SlideShare a Scribd company logo
1 of 24
จุดประสงค์การเรียนรู้ 1
แบบทดสอบก่อนเรียน 2
ประวัติความเป็นมาโปงลาง 7
ลักษณะส่วนประกอบโปงลาง 11
การปฏิบัติโปงลาง 18
แบบทดสอบหลังเรียน 35
เฉลยแบบทดสอบก่อน-หลังเรียน 40
เอกสารอ้างอิง 41
บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์เล่มนี้จัดทาขึ้นเพื่อ
เป็นส่วนหนึ่งของการประกอบการสอนดนตรี
พื้นบ้าน การสอน เรื่อง โปงลาง
ผู้จัดทาหวังเป็นอย่างยิ่งว่าบทเรียน
อิเล็กทรอนิกส์ เล่มนี้จะเป็นประโยชน์ สาหรับ
นักเรียนและผู้ที่สนใจจะศึกษาดนตรีพื้นบ้าน
1. ด้านความรู ้ (K)
นักเรียนบอกประวัติความเป็นมาของโปงลาง
อธิบายลักษณะและส่วนประกอบต่างๆของโปงลางได้
นักเรียนสามารถบอกระบบเสียงของโปงลาง
อธิบายวิธีการบรรเลง และประยุกต์ใช้ได้
2. ทักษะกระบวนการ (P)
นักเรียนสามารถปฏิบัติกิจกรรมได้ตามเกณฑ์
ร้อยละ 80 ขึ้นไป
นักเรียนสามารถปฏิบัติกิจกรรมได้ตามเกณฑ์
ร้อยละ 80 ขึ้นไป
3. ด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์
(A)
นักเรียนสามารถปฏิบัติตามคุณลักษณะอันพึง
ประสงค์ได้ตามเกณฑ์ ร้อยละ 80 ขึ้นไป
1
1. โปงลาง เป็นเครื่องดนตรีประเภทใด
ก. ดีด
ข. สี
ค. ตี
ง. เป่า
2. โปงลาง ทามาจากไม้อะไร
ก. ไม้ไผ่
ข. ไม้มะหาด
ค. ไม้มะขาม
ง. ไม้สัก
3. ผืนโปงลาง ประกอบด้วยลูกโปงลาง จานวนกี่
ลูก
ก. 5 - 8 ลูก
ข. 9 – 11 ลูก
ค. 12 – 13 ลูก
ง. 14 – 15 ลูก
4. ลูกใหญ่ที่สุดของผืนโปงลางมี
เส้นผ่าศูนย์กลาง
ประมาณเท่าไร
ก. ประมาณ 5 ซม. ยาว 27 ซม.
ข. ประมาณ 8 ซม. ยาว 10 ซม.
ค. ประมาณ 9 ซม. ยาว 30 ซม.
2 3
5. ลูกเล็กที่สุดของผืนโปงลางมี
เส้นผ่าศูนย์กลาง ประมาณเท่าไร
ก. ประมาณ 5 ซม. ยาว 27 ซม.
ข. ประมาณ 8 ซม. ยาว 10 ซม.
ค. ประมาณ 9 ซม. ยาว 30 ซม.
ง. ประมาณ 10 ซม. ยาว 40 ซม.
6. ขาโปงลางมีความสูงและความยาว
ประมาณ
เท่าไร
ก. สูง 4 เมตร ยาว 4 เมตร
ข. สูง 3 เมตร ยาว 3 เมตร
ค. สูง 2 เมตร ยาว 2 เมตร
ง. สูง 1 เมตร ยาว 1 เมตร
7. โปงลาง เป็นเครื่องดนตรีประจาจังหวัดใด
ก. กาฬสินธุ์
ข. มหาสารคาม
ค. ร้อยเอ็ด
ง. ขอนแก่น
8. โปงลางมักนิยมใช้บรรเลงร่วมกับวงดนตรี
ประเภทใด
ก. วงโปงลาง
ข. วงดนตรีไทย
ค. วงดนตรีสากล
ง. วงกันตรึม
54
9. ข้อใดกล่าวถูกต้องเกี่ยวกับประโยชน์
ของการเล่นโปงลาง ?
ก. ร่าเริง
ข. จิตแจ่มใส
ค. สนุกสนาน
ง. ถูกทุกข้อ
10. ข้อใดเป็นเครื่องดนตรีประเภทเดียวกับ
โปงลาง
ก. พิณ
ข. แคน
ค. ระนาด
ง. ซอด้วง
โปงลาง เป็นเครื่องดนตรีที่พัฒนามาจาก
“เกราะลอ” หรือ ขอลอ คาว่า “โปงลาง” นี้ใช้
เรียกดนตรีชนิดหนึ่ง ที่มีการเล่นแพร่หลายทาง
ภาคอีสานตอนกลางและตอนเหนือ ความหมาย
ของโปงลางนั้นมาจากคา ๒ คา คือ คาว่า “โปง”
และ “ลาง” โปง เป็นสิ่งที่ใช้ตีบอกเหตุ เช่น ตีใน
ยามวิกาลแสดงว่ามีเหตุร้าย ตีตอนเช้าก่อนพระ
บิณฑบาตให้ญาติโยมเตรียมตัวตักบาตร ตีเวลา
เย็นเพื่อประโยชน์ให้คนหลงป่ากลับมาถูก เพราะ
เสียงโปงลางจะดังกังวาลไปไกล (สมัยก่อนใช้ตี
ในวัด)
6 7
ส่วนคาว่า ลาง นั้น หมายถึง ลางดี ลางร้าย
โปงลางนั้นก่อนที่จะเรียกว่า โปงลาง มีชื่อ
เรียกว่า “เกราะลอ” ซึ่ง เกราะลอ มีประวัติโดย
ย่อคือ ท้าวพรหมโคตร ซึ่งเคยอยู่ประเทศลาวมา
ก่อนเป็นผู้ที่คิดทาเกราะลอขึ้น โดยเลียนแบบ
“เกราะ” ที่ใช้ตีตามหมู่บ้านในสมัยนั้น
เกราะลอทาด้วยไม้หมากเลื่อม (ไม้เนื้ออ่อน สี
ขาว มีเสียงกังวาล ) ใช้เถาวัลย์มัดร้อยเรียงกัน
ใช้ตีไล่ฝูงนก กา ที่มากินข้าวในไร่ ในนา
เนื่องจากเกราะลอใช้สาหรับตีไล่ ฝูงนก กา ที่มา
กินข้าวในไร่นา
ดังนั้น จึงมีเกราะลออยู่ในทุกโรงนา (อีสานเรียกว่า
เถียงนา) เมื่อเสร็จจากภาระกิจในนาแล้ว ชาวนา
จะพักผ่อนในโรงนาและใช้เกราะลอเป็นเครื่องตี
เพื่อเป็นการพักผ่อนหย่อนใจ โดยเกราะลอนี้จะตี
นอกหมู่บ้านเท่านั้น เพราะมีความเชื่อว่า ถ้าตีใน
หมู่บ้านจะเกิดเหตุการไม่ดี เช่น ฟ้าฝนจะไม่ตก
ต้องตามฤดูกาล เป็นต้น การเรียนการตีเกราะลอ
ในสมัยก่อน เป็นการเลียนแบบ คือเป็นการเรียนที่
ต้องอาศัยการจาโดยการจาทานองของแต่ละลาย
เกราะลอที่มี 9 ลูกนี้จะเล่นได้ 2 ลาย
98
คือ ลายอ่านหนังสือใหญ่ และลายสุดสะแนน
เช่นเดียวกับลายแคนและลายพิณ ดังนั้นเมื่อ
นามาเล่นผสมผสานกันจึงได้อรรถรสยิ่งนัก
โปงลาง มีลักษณะวิธีการบรรเลงคล้ายกับ
ระนาดเอก คือนาท่อนไม้ หรือกระบอกไม้มาร้อย
ติดกันเป็นผืน และใช้ไม้ตีเป็นทานองเพลง แขวน
ตี กับเสาบ้าง ขึงบนรางบ้าง หรือบางทีก็ผูกติด
กับตัวผู้บรรเลง เครื่องดนตรีชนิดนี้พบทั่วไปใน
หลายประเทศ สาหรับในประเทศไทยพบในแถบ
ภาคอีสาน และเรียกเครื่องดนตรีนี้หลายชื่อ
ด้วยกัน
เช่นเรียกว่า หมากกลิ้งกล่อม หมากขอลอ หรือ
หมากโปงลาง เป็นต้น ที่ได้ชื่อว่า หมากขอลอ
เพราะเวลาเคาะแต่ละลูกมีเสียงดังกังวานคล้าย
ขอลอ (หมายถึง เกราะ ในภาษาอีสาน)
ในปัจจุบัน โปงลางนอกจากจะใช้บรรเลงตาม
ลาพังแล้ว ยังนิยมบรรเลงรวมวงกับเครื่องดนตรี
อื่นๆ เช่น พิณ แคน โหวด กลอง ประกอบการ
แสดงศิลปวัฒนธรรมพื้นบ้านอีสาน รวมทั้งการ
แสดงร่วมกับเครื่องดนตรีสากล อีกด้วย
1110
1211
โปงลาง โปงลาง เป็นเครื่องดนตรี
ประเภทเครื่องตีที่มีชื่อเรียกตามท้องถิ่นอีสานมี
หลายชื่อ เช่น หมากกลิ้งกล่อม หมากเต๋อะเติ่ง
หรือหมากเกราะลอ (ขอลอ) หมากโค้ดโดง ลูก
โปงลางมีขนาดเป็นท่อน ไม้กลมทาจากไม้
มะหาดที่แห้งสนิทมีเส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ
5-8 ซม. ถากตรงกลางทั้งสองด้าน เพื่อปรับ
ระดับเสียง โปงลางมี 12-13 ลูก สามารถทา
ให้เกิดเสียงในระบบ 5 เสียง
(Pentatonic) คือเสียง โด เร มี ชอล ลา
ลูกโปงลางแต่ละลูกมีความยาวลดหลั่นกัน ผูก
รวมกันด้วยเชือก
โดยเจาะรูทั้ง 2 ด้าน ของลูกโปงลาง แล้วร้อย
เชือกผ่านไปแต่ละลูกจนรวมกันเป็นผืน เวลาตีจะ
ใช้แขวนโยงไว้กับเสา โดยนิยมเอาลูกโปงลาง
ลูกใหญ่แขวนไว้ ด้านบน และเรียงลงมาจนถึงลูก
เล็กสุดแขวนไว้ด้านล่าง การบรรเลงจะใช้ผู้
บรรเลง 2 คน คนหนึ่ง (นั่งด้านซ้ายมือ) บรรเลง
ทานอง (Melody) อีกคนหนึ่ง (นั่งด้าน
ขวามือ) จะบรรเลงแนวประสาน (เรียกว่าตีเสพ)
และทาจังหวะบรรเลงเสียงตัด หรือเสียงสร้อย
โดยตีในลักษณะขั้นคู่เสียง (Chord) ส่วน
ใหญ่จะตีเป็นขั้นคู่ 5 คือ เสียง ลา และเสียงมี
พร้อมกัน ส่วนประกอบที่สาคัญของโปงลางคือ
1
4
13
ผืนโปงลางประกอบด้วยลูกโปงลาง จานวน
12-13 ลูก ลูกใหญ่ที่สุดเส้นผ่าศูนย์กลาง
ประมาณ 8 ซม. ยาว 10 ซม. ลูกเล็กที่สุด
เส้นผ่าศูนย์กลาง ประมาณ 5 ซม. ยาว 27
ซม. ลูกโปงลางจะเจาะรูทั้ง 2 ด้านห่างจาก
ปลายสุดแต่ละด้าน 7 ซม. ร้อยด้วยเชือก
ขนาด 2.5 หุ่น ไม้พยุง ไม้ประดู่สาหรับไม้ที่
ถือว่าเสียงดี และเสียงไพเราะกังวานที่สุด คือ
ไม้มะหาด แต่ปัจจุบันนี้หายากมากขึ้น จึงมีผู้
นิยมนาไม้ชนิดอื่นมาทาแทนบ้าง เช่น ไม้หมาก
เหลื่ยม ไม้สมอป่าและไม่ขนุน ซึ่งได้คุณภาพ
ของเสียงแตกต่างกันไป
ขาโปงลาง ในสมัยก่อนที่ยังไม่นาโปงลางเข้ามา
บรรเลงรวมวงดนตรีนั้น นักดนตรีนิยมบรรเลงโดย
แขวนโปงลางไว้กับเสา ส่วนอีกด้านหนึ่งจะผูกติด
กับพื้น หรือใช้ขาเกี่ยวไว้ แต่เมื่อนาโปงลางมา
บรรเลงร่วมวงดนตรีจึงนิยมแขวนไว้กับขาโปงลาง
เพื่อให้สะดวกในการตี การเคลื่อนย้าย และ
บรรเลงร่วมกับวงดนตรีได้ จึงคิดทาขาโปงลางขึ้น
โดยมีความสูงประมาณ 1 เมตร ยาว 1 เมตร
ตั้งได้ฉากกันโดยส่วนล่างนั้นทาเป็นสามเหลื่อม
วางลาบกับพื้นสามารถแขวนโปงลางลูกใหญ่ไว้
ด้านบน และลูกเล็กลดหลั่นกันลงมา แขวนไว้
ด้านล่าง
1615
ไม้ตีโปงลาง ไม้สาหรับตีโปงลางส่วนใหญ่เป็น
ไม้ชนิดเดียวกันกับที่ทาลูกโปงลาง ยาว
ประมาณ 20-25 ซม. ทาหัวไม้ตีเป็นแบบ
กลม หรือแบนหรือแบบหัวโค้งก็ได้ ที่นิยมใน
ปัจจุบัน จะเป็นแบบหัวโค้ง เพราะสามารถ
เลื่อนไหลได้รวดเร็วไม่ไปสะดุจลูกโปงลางลูก
อื่น ๆ
เทคนิคการตีโปงลาง
การตีโปงลางจะนั่งกับพื้นหรือยืน ในท่าที่ถนัด
โดยจะอยู่ด้านซ้ายของโปงลาง ดังนี้
1. จับไม้ตีโปงลางให้แน่น
2. ฝึกไล่เสียงจากจากเสียงต่า ไปหา
เสียงสูง และจากเสียงสูงไปหาเสียงต่า ใน
ลักษณะสลับมือซ้าย-ขวา
3. ฝีกตีกรอ รัว สะบัด
4. ฝีกบรรเลงลายที่ง่ายๆ เช่น ลาย
โปงลาง เต้ย เป็นต้น
1817
การฝึ กปฏิบัติ
โปงลาง
การเคาะโปงลาง
โปงลางเป็นเครื่องดนตรีที่ทามาจากไม้เนื้อ
แข็ง เวลาเคาะจึงมีเสียงแกร่งสั้น และห้วน ถ้า
เราเคาะโน้ต 1 หรือ 2 จังหวะ จะได้เสียงไม่
ไพเราะ เพราะเสียงนั้นไม่มีกังวาล ผู้ฝึกหัดจึง
สมควรที่จะฝึกปฏิบัติดังต่อไปนี้
1. ฝึกเคาะรัวถี่แทนตัวโน้ต หรือ
ซอยโน้ตให้ย่อยออกเป็นตัวเขบ็จ 1 ชั้น 2 ชั้น
เป็นต้น
2. ผู้ฝึกจึงจาเป็นอย่างยิ่งต้องฝึก
เคาะจังหวะตามทานองหลักให้ตนเองได้ยินจน
แม่นยาก่อน แล้วจึงฝึกซอยโน้ตทีหลัง
3. โดยทั่วไป ผู้เคาะโปงลางมีอยู่ 2 คน
ผู้ที่เล่นทานองนั้นจะเรียกว่า “หมอเคาะ” ส่วน
อีกคนหนึ่งจะเล่นเสียงประสาน เรียกว่า “ หมอ
เสิบ” หมอเสิร์ฟนั้น เป็นผู้ช่วยทาจังหวะและ
ทาเสียงทุ้ม
การเคาะลูกโปงลาง อย่าเคาะตรงลงไป
หนักๆตรงๆ จะทาให้เสียงกระด้าง ให้เคาะอย่าง
นิ่มนวล หรือเคาะแฉลบออกอย่างสม่าเสมอ
2019
กิจกรรมการเรียนรู ้ที่ 1
คาชี้แจง
ให้นักเรียนแบ่งกลุ่มๆ ละ 5 คน แล้วช่วยกันอธิบายเนื้อหา
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับดนตรีพื้นบ้านอีสานประเภทโปงลางมาพอ
สังเขป
กิจกรรมการเรียนรู ้ที่ 2
คาชี้แจง
ให้นักเรียนฝึกท่อง scal โน้ต เพื่อฝึกประสาท
สัมผัสโสตประสาททางหู จะได้คุ้ยเคยกับตัวโน้ตทาง
ดนตรี
ด ร ม ฟ ช ล ท ด ด ท ล ช ฟ ม ร ด
วิธีการฝึ ก
1. ให้นักเรียนหายใจเข้าลึก ๆ และค่อย
ปล่อยลมหายใจออก
2. ให้นักเรียนท่องโน้ตตามที่ครูกาหนดให้
ดังนี้ โด เร มี ฟา ชอล ลา ที โด
โด ที ลา ชอล ฟา มี เร โด
3. ให้นักเรียนแบ่งกลุ่ม ๆ ละ 5 คน เพื่อ
ฝึกการท่องโน้ต ในข้อ 2 แล้วนามาท่องให้ครูและ
เพื่อน ๆ ฟัง
21 2
2
กิจกรรรมการเรียนรู ้ที่ 3
คาชี้แจง ให้นักเรียนศึกษาใบความรู้เกี่ยวกับ
โปงลางและแผนภูมิเสียงของโปงลาง ดังภาพแล้ว
ปฏิบัติดังนี้(หน้า12)
วิธีการฝึ ก
1. ให้จาแผนภูมิเสียงของโปงลางให้ละเอียด
2. ให้นักเรียนฝึกการตีโปงลางทีละโน้ตโดยเริ่ม
จากเสียงโน้ตเสียงต่าลงมาหาเสียงโน้ตเสียงสูง และ
เริ่มจากเสียงโน้ตเสียงสูงขึ้นไปเสียงโน้ตเสียงต่า
กิจกรรมการเรียนรู ้ที่ 4
คาชี้แจง ให้นักเรียนฝึกแบบฝึกทักษะการตี
โปงลาง โดยวิธีกรอโน้ตซึ่งมีขั้นตอนดังนี้
1. ให้จับไม้ตีโปงลางทั้ง 2 ข้างแล้วกรอโน้ตถี่ ๆ
จานวน 8 ห้องเพลง ดังโน้ตที่กาหนดให้เป็นจานวน
2 รอบ ต่อกัน แล้วฝึกจนชานาญ
- - - ม/- - -/- - -/- - -/- - -/- - -
/- - -/- - -/
- - - ช/- - -/- - -/- - -/- - -/- - -
/- - -/- - -/
- - - ล/- - -/- - -/- - -/- - -/- - -
/- - -/- - -/
- - - ด/- - -/- - -/- - -/- - -/- - -
/- - -/- - -/
2
4
2
3
กิจกรรมการเรียนรู ้ที่ 5
คาชี้แจง ให้นักเรียนฝึกแบบทักษะการตีโปงลาง
โดยวิธีการเคาะไม้ตีพร้อมกันสองข้าง โดยแยก
ประสาทสัมผัสของมือและตาให้ได้โดยใช้แบบฝึก
ดังต่อไปนี้
ล ล ล ล ล ล ล ล
- - -ม/-ม-ม/-ม-ม/-ม-ม/-ม-ม/-
ม-ม/-ม-ม/-ม-ม/
ล ล ล ล ล ล ล ล
- - -ม/-ม-ม/-ม-ม/-ม-ม/-ม-ม/-
ม-ม/-ม-ม/-ม-ม/
ล ล ล ล ล ล ล ล
- - -ม/-ม-ม/-ม-ม/-ม-ม/-ม-ม/-
ม-ม/-ม-ม/-ม-ม/
วิธีการฝึก
1. ให้ใช้มือซ้ายเคาะที่ลูกโปงลาง โน้ตตัว ล และ
ให้ใช้มือขวาเคาะที่ลูกโปงลางโน้ตตัว ม ในการตี
ให้เคาะ โน้ตตัว ล และโน้ตตัว ม
พร้อมกันและใช้มือขวาตีโน้ตตัว ม อีก 1 ครั้ง ดัง
โน้ตที่กาหนดให้
ม_______________________
ล________________________
ในการตีให้ใช้มือซ้ายเคาะบริเวณขอบลูกโปงลาง
ด้านซ้ายของโน้ตตัว ล และมือขวาเคาะบริเวณตรง
กลางของลูกโปงลาง ของโน้ตตัว ม ต่า
2
6
2
5
กิจกรรมการเรียนรู ้ที่ 6
คาชี้แจง ให้นักเรียนฝึกตีโปงลาง ลายโปงลาง
ดังโน้ตที่กาหนดให้
วิธีการฝึ ก
1. ให้นักเรียนท่องโน้ตลายโปงลางจนสามารถ
จาทานองได้
2. ให้นักเรียนการตีโปงลางมือเดียวโดยใช้มือ
ขวาตีโน้ตลายโปงลางให้คล่องโดยเริ่มตีโน้ตบรรทัด
ที่ 1 และ 2 จนสามารถตีโปงลางได้คล่อง เวลาตี
ให้ท่องโน้ตด้วย
3. ให้นักเรียนตีโปงลางลายโปงลาง บรรทัด
ที่ 3 และ 4 ให้คล่องและเวลาตีให้ท่องโน้ตด้วย
4. ให้นักเรียนตีโปงลางลายโปงลาง บรรทัดที่ 5
และ 6 ให้คล่องและเวลาตีให้ท่องโน้ตด้วย
5. ให้นักเรียนฝึกตีโปงลาง ลายโปงลางตั้งแต่บรรทัด
ที่ 1 – 6 ให้คล่อง
6. ให้นักเรียนฝึกตีโปงลางแบบสองมือ โดยที่มือซ้าย
จะตีที่โน้ตตัว ล และมือขวาจะเป็นตัวดาเนินทานอง
ตั้งแต่บรรทัดที่ 1 – 6 โดยที่มือซ้ายจะเคาะโน้ตตัว
สุดท้ายซึ่งเป็นจังหวะตกของห้องเพลงเสมอ เช่น
7. ให้นักเรียนฝึกตีโปงลางให้คล่อง แล้วให้เพื่อน ๆ
ตีกลองให้จังหวะใส่กับการบรรเลงลายเต้ยโขง
2827
กิจกรรมการเรียนรู ้ที่ 7
คาชี้แจง ให้นักเรียนฝึกตีโปงลาง ลายเต้ยโขง
ดังโน้ตที่กาหนดให้
วิธีการฝึ ก
1. ให้นักเรียนท่องโน้ตลายเต้ยโขงจนสามารถจา
ทานองได้
2. ให้นักเรียนการตีโปงลางมือเดียวโดยใช้มือขวา
ตีโน้ตลายเต้ยโขงให้คล่องโดยเริ่มตีโน้ตบรรทัดที่ 1
1 และ 2 จนสามารถตีโปงลางได้คล่อง เวลาตีให้
ท่องโน้ตด้วย
3. ให้นักเรียนตีโปงลางลายเต้ยโขง บรรทัดที่ 3
และ 4 ให้คล่องและเวลาตีให้ท่องโน้ตด้วย
4. ให้นักเรียนฝึกตีโปงลาง ลายเต้ยโขงตั้งแต่
บรรทัดที่ 1 – 4 ให้คล่อง
5. ให้นักเรียนฝึกตีโปงลางแบบสองมือ โดยที่มือ
ซ้ายจะตีที่โน้ตตัว ล และมือขวาจะเป็นตัวดาเนิน
ทานอง ตั้งแต่บรรทัดที่ 1 – 4 โดยที่มือซ้ายจะ
เคาะโน้ตตัวสุดท้ายซึ่งเป็นจังหวะตกของห้องเพลง
เสมอ เช่น
6. ให้นักเรียนฝึกตีโปงลางให้คล่อง แล้วให้เพื่อน ๆ
ตีกลองให้จังหวะใส่กับการบรรเลงลายเต้ยโขง
3
0
2
9
ที่มา http://youtube.com/watch?v=t4w4VTLUQxw
3231
ที่มา https://www.youtube.com/watch?v=WJgddTV7Kp0&index=2&list=RDt4w4VTLUQxw
33 34
1. โปงลาง เป็นเครื่องดนตรีประเภทใด
ก. ดีด
ข. สี
ค. ตี
ง. เป่า
2. โปงลาง ทามาจากไม้อะไร
ก. ไม้ไผ่
ข. ไม้มะหาด
ค. ไม้มะขาม
ง. ไม้สัก
3. ผืนโปงลาง ประกอบด้วยลูกโปงลาง
จานวนกี่ลูก
ก. 5 - 8 ลูก
ข. 9 – 11 ลูก
ค. 12 – 13 ลูก
ง. 14 – 15 ลูก
4. ลูกใหญ่ที่สุดของผืนโปงลางมี
เส้นผ่าศูนย์กลางประมาณเท่าไร
ก. ประมาณ 5 ซม. ยาว 27 ซม.
ข. ประมาณ 8 ซม. ยาว 10 ซม.
ค. ประมาณ 9 ซม. ยาว 30 ซม.
ง. ประมาณ 10 ซม. ยาว 40 ซม.
3635
5. ลูกเล็กที่สุดของผืนโปงลางมี
เส้นผ่าศูนย์กลางประมาณเท่าไร
ก. ประมาณ 5 ซม. ยาว 27 ซม.
ข. ประมาณ 8 ซม. ยาว 10 ซม.
ค. ประมาณ 9 ซม. ยาว 30 ซม.
ง. ประมาณ 10 ซม. ยาว 40 ซม.
6. ขาโปงลางมีความสูงและความยาว
ประมาณเท่าไร
ก. สูง 4 เมตร ยาว 4 เมตร
ข. สูง 3 เมตร ยาว 3 เมตร
ค. สูง 2 เมตร ยาว 2 เมตร
ง. สูง 1 เมตร ยาว 1 เมตร
7. โปงลาง เป็นเครื่องดนตรีประจาจังหวัดใด
ก. กาฬสินธุ์
ข. มหาสารคาม
ค. ร้อยเอ็ด
ง. ขอนแก่น
8. โปงลางมักนิยมใช้บรรเลงร่วมกับวงดนตรี
ประเภทใด
ก. วงโปงลาง
ข. วงดนตรีไทย
ค. วงดนตรีสากล
ง. วงกันตรึม
3837
9. ข้อใดกล่าวถูกต้องเกี่ยวกับประโยชน์ของการ
เล่นโปงลาง ?
ก. ร่าเริง
ข. จิตแจ่มใส
ค. สนุกสนาน
ง. ถูกทุกข้อ
10. ข้อใดเป็นเครื่องดนตรีประเภทเดียวกับโปงลาง
ก. พิณ
ข. แคน
ค. ระนาด
ง. ซอด้วง
4039
1. ค 2. ง
3. ค 4. ง
5. ก 6. ง
7. ก 8. ก
9. ง 10. ค
ครูเปลื้อง ฉายรัศมี.2511.ประวัติความเป็นมาโปงลาง.
http://www.finearts.go.th/nakhonphanomli
brary
/parameters/km/item/ประวัติความเป็นมา
โปงลาง.หอสมุด
แห่งชาติเฉลิมพระเกียรติ.กรมศิลปากร.15/12/2011.
สุรพล เนสุสินธ์ .13/10/2008. วิชาดนตรีอีสาน
http://www.baanmaha.com/blog/ต้น
กาเนิดโปงลาง.
คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น.15/12/2016.
ACU Channel.08/01/2015.การตีโปงลาง.
https://www.youtube.com/watch?v=t4w4V
TLUQxw.
โรงเรียนอัสสัมชัญอุบลราชธานี.15/12/2016
akom sronprasit.24/03/2013.การตีโปงลายเปิดวง.
https://www.youtube.com/watch?v
41

More Related Content

What's hot

ศาสนากับการสร้างสรรค์งานดนตรีไทย
ศาสนากับการสร้างสรรค์งานดนตรีไทยศาสนากับการสร้างสรรค์งานดนตรีไทย
ศาสนากับการสร้างสรรค์งานดนตรีไทยSurin Keawkerd
 
ประวัติศาสตร์สุโขทัย
ประวัติศาสตร์สุโขทัยประวัติศาสตร์สุโขทัย
ประวัติศาสตร์สุโขทัยchatsawat265
 
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิ
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิแบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิ
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิSurapong Klamboot
 
บท5แรงในชีวิตประจำวัน
บท5แรงในชีวิตประจำวันบท5แรงในชีวิตประจำวัน
บท5แรงในชีวิตประจำวันWichai Likitponrak
 
การออมและการลงทุน ม.2
การออมและการลงทุน ม.2การออมและการลงทุน ม.2
การออมและการลงทุน ม.2พัน พัน
 
นาฏศิลป์สากล
นาฏศิลป์สากลนาฏศิลป์สากล
นาฏศิลป์สากลPonpirun Homsuwan
 
แผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน
แผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียนแผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน
แผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียนดอกหญ้า ธรรมดา
 
แบบทดสอบ ภูมิศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบ ภูมิศาสตร์ ม.3แบบทดสอบ ภูมิศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบ ภูมิศาสตร์ ม.3teerachon
 
แบบฝึกหัดการหาสัดส่วนจีโนไทป์ฟีโนไทป์
แบบฝึกหัดการหาสัดส่วนจีโนไทป์ฟีโนไทป์แบบฝึกหัดการหาสัดส่วนจีโนไทป์ฟีโนไทป์
แบบฝึกหัดการหาสัดส่วนจีโนไทป์ฟีโนไทป์Maikeed Tawun
 
ใบงานเศรษฐกิจพอเพียง
ใบงานเศรษฐกิจพอเพียงใบงานเศรษฐกิจพอเพียง
ใบงานเศรษฐกิจพอเพียงKruPor Sirirat Namthai
 
2.ตารางธาตุ.pdf
2.ตารางธาตุ.pdf2.ตารางธาตุ.pdf
2.ตารางธาตุ.pdflohkako kaka
 
1.แผนการเรียนรู้ยาเสพติดม.1
1.แผนการเรียนรู้ยาเสพติดม.11.แผนการเรียนรู้ยาเสพติดม.1
1.แผนการเรียนรู้ยาเสพติดม.1Kruthai Kidsdee
 
ตัวอักษรแบบของกระทรวงศึกษาธิการ
ตัวอักษรแบบของกระทรวงศึกษาธิการตัวอักษรแบบของกระทรวงศึกษาธิการ
ตัวอักษรแบบของกระทรวงศึกษาธิการNapadon Yingyongsakul
 
หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้
หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้
หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้Sutthiluck Kaewboonrurn
 
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ นาฏศิลป์พื้นเมือง ม.2
เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  นาฏศิลป์พื้นเมือง ม.2เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  นาฏศิลป์พื้นเมือง ม.2
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ นาฏศิลป์พื้นเมือง ม.2Panomporn Chinchana
 
แผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
แผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนาแผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
แผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนาThongsawan Seeha
 
ใบความรู้ สังคมศึกษา ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+426+dltvsocp2+T1 p1 3-sheet
ใบความรู้  สังคมศึกษา ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+426+dltvsocp2+T1 p1 3-sheetใบความรู้  สังคมศึกษา ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+426+dltvsocp2+T1 p1 3-sheet
ใบความรู้ สังคมศึกษา ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+426+dltvsocp2+T1 p1 3-sheetPrachoom Rangkasikorn
 

What's hot (20)

ฝึกอ่าน ป.2
ฝึกอ่าน ป.2ฝึกอ่าน ป.2
ฝึกอ่าน ป.2
 
ศาสนากับการสร้างสรรค์งานดนตรีไทย
ศาสนากับการสร้างสรรค์งานดนตรีไทยศาสนากับการสร้างสรรค์งานดนตรีไทย
ศาสนากับการสร้างสรรค์งานดนตรีไทย
 
ประวัติศาสตร์สุโขทัย
ประวัติศาสตร์สุโขทัยประวัติศาสตร์สุโขทัย
ประวัติศาสตร์สุโขทัย
 
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิ
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิแบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิ
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิ
 
บท5แรงในชีวิตประจำวัน
บท5แรงในชีวิตประจำวันบท5แรงในชีวิตประจำวัน
บท5แรงในชีวิตประจำวัน
 
การออมและการลงทุน ม.2
การออมและการลงทุน ม.2การออมและการลงทุน ม.2
การออมและการลงทุน ม.2
 
นาฏศิลป์สากล
นาฏศิลป์สากลนาฏศิลป์สากล
นาฏศิลป์สากล
 
แผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน
แผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียนแผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน
แผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน
 
แบบทดสอบ ภูมิศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบ ภูมิศาสตร์ ม.3แบบทดสอบ ภูมิศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบ ภูมิศาสตร์ ม.3
 
แบบฝึกหัดการหาสัดส่วนจีโนไทป์ฟีโนไทป์
แบบฝึกหัดการหาสัดส่วนจีโนไทป์ฟีโนไทป์แบบฝึกหัดการหาสัดส่วนจีโนไทป์ฟีโนไทป์
แบบฝึกหัดการหาสัดส่วนจีโนไทป์ฟีโนไทป์
 
ใบงานเศรษฐกิจพอเพียง
ใบงานเศรษฐกิจพอเพียงใบงานเศรษฐกิจพอเพียง
ใบงานเศรษฐกิจพอเพียง
 
2.ตารางธาตุ.pdf
2.ตารางธาตุ.pdf2.ตารางธาตุ.pdf
2.ตารางธาตุ.pdf
 
1.แผนการเรียนรู้ยาเสพติดม.1
1.แผนการเรียนรู้ยาเสพติดม.11.แผนการเรียนรู้ยาเสพติดม.1
1.แผนการเรียนรู้ยาเสพติดม.1
 
ตัวอักษรแบบของกระทรวงศึกษาธิการ
ตัวอักษรแบบของกระทรวงศึกษาธิการตัวอักษรแบบของกระทรวงศึกษาธิการ
ตัวอักษรแบบของกระทรวงศึกษาธิการ
 
คำกลอน วิทยาศาสตร์
คำกลอน วิทยาศาสตร์คำกลอน วิทยาศาสตร์
คำกลอน วิทยาศาสตร์
 
หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้
หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้
หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้
 
ดนตรีไทยสมัยรัตน
ดนตรีไทยสมัยรัตนดนตรีไทยสมัยรัตน
ดนตรีไทยสมัยรัตน
 
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ นาฏศิลป์พื้นเมือง ม.2
เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  นาฏศิลป์พื้นเมือง ม.2เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  นาฏศิลป์พื้นเมือง ม.2
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ นาฏศิลป์พื้นเมือง ม.2
 
แผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
แผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนาแผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
แผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
 
ใบความรู้ สังคมศึกษา ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+426+dltvsocp2+T1 p1 3-sheet
ใบความรู้  สังคมศึกษา ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+426+dltvsocp2+T1 p1 3-sheetใบความรู้  สังคมศึกษา ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+426+dltvsocp2+T1 p1 3-sheet
ใบความรู้ สังคมศึกษา ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+426+dltvsocp2+T1 p1 3-sheet
 

Similar to บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ ดนตรีพื้นบ้านปฏิบัติตีโปงลาง

แผนดนตรีส่งพี่ทัศน์ใหม่จ้า55
แผนดนตรีส่งพี่ทัศน์ใหม่จ้า55แผนดนตรีส่งพี่ทัศน์ใหม่จ้า55
แผนดนตรีส่งพี่ทัศน์ใหม่จ้า55Yatphirun Phuangsuwan
 
บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ ดนตรีพื้นบ้านปฏิบัติเป่าแคนแคน
บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ ดนตรีพื้นบ้านปฏิบัติเป่าแคนแคนบทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ ดนตรีพื้นบ้านปฏิบัติเป่าแคนแคน
บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ ดนตรีพื้นบ้านปฏิบัติเป่าแคนแคนฏิวัตต์ สันทาลุนัย
 
สาระที่ 2 หน่วยที่ 8
สาระที่ 2 หน่วยที่ 8  สาระที่ 2 หน่วยที่ 8
สาระที่ 2 หน่วยที่ 8 khomkrit2511
 
บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ดนตรีพื้นบ้านปฏิบัติดีดพิณ
บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ดนตรีพื้นบ้านปฏิบัติดีดพิณบทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ดนตรีพื้นบ้านปฏิบัติดีดพิณ
บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ดนตรีพื้นบ้านปฏิบัติดีดพิณฏิวัตต์ สันทาลุนัย
 
บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ ดนตรีพื้นบ้านปฏิบัติอ่านโน้ตดนตรีไทย
บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ ดนตรีพื้นบ้านปฏิบัติอ่านโน้ตดนตรีไทยบทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ ดนตรีพื้นบ้านปฏิบัติอ่านโน้ตดนตรีไทย
บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ ดนตรีพื้นบ้านปฏิบัติอ่านโน้ตดนตรีไทยฏิวัตต์ สันทาลุนัย
 
สาระที่ 2 หน่วยที่ 9
สาระที่ 2 หน่วยที่ 9  สาระที่ 2 หน่วยที่ 9
สาระที่ 2 หน่วยที่ 9 khomkrit2511
 
สาระที่ 2 หน่วยที่ 6
สาระที่ 2 หน่วยที่ 6  สาระที่ 2 หน่วยที่ 6
สาระที่ 2 หน่วยที่ 6 khomkrit2511
 
สาระที่ 2 หน่วยที่ 7
สาระที่ 2 หน่วยที่ 7  สาระที่ 2 หน่วยที่ 7
สาระที่ 2 หน่วยที่ 7 khomkrit2511
 
บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ ดนตรีพื้นบ้านปฏิบัติรวมวงและเครื่องประกอบจังหวะ
บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ ดนตรีพื้นบ้านปฏิบัติรวมวงและเครื่องประกอบจังหวะบทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ ดนตรีพื้นบ้านปฏิบัติรวมวงและเครื่องประกอบจังหวะ
บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ ดนตรีพื้นบ้านปฏิบัติรวมวงและเครื่องประกอบจังหวะฏิวัตต์ สันทาลุนัย
 
บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ดนตรีพื้นบ้านปฏิบัติกลองตีกลองรำมะนาอีสาน
บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ดนตรีพื้นบ้านปฏิบัติกลองตีกลองรำมะนาอีสานบทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ดนตรีพื้นบ้านปฏิบัติกลองตีกลองรำมะนาอีสาน
บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ดนตรีพื้นบ้านปฏิบัติกลองตีกลองรำมะนาอีสานฏิวัตต์ สันทาลุนัย
 
แบบทดสอบ ป.1
แบบทดสอบ ป.1แบบทดสอบ ป.1
แบบทดสอบ ป.1krumildsarakam25
 
แผนการเรียนรู้รายหน่วย 5 เรื่องพฤติกรรมของสียง.docx
แผนการเรียนรู้รายหน่วย 5  เรื่องพฤติกรรมของสียง.docxแผนการเรียนรู้รายหน่วย 5  เรื่องพฤติกรรมของสียง.docx
แผนการเรียนรู้รายหน่วย 5 เรื่องพฤติกรรมของสียง.docxssuser7ea064
 
การประยุกต์ดนตรีไทยกับดนตรีสากล
การประยุกต์ดนตรีไทยกับดนตรีสากลการประยุกต์ดนตรีไทยกับดนตรีสากล
การประยุกต์ดนตรีไทยกับดนตรีสากลThanakrit Muangjun
 
3.แผนการเรียนรู้ backward
3.แผนการเรียนรู้ backward3.แผนการเรียนรู้ backward
3.แผนการเรียนรู้ backwardparichat441
 
แผนเป็นวิทยากรวิจัย
แผนเป็นวิทยากรวิจัยแผนเป็นวิทยากรวิจัย
แผนเป็นวิทยากรวิจัยppisoot07
 
พิณ
พิณพิณ
พิณbawtho
 
บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ดนตรีพื้นบ้านปฏิบัติดีดพิณเบส
บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ดนตรีพื้นบ้านปฏิบัติดีดพิณเบสบทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ดนตรีพื้นบ้านปฏิบัติดีดพิณเบส
บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ดนตรีพื้นบ้านปฏิบัติดีดพิณเบสฏิวัตต์ สันทาลุนัย
 
บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ ดนตรีพื้นบ้านปฏิบัติเป่าโหวด
บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ ดนตรีพื้นบ้านปฏิบัติเป่าโหวดบทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ ดนตรีพื้นบ้านปฏิบัติเป่าโหวด
บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ ดนตรีพื้นบ้านปฏิบัติเป่าโหวดฏิวัตต์ สันทาลุนัย
 

Similar to บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ ดนตรีพื้นบ้านปฏิบัติตีโปงลาง (20)

แผนดนตรีส่งพี่ทัศน์ใหม่จ้า55
แผนดนตรีส่งพี่ทัศน์ใหม่จ้า55แผนดนตรีส่งพี่ทัศน์ใหม่จ้า55
แผนดนตรีส่งพี่ทัศน์ใหม่จ้า55
 
บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ ดนตรีพื้นบ้านปฏิบัติเป่าแคนแคน
บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ ดนตรีพื้นบ้านปฏิบัติเป่าแคนแคนบทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ ดนตรีพื้นบ้านปฏิบัติเป่าแคนแคน
บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ ดนตรีพื้นบ้านปฏิบัติเป่าแคนแคน
 
สาระที่ 2 หน่วยที่ 8
สาระที่ 2 หน่วยที่ 8  สาระที่ 2 หน่วยที่ 8
สาระที่ 2 หน่วยที่ 8
 
บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ดนตรีพื้นบ้านปฏิบัติดีดพิณ
บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ดนตรีพื้นบ้านปฏิบัติดีดพิณบทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ดนตรีพื้นบ้านปฏิบัติดีดพิณ
บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ดนตรีพื้นบ้านปฏิบัติดีดพิณ
 
บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ ดนตรีพื้นบ้านปฏิบัติอ่านโน้ตดนตรีไทย
บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ ดนตรีพื้นบ้านปฏิบัติอ่านโน้ตดนตรีไทยบทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ ดนตรีพื้นบ้านปฏิบัติอ่านโน้ตดนตรีไทย
บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ ดนตรีพื้นบ้านปฏิบัติอ่านโน้ตดนตรีไทย
 
สาระที่ 2 หน่วยที่ 9
สาระที่ 2 หน่วยที่ 9  สาระที่ 2 หน่วยที่ 9
สาระที่ 2 หน่วยที่ 9
 
สาระที่ 2 หน่วยที่ 6
สาระที่ 2 หน่วยที่ 6  สาระที่ 2 หน่วยที่ 6
สาระที่ 2 หน่วยที่ 6
 
สาระที่ 2 หน่วยที่ 7
สาระที่ 2 หน่วยที่ 7  สาระที่ 2 หน่วยที่ 7
สาระที่ 2 หน่วยที่ 7
 
บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ ดนตรีพื้นบ้านปฏิบัติรวมวงและเครื่องประกอบจังหวะ
บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ ดนตรีพื้นบ้านปฏิบัติรวมวงและเครื่องประกอบจังหวะบทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ ดนตรีพื้นบ้านปฏิบัติรวมวงและเครื่องประกอบจังหวะ
บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ ดนตรีพื้นบ้านปฏิบัติรวมวงและเครื่องประกอบจังหวะ
 
บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ดนตรีพื้นบ้านปฏิบัติกลองตีกลองรำมะนาอีสาน
บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ดนตรีพื้นบ้านปฏิบัติกลองตีกลองรำมะนาอีสานบทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ดนตรีพื้นบ้านปฏิบัติกลองตีกลองรำมะนาอีสาน
บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ดนตรีพื้นบ้านปฏิบัติกลองตีกลองรำมะนาอีสาน
 
2 exam-plan
2 exam-plan2 exam-plan
2 exam-plan
 
แบบทดสอบ ป.1
แบบทดสอบ ป.1แบบทดสอบ ป.1
แบบทดสอบ ป.1
 
แผนการเรียนรู้รายหน่วย 5 เรื่องพฤติกรรมของสียง.docx
แผนการเรียนรู้รายหน่วย 5  เรื่องพฤติกรรมของสียง.docxแผนการเรียนรู้รายหน่วย 5  เรื่องพฤติกรรมของสียง.docx
แผนการเรียนรู้รายหน่วย 5 เรื่องพฤติกรรมของสียง.docx
 
การประยุกต์ดนตรีไทยกับดนตรีสากล
การประยุกต์ดนตรีไทยกับดนตรีสากลการประยุกต์ดนตรีไทยกับดนตรีสากล
การประยุกต์ดนตรีไทยกับดนตรีสากล
 
3.แผนการเรียนรู้ backward
3.แผนการเรียนรู้ backward3.แผนการเรียนรู้ backward
3.แผนการเรียนรู้ backward
 
แผนเป็นวิทยากรวิจัย
แผนเป็นวิทยากรวิจัยแผนเป็นวิทยากรวิจัย
แผนเป็นวิทยากรวิจัย
 
พิณ
พิณพิณ
พิณ
 
บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ดนตรีพื้นบ้านปฏิบัติดีดพิณเบส
บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ดนตรีพื้นบ้านปฏิบัติดีดพิณเบสบทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ดนตรีพื้นบ้านปฏิบัติดีดพิณเบส
บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ดนตรีพื้นบ้านปฏิบัติดีดพิณเบส
 
บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ ดนตรีพื้นบ้านปฏิบัติเป่าโหวด
บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ ดนตรีพื้นบ้านปฏิบัติเป่าโหวดบทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ ดนตรีพื้นบ้านปฏิบัติเป่าโหวด
บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ ดนตรีพื้นบ้านปฏิบัติเป่าโหวด
 
ชุด5
ชุด5ชุด5
ชุด5
 

บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ ดนตรีพื้นบ้านปฏิบัติตีโปงลาง

  • 1.
  • 2. จุดประสงค์การเรียนรู้ 1 แบบทดสอบก่อนเรียน 2 ประวัติความเป็นมาโปงลาง 7 ลักษณะส่วนประกอบโปงลาง 11 การปฏิบัติโปงลาง 18 แบบทดสอบหลังเรียน 35 เฉลยแบบทดสอบก่อน-หลังเรียน 40 เอกสารอ้างอิง 41 บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์เล่มนี้จัดทาขึ้นเพื่อ เป็นส่วนหนึ่งของการประกอบการสอนดนตรี พื้นบ้าน การสอน เรื่อง โปงลาง ผู้จัดทาหวังเป็นอย่างยิ่งว่าบทเรียน อิเล็กทรอนิกส์ เล่มนี้จะเป็นประโยชน์ สาหรับ นักเรียนและผู้ที่สนใจจะศึกษาดนตรีพื้นบ้าน
  • 3. 1. ด้านความรู ้ (K) นักเรียนบอกประวัติความเป็นมาของโปงลาง อธิบายลักษณะและส่วนประกอบต่างๆของโปงลางได้ นักเรียนสามารถบอกระบบเสียงของโปงลาง อธิบายวิธีการบรรเลง และประยุกต์ใช้ได้ 2. ทักษะกระบวนการ (P) นักเรียนสามารถปฏิบัติกิจกรรมได้ตามเกณฑ์ ร้อยละ 80 ขึ้นไป นักเรียนสามารถปฏิบัติกิจกรรมได้ตามเกณฑ์ ร้อยละ 80 ขึ้นไป 3. ด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์ (A) นักเรียนสามารถปฏิบัติตามคุณลักษณะอันพึง ประสงค์ได้ตามเกณฑ์ ร้อยละ 80 ขึ้นไป 1
  • 4. 1. โปงลาง เป็นเครื่องดนตรีประเภทใด ก. ดีด ข. สี ค. ตี ง. เป่า 2. โปงลาง ทามาจากไม้อะไร ก. ไม้ไผ่ ข. ไม้มะหาด ค. ไม้มะขาม ง. ไม้สัก 3. ผืนโปงลาง ประกอบด้วยลูกโปงลาง จานวนกี่ ลูก ก. 5 - 8 ลูก ข. 9 – 11 ลูก ค. 12 – 13 ลูก ง. 14 – 15 ลูก 4. ลูกใหญ่ที่สุดของผืนโปงลางมี เส้นผ่าศูนย์กลาง ประมาณเท่าไร ก. ประมาณ 5 ซม. ยาว 27 ซม. ข. ประมาณ 8 ซม. ยาว 10 ซม. ค. ประมาณ 9 ซม. ยาว 30 ซม. 2 3
  • 5. 5. ลูกเล็กที่สุดของผืนโปงลางมี เส้นผ่าศูนย์กลาง ประมาณเท่าไร ก. ประมาณ 5 ซม. ยาว 27 ซม. ข. ประมาณ 8 ซม. ยาว 10 ซม. ค. ประมาณ 9 ซม. ยาว 30 ซม. ง. ประมาณ 10 ซม. ยาว 40 ซม. 6. ขาโปงลางมีความสูงและความยาว ประมาณ เท่าไร ก. สูง 4 เมตร ยาว 4 เมตร ข. สูง 3 เมตร ยาว 3 เมตร ค. สูง 2 เมตร ยาว 2 เมตร ง. สูง 1 เมตร ยาว 1 เมตร 7. โปงลาง เป็นเครื่องดนตรีประจาจังหวัดใด ก. กาฬสินธุ์ ข. มหาสารคาม ค. ร้อยเอ็ด ง. ขอนแก่น 8. โปงลางมักนิยมใช้บรรเลงร่วมกับวงดนตรี ประเภทใด ก. วงโปงลาง ข. วงดนตรีไทย ค. วงดนตรีสากล ง. วงกันตรึม 54
  • 6. 9. ข้อใดกล่าวถูกต้องเกี่ยวกับประโยชน์ ของการเล่นโปงลาง ? ก. ร่าเริง ข. จิตแจ่มใส ค. สนุกสนาน ง. ถูกทุกข้อ 10. ข้อใดเป็นเครื่องดนตรีประเภทเดียวกับ โปงลาง ก. พิณ ข. แคน ค. ระนาด ง. ซอด้วง โปงลาง เป็นเครื่องดนตรีที่พัฒนามาจาก “เกราะลอ” หรือ ขอลอ คาว่า “โปงลาง” นี้ใช้ เรียกดนตรีชนิดหนึ่ง ที่มีการเล่นแพร่หลายทาง ภาคอีสานตอนกลางและตอนเหนือ ความหมาย ของโปงลางนั้นมาจากคา ๒ คา คือ คาว่า “โปง” และ “ลาง” โปง เป็นสิ่งที่ใช้ตีบอกเหตุ เช่น ตีใน ยามวิกาลแสดงว่ามีเหตุร้าย ตีตอนเช้าก่อนพระ บิณฑบาตให้ญาติโยมเตรียมตัวตักบาตร ตีเวลา เย็นเพื่อประโยชน์ให้คนหลงป่ากลับมาถูก เพราะ เสียงโปงลางจะดังกังวาลไปไกล (สมัยก่อนใช้ตี ในวัด) 6 7
  • 7. ส่วนคาว่า ลาง นั้น หมายถึง ลางดี ลางร้าย โปงลางนั้นก่อนที่จะเรียกว่า โปงลาง มีชื่อ เรียกว่า “เกราะลอ” ซึ่ง เกราะลอ มีประวัติโดย ย่อคือ ท้าวพรหมโคตร ซึ่งเคยอยู่ประเทศลาวมา ก่อนเป็นผู้ที่คิดทาเกราะลอขึ้น โดยเลียนแบบ “เกราะ” ที่ใช้ตีตามหมู่บ้านในสมัยนั้น เกราะลอทาด้วยไม้หมากเลื่อม (ไม้เนื้ออ่อน สี ขาว มีเสียงกังวาล ) ใช้เถาวัลย์มัดร้อยเรียงกัน ใช้ตีไล่ฝูงนก กา ที่มากินข้าวในไร่ ในนา เนื่องจากเกราะลอใช้สาหรับตีไล่ ฝูงนก กา ที่มา กินข้าวในไร่นา ดังนั้น จึงมีเกราะลออยู่ในทุกโรงนา (อีสานเรียกว่า เถียงนา) เมื่อเสร็จจากภาระกิจในนาแล้ว ชาวนา จะพักผ่อนในโรงนาและใช้เกราะลอเป็นเครื่องตี เพื่อเป็นการพักผ่อนหย่อนใจ โดยเกราะลอนี้จะตี นอกหมู่บ้านเท่านั้น เพราะมีความเชื่อว่า ถ้าตีใน หมู่บ้านจะเกิดเหตุการไม่ดี เช่น ฟ้าฝนจะไม่ตก ต้องตามฤดูกาล เป็นต้น การเรียนการตีเกราะลอ ในสมัยก่อน เป็นการเลียนแบบ คือเป็นการเรียนที่ ต้องอาศัยการจาโดยการจาทานองของแต่ละลาย เกราะลอที่มี 9 ลูกนี้จะเล่นได้ 2 ลาย 98
  • 8. คือ ลายอ่านหนังสือใหญ่ และลายสุดสะแนน เช่นเดียวกับลายแคนและลายพิณ ดังนั้นเมื่อ นามาเล่นผสมผสานกันจึงได้อรรถรสยิ่งนัก โปงลาง มีลักษณะวิธีการบรรเลงคล้ายกับ ระนาดเอก คือนาท่อนไม้ หรือกระบอกไม้มาร้อย ติดกันเป็นผืน และใช้ไม้ตีเป็นทานองเพลง แขวน ตี กับเสาบ้าง ขึงบนรางบ้าง หรือบางทีก็ผูกติด กับตัวผู้บรรเลง เครื่องดนตรีชนิดนี้พบทั่วไปใน หลายประเทศ สาหรับในประเทศไทยพบในแถบ ภาคอีสาน และเรียกเครื่องดนตรีนี้หลายชื่อ ด้วยกัน เช่นเรียกว่า หมากกลิ้งกล่อม หมากขอลอ หรือ หมากโปงลาง เป็นต้น ที่ได้ชื่อว่า หมากขอลอ เพราะเวลาเคาะแต่ละลูกมีเสียงดังกังวานคล้าย ขอลอ (หมายถึง เกราะ ในภาษาอีสาน) ในปัจจุบัน โปงลางนอกจากจะใช้บรรเลงตาม ลาพังแล้ว ยังนิยมบรรเลงรวมวงกับเครื่องดนตรี อื่นๆ เช่น พิณ แคน โหวด กลอง ประกอบการ แสดงศิลปวัฒนธรรมพื้นบ้านอีสาน รวมทั้งการ แสดงร่วมกับเครื่องดนตรีสากล อีกด้วย 1110
  • 10. โปงลาง โปงลาง เป็นเครื่องดนตรี ประเภทเครื่องตีที่มีชื่อเรียกตามท้องถิ่นอีสานมี หลายชื่อ เช่น หมากกลิ้งกล่อม หมากเต๋อะเติ่ง หรือหมากเกราะลอ (ขอลอ) หมากโค้ดโดง ลูก โปงลางมีขนาดเป็นท่อน ไม้กลมทาจากไม้ มะหาดที่แห้งสนิทมีเส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 5-8 ซม. ถากตรงกลางทั้งสองด้าน เพื่อปรับ ระดับเสียง โปงลางมี 12-13 ลูก สามารถทา ให้เกิดเสียงในระบบ 5 เสียง (Pentatonic) คือเสียง โด เร มี ชอล ลา ลูกโปงลางแต่ละลูกมีความยาวลดหลั่นกัน ผูก รวมกันด้วยเชือก โดยเจาะรูทั้ง 2 ด้าน ของลูกโปงลาง แล้วร้อย เชือกผ่านไปแต่ละลูกจนรวมกันเป็นผืน เวลาตีจะ ใช้แขวนโยงไว้กับเสา โดยนิยมเอาลูกโปงลาง ลูกใหญ่แขวนไว้ ด้านบน และเรียงลงมาจนถึงลูก เล็กสุดแขวนไว้ด้านล่าง การบรรเลงจะใช้ผู้ บรรเลง 2 คน คนหนึ่ง (นั่งด้านซ้ายมือ) บรรเลง ทานอง (Melody) อีกคนหนึ่ง (นั่งด้าน ขวามือ) จะบรรเลงแนวประสาน (เรียกว่าตีเสพ) และทาจังหวะบรรเลงเสียงตัด หรือเสียงสร้อย โดยตีในลักษณะขั้นคู่เสียง (Chord) ส่วน ใหญ่จะตีเป็นขั้นคู่ 5 คือ เสียง ลา และเสียงมี พร้อมกัน ส่วนประกอบที่สาคัญของโปงลางคือ 1 4 13
  • 11. ผืนโปงลางประกอบด้วยลูกโปงลาง จานวน 12-13 ลูก ลูกใหญ่ที่สุดเส้นผ่าศูนย์กลาง ประมาณ 8 ซม. ยาว 10 ซม. ลูกเล็กที่สุด เส้นผ่าศูนย์กลาง ประมาณ 5 ซม. ยาว 27 ซม. ลูกโปงลางจะเจาะรูทั้ง 2 ด้านห่างจาก ปลายสุดแต่ละด้าน 7 ซม. ร้อยด้วยเชือก ขนาด 2.5 หุ่น ไม้พยุง ไม้ประดู่สาหรับไม้ที่ ถือว่าเสียงดี และเสียงไพเราะกังวานที่สุด คือ ไม้มะหาด แต่ปัจจุบันนี้หายากมากขึ้น จึงมีผู้ นิยมนาไม้ชนิดอื่นมาทาแทนบ้าง เช่น ไม้หมาก เหลื่ยม ไม้สมอป่าและไม่ขนุน ซึ่งได้คุณภาพ ของเสียงแตกต่างกันไป ขาโปงลาง ในสมัยก่อนที่ยังไม่นาโปงลางเข้ามา บรรเลงรวมวงดนตรีนั้น นักดนตรีนิยมบรรเลงโดย แขวนโปงลางไว้กับเสา ส่วนอีกด้านหนึ่งจะผูกติด กับพื้น หรือใช้ขาเกี่ยวไว้ แต่เมื่อนาโปงลางมา บรรเลงร่วมวงดนตรีจึงนิยมแขวนไว้กับขาโปงลาง เพื่อให้สะดวกในการตี การเคลื่อนย้าย และ บรรเลงร่วมกับวงดนตรีได้ จึงคิดทาขาโปงลางขึ้น โดยมีความสูงประมาณ 1 เมตร ยาว 1 เมตร ตั้งได้ฉากกันโดยส่วนล่างนั้นทาเป็นสามเหลื่อม วางลาบกับพื้นสามารถแขวนโปงลางลูกใหญ่ไว้ ด้านบน และลูกเล็กลดหลั่นกันลงมา แขวนไว้ ด้านล่าง 1615
  • 12. ไม้ตีโปงลาง ไม้สาหรับตีโปงลางส่วนใหญ่เป็น ไม้ชนิดเดียวกันกับที่ทาลูกโปงลาง ยาว ประมาณ 20-25 ซม. ทาหัวไม้ตีเป็นแบบ กลม หรือแบนหรือแบบหัวโค้งก็ได้ ที่นิยมใน ปัจจุบัน จะเป็นแบบหัวโค้ง เพราะสามารถ เลื่อนไหลได้รวดเร็วไม่ไปสะดุจลูกโปงลางลูก อื่น ๆ เทคนิคการตีโปงลาง การตีโปงลางจะนั่งกับพื้นหรือยืน ในท่าที่ถนัด โดยจะอยู่ด้านซ้ายของโปงลาง ดังนี้ 1. จับไม้ตีโปงลางให้แน่น 2. ฝึกไล่เสียงจากจากเสียงต่า ไปหา เสียงสูง และจากเสียงสูงไปหาเสียงต่า ใน ลักษณะสลับมือซ้าย-ขวา 3. ฝีกตีกรอ รัว สะบัด 4. ฝีกบรรเลงลายที่ง่ายๆ เช่น ลาย โปงลาง เต้ย เป็นต้น 1817 การฝึ กปฏิบัติ โปงลาง
  • 13. การเคาะโปงลาง โปงลางเป็นเครื่องดนตรีที่ทามาจากไม้เนื้อ แข็ง เวลาเคาะจึงมีเสียงแกร่งสั้น และห้วน ถ้า เราเคาะโน้ต 1 หรือ 2 จังหวะ จะได้เสียงไม่ ไพเราะ เพราะเสียงนั้นไม่มีกังวาล ผู้ฝึกหัดจึง สมควรที่จะฝึกปฏิบัติดังต่อไปนี้ 1. ฝึกเคาะรัวถี่แทนตัวโน้ต หรือ ซอยโน้ตให้ย่อยออกเป็นตัวเขบ็จ 1 ชั้น 2 ชั้น เป็นต้น 2. ผู้ฝึกจึงจาเป็นอย่างยิ่งต้องฝึก เคาะจังหวะตามทานองหลักให้ตนเองได้ยินจน แม่นยาก่อน แล้วจึงฝึกซอยโน้ตทีหลัง 3. โดยทั่วไป ผู้เคาะโปงลางมีอยู่ 2 คน ผู้ที่เล่นทานองนั้นจะเรียกว่า “หมอเคาะ” ส่วน อีกคนหนึ่งจะเล่นเสียงประสาน เรียกว่า “ หมอ เสิบ” หมอเสิร์ฟนั้น เป็นผู้ช่วยทาจังหวะและ ทาเสียงทุ้ม การเคาะลูกโปงลาง อย่าเคาะตรงลงไป หนักๆตรงๆ จะทาให้เสียงกระด้าง ให้เคาะอย่าง นิ่มนวล หรือเคาะแฉลบออกอย่างสม่าเสมอ 2019
  • 14. กิจกรรมการเรียนรู ้ที่ 1 คาชี้แจง ให้นักเรียนแบ่งกลุ่มๆ ละ 5 คน แล้วช่วยกันอธิบายเนื้อหา ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับดนตรีพื้นบ้านอีสานประเภทโปงลางมาพอ สังเขป กิจกรรมการเรียนรู ้ที่ 2 คาชี้แจง ให้นักเรียนฝึกท่อง scal โน้ต เพื่อฝึกประสาท สัมผัสโสตประสาททางหู จะได้คุ้ยเคยกับตัวโน้ตทาง ดนตรี ด ร ม ฟ ช ล ท ด ด ท ล ช ฟ ม ร ด วิธีการฝึ ก 1. ให้นักเรียนหายใจเข้าลึก ๆ และค่อย ปล่อยลมหายใจออก 2. ให้นักเรียนท่องโน้ตตามที่ครูกาหนดให้ ดังนี้ โด เร มี ฟา ชอล ลา ที โด โด ที ลา ชอล ฟา มี เร โด 3. ให้นักเรียนแบ่งกลุ่ม ๆ ละ 5 คน เพื่อ ฝึกการท่องโน้ต ในข้อ 2 แล้วนามาท่องให้ครูและ เพื่อน ๆ ฟัง 21 2 2
  • 15. กิจกรรรมการเรียนรู ้ที่ 3 คาชี้แจง ให้นักเรียนศึกษาใบความรู้เกี่ยวกับ โปงลางและแผนภูมิเสียงของโปงลาง ดังภาพแล้ว ปฏิบัติดังนี้(หน้า12) วิธีการฝึ ก 1. ให้จาแผนภูมิเสียงของโปงลางให้ละเอียด 2. ให้นักเรียนฝึกการตีโปงลางทีละโน้ตโดยเริ่ม จากเสียงโน้ตเสียงต่าลงมาหาเสียงโน้ตเสียงสูง และ เริ่มจากเสียงโน้ตเสียงสูงขึ้นไปเสียงโน้ตเสียงต่า กิจกรรมการเรียนรู ้ที่ 4 คาชี้แจง ให้นักเรียนฝึกแบบฝึกทักษะการตี โปงลาง โดยวิธีกรอโน้ตซึ่งมีขั้นตอนดังนี้ 1. ให้จับไม้ตีโปงลางทั้ง 2 ข้างแล้วกรอโน้ตถี่ ๆ จานวน 8 ห้องเพลง ดังโน้ตที่กาหนดให้เป็นจานวน 2 รอบ ต่อกัน แล้วฝึกจนชานาญ - - - ม/- - -/- - -/- - -/- - -/- - - /- - -/- - -/ - - - ช/- - -/- - -/- - -/- - -/- - - /- - -/- - -/ - - - ล/- - -/- - -/- - -/- - -/- - - /- - -/- - -/ - - - ด/- - -/- - -/- - -/- - -/- - - /- - -/- - -/ 2 4 2 3
  • 16. กิจกรรมการเรียนรู ้ที่ 5 คาชี้แจง ให้นักเรียนฝึกแบบทักษะการตีโปงลาง โดยวิธีการเคาะไม้ตีพร้อมกันสองข้าง โดยแยก ประสาทสัมผัสของมือและตาให้ได้โดยใช้แบบฝึก ดังต่อไปนี้ ล ล ล ล ล ล ล ล - - -ม/-ม-ม/-ม-ม/-ม-ม/-ม-ม/- ม-ม/-ม-ม/-ม-ม/ ล ล ล ล ล ล ล ล - - -ม/-ม-ม/-ม-ม/-ม-ม/-ม-ม/- ม-ม/-ม-ม/-ม-ม/ ล ล ล ล ล ล ล ล - - -ม/-ม-ม/-ม-ม/-ม-ม/-ม-ม/- ม-ม/-ม-ม/-ม-ม/ วิธีการฝึก 1. ให้ใช้มือซ้ายเคาะที่ลูกโปงลาง โน้ตตัว ล และ ให้ใช้มือขวาเคาะที่ลูกโปงลางโน้ตตัว ม ในการตี ให้เคาะ โน้ตตัว ล และโน้ตตัว ม พร้อมกันและใช้มือขวาตีโน้ตตัว ม อีก 1 ครั้ง ดัง โน้ตที่กาหนดให้ ม_______________________ ล________________________ ในการตีให้ใช้มือซ้ายเคาะบริเวณขอบลูกโปงลาง ด้านซ้ายของโน้ตตัว ล และมือขวาเคาะบริเวณตรง กลางของลูกโปงลาง ของโน้ตตัว ม ต่า 2 6 2 5
  • 17. กิจกรรมการเรียนรู ้ที่ 6 คาชี้แจง ให้นักเรียนฝึกตีโปงลาง ลายโปงลาง ดังโน้ตที่กาหนดให้ วิธีการฝึ ก 1. ให้นักเรียนท่องโน้ตลายโปงลางจนสามารถ จาทานองได้ 2. ให้นักเรียนการตีโปงลางมือเดียวโดยใช้มือ ขวาตีโน้ตลายโปงลางให้คล่องโดยเริ่มตีโน้ตบรรทัด ที่ 1 และ 2 จนสามารถตีโปงลางได้คล่อง เวลาตี ให้ท่องโน้ตด้วย 3. ให้นักเรียนตีโปงลางลายโปงลาง บรรทัด ที่ 3 และ 4 ให้คล่องและเวลาตีให้ท่องโน้ตด้วย 4. ให้นักเรียนตีโปงลางลายโปงลาง บรรทัดที่ 5 และ 6 ให้คล่องและเวลาตีให้ท่องโน้ตด้วย 5. ให้นักเรียนฝึกตีโปงลาง ลายโปงลางตั้งแต่บรรทัด ที่ 1 – 6 ให้คล่อง 6. ให้นักเรียนฝึกตีโปงลางแบบสองมือ โดยที่มือซ้าย จะตีที่โน้ตตัว ล และมือขวาจะเป็นตัวดาเนินทานอง ตั้งแต่บรรทัดที่ 1 – 6 โดยที่มือซ้ายจะเคาะโน้ตตัว สุดท้ายซึ่งเป็นจังหวะตกของห้องเพลงเสมอ เช่น 7. ให้นักเรียนฝึกตีโปงลางให้คล่อง แล้วให้เพื่อน ๆ ตีกลองให้จังหวะใส่กับการบรรเลงลายเต้ยโขง 2827
  • 18. กิจกรรมการเรียนรู ้ที่ 7 คาชี้แจง ให้นักเรียนฝึกตีโปงลาง ลายเต้ยโขง ดังโน้ตที่กาหนดให้ วิธีการฝึ ก 1. ให้นักเรียนท่องโน้ตลายเต้ยโขงจนสามารถจา ทานองได้ 2. ให้นักเรียนการตีโปงลางมือเดียวโดยใช้มือขวา ตีโน้ตลายเต้ยโขงให้คล่องโดยเริ่มตีโน้ตบรรทัดที่ 1 1 และ 2 จนสามารถตีโปงลางได้คล่อง เวลาตีให้ ท่องโน้ตด้วย 3. ให้นักเรียนตีโปงลางลายเต้ยโขง บรรทัดที่ 3 และ 4 ให้คล่องและเวลาตีให้ท่องโน้ตด้วย 4. ให้นักเรียนฝึกตีโปงลาง ลายเต้ยโขงตั้งแต่ บรรทัดที่ 1 – 4 ให้คล่อง 5. ให้นักเรียนฝึกตีโปงลางแบบสองมือ โดยที่มือ ซ้ายจะตีที่โน้ตตัว ล และมือขวาจะเป็นตัวดาเนิน ทานอง ตั้งแต่บรรทัดที่ 1 – 4 โดยที่มือซ้ายจะ เคาะโน้ตตัวสุดท้ายซึ่งเป็นจังหวะตกของห้องเพลง เสมอ เช่น 6. ให้นักเรียนฝึกตีโปงลางให้คล่อง แล้วให้เพื่อน ๆ ตีกลองให้จังหวะใส่กับการบรรเลงลายเต้ยโขง 3 0 2 9
  • 21. 1. โปงลาง เป็นเครื่องดนตรีประเภทใด ก. ดีด ข. สี ค. ตี ง. เป่า 2. โปงลาง ทามาจากไม้อะไร ก. ไม้ไผ่ ข. ไม้มะหาด ค. ไม้มะขาม ง. ไม้สัก 3. ผืนโปงลาง ประกอบด้วยลูกโปงลาง จานวนกี่ลูก ก. 5 - 8 ลูก ข. 9 – 11 ลูก ค. 12 – 13 ลูก ง. 14 – 15 ลูก 4. ลูกใหญ่ที่สุดของผืนโปงลางมี เส้นผ่าศูนย์กลางประมาณเท่าไร ก. ประมาณ 5 ซม. ยาว 27 ซม. ข. ประมาณ 8 ซม. ยาว 10 ซม. ค. ประมาณ 9 ซม. ยาว 30 ซม. ง. ประมาณ 10 ซม. ยาว 40 ซม. 3635
  • 22. 5. ลูกเล็กที่สุดของผืนโปงลางมี เส้นผ่าศูนย์กลางประมาณเท่าไร ก. ประมาณ 5 ซม. ยาว 27 ซม. ข. ประมาณ 8 ซม. ยาว 10 ซม. ค. ประมาณ 9 ซม. ยาว 30 ซม. ง. ประมาณ 10 ซม. ยาว 40 ซม. 6. ขาโปงลางมีความสูงและความยาว ประมาณเท่าไร ก. สูง 4 เมตร ยาว 4 เมตร ข. สูง 3 เมตร ยาว 3 เมตร ค. สูง 2 เมตร ยาว 2 เมตร ง. สูง 1 เมตร ยาว 1 เมตร 7. โปงลาง เป็นเครื่องดนตรีประจาจังหวัดใด ก. กาฬสินธุ์ ข. มหาสารคาม ค. ร้อยเอ็ด ง. ขอนแก่น 8. โปงลางมักนิยมใช้บรรเลงร่วมกับวงดนตรี ประเภทใด ก. วงโปงลาง ข. วงดนตรีไทย ค. วงดนตรีสากล ง. วงกันตรึม 3837
  • 23. 9. ข้อใดกล่าวถูกต้องเกี่ยวกับประโยชน์ของการ เล่นโปงลาง ? ก. ร่าเริง ข. จิตแจ่มใส ค. สนุกสนาน ง. ถูกทุกข้อ 10. ข้อใดเป็นเครื่องดนตรีประเภทเดียวกับโปงลาง ก. พิณ ข. แคน ค. ระนาด ง. ซอด้วง 4039 1. ค 2. ง 3. ค 4. ง 5. ก 6. ง 7. ก 8. ก 9. ง 10. ค
  • 24. ครูเปลื้อง ฉายรัศมี.2511.ประวัติความเป็นมาโปงลาง. http://www.finearts.go.th/nakhonphanomli brary /parameters/km/item/ประวัติความเป็นมา โปงลาง.หอสมุด แห่งชาติเฉลิมพระเกียรติ.กรมศิลปากร.15/12/2011. สุรพล เนสุสินธ์ .13/10/2008. วิชาดนตรีอีสาน http://www.baanmaha.com/blog/ต้น กาเนิดโปงลาง. คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น.15/12/2016. ACU Channel.08/01/2015.การตีโปงลาง. https://www.youtube.com/watch?v=t4w4V TLUQxw. โรงเรียนอัสสัมชัญอุบลราชธานี.15/12/2016 akom sronprasit.24/03/2013.การตีโปงลายเปิดวง. https://www.youtube.com/watch?v 41