียน 4.61 0.50 ดีมาก รวม 4.73 0.45 ดีมาก จากตารางที่ 2 พบวา ผลการประเมินคุณภาพดานเทคนิคของ สื่อ ฝ ก อบรมออนไลน เรื่ อ ง เครื อ ข า ยสั ง คมออนไลน เ พื่ อ การเรียนการสอน ในภาพรวมอยูในระดับดีมาก 6.3) ผลการวิเคราะหการเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการฝก อบรมระหวางกอนฝกอบรมกับหลังฝกอบรมของผูเขารับ การฝกอบรมจํานวน 30 คน โดยใชสื่อฝกอบรมออนไลน เรื่อง เครือขายสังคมออนไลนเพื่อการเรียนการสอน แสดงใน ตารางที่ 3 รูปที่ 1 : ตัวอยางหนาจอบทเรียนสื่อฝก อบรมออนไลน เรื่อง เครือขายสังคมออนไลนเพื่อการเรียนการสอน ตารางที่ 3 เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการฝกอบรมระหวาง กอนฝกอบรมกับหลังฝกอบรม 6.2) การประเมิ น คุ ณ ภาพของสื่ อ ฝ ก อบรมออนไลน ผลสัมฤทธิ์ทาง คะแนน เรื่อง เครือขายสังคมออนไลนเพื่อการเรียนการสอน ผล S.D. t-test Sig. การฝกอบรม เต็ม การประเมิ น คุ ณ ภาพสื่ อ ฝ ก อบรมออนไลน โ ด ย กอนฝกอบรม 30 16.30 4.31 14.44* .00* ผูเ ชี่ย วชาญดานเนื้ อหาจํา นวน 3 ทา น และผู เชี่ ย วชาญ หลังฝกอบรม 30 26.20 3.02 ดานเทคนิคจํานวน 3 ทาน ดังแสดงในตารางที่ 1 และ 2 * p < .05 , df = 29 ตารางที่ 1 ผลการประเมินคุณภาพดานเนื้อหาของสื่อฝก 6.4) ผลการประเมินความพึงพอใจของผูเขารับการฝก อบรม อบรมออนไลน ที่มีตอสื่อฝกอบรมออนไลน เรื่อง เครือขายสังคมออนไลน ระดับ เพื่อการเรียนการสอน ดังแสดงในตารางที่ 4 เรื่องทีประเมิน ่ คาเฉลี่ย S.D. คุณภาพ ตารางที่ 4 ผลการประเมิ น ความพึ ง พอใจของผู เ ข า รั บ 1. เนื้อหาและการดําเนินเรื่อง 4.57 0.60 ดีมาก การฝกอบรมที่มีตอสื่อฝกอบรมออนไลน 2. ภาษา เสียง และภาพ 4.67 0.50 ดีมาก รายการ คาเฉลี่ย S.D. ความหมาย รวม 4.62 0.57 ดีมาก 1. คําแนะนําการใชงานบทเรียน 4.58 0.53 มากที่สุด 2. การนําเสนอเนือหาบทเรียน 4.59 0.54 มากที่สุด ้ 3. การออกแบบบทเรียน 4.64 0.57 มากที่สุด 144
  • 8. 4. ประโยชนจากการฝกอบรม 3 ทาน ประเมินความสอดคลองของแบบทดสอบระหวางขอ 4.63 0.59 มากที่สุด ดวยสือฝกอบรมออนไลน ่ คําถามกับเนื้อหาโดยวัดจากวัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม เพื่อ รวม 4.62 0.56 มากที่สุด คัด เลือ กเฉพาะข อสอบที่ มี คา IOC=1.00 โดยคั ด เลื อ กและ จากตารางที่ 4 พบวา ผลการประเมินความพึงพอใจของ นําไปใช เป นแบบทดสอบวัด ผลสั มฤทธิ์ท างการฝกอบรม ผู เ ข า รั บการฝ กอบรมที่ มี ต อ สื่ อฝ กอบรมออนไลน ใน ทั้ ง ห ม ด 3 0 ข อ จ า ก ผ ล ก า ร วิ จั ย ส รุ ป ไ ด ว า ภาพรวมผู เ ข า รั บ การฝ ก อบรมมี ค วามพึ ง พอใจอยู ใ น สื่ อฝ กอบรมออนไลน เรื่ อง เครื อข ายสั งคมออนไลน เ พื่ อ ระดับมากที่สุด การเรียนการสอน มีคุณภาพเหมาะสมที่จะนําไปใชฝกอบรม ไดจริง ซึ่งสอดคลองกับงานวิจัยของ คณิต (2552) ที่ไดสราง 7) อภิปรายผล และหาคุณภาพบทเรีย นออนไลน เรื่ อ ง เทคโนโลยี ระบบ เครือ ขา ยภายในองคก ร สํา หรับ ผูเ ขา รับ การฝ กอบรมของ ผลจากการพัฒนาสื่อฝกอบรมออนไลน สามารถนํามา สถาบันพัฒนาฝมือแรงงาน ภาค 11 สุราษฎรธานี โดยใช อภิปรายผลการวิจัยไดดังตอไปนี้ กลุมตัวอยางเปนผูเขารับการฝกหลักสูตรเตรียมเขาทํางาน 7.1) ดานการประเมินคุณภาพของสื่อฝกอบรมออนไลน สาขาคอมพิวเตอร รุนที่ 2 ปการศึกษา 2552 จํานวน 20 คน เรื่อง เครือขายสังคมออนไลนเพื่อการเรียนการสอน ผล ผลการวิจัยพบวา คะแนนการทดสอบหลังเรียนมีคะแนนสูง จากการประเมินมีคุณภาพสูงกวาเกณฑที่ตั้งไว กลาวคือ กวากอนเรียนอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 คุ ณภาพของสื่ อ ฝ ก อบรมออนไลน ทั้ ง ด า นเนื้ อ หาและ 7.3) ดานผลการประเมินความพึงพอใจของผูเขารับการฝก ดานเทคนิคอยูในระดับดีมาก เนื่องมาจากการออกแบบ อบรมที่ มี ต อ สื่ อ ฝ ก อบรมออนไลน เรื่ อ ง เครื อ ข า ยสั ง คม และพัฒนาโดยนําขั้นตอน ADDIE Model ทั้ง 5 ขั้นตอน ออนไลนเพื่อการเรียนการสอน มีผลการประเมินความพึงพอใจ คื อ ขั้ น การวิ เ คราะห ขั้ น การออกแบบ ขั้ น การพั ฒ นา อยูในระดับมากที่สุด กลาวคือ ความพึงพอใจของผูเข ารับ ขั้นการตรวจสอบและนําไปใช และขั้นการประเมิน ซึ่ง การฝกอบรมจํานวน 30 คนที่มีตอ สื่อฝกอบรมออนไลนที่ ในแต ล ะขั้ น ตอนนั้ น ผู วิ จั ย ได ว างแผนและดํ า เนิ น การ พัฒนาขึ้น มีผลการประเมินความพึงพอใจอยูที่คาเฉลี่ยเทากับ อยางสมบูรณ จึ งได สื่อฝ กอบรมออนไลน ที่ มีคุณภาพ 4.62 อยูในระดับมากที่สุด ซึ่งสอดคลองกับผลการวิจัยของ และตรงตามสมมติฐานที่ตั้งไว ซึ่งสอดคลองกับงานวิจัย ไพโรจน (2550) ที่ มี ก ารวิ เ คราะห ข อ มู ล หาค า ระดั บ ของ สุ จิ น ต (2552) ที่ ไ ด ส ร า งและหาคุ ณ ภาพสื่ อ ฝ ก ความพึงพอใจของผูเขารับการฝกอบรมที่มีตอบทเรียนชุดฝก อบรมผานเครือขายอินเทอรเน็ต เรื่อง การสรางบทเรียน อบรมบนเว็บ (WBT) เรื่อง เทคโนโลยีการสรางระบบเครือขาย ออนไลน ดวยโปรแกรม Moodle ซึ่งใชการออกแบบสื่อ ภายในองค ก รสํ า หรั บ พนั ก งานธนาคาร สายปฏิ บั ติ ก าร ตามขั้นตอน ADDIE Model โดยผลการวิจัยพบวา สื่อฝก ดานเทคโนโลยีสารสนเทศ พบวา ระดับความพึงพอใจของ อบรมที่สรางขึ้นมีคุณภาพดานเนื้อหาคาเฉลี่ยเทากับ 4.10 ผูเขารับการฝกอบรมมีคาเฉลี่ยที่ระดับ 4.04 ซึ่งอยูในระดับ อยูในระดับดี มีคุณภาพดานสื่อเทคโนโลยีคาเฉลี่ยเทากับ ความพึงพอใจมาก ทั้งนี้อาจเนื่อ งจากการจัดการฝกอบรม 3.89 อยู ใ นระดั บ ดี ผู เ ข า รั บ การอบรมผ า นเครื อ ข า ย ออนไลน ส ามารถศึ ก ษาเนื้ อ หาได อ ย า งอิ ส ระ ทํ า ให อินเทอรเน็ต มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรูหลังฝกอบรมสูง การฝกอบรมเปนไปตามมาตรฐาน เพราะผูเขารับการฝก กวากอนฝกอบรมอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .01 อบรมจะไดรับการฝก อบรมที่เหมือนกัน แตกตางกันเพียง 7.2) ดานผลสัมฤทธิ์ทางการฝกอบรมของผูเขารับการฝก เวลาในการเรียนรูของแตละบุคคล สามารถฝกทักษะใน อบรมหลั ง ฝ ก อบรมสู ง กว า ก อ นฝ ก อบรม อย า งมี ลักษณะที่สมจริงใหกับผูเขารับการฝกอบรมได นัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05 เปนไปตามสมมติฐานที่ ดวยเหตุผลที่กลาวมาแลวขางตน สามารถสรุปไดวาสื่อฝก ตั้ ง ไว เนื่ อ งจากการสร างแบบทดสอบที่ สอดคล องกั บ อบรมออนไลน เรื่ อ ง เครื อ ข า ยสั ง คมออนไลน เ พื่ อ เนื้ อหาและวั ตถุ ประสงค เ ชิ ง พฤติก รรม และมี ก ารออก การเรี ย นการสอน มี คุ ณ ภาพสู ง กว า เกณฑ กํ า หนดไว ขอสอบทั้งหมด 40 ขอ แลวใหผูเชี่ยวชาญดานเนื้อหาทั้ง ผลสั ม ฤทธิ์ ท างการฝ ก อบรมหลั ง ฝ ก อบรมสู ง กว า ก อ น 145
  • 9. ฝกอบรมอยางมีนัยสําคัญทางสถิติท่ีระดับ .05 และผูเขา บั ณ ฑิ ต วิ ท ย าลั ย ม ห า วิ ท ย า ลั ย เ ท ค โ น โ ล ยี รับ การฝ ก อบรมมีค วามพึง พอใจอยูใ นระดับ มากที่ สุด พระจอมเกลาธนบุรี . สามารถนําไปใชในการฝกอบรมไดตามความเหมาะสม E ( 1 9 6 8 ) . Experimental Design: เอกสารอางอิง Kirk, Roger Procedures for the Behavioral Sciences. Ohio : Wadsworth . คณิต ทองวิลัย (2552). การสรางบทเรียนออนไลน เรื่อง เทคโนโลยีระบบเครือขายภายในองคกร สําหรับ ผู เ ข า รั บ การฝ ก อบรมของสถาบั น พั ฒนาฝ มื อ แรงงาน ภาค 11 สุ ร าษฎร ธ านี . วิ ท ยานิ พ นธ ครุศาสตรอุตสาหกรรมมหาบัณฑิต สาขาวิชา ครุศาสตรเทคโนโลยี ภาควิชาเทคโนโลยีและ ก า ร สื่ อ สา ร กา ร ศึ ก ษ า บั ณ ฑิ ต วิ ท ย า ลั ย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี. โครงการมหาวิ ท ยาลั ย ไซเบอร ไ ทย (2548). ประวั ติ ความเปนมาของ TCU. [ออนไลน]. [สืบคน วันที่ 20 ธ.ค. 2554]. จากhttp://lms.thaicyberu. go.th/OfficialTCU/main/main2.asp ไพโรจน เพชรแอง (2550). การสร า งและหา ประสิทธิภาพชุดฝกอบรมบนเว็บ (WBT) เรื่อง เทคโนโลยี ก ารสร า งระบบเครื อ ข า ยภายใน องคกรสําหรับพนักงานธนาคารสายปฏิบัติการ ด า นเทคโนโลยี ส ารสนเทศ. วิ ท ยานิ พ นธ ครุ ศ าสตร อุ ต สาหกรรมหาบั ณ ฑิ ต สาขาวิ ช า ไฟฟา ภาควิชาครุศาสตรไฟฟา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาพระนครเหนือ. ศูนยเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สํานักงาน ปลัดกระทรวงศึกษาธิการ (2554) . แผนแมบท เทคโนโลยี ส ารสนเทศและการสื่ อ สารเพื่ อ การศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ. 2554-2556 . [ออนไลน]. [สืบคนวันที่ 12 ม.ค. 2555]. จาก http://www.bict.moe.go.th สุจินต ภิญญานิล (2552). การฝกอบรมผานเครือขาย อินเทอรเน็ต เรื่อง การสรางบทเรียนออนไลน ด ว ยโปรแกรม Moodle สํ า หรั บ ครู โ รงเรี ย น คุระบุรีชัยพัฒนาพิทยาคม อําเภอคุระบุรี จังหวัด พั ง งา. วิ ท ยานิ พ นธ ค รุ ศ าสตร อุ ต สาหกรรม มหาบั ณ ฑิ ต สาขาวิ ช าครุ ศ าสตร เ ทคโนโลยี ภาควิ ช าเทคโนโลยี แ ละการสื่ อ สารการศึ ก ษา 146