SlideShare a Scribd company logo
1 of 31
Download to read offline
(MECHANICAL WAVE )
คลื่นกล
สอนโดย
นางสาว กมลชนก พกขุนทด
วิชา แรงมวลและกฎการเคลื่อนที่ ว30101
สอนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/3 และ 4/4
 คลื่นกล คือ การถ่ายโอนพลังงานจากจุดหนึ่งไปยังอีกจุดหนึ่ง โดยการเคลื่อนที่ไปของคลื่น
ต้องมีโมเลกุลหรืออนุภาคตัวกลางเป็นตัวถ่ายโอนพลังงานจึงจะทาให้คลื่นแผ่ออกไป
ได้ ดังนั้นคลื่นกลจะเดินทางและส่งผ่านพลังงานโดยไม่ทาให้เกิดการเคลื่อน
 ตาแหน่งอย่างถาวรของอนุภาคตัวกลาง เพราะตัวกลางไม่ได้เคลื่อนที่แต่จะสั่นไปมารอบจุด
 สมดุล ต่างจากคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าที่เดินทางโดยไม่ต้องอาศัยตัวกลาง
คลื่นกล
ในกรณีที่โยนหินลงน้้า
- ในกรณีของคลื่นน้าที่เกิดจากการโยนก้อนหินลงไปในน้า โมเลกุลของน้าบริเวณที่ก้อนหินตก
กระทบจะถูกรบกวนและได้รับพลังงานจากก้อนหินที่ถูกโยน แล้วส่งพลังงานผ่านโมเลกุล
ของน้ารอบๆบริเวณนั้น
- เกิดเป็นคลื่นแผ่ออกไปจากบริเวณที่ก้อนหินตกกระทบ
- เมื่อพิจารณาทิศทางการเคลื่อนที่ของคลื่นกับทิศทางการเคลื่อนที่ของ
อนุภาคของตัวกลาง สามารถจาแนกคลื่นได้เป็น 2 ชนิด ได้แก่ คลื่นตาม
ขวาง (transverse waves) และ คลื่นตามยาว(longitudinal waves)
คลื่นตามขวาง(transverse waves) คือ คลื่นที่อนุภาคของ
ตัวกลางเคลื่อนที่ขวางหรือตั้งฉากกับทิศทางการเคลื่อนที่ของคลื่น
เช่น คลื่นตามขวางบนขดลวดสปริง ที่เกิดขึ้นเมื่อสะบัดปลายของ
ขดลวดสปริงขดลวดหรืออนุภาคของตัวกลางจะเคลื่อนที่กลับไป
กลับมา ในแนวตั้งฉากกับทิศทางการเคลื่อนที่ของคลื่นบนขดลวด
สปริง
ชนิดของคลื่นกล
คลื่นตามยาว (longitudinal waves) คือ คลื่นที่อนุภาคของ
ตัวกลางเคลื่อนที่ตามหรือขนานกับทิศทางการเคลื่อนที่ เช่น คลื่น
ตามยาวบนขดลวดสปริง ที่เกิดขึ้นเมื่อขยับปลายของขดลวดสปริง
เข้าและออก ทาให้ขดลวดหรืออนุภาคของตัวกลางเคลื่อนที่กลับไป
กลับมา ในแนวขนานกับทิศทางการเคลื่อนที่ของคลื่นบนขดลวด
สปริง
การเคลื่อนที่ของคลื่นตามยาว
ปริมาณที่เกี่ยวกับคลื่น
แอมพิจูด(amplitude ; A) คือ ขนาดของการกระจัดที่มีค่า
มากที่สุด ที่อนุภาคของตัวกลางเคลื่อนขณะคลื่นเคลื่อนที่ผ่าน โดย
ตาแหน่งที่อนุภาคของตัวกลางที่เคลื่อนที่ขึ้นสูงสุดเรียกว่า สันคลื่น
(crest) และตาแหน่งที่อนุภาคของตัวกลางเคลื่อนที่ตาสุดเรียกว่า
ท้องคลื่น(trough) แอมพิจูดมีหน่วยเป็นเมตร
ปริมาณที่เกี่ยวกับคลื่น
 ความยาวคลื่น (wavelength ; λ) คือ ระยะห่างที่มีค่าน้อยที่สุด
ระหว่างตาแหน่ง2ตาแหน่ง ที่มีขนาดของการกระจัดเท่ากัน และมี
ทิศทางการกระจัดตรงกัน ความยาวคลื่นมีหน่วยเป็นเมตร
 คาบ (period ; T) คือช่วงเวลาที่อนุภาคของตัวกลางเคลื่อนที่กลับไป
กลับมาครบรอบ 1 รอบ คาบมีหน่วยเป็นวินาที (s)
 ความถี่ (frequency ; f) คือจานวนรอบที่อนุภาคของตัวกลาง
เคลื่อนที่กลับไปกลับมาใน 1 วินาที สามารถคานวณได้จากมีหน่วย
เป็นรอบต่อวินาที หรือเฮิรตซ์
ปริมาณที่เกี่ยวกับคลื่น
 พิจารณาการเคลื่อนที่ของคลื่นจะเห็นว่าเมื่ออนุภาคเคลื่อนที่กลับไป
กลับมาครบ1รอบ ระยะทางที่คลื่นสามารถเคลื่อนที่ไปได้จะมีค่าเป็น
1 เท่าของความยาวคลื่นและใช้เวลา 1 เท่าของคาบ ซึ่งสามารถ
คานวณอัตราเร็วของคลื่น (V) ได้จาก อัตราการเปลี่ยนแปลงของ
ระยะทางที่คลื่นเคลื่อนที่ได้(△x) เทียบกับเวลาที่คลื่นใช้ในการ
เคลื่อนที่ในช่วงระยะทางนั้น(△t) จะได้ว่า
อัตราเร็วของคลื่น (v) = ความยาวคลื่น (λ) x ความถี่ (f)
อัตราเร็วของคลื่น
 เมื่อคลื่นตั้งแต่ 2 ขบวน เคลื่อนที่มาพบกัน การกระจัดของคลื่นแต่
ละลูกจะรวมกัน ณ ตาแหน่งที่คลื่นซ้อนทับกัน เรียกว่า หลักการ
ซ้อนทับ (principle of superposition)
การรวมคลื่น
 เมื่อคลื่นสองขบวนเคลื่อนที่มาพบกัน จะเกิดการรวมกันเป็นคลื่นใหม่
โดยที่คลื่นเดิมซ่อนรูปอยู่ในคลื่นใหม่ ซึ่งคลื่นเดิมจะแสดงคุณสมบัติ
เดิมออกมารูปเดิมอีกเมื่อคลื่นนั้นเคลื่อนที่ผ่านไป การกระจัดของ
คลื่นใหม่ที่เกิด ณ ตาแหน่งต่างๆเป็นผลบวกของการกระจัดของคลื่น
ทั้งสองที่ตาแหน่งนั้น (บวกกันแบบเวกเตอร์)
 มีผลให้แอมพลิจูดของคลื่นใหม่ = ผลรวมของแอมพลิจูดของคลื่นทั้ง
สอง
การรวมคลื่น
- แสดงให้เห็นการรวมกันของคลื่น 2 ลูก คลื่นลูกหนึ่งเคลื่อนที่ไป
ทางขวา อีกลูกหนึ่งเคลื่อนที่ไปทางซ้าย ขณะที่พบกันสามารถใช้
หลักการซ้อนทับกันของคลื่นหาคลื่นรวมได้
คลื่น 2 ลูก เคลื่อนที่สวนกัน
 เคลื่อนที่ไปในทิศทางเดียวกัน มีแอมพลิจูด ความถี่ ความยาวคลื่น
เท่ากัน แต่มีความเร็วต่างกัน ทาให้ความต่างเฟสของคลื่นทั้งสอง
กระบวนแตกต่างไปตามเวลา คลื่นรวม (สีน้าเงิน) บางครั้งมีขนาด
สูงขึ้น แสดงว่าเป็นการแทรกสอดแบบเสริมกัน
คลื่น 2 กระบวนเคลื่อนที่ไปในทิศเดียวกัน เกิดการแทรกสอดแบบหักล้าง
และเสริมกัน
แผนภาพการรวมคลื่น
คุณสมบัติที่สาคัญของคลื่นได้ 4 ประการ คือ
1. การสะท้อน (Reflection) เป็นคุณสมบัติร่วมระหว่าง
อนุภาคและคลื่น
2. การหักเห (Refraction) เป็นคุณสมบัติร่วมระหว่างอนุภาค
และคลื่น
3. การแทรกสอด (Interference) เป็นคุณสมบัติเฉพาะของ
คลื่น
4. การเลี้ยวเบน (Diffraction) เป็นคุณสมบัติเฉพาะของคลื่น
คลื่นบางชนิดยังสามารถแสดงคุณสมบัติด้านอื่นๆได้อีกด้วยเช่นการ
โพลาไรเซชันของคลื่นตามขวาง การกระเจิงเป็นต้น
สมบัติของคลื่น
การสะท้อน คือ การที่คลื่นเคลื่อนที่ไปตกกระทบกับสิ่งกีดขวาง
หรือรอยต่อระหว่างตัวกลางแล้วเปลี่ยนทิศสะท้อนกลับ มาในตัวกลาง
เดิม ปรากฏการณ์ที่เรามักเห็นได้บ่อยในเรื่องการสะท้อนคือ การได้ยิน
เสียงก้อง ซึ่งเกิดจากการที่คลื่นเสียงวิ่งไปกระทบกับสิ่งกีดขวาง เช่น
กาแพง แล้วสะท้อนกลับมา โดยที่ระยะเวลาในการเดินทางไปและกลับ
มีค่ามากพอที่หูเราจะแยกได้
การสะท้อนนั้นมีหลักการที่สาคัญคือ มุมตกกระทบเท่ากับมุมสะท้อน
ซึ่งเราเรียกหลักการนี้ว่า กฎการสะท้อน ดังแสดงในรูปด้านล่าง ซึ่ง
แสดงคลื่นน้าที่เคลื่อนที่ไปตกกระทบกับสิ่งกีดขวางแล้วสะท้อนออกมา
การสะท้อนของคลื่น (Reflection)
ตัวอย่างการสะท้อน
การหักเห (Refraction) คือ การที่คลื่นเปลี่ยนทิศทางการเคลื่อนที่
การหักเห เกิดขึ้นเมื่อคลื่นเคลื่อนที่ผ่านแนวรอยต่อระหว่างสอง
ตัวกลางเช่น คลื่นน้าเคลื่อนที่จากบริเวณน้าตื้นไปสู่น้าลึกโดยตกกระทบทา
มุมเฉียงกับแนวรอยต่อระหว่างตัวกลาง จะทาให้เกิดการเบี่ยงเบนทิศ
ทางการเคลื่อนที่ การหักเหนี้เป็นผลมาจากการเปลี่ยนแปลงอัตราเร็วคลื่น
เมื่อคลื่นเปลี่ยนตัวกลางเนื่องจากบริเวณน้าตื้นและน้าลึกนั้นทาตัวเสมือน
เป็นคนละตัวกลาง ทาให้คลื่นมีอัตราเร็วต่างกันและยังทาให้ความยาวคลื่น
เปลี่ยนไปด้วย แต่ความถี่ยังคงเท่าเดิม ดังรูป
การหักเหของคลื่น (Refraction)
รูปแสดงการหักเหของคลื่น
ปรากฏการณ์หนึ่งที่เกี่ยวข้องกับการหักเห
คือการที่เราเห็นฟ้าแลบแต่ไม่ได้ยินเสียงฟ้าร้องเนื่องจากความ
แตกต่างของอุณหภูมิบริเวณผิวโลกกับบริเวณที่ห่างจากผิวโลกไป คือ
บริเวณใกล้ผิวโลกจะมีอุณหภูมิสูงกว่าบริเวณที่ไกลออกไปทาให้เสียง
ที่คลื่นผ่านบริเวณที่มีอุณหภูมิต่างกันนี้มีการหักเหออกไปจากเราทา
ให้เราไม่ได้ยินเสียงฟ้าร้อง
 การเลี้ยวเบนของคลื่นเกิดขึ้นได้ เมื่อคลื่นจากแหล่งกาเนิดเดินทางไป
พบสิ่งกีดขวางที่มีลักษณะเป็นขอบหรือช่องทาให้คลื่นเคลื่อนที่เลี้ยว
อ้อมผ่านสิ่งกีดขวางไปได้ อธิบายได้โดยใช้
 หลักของฮอยเกนส์ ซึ่งกล่าวไว้ว่า "ทุก ๆ จุดบนหน้าคลื่นอาจถือได้
ว่าเป็นจุดกาเนิดคลื่นใหม่ที่ให้คลื่นความยาวคลื่นเดิมและเฟส
เดียวกัน"
การเลี้ยวเบนของคลื่น(Diffraction of Wave)
เมื่อให้คลื่นต่อเนื่องเส้นตรงความยาวคลื่นคงตัวเคลื่อนที่ผ่านสิ่ง
กีดขวางที่มีลักษณะเป็นช่องเปิดที่เรียกว่า สลิต (slit) การเลี้ยวเบน
จะแตกต่างกันโดยลักษณะคลื่นที่เลี้ยวเบนผ่านไปได้จะขึ้นอยู่กับ
ความกว้างของสลิต
เมื่อคลื่นเลี้ยวเบนผ่านช่องแคบมากๆ จะเลี้ยวเบนได้อย่างเด่นชัด(ได้หน้าคลื่นวงกลม)
การเลี้ยวเบนเมื่อช่องกว้างใกล้เคียงกับความยาวคลื่นตกกระทบ
การเลี้ยวเบนเมื่อช่องกว้างมาก ๆ เมื่อเทียบกับความยาวคลื่น จะไม่เกิดการแทรกสอดหลัง
เลี้ยวเบน
การแทรกสอดเป็นปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นได้เมื่อคลื่นสอง
ขบวนเคลื่อนที่บนตัวกลางเดียวกันมาพบกัน ท้าให้เกิดคลื่นลัพธ์
จากการรวมกันของคลื่นทั้งสองขณะที่เกิดการซ้อนทับกัน การ
แทรกสอดกันของคลื่นมี 2 แบบ คือ
การแทรกสอดแบบเสริม (Constructive interference)
การแทรกสอดแบบหักล้าง (Destructive interference)
การแทรกสอด (Interference)
จบแล้วนะค่ะ
คลื่นกล

More Related Content

What's hot

หลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมหลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมpanupong
 
บทที่ 3 พลังงานไฟฟ้า
บทที่ 3  พลังงานไฟฟ้าบทที่ 3  พลังงานไฟฟ้า
บทที่ 3 พลังงานไฟฟ้าPinutchaya Nakchumroon
 
บทที่ 2 การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆ
บทที่ 2 การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆบทที่ 2 การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆ
บทที่ 2 การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆThepsatri Rajabhat University
 
คานและโมเมนต์
คานและโมเมนต์คานและโมเมนต์
คานและโมเมนต์Jiraporn
 
บทที่ 6 ดาวฤกษ์ (star)
บทที่ 6   ดาวฤกษ์ (star)บทที่ 6   ดาวฤกษ์ (star)
บทที่ 6 ดาวฤกษ์ (star)Pinutchaya Nakchumroon
 
หินและแร่ ประถม
หินและแร่ ประถมหินและแร่ ประถม
หินและแร่ ประถมTa Lattapol
 
คลื่น ม.3.pdf
คลื่น ม.3.pdfคลื่น ม.3.pdf
คลื่น ม.3.pdfssuser920267
 
บทที่ 1 แรงและการเคลื่อนที่
บทที่ 1  แรงและการเคลื่อนที่บทที่ 1  แรงและการเคลื่อนที่
บทที่ 1 แรงและการเคลื่อนที่Pinutchaya Nakchumroon
 
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าThaweekoon Intharachai
 
สนามของแรง
สนามของแรงสนามของแรง
สนามของแรงTaweesak Poochai
 
บทที่3ทรัพยากรธรณีม 2
บทที่3ทรัพยากรธรณีม 2บทที่3ทรัพยากรธรณีม 2
บทที่3ทรัพยากรธรณีม 2Wichai Likitponrak
 
โลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลงโลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลงsmEduSlide
 
การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1Wuttipong Tubkrathok
 
6.ปฏิสัมพันธ์สุริยะgs โลกหมุนโลกโคจร
6.ปฏิสัมพันธ์สุริยะgs โลกหมุนโลกโคจร6.ปฏิสัมพันธ์สุริยะgs โลกหมุนโลกโคจร
6.ปฏิสัมพันธ์สุริยะgs โลกหมุนโลกโคจรWichai Likitponrak
 
ใบความรู้ เรื่อง พลังงานความร้อน วิทยาศาสตร์ 2 ว 21102
ใบความรู้ เรื่อง พลังงานความร้อน วิทยาศาสตร์ 2 ว 21102ใบความรู้ เรื่อง พลังงานความร้อน วิทยาศาสตร์ 2 ว 21102
ใบความรู้ เรื่อง พลังงานความร้อน วิทยาศาสตร์ 2 ว 21102พัน พัน
 

What's hot (20)

หลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมหลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโม
 
บทที่ 3 พลังงานไฟฟ้า
บทที่ 3  พลังงานไฟฟ้าบทที่ 3  พลังงานไฟฟ้า
บทที่ 3 พลังงานไฟฟ้า
 
บทที่ 2 การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆ
บทที่ 2 การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆบทที่ 2 การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆ
บทที่ 2 การเคลื่อนที่แบบต่าง ๆ
 
คานและโมเมนต์
คานและโมเมนต์คานและโมเมนต์
คานและโมเมนต์
 
บทที่ 6 ดาวฤกษ์ (star)
บทที่ 6   ดาวฤกษ์ (star)บทที่ 6   ดาวฤกษ์ (star)
บทที่ 6 ดาวฤกษ์ (star)
 
การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไทล์
การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไทล์การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไทล์
การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไทล์
 
หินและแร่ ประถม
หินและแร่ ประถมหินและแร่ ประถม
หินและแร่ ประถม
 
คลื่น ม.3.pdf
คลื่น ม.3.pdfคลื่น ม.3.pdf
คลื่น ม.3.pdf
 
บทที่ 1 แรงและการเคลื่อนที่
บทที่ 1  แรงและการเคลื่อนที่บทที่ 1  แรงและการเคลื่อนที่
บทที่ 1 แรงและการเคลื่อนที่
 
เรื่อง เมฆ
เรื่อง เมฆเรื่อง เมฆ
เรื่อง เมฆ
 
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
 
สนามของแรง
สนามของแรงสนามของแรง
สนามของแรง
 
บทที่3ทรัพยากรธรณีม 2
บทที่3ทรัพยากรธรณีม 2บทที่3ทรัพยากรธรณีม 2
บทที่3ทรัพยากรธรณีม 2
 
โลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลงโลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลง
 
การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1
 
แสงและการมองเห็น
แสงและการมองเห็นแสงและการมองเห็น
แสงและการมองเห็น
 
เส้นสนามไฟฟ้า (Electric line of force)
เส้นสนามไฟฟ้า (Electric line of force)เส้นสนามไฟฟ้า (Electric line of force)
เส้นสนามไฟฟ้า (Electric line of force)
 
6.ปฏิสัมพันธ์สุริยะgs โลกหมุนโลกโคจร
6.ปฏิสัมพันธ์สุริยะgs โลกหมุนโลกโคจร6.ปฏิสัมพันธ์สุริยะgs โลกหมุนโลกโคจร
6.ปฏิสัมพันธ์สุริยะgs โลกหมุนโลกโคจร
 
ใบความรู้ เรื่อง พลังงานความร้อน วิทยาศาสตร์ 2 ว 21102
ใบความรู้ เรื่อง พลังงานความร้อน วิทยาศาสตร์ 2 ว 21102ใบความรู้ เรื่อง พลังงานความร้อน วิทยาศาสตร์ 2 ว 21102
ใบความรู้ เรื่อง พลังงานความร้อน วิทยาศาสตร์ 2 ว 21102
 
คลื่นกล
คลื่นกลคลื่นกล
คลื่นกล
 

More from พัน พัน

เรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการเรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการพัน พัน
 
เรื่องภาษาซี
เรื่องภาษาซีเรื่องภาษาซี
เรื่องภาษาซีพัน พัน
 
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษรการเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษรพัน พัน
 
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
การทำงานของคอมพิวเตอร์
การทำงานของคอมพิวเตอร์การทำงานของคอมพิวเตอร์
การทำงานของคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัยระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัยพัน พัน
 
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศเรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศพัน พัน
 
ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้นเครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้นพัน พัน
 
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้นเรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้นพัน พัน
 
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
เรื่องคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์เรื่องคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้พัน พัน
 

More from พัน พัน (20)

เรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการเรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการ
 
เรื่องภาษาซี
เรื่องภาษาซีเรื่องภาษาซี
เรื่องภาษาซี
 
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
 
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษรการเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
 
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
 
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
 
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
 
การทำงานของคอมพิวเตอร์
การทำงานของคอมพิวเตอร์การทำงานของคอมพิวเตอร์
การทำงานของคอมพิวเตอร์
 
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัยระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
 
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศเรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้นเครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้นเรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
 
เรื่องคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์เรื่องคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
การปริ้น
การปริ้นการปริ้น
การปริ้น
 
Office
OfficeOffice
Office
 
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
 
ยาเสพติด
ยาเสพติดยาเสพติด
ยาเสพติด
 

คลื่นกล