SlideShare a Scribd company logo
ความผิดปกติด้านการนอน
(SLEEPDISTURBANCE)
พญ.สุภลักษณ์ ตันติทวีโชค
21 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2560
การนอนหลับปกติ(Normal sleep pattern)
◦เมื่อเข้านอนประมาณ 15-20 นาทีจะเริ่มเคลิ้มหลับ (Sleep Latency)
◦ระยะของการนอนหลับ (Sleep stages)
วิธีการที่ใช้ในการแยกระยะต่างๆ ของการนอนหลับ คือ polysomnography (PSG) ซึ่ง
ประกอบด้วยการบันทึกหลักๆ 3 ชนิด คือ
◦คลื่นไฟฟ้าสมอง (electroencephalogram; EEG) เพื่อบันทึกการทางานของสมอง
◦คลื่นไฟฟ้าจากลูกตา (electro-oculogram, EOG) แสดงถึงการกลอกตา
◦คลื่นไฟฟ้ากล้ามเนื้อ (electromyogram; EMG) บันทึกการหดตัวและความตึงตัวของกล้ามเนื้อ
(muscle tone)
electro-oculogram (EOG)
electromyogram (EMG)
electroencephalogram (EEG)
จาก polysomnography สามารถแยกการช่วงของการนอนหลับได้เป็น
◦ non-rapid eye movement (NREM) sleepA state of sleep characterized by slowing of the
EEG rhythms, high muscle tone, absence of eye movements, and thoughtlike mental
activity. In this state the brain is inactive while the body is active. NREM is made up of 4
stages:
แบ่งย่อยออกได้เป็น 4 ระยะ (stage I - IV) ตามระดับความลึกของการนอนหลับ
เมื่อหลับลึกลักษณะคลื่นEEGมีขนาดใหญ่ขึ้นและความถี่ลดลง
◦ rapid eye movement (REM) sleep
◦ NREM stage I เป็นระยะเริ่มหลับ คลื่นไฟฟ้าสมองจะมีขนาดเล็ก มีความถี่หลายๆ ความถี่ สังเกตเห็น
theta wave ซึ่งระยะนี้สามารถปลุกให้ตื่นได้ง่าย
◦ NREM stage II จะสังเกตเห็นคลื่นไฟฟ้าสมองที่มีลักษณะเป็น sinusoidal wave ซึ่งมีขนาดสูงตรงกลาง
มากกว่าที่ส่วนเริ่มต้นและส่วนปลาย (sleep spindles) และ biphasic wave ที่มีขนาดใหญ่ (K complexes)
◦ NREM stage III และ NREM stage IV เป็นระยะที่หลับลึก ปลุกให้ตื่นได้ยาก คลื่นไฟฟ้าสมองที่เด่น
คือ delta wave เรียกระยะนี้ของการนอนหลับว่า slow wave sleep (SWS)
ในบางตาราจะรวม ทั้งสองระยะนี้ของการนอนหลับเป็น NREM stage III ของการนอนหลับ
◦ ตลอดช่วง NREM sleep การหดตัวของกล้ามเนื้อและความตึงตัวของกล้ามเนื้อจะลดลงตามลาดับ และ
ไม่พบการกลอกตาเป็นจังหวะในระยะนี้
non-rapid eye movement (NREM)
rapid eye movement (REM)
◦ REM Sleep
เป็นระยะที่ยังคงหลับอยู่แต่คลื่นไฟฟ้าฟ้าสมองมีขนาดเล็กและความถี่สูงคล้าย beta wave
อาจเรียกอีกชื่อหนึ่งว่า paradoxical sleep
มีการกลอกตาเป็นจังหวะอย่างรวดเร็ว
ความตึงตัวของกล้ามเนื้อหายไป ยกเว้นกล้ามเนื้อextra ocular muscle และ middle ear
sympathetic activity จะสูงขึ้น
อาจพบการแข็งตัวของอวัยวะเพศเกิดขึ้นในช่วง REM sleep
เป็นภาวะที่มีการฝัน
Stage EEG Findings Distribution
Stage 1
Disappearance of alpha wave
and appearance of theta wave
5%
Stage 2 k compelexes and sleep spindles 45%
Stage 3 Appearance of delta wave 12%
Stage 4 Continuation of delta wave 13%
REM Bursts of sawtooth waves 25%
โครงสร้างของการนอนหลับ (Sleep architectures)
◦ในแต่ละคืนของการนอนหลับปกติ จะมี NREM – REM ประมาณ 4 – 6 รอบ (cycle)
ต่อเนื่องกันไป เรียกวงจรของ NREM – REM นี้ว่า ultradian rhythm ซึ่งแต่ละรอบจะใช้
เวลาประมาณ 90 – 110 นาที
◦ในcycleหลัง REM จะนานขึ้น stage 3 และ 4 น้อยลง
ระบบประสาทควบคุมการนอนหลับและการตื่น
(Neural regulation of Sleep-Wake)
◦Brain stem มีกลุ่มเซลล์ประสาทreticular activating system (RAS) มีบทบาท
สาคัญต่อการตื่น (wakefulness)
◦Hypothalamus -posterior hypothalamus มีบทบาทสาคัญต่อการตื่น
-anterior hypothalamusมีบทบาทสาคัญต่อการนอนหลับ
Cerebralcortex
Burst firing Tonic firing
LDT/PPT
RP LC
RP
LC
LDT/PPT
5-HT
NE
ACh
K+
Thalamic
relay neuron
5-HT2
1
M1
Reticular activating system (RAS)
- locus ceruleus (LC)
- raphe nucleus (RP)
- laterodorsal/peduculopontine
tegmental nuclei (LDT/PPT)
beta wave / desynchronized EEG
Sleep Awake
(VLPO)
Anterior hypothalamus
(hypocretin)
การจาแนกความผิดปกติของการนอนหลับ
◦ความผิดปกติในการนอนหลับแบ่งออกเป็น dyssomnia กับparasomnia
Dyssomnias Parasomnias
Insomnia Nightmare disorder
Hypersomnia Sleep terror disorder
Circadian rhythm sleep
disorder
Sleepwalking disorder
Dyssomnia
คือการนอนหลับที่ผิดปกติในแง่ของ
◦ ปริมาณการนอน
◦คุณภาพการนอน
◦เวลาที่เริ่มง่วงนอน
โรคในกลุ่ม Dyssomnia
◦Insomnia
◦Hypersomnia
◦Circadian rhythm sleep disorder
Insomnia
เป็นความผิดปกติของการนอนหลับที่พบบ่อยที่สุด เป็นภาวะที่บุคคลมีความรู้สึกว่า
-นอนไม่เพียงพอ
-นอนหลับยากใช้เวลามากกว่า 30 นาทีจึงหลับ
-หลับไม่ต่อเนื่อง (ตื่นกลางคืนบ่อย หรือตื่นเช้าเกินไปและไม่สามารถหลับต่อ)
เป็นผลให้เกิดอาการในเวลากลางวัน เช่น อ่อนเพลีย ขาดสมาธิ ความจาไม่ดี ประสิทธิภาพในการทางานลดลง
แบ่งออกเป็น
◦ 1) Transient Insomnia
◦ 2) short-term insomnia
◦ 3) Long-term Insomnia
◦1) Transient Insomnia
พบในคนปกติที่เกิดความเครียดเฉียบพลัน (acute stress)มักมีอาการ2-3วัน
◦2) short-term insomnia ได้แก่การนอนไม่หลับไม่เกิน 3 สัปดาห์ สาเหตุที่พบ
บ่อยที่สุดคือความกดดันอาชีพการงาน การเปลี่ยนแปลงของสิ่งแวดล้อม เช่น
ใกล้สอบ ตกงาน เปลี่ยนที่พัก เป็นต้น
◦3)Long-term Insomnia ได้แก่การนอนไม่หลับเรื้อรังนานกว่า 3 สัปดาห์
สาเหตุของการนอนไม่หลับ
1. Psychiatric disorder major depression, anxiety disorder
2. Physical cause alcohol, coffee, stimulant drugs
3. Medical and neurologic disorders chronic pain, chronic illness
4. Psychophysiologic and
conditioned insomnia
environmental factor, bereavement,
life stress
◦การรักษา รักษาตามสาเหตุ ร่วมไปกับการให้ผู้ป่วยมี sleep hygiene ที่ดี
อาจต้องใช้ยาช่วยให้หลับร่วม ควรให้เป็นช่วงสั้น ๆ เป็นครั้งคราวเท่านั้น
Sleep hygiene
-เข้านอนและตื่นนอนให้เป็นเวลา
-ออกกาลังกายอย่างสม่าเสมอ ไม่ควรออกกาลังกายก่อนนอน
-จัดสิ่งแวดล้อมให้เหมาะสม หลีกเลี่ยงเสียงดัง หรืออากาศร้อน
-ทาจิตใจให้สบายก่อนนอน หลีกเลี่ยงสิ่งที่กระตุ้นจิตใจ
-ไม่ใช้เตียงทากิจกรรมอื่น ๆ เช่น อ่านหนังสือ รับประทานอาหาร
-หากนอนไม่หลับนานเกิน 30 นาที ให้ลุกจากเตียง ทากิจกรรมอื่นจนง่วง จึงเข้านอนใหม่
-งดสุรา กาแฟ ก่อนนอน
การรักษาด้วยยา medical treatment
◦ benzodiazepines
-เป็นยาหลักในการรักษาอาการนอนไม่หลับ
-ออกฤทธิ์โดยการจับที่ benzodiazepine receptor sites ที่ GABAA receptor complex
-ทาให้ระยะเวลาก่อนหลับ (sleep latency) สั้นลง เพิ่มระยะเวลาหลับรวม (total sleep time)
เพิ่มสัดส่วนร้อยละของการหลับขั้นที่ 2 (stage 2 sleep) ลดสัดส่วนร้อยละของการหลับชนิด
delta sleep และ REM sleep1
-มีผลกดการทางานต่อระบบการหายใจ ไม่ควรใช้ยากลุ่มนี้กับผู้ป่วยโรค OSAและCOPD
-พบการดื้อยาได้ในการใช้ยากลุ่มนี้ โดยเฉพาะยาที่มีค่ากึ่งชีวิตสั้น และใช้ติดต่อกันนานกว่า 1-2 สัปดาห์
-เมื่อหยุดยาทันทีจะเกิดอาการถอนยา(withdrawal) เช่น
วิตกกังวล อ่อนเพลีย วิงเวียน ซึมเศร้า สั่น นอนไม่หลับมากขึ้น (rebound insomnia)
-ยาที่มีค่ากึ่งชีวิตยาวมีโอกาสเกิดง่วงในวันรุ่งขึ้นได้มากกว่ายาที่มีค่ากึ่งชีวิตสั้น
-ยาที่มีค่ากึ่งชีวิตสั้น จะพบปัญหาความจาในวันรุ่งขึ้น
ยา Zolpidem (Stilnox )
◦ imidazopyridine hypnotic
◦ ไม่ใช่โครงสร้างในกลุ่ม benzodiazepine แต่ออกฤทธิ์โดยการจับที่ benzodiazepine binding site ของ
GABAA receptor complex
◦ จับเฉพาะ BZ1 receptor เป็นเหตุให้ยานี้ ให้ผล anticonvulsant, myorelaxant, anxiolytic น้อยมาก
◦ ออกฤทธิ์เร็วให้ผลในช่วงสั้น ไม่มี active metabolite
◦ มีค่ากึ่งชีวิตของยานาน 2-3 ชั่วโมง
◦ ผลของยาต่อการนอนหลับพบว่ายา zolpidem ไม่เปลี่ยนโครงสร้างการนอนหลับ (sleep architecture)
อย่างกลุ่มยา benzodiazepine ซึ่งมักจะลดการหลับชนิด REM และ delta sleep
◦ พบว่ายา zolpidem 10 มก. ก่อนนอน ไม่มีผลต่อการหายใจระหว่างหลับในผู้ป่วยโรค chronic
obstructive pulmonary disease (COPD)
◦ barbiturates- ยา amobarbital, pentobarbital, phenobarbital, secobarbital เป็นต้น
◦choral hydrate
◦สาร L-tryptopha เป็น essential amino acid ซึ่งเป็นสารที่ใช้สังเคราะห์ serotonin
(“natural” hypnotic)
◦สาร Melatonin เป็น neurohormone สร้างจาก serotonin ที่ pineal gland ไม่พบหลักฐาน
เพียงพอที่แสดงว่าสาร melatonin ช่วยการนอนหลับที่ไม่สัมพันธ์กับ circadian rhythm
◦สาร Barakol ต้นขี้เหล็ก (cassia siamea) สกัด alkaloid จากใบ พบว่ามีการออกฤทธิ์ต่อ
ประสาทส่วนกลางและมีผลช่วยการนอนหลับ
Hypersomnia
ปริมาณการนอนหลับมากเกินปกติ หรือง่วงนอนช่วงกลางวันตลอด
◦Primary hypersomnia
Narcolepsy
Klein-Levin syndrome
idiopathic hypersomnia
◦Secondary hypersomnia
Breathing-related Sleep Disorder (Sleep Apnea)
Narcolepsy
-ง่วงนอนตลอดเวลา หลับในช่วงเวลาต่างๆอย่างผิดปกติ บางครั้งมีอาการกล้ามเนื้อ
อ่อนแรงฉับพลันขณะที่มีอารมณ์เปลี่ยนแปลง
-อาการเริ่มแบบค่อยเป็นค่อยไป มักเริ่มเป็นก่อนอายุ 15 ปี
-พบว่าผู้ป่วยโรคนี้มีสารสื่อประสาทHypocretin (Orexin) น้อยกว่าปกติ
Narcolepsy tetrad
◦Somnolence อาการง่วงในช่วงกลางวัน Excessive Daytime Sleepiness (EDS)
◦Cataplexy การมีกล้ามเนื้ออ่อนแรงกะทันหัน จากการมีสิ่งเร้าด้านอารมณ์สูง
◦Sleep paralysis กล้ามเนื้ออ่อนแรงในช่วงเคลิ้มก่อนตื่นนอน
◦Hypnagogic hallucination ประสาทหลอนช่วงเคลิ้มหลับ
*abnormal REM sleep เข้าสุ่ช่วงREM sleep อย่างรวดเร็ว
การให้การวินิจฉัย
◦ตรวจการนอนหลับ polysomnogram(PSG)
◦ และตรวจ multiple sleep latency test (MSLT) ตรวจเกี่ยวกับอาการง่วงนอนมากผิดปกติ
ในเวลากลางวัน โดยจะทาต่อเนื่องหลังจากคืนที่ทาการตรวจ PSG ตรวจหาsleep latency
และ REM sleep latency ทาการตรวจวัดหลายๆครั้ง ห่างกันครั้งละ 2 ชั่วโมง คนปกติมีค่า
MSLT 10นาที
การรักษา
Treatment of Excessive Daytime Sleepiness
◦ stimulants or wake promoting
medications
◦ Sleep hygiene
Treatment of REM Symptoms
◦ Antidepressants
◦ aimed to treat Cataplexy
Hypnagogic and Hypnopompic Hallucinations,
◦ Sodium Oxibate (Xyrem®)
Klein-Levin syndrome
◦ recurrent episodes of hypersomnia
◦ นอนมากและนานเฉลี่ย12 -24 ชมต่อวัน
◦ มักพบโรคในวัยรุ่นชาย
◦พบความผิดปกติของ
serotonergic or dopaminergic pathway.
◦
Breathing-related Sleep Disorder (Sleep Apnea)
การหายใจของผู้ป่วยหยุดลงอย่างน้อย 10 วินาที เป็นมากกว่า 5 ครั้งต่อชั่วโมง ตามมาด้วยการ
สะดุ้งตื่น(arousal) การหยุดหายใจช่วงREMยาวกว่าNREMเนื่องจาก REM arousal treashold สูง
มักจะมาด้วยอาการกรนเสียงดังเป็นประจา (habitual loud snoring)
มีผู้สังเกตว่าหยุดหายใจขณะหลับ (witnessed apnea)
ง่วงนอนมากผิดปกติในเวลากลางวัน (excessive daytime sleepiness)
แบ่งออกเป็น
- central type เกิดจากพยาธิสภาพในสมอง
- obstructive type ซึ่งผู้ป่วยหยุดหายใจ ขณะพยายามหายใจเข้า inspiratory effort
เกณฑ์ที่ใช้ในการวินิจฉัยโรค คือ
◦ ดัชนีการหยุดหายใจและหายใจแผ่ว หรือ apnea-hypopnea index (AHI) คือ ความถี่ของ apnea และ
hypopnea ระหว่างการนอนหลับจริง (sleep time) ≥ 5 ครั้งต่อชั่วโมง
◦ ดัชนีการหายใจผิดปกติ หรือ respiratory-disturbance index (RDI) คือ ความถี่ของ apnea, hypopnea
และ respiratory effort-related arousal (RERAs) ระหว่างการนอนหลับจริง (sleep time) ≥ 5 ครั้งต่อ
ชั่วโมงเช่นกัน
RERAเป็นภาวะที่เกิดจากการอุดกั้นทางเดินหายใจ ทาให้มีการสะดุ้งตื่น เกิด sleep
fragmentation ได้โดยไม่มีลักษณะของ apnea หรือ hypopnea ที่ชัดเจน
ผู้ป่วยAHI > 20 มีอัตราการตายสูง ควรได้การรักษาทุกราย
◦ ระหว่างที่หยุดหายใจมีการเพิ่มขึ้นของความดันก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ (CO2) ในเลือด ทาให้เลือดมี
ความเป็นกรดเพิ่มขึ้น (acidosis) ภาวะที่เป็นกรดนี้จะกระตุ้น chemoreceptor ให้ผู้ป่วยตื่นขึ้น มีความตึง
ตัวของกล้ามเนื้อกลับมาดังเดิม เพื่อให้หายใจได้ปกติ แล้วก็หลับต่อ
◦ การลดลงของระดับออกซิเจนในเลือด จะกระตุ้นให้มีการหลั่ง catecholamine ทาให้หลอดเลือดทั่ว
ร่างกาย และหลอดเลือดในปอดหดตัว เกิดความดันโลหิตสูงและโรคความดันโลหิตในปอดสูง
(pulmonary hypertension) ตามลาดับ ซึ่งการที่มีโรคความดันโลหิตในปอดสูงนี้จะทาให้เกิด right
ventricular hypertrophy และเกิด right heart failure ตามมาได้.
การรักษา
1. การใช้เครื่องอัดอากาศแรงดันบวก (Positive Airway Pressure:CPAP)
2. การผ่าตัดแก้ไขทางเดินหายใจในส่วนต่างๆที่มีภาวะตีบแคบ เช่น การผ่าตัดต่อมทอลซิล
Circadian Rhythm Sleep Disorder
ทีสาคัญมี 3 ชนิด ได้แก่
1) Delayed-sleep Phase Type
2) Jet Lag Type
3) Shift Work Sleep Type
Circadian rhythm
◦สิ่งมีชีวิตมีนาฬิกาชีวิต (biological clock) ที่ทาหน้าที่ควบคุมการทางานของระบบต่างๆ
◦นาฬิกาชีวิตที่สาคัญตามธรรมชาติจึงมีการเปลี่ยนแปลงตามความมืด-ความสว่าง เรียก
◦ศูนย์กลางควบคุม circadian rhythm คือตัวที่ทาหน้าที่สร้างจังหวะ (circadian pacemaker)
ซึ่งอยู่ที่ส่วน suprachiasmatic nucleus (SCN) ของสมองส่วนไฮโปธาลามัส
1) Delayed-sleep Phase Type
-delayed sleep phase syndrome (DSPS) เป็นโรคที่พบได้บ่อยในวัยรุ่น
-มี circadian rhythm ยาวกว่าปกติ ทาให้ไม่รู้สึกง่วงนอนและนอนไม่หลับเมื่อถึงเวลาที่เคย
นอน ผู้ป่วยง่วงนอนในเวลาช้ากว่าคนทั่วไปมาก เช่น เวลา 3- 6 โมงเช้า
-แต่ลักษณะการนอนหลับหลับปกติ
-รักษาโดยให้นอนช้าขึ้นกว่าเดิมวันละ 2-3 ชั่วโมงจนกว่าจะถึงเวลาที่ปกติ
2) Jet Lag Type
เกิดจาการเดินทางข้ามหลายๆ เขตเวลา (time zone) ในช่วงเวลาสั้นๆ ทาให้ circadian rhythm
ของร่างกายไม่สามารถปรับตัวสอดคล้องกับเวลากลางวัน-กลางคืน
มีภาวะง่วงซึมหรือไม่ง่วงนอน ตามเวลาของท้องถิ่นนั้น ๆ
พบเมื่อเดินทางไปทิศตะวันออกมากกว่าทิศตะวันตก
การใช้เมลาโทนินก็อาจช่วยลดอาการได้
3) Shift Work Sleep Type
พบบ่อยในผู้ที่ทางานเป็นผลัด และต้องเปลี่ยนผลัดในการทางานอยู่เรื่อย ๆ ทาให้จังหวะการ
นอนหลับสับสน นอนไม่หลับหรือหลับ ๆ ตื่น ๆ แก้ไขโดยการเปลี่ยนผลัดให้เปลี่ยนเป็น
เวลาต่อไป (ใช้เวลาปรับตัว 2-3 วัน) แทนที่จะเปลี่ยนเวลาขึ้นมา (ใช้เวลาปรับตัว 6-7 วัน) เช่น
เดิมทางานผลัด 8-16 นาฬิกา ต่อไปควรทาผลัด 16-24 นาฬิกา แทนที่จะทาผลัด 24-8 นาฬิกา
และอาจให้มีช่วงงีบหลับตอนกลางวัน
Parasomnias
◦ พฤติกรรมหรืออาการแสดงที่ผิดปกติระหว่างการนอนหลับ
◦ สามารถเกิดได้ทุกstageของการนอน(REM and NREM)
◦ NREM parasomnias. เกิดในช่วงต้นของการนอนหลับ เป็นช่วงที่นอนหลับลึกมากที่สุด
เนื่องจากมี NREM sleep มากที่สุด ผู้ป่วยจะจดจาเหตุการณ์ได้น้อย
◦REM sleep parasomnias เกิดในช่วงท้ายของการนอน เนื่องจากมีREM sleepมากที่สุด ผู้ป่วยจะ
จดจาเหตุการณ์หรือความฝันได้มาก
◦ Parasomnias - Risk Factors
Age
◦ Childhood: sleepwalking bedwetting
Genetics
◦ If sleepwalking, night terrors or certain other parasomnias run in your family, you are more likely to have them.
Stress
◦ Some people are more likely to sleepwalk or have other parasomnias when they are under stress
Post-Traumatic Stress Disorder
◦ Nightmare disorder and trauma-related nightmares are frequently associated with PTSD.
◦ Nearly 80 percent of patients with PTSD have nightmares within three months of the trauma.
Medications
Some medications may cause other parasomnias.
◦ Sleepwalking disorder:, thioridazine, fluphenazine, perphenazine, desipramine, chloral hydrate, and lithium
◦ Sleep terror disorder:CNS depressant medications(alcohol,SSRI, TCA, hypnotics)
◦ Nightmare disorder: levodopa, beta-adrenergic drugs, and withdrawal of REM-suppressing medications
Drug or Alcohol Abuse
◦ may also worsen the symptoms of some parasomnias.
Other Disorders
◦ Some parasomnias are linked to other disorders.
◦ bedwetting is linked to obstructive sleep apnea and congestive heart failure.
◦ REM sleep behavior disorder is often associated with Parkinson’s disease.
◦ Non-REM (NREM) Sleep Parasomnias
Sleepwalking(somnambulism)
◦ Sleepwalking involves getting up from bed and walking around when you are still asleep.
◦ sometimes involves a series of other complex actions
◦ eyes are usually open
◦ . Being woken up will not harm a sleepwalker
◦ Trying to restrain a sleepwalker may result in
◦ aggressive behavior such as kicking or biting.
Confusional Arousals
◦ common in children.
◦ They result from partial or incomplete arousal from deep sleep,
◦ typically during the first third of the night.
◦ can last from a few minutes to a few hours.
◦ no memory of these episodes.
◦ In general, confusional arousals are benign
and require no treatment.
◦ Sleep terrors (parvor nocturnus, incubus attacks).
◦ The individual sits up with an expression of terror
◦ displays autonomic arousal with rapid breathing, tachycardia, sweating, dilated pupils, and increased muscle tone
◦ The typical duration is between 30 seconds and 3 minutes
◦ the end of an attack, usually returns to sleep.
◦ Treatment of NREM parasomnias.
◦ For most children, treatment of parasomnias is not necessary
◦ reassured that events are not harmful
◦ Treatment may be needed if episodes are frequent, severe, and impose danger
◦ benzodiazepines, such as diazepam, oxazepam, and especially clonazepam usually help
REM Sleep Parasomnias
REM Sleep Behavior Disorder
◦ more common in the elderly.
◦ men are affected more frequently than women
◦ This potentially dangerous sleep disorder causes act out dreams
◦ There is a strong association between RBD
and Lewy body-involving neurodegenerative disorders
of Parkinson's disease,
Treatment Clonazepam 0.5 to 1mg
Melatonin at doses of 3 to 12mg
tricyclic antidepressants, levodopa, and dopamine agonists, may also be effective.
Nightmare Disorder
◦ Nightmares are frightening dreams
◦ usually awaken the sleeper from REM sleep
◦ fear and/or anxiety are the most frequent emotions
◦ Up to 40 percent have been diagnosed with schizotypal,
borderline, or schizoid personality disorders.
◦ Treatment
◦ of nightmares includes psychotherapy, minimizing or avoiding stress, and minimizing the use of drugs
◦ cyproheptadine at doses of 4 to 16mg
◦ prazosin at doses of 5 to 10mg
reference
◦ http://med-stud.narod.ru/med/misc/sleep.html
◦ http://www.sciencedirect.com/topics/page/Ventrolateral_preoptic_nucleus
◦ http://neurowiki2013.wikidot.com/individual:neurotransmitter-system-and-neural-circuits-gover
◦ http://www.dr-survival.com/academic/academic_detail.php?ac_id=&subacid=&acm_id=427
◦ http://www.psychiatry.or.th/JOURNAL/v4518.html
◦ https://www.ncbi.nlm.nih.gov/pmc/articles/PMC3021925/
◦ https://www.doctor.or.th/clinic/detail/6923
◦ http://www.sleepeducation.org/essentials-in-sleep/parasomnias/symptoms
◦ https://www.ncbi.nlm.nih.gov/pmc/articles/PMC2958868/
◦ Barrett KE, Barman SM, Boitano S, Brooks HL. Ganong’ s review of medicalphysiology. 23rd ed. Boston:McGraw-Hill; 2010. P. 229-240.
◦ Benarroch EE. Basic neuroscienceswith clinicalapplication.Philadelphia:Butterworth Heinemann/Elsevier; 2006. p. 771-805.
◦ Conn PM. Neuroscience in Medicine. 3rd ed. New Jersey: Humana; 2008. p. 623-649.
◦ Kandel ER, Schwartz JH, JessellTM, Siegelbaum SA, Hudspeth AJ. Principlesof neural science. 5th ed. New York: McGraw-Hill; 2013.
◦ Nolte J. Elsevier’s Integrated Neuroscience. Philadelphia:Mosby/Elsevier; 2007. p. 201-205.
ความผิดปกติด้านการนอน

More Related Content

What's hot

Cpg obesity in children
Cpg obesity in childrenCpg obesity in children
Cpg obesity in children
Utai Sukviwatsirikul
 
ไขสันหลัง
ไขสันหลังไขสันหลัง
ไขสันหลัง
Wan Ngamwongwan
 
ศ นย ควบค_มระประสาท (ต_อ)
ศ นย ควบค_มระประสาท (ต_อ)ศ นย ควบค_มระประสาท (ต_อ)
ศ นย ควบค_มระประสาท (ต_อ)
Natthaya Khaothong
 
Ped emergency final to ems พญ.ศิราภรณ์ สวัสดิวร
Ped emergency final to ems พญ.ศิราภรณ์ สวัสดิวรPed emergency final to ems พญ.ศิราภรณ์ สวัสดิวร
Ped emergency final to ems พญ.ศิราภรณ์ สวัสดิวรtaem
 
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าuntika
 
1. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับหลักการเรียนรู้ทักษะกลไกการเคลื่อนไหว (1 57) wk 2-4
1. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับหลักการเรียนรู้ทักษะกลไกการเคลื่อนไหว (1 57) wk 2-41. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับหลักการเรียนรู้ทักษะกลไกการเคลื่อนไหว (1 57) wk 2-4
1. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับหลักการเรียนรู้ทักษะกลไกการเคลื่อนไหว (1 57) wk 2-4
pop Jaturong
 
นวัตกรรมการปฏิบัติที่เป็นเลิศ
นวัตกรรมการปฏิบัติที่เป็นเลิศนวัตกรรมการปฏิบัติที่เป็นเลิศ
นวัตกรรมการปฏิบัติที่เป็นเลิศsomdetpittayakom school
 
วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ (1)
วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ (1)วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ (1)
วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ (1)
pueniiz
 
ตัวอย่างงานกาพย์ห่อโคลง
ตัวอย่างงานกาพย์ห่อโคลงตัวอย่างงานกาพย์ห่อโคลง
ตัวอย่างงานกาพย์ห่อโคลงNongkran_Jarurnphong
 
Kanniga 31 jan
Kanniga 31 janKanniga 31 jan
Total parenteral nutrition
Total parenteral nutrition Total parenteral nutrition
Total parenteral nutrition techno UCH
 
Dementia in Thai
Dementia in ThaiDementia in Thai
Dementia in Thai
Thorsang Chayovan
 
Power point งานสุขศึกษา 2
Power point งานสุขศึกษา 2Power point งานสุขศึกษา 2
Power point งานสุขศึกษา 2natnicha rurkrat
 
การส่งเสริมการใช้ยาปฏิชีวนะอย่างสมเหตุผลในร้านยาปี พ.ศ. 2555
การส่งเสริมการใช้ยาปฏิชีวนะอย่างสมเหตุผลในร้านยาปี พ.ศ. 2555การส่งเสริมการใช้ยาปฏิชีวนะอย่างสมเหตุผลในร้านยาปี พ.ศ. 2555
การส่งเสริมการใช้ยาปฏิชีวนะอย่างสมเหตุผลในร้านยาปี พ.ศ. 2555
Utai Sukviwatsirikul
 
งานวิจัยในชั้นเรียนวิตกกังวล
งานวิจัยในชั้นเรียนวิตกกังวลงานวิจัยในชั้นเรียนวิตกกังวล
งานวิจัยในชั้นเรียนวิตกกังวลWichai Likitponrak
 
ระบบยา
ระบบยาระบบยา
ระบบยา
Rachanont Hiranwong
 
แผนการสอน ผลิตสื่อวีดีทัศน์ ม.6
แผนการสอน ผลิตสื่อวีดีทัศน์ ม.6แผนการสอน ผลิตสื่อวีดีทัศน์ ม.6
แผนการสอน ผลิตสื่อวีดีทัศน์ ม.6
พงศธร ภักดี
 
การดูแลผู้ป่วยระยะท้ายที่บ้าน, End of life care
การดูแลผู้ป่วยระยะท้ายที่บ้าน, End of life careการดูแลผู้ป่วยระยะท้ายที่บ้าน, End of life care
การดูแลผู้ป่วยระยะท้ายที่บ้าน, End of life care
Khanawut Nitikul
 
2016 Respiratory Assessment
2016 Respiratory Assessment2016 Respiratory Assessment
2016 Respiratory Assessment
Nursing Room By Rangsima
 
การบำบัดทางชีวภาพ การให้การปรึกษาทางสุขภาพ และ การบำบัดทางจิตสังคม
การบำบัดทางชีวภาพ การให้การปรึกษาทางสุขภาพ และ การบำบัดทางจิตสังคมการบำบัดทางชีวภาพ การให้การปรึกษาทางสุขภาพ และ การบำบัดทางจิตสังคม
การบำบัดทางชีวภาพ การให้การปรึกษาทางสุขภาพ และ การบำบัดทางจิตสังคม
Utai Sukviwatsirikul
 

What's hot (20)

Cpg obesity in children
Cpg obesity in childrenCpg obesity in children
Cpg obesity in children
 
ไขสันหลัง
ไขสันหลังไขสันหลัง
ไขสันหลัง
 
ศ นย ควบค_มระประสาท (ต_อ)
ศ นย ควบค_มระประสาท (ต_อ)ศ นย ควบค_มระประสาท (ต_อ)
ศ นย ควบค_มระประสาท (ต_อ)
 
Ped emergency final to ems พญ.ศิราภรณ์ สวัสดิวร
Ped emergency final to ems พญ.ศิราภรณ์ สวัสดิวรPed emergency final to ems พญ.ศิราภรณ์ สวัสดิวร
Ped emergency final to ems พญ.ศิราภรณ์ สวัสดิวร
 
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
 
1. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับหลักการเรียนรู้ทักษะกลไกการเคลื่อนไหว (1 57) wk 2-4
1. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับหลักการเรียนรู้ทักษะกลไกการเคลื่อนไหว (1 57) wk 2-41. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับหลักการเรียนรู้ทักษะกลไกการเคลื่อนไหว (1 57) wk 2-4
1. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับหลักการเรียนรู้ทักษะกลไกการเคลื่อนไหว (1 57) wk 2-4
 
นวัตกรรมการปฏิบัติที่เป็นเลิศ
นวัตกรรมการปฏิบัติที่เป็นเลิศนวัตกรรมการปฏิบัติที่เป็นเลิศ
นวัตกรรมการปฏิบัติที่เป็นเลิศ
 
วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ (1)
วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ (1)วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ (1)
วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ (1)
 
ตัวอย่างงานกาพย์ห่อโคลง
ตัวอย่างงานกาพย์ห่อโคลงตัวอย่างงานกาพย์ห่อโคลง
ตัวอย่างงานกาพย์ห่อโคลง
 
Kanniga 31 jan
Kanniga 31 janKanniga 31 jan
Kanniga 31 jan
 
Total parenteral nutrition
Total parenteral nutrition Total parenteral nutrition
Total parenteral nutrition
 
Dementia in Thai
Dementia in ThaiDementia in Thai
Dementia in Thai
 
Power point งานสุขศึกษา 2
Power point งานสุขศึกษา 2Power point งานสุขศึกษา 2
Power point งานสุขศึกษา 2
 
การส่งเสริมการใช้ยาปฏิชีวนะอย่างสมเหตุผลในร้านยาปี พ.ศ. 2555
การส่งเสริมการใช้ยาปฏิชีวนะอย่างสมเหตุผลในร้านยาปี พ.ศ. 2555การส่งเสริมการใช้ยาปฏิชีวนะอย่างสมเหตุผลในร้านยาปี พ.ศ. 2555
การส่งเสริมการใช้ยาปฏิชีวนะอย่างสมเหตุผลในร้านยาปี พ.ศ. 2555
 
งานวิจัยในชั้นเรียนวิตกกังวล
งานวิจัยในชั้นเรียนวิตกกังวลงานวิจัยในชั้นเรียนวิตกกังวล
งานวิจัยในชั้นเรียนวิตกกังวล
 
ระบบยา
ระบบยาระบบยา
ระบบยา
 
แผนการสอน ผลิตสื่อวีดีทัศน์ ม.6
แผนการสอน ผลิตสื่อวีดีทัศน์ ม.6แผนการสอน ผลิตสื่อวีดีทัศน์ ม.6
แผนการสอน ผลิตสื่อวีดีทัศน์ ม.6
 
การดูแลผู้ป่วยระยะท้ายที่บ้าน, End of life care
การดูแลผู้ป่วยระยะท้ายที่บ้าน, End of life careการดูแลผู้ป่วยระยะท้ายที่บ้าน, End of life care
การดูแลผู้ป่วยระยะท้ายที่บ้าน, End of life care
 
2016 Respiratory Assessment
2016 Respiratory Assessment2016 Respiratory Assessment
2016 Respiratory Assessment
 
การบำบัดทางชีวภาพ การให้การปรึกษาทางสุขภาพ และ การบำบัดทางจิตสังคม
การบำบัดทางชีวภาพ การให้การปรึกษาทางสุขภาพ และ การบำบัดทางจิตสังคมการบำบัดทางชีวภาพ การให้การปรึกษาทางสุขภาพ และ การบำบัดทางจิตสังคม
การบำบัดทางชีวภาพ การให้การปรึกษาทางสุขภาพ และ การบำบัดทางจิตสังคม
 

Viewers also liked

Tutorial wordpress.ivan espinosa
Tutorial wordpress.ivan espinosaTutorial wordpress.ivan espinosa
Tutorial wordpress.ivan espinosaIiVv AaNn
 
Uominiedonne
UominiedonneUominiedonne
Uominiedonneclaradiga
 
コミュニケーションと情報
コミュニケーションと情報コミュニケーションと情報
コミュニケーションと情報
Tomohiro Shinden
 
Thayer150
Thayer150Thayer150
Thayer150
Drew Endy
 
การส่งเสริมการขับถ่ายอุจจาระ 57
การส่งเสริมการขับถ่ายอุจจาระ 57การส่งเสริมการขับถ่ายอุจจาระ 57
การส่งเสริมการขับถ่ายอุจจาระ 57
Sirinoot Jantharangkul
 
Il Socialismo Democratico nell'Era della Post-Verità
Il Socialismo Democratico nell'Era della Post-VeritàIl Socialismo Democratico nell'Era della Post-Verità
Il Socialismo Democratico nell'Era della Post-Verità
Luigi De Michele
 
Sr noso
Sr nosoSr noso
Lenin servicio comunitario
Lenin servicio comunitarioLenin servicio comunitario
Lenin servicio comunitario
lenin rivas
 
Ss3 u5 spanish
Ss3 u5 spanishSs3 u5 spanish
Ss3 u5 spanish
Alejandro Es Díaz
 
How to write a good presentation using slides.
How to write a good presentation using slides.How to write a good presentation using slides.
How to write a good presentation using slides.
Ben Booth
 
Ancient Greece Governments
Ancient Greece GovernmentsAncient Greece Governments
Ancient Greece Governments
reach
 
Atropine
Atropine Atropine
Atropine
HAMAD DHUHAYR
 
Tallerpractico 10 claves liboria renteria urrutia
Tallerpractico 10 claves  liboria renteria urrutiaTallerpractico 10 claves  liboria renteria urrutia
Tallerpractico 10 claves liboria renteria urrutia
Liboria Urrutia
 
2015 Upload Campaigns Calendar - SlideShare
2015 Upload Campaigns Calendar - SlideShare2015 Upload Campaigns Calendar - SlideShare
2015 Upload Campaigns Calendar - SlideShare
SlideShare
 
What to Upload to SlideShare
What to Upload to SlideShareWhat to Upload to SlideShare
What to Upload to SlideShare
SlideShare
 
Getting Started With SlideShare
Getting Started With SlideShareGetting Started With SlideShare
Getting Started With SlideShare
SlideShare
 

Viewers also liked (17)

Tutorial wordpress.ivan espinosa
Tutorial wordpress.ivan espinosaTutorial wordpress.ivan espinosa
Tutorial wordpress.ivan espinosa
 
Uominiedonne
UominiedonneUominiedonne
Uominiedonne
 
コミュニケーションと情報
コミュニケーションと情報コミュニケーションと情報
コミュニケーションと情報
 
Thayer150
Thayer150Thayer150
Thayer150
 
การส่งเสริมการขับถ่ายอุจจาระ 57
การส่งเสริมการขับถ่ายอุจจาระ 57การส่งเสริมการขับถ่ายอุจจาระ 57
การส่งเสริมการขับถ่ายอุจจาระ 57
 
Il Socialismo Democratico nell'Era della Post-Verità
Il Socialismo Democratico nell'Era della Post-VeritàIl Socialismo Democratico nell'Era della Post-Verità
Il Socialismo Democratico nell'Era della Post-Verità
 
Sr noso
Sr nosoSr noso
Sr noso
 
Lenin servicio comunitario
Lenin servicio comunitarioLenin servicio comunitario
Lenin servicio comunitario
 
Ss3 u5 spanish
Ss3 u5 spanishSs3 u5 spanish
Ss3 u5 spanish
 
22
2222
22
 
How to write a good presentation using slides.
How to write a good presentation using slides.How to write a good presentation using slides.
How to write a good presentation using slides.
 
Ancient Greece Governments
Ancient Greece GovernmentsAncient Greece Governments
Ancient Greece Governments
 
Atropine
Atropine Atropine
Atropine
 
Tallerpractico 10 claves liboria renteria urrutia
Tallerpractico 10 claves  liboria renteria urrutiaTallerpractico 10 claves  liboria renteria urrutia
Tallerpractico 10 claves liboria renteria urrutia
 
2015 Upload Campaigns Calendar - SlideShare
2015 Upload Campaigns Calendar - SlideShare2015 Upload Campaigns Calendar - SlideShare
2015 Upload Campaigns Calendar - SlideShare
 
What to Upload to SlideShare
What to Upload to SlideShareWhat to Upload to SlideShare
What to Upload to SlideShare
 
Getting Started With SlideShare
Getting Started With SlideShareGetting Started With SlideShare
Getting Started With SlideShare
 

Similar to ความผิดปกติด้านการนอน

การทำงานของระบบประสาทสั่งการ
การทำงานของระบบประสาทสั่งการการทำงานของระบบประสาทสั่งการ
การทำงานของระบบประสาทสั่งการWan Ngamwongwan
 
3.ศูนย์กลางประสาท
3.ศูนย์กลางประสาท3.ศูนย์กลางประสาท
3.ศูนย์กลางประสาท
Wichai Likitponrak
 
Nerve cell
Nerve cellNerve cell
Nerve cellBiobiome
 
บทท 8 ระบบประสาท (1)
บทท   8 ระบบประสาท (1)บทท   8 ระบบประสาท (1)
บทท 8 ระบบประสาท (1)
Natthaya Khaothong
 
โครงสร้างของระบบประสาท
โครงสร้างของระบบประสาทโครงสร้างของระบบประสาท
โครงสร้างของระบบประสาท
Wan Ngamwongwan
 
การทำงานของระบบประสาท
การทำงานของระบบประสาทการทำงานของระบบประสาท
การทำงานของระบบประสาท
Thitaree Samphao
 
เคล็ดลับนอนหลับ1
เคล็ดลับนอนหลับ1เคล็ดลับนอนหลับ1
เคล็ดลับนอนหลับ1topsaby99
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาทyangclang22
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาทbowpp
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาท
kalita123
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาท
kruchanon2555
 
ศูนย์ควบคุมระบบประสาท
ศูนย์ควบคุมระบบประสาท ศูนย์ควบคุมระบบประสาท
ศูนย์ควบคุมระบบประสาท
Thitaree Samphao
 
ภาวะง่วงง่ายผิดปกติ(Excessive daytime sleepiness)
ภาวะง่วงง่ายผิดปกติ(Excessive daytime sleepiness)ภาวะง่วงง่ายผิดปกติ(Excessive daytime sleepiness)
ภาวะง่วงง่ายผิดปกติ(Excessive daytime sleepiness)ครูอู๋ มังษะชาติ
 
มหัศจรรย์ระบบประสาท
มหัศจรรย์ระบบประสาทมหัศจรรย์ระบบประสาท
มหัศจรรย์ระบบประสาท
KPainapa
 
มหัศจรรย์ระบบประสาท
มหัศจรรย์ระบบประสาทมหัศจรรย์ระบบประสาท
มหัศจรรย์ระบบประสาท
KPainapa
 
มหัศจรรย์ระบบประสาท
มหัศจรรย์ระบบประสาทมหัศจรรย์ระบบประสาท
มหัศจรรย์ระบบประสาท
KPainapa
 

Similar to ความผิดปกติด้านการนอน (20)

การทำงานของระบบประสาทสั่งการ
การทำงานของระบบประสาทสั่งการการทำงานของระบบประสาทสั่งการ
การทำงานของระบบประสาทสั่งการ
 
3.ศูนย์กลางประสาท
3.ศูนย์กลางประสาท3.ศูนย์กลางประสาท
3.ศูนย์กลางประสาท
 
Nerve cell
Nerve cellNerve cell
Nerve cell
 
บทท 8 ระบบประสาท (1)
บทท   8 ระบบประสาท (1)บทท   8 ระบบประสาท (1)
บทท 8 ระบบประสาท (1)
 
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5
 
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5
 
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5
 
โครงสร้างของระบบประสาท
โครงสร้างของระบบประสาทโครงสร้างของระบบประสาท
โครงสร้างของระบบประสาท
 
การทำงานของระบบประสาท
การทำงานของระบบประสาทการทำงานของระบบประสาท
การทำงานของระบบประสาท
 
เคล็ดลับนอนหลับ1
เคล็ดลับนอนหลับ1เคล็ดลับนอนหลับ1
เคล็ดลับนอนหลับ1
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาท
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาท
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาท
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาท
 
ศูนย์ควบคุมระบบประสาท
ศูนย์ควบคุมระบบประสาท ศูนย์ควบคุมระบบประสาท
ศูนย์ควบคุมระบบประสาท
 
ภาวะง่วงง่ายผิดปกติ(Excessive daytime sleepiness)
ภาวะง่วงง่ายผิดปกติ(Excessive daytime sleepiness)ภาวะง่วงง่ายผิดปกติ(Excessive daytime sleepiness)
ภาวะง่วงง่ายผิดปกติ(Excessive daytime sleepiness)
 
มหัศจรรย์ระบบประสาท
มหัศจรรย์ระบบประสาทมหัศจรรย์ระบบประสาท
มหัศจรรย์ระบบประสาท
 
มหัศจรรย์ระบบประสาท
มหัศจรรย์ระบบประสาทมหัศจรรย์ระบบประสาท
มหัศจรรย์ระบบประสาท
 
มหัศจรรย์ระบบประสาท
มหัศจรรย์ระบบประสาทมหัศจรรย์ระบบประสาท
มหัศจรรย์ระบบประสาท
 
ระบบต่อมไร้ท่อ
ระบบต่อมไร้ท่อระบบต่อมไร้ท่อ
ระบบต่อมไร้ท่อ
 

Recently uploaded

การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
Prachyanun Nilsook
 
atwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtxatwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtx
Bangkok, Thailand
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdfงานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 

Recently uploaded (10)

การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
 
atwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtxatwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtx
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
 
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdfงานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 

ความผิดปกติด้านการนอน

  • 2. การนอนหลับปกติ(Normal sleep pattern) ◦เมื่อเข้านอนประมาณ 15-20 นาทีจะเริ่มเคลิ้มหลับ (Sleep Latency) ◦ระยะของการนอนหลับ (Sleep stages) วิธีการที่ใช้ในการแยกระยะต่างๆ ของการนอนหลับ คือ polysomnography (PSG) ซึ่ง ประกอบด้วยการบันทึกหลักๆ 3 ชนิด คือ ◦คลื่นไฟฟ้าสมอง (electroencephalogram; EEG) เพื่อบันทึกการทางานของสมอง ◦คลื่นไฟฟ้าจากลูกตา (electro-oculogram, EOG) แสดงถึงการกลอกตา ◦คลื่นไฟฟ้ากล้ามเนื้อ (electromyogram; EMG) บันทึกการหดตัวและความตึงตัวของกล้ามเนื้อ (muscle tone)
  • 3.
  • 5. จาก polysomnography สามารถแยกการช่วงของการนอนหลับได้เป็น ◦ non-rapid eye movement (NREM) sleepA state of sleep characterized by slowing of the EEG rhythms, high muscle tone, absence of eye movements, and thoughtlike mental activity. In this state the brain is inactive while the body is active. NREM is made up of 4 stages: แบ่งย่อยออกได้เป็น 4 ระยะ (stage I - IV) ตามระดับความลึกของการนอนหลับ เมื่อหลับลึกลักษณะคลื่นEEGมีขนาดใหญ่ขึ้นและความถี่ลดลง ◦ rapid eye movement (REM) sleep
  • 6.
  • 7. ◦ NREM stage I เป็นระยะเริ่มหลับ คลื่นไฟฟ้าสมองจะมีขนาดเล็ก มีความถี่หลายๆ ความถี่ สังเกตเห็น theta wave ซึ่งระยะนี้สามารถปลุกให้ตื่นได้ง่าย ◦ NREM stage II จะสังเกตเห็นคลื่นไฟฟ้าสมองที่มีลักษณะเป็น sinusoidal wave ซึ่งมีขนาดสูงตรงกลาง มากกว่าที่ส่วนเริ่มต้นและส่วนปลาย (sleep spindles) และ biphasic wave ที่มีขนาดใหญ่ (K complexes) ◦ NREM stage III และ NREM stage IV เป็นระยะที่หลับลึก ปลุกให้ตื่นได้ยาก คลื่นไฟฟ้าสมองที่เด่น คือ delta wave เรียกระยะนี้ของการนอนหลับว่า slow wave sleep (SWS) ในบางตาราจะรวม ทั้งสองระยะนี้ของการนอนหลับเป็น NREM stage III ของการนอนหลับ ◦ ตลอดช่วง NREM sleep การหดตัวของกล้ามเนื้อและความตึงตัวของกล้ามเนื้อจะลดลงตามลาดับ และ ไม่พบการกลอกตาเป็นจังหวะในระยะนี้ non-rapid eye movement (NREM)
  • 8. rapid eye movement (REM) ◦ REM Sleep เป็นระยะที่ยังคงหลับอยู่แต่คลื่นไฟฟ้าฟ้าสมองมีขนาดเล็กและความถี่สูงคล้าย beta wave อาจเรียกอีกชื่อหนึ่งว่า paradoxical sleep มีการกลอกตาเป็นจังหวะอย่างรวดเร็ว ความตึงตัวของกล้ามเนื้อหายไป ยกเว้นกล้ามเนื้อextra ocular muscle และ middle ear sympathetic activity จะสูงขึ้น อาจพบการแข็งตัวของอวัยวะเพศเกิดขึ้นในช่วง REM sleep เป็นภาวะที่มีการฝัน
  • 9.
  • 10.
  • 11. Stage EEG Findings Distribution Stage 1 Disappearance of alpha wave and appearance of theta wave 5% Stage 2 k compelexes and sleep spindles 45% Stage 3 Appearance of delta wave 12% Stage 4 Continuation of delta wave 13% REM Bursts of sawtooth waves 25%
  • 12. โครงสร้างของการนอนหลับ (Sleep architectures) ◦ในแต่ละคืนของการนอนหลับปกติ จะมี NREM – REM ประมาณ 4 – 6 รอบ (cycle) ต่อเนื่องกันไป เรียกวงจรของ NREM – REM นี้ว่า ultradian rhythm ซึ่งแต่ละรอบจะใช้ เวลาประมาณ 90 – 110 นาที ◦ในcycleหลัง REM จะนานขึ้น stage 3 และ 4 น้อยลง
  • 13.
  • 14.
  • 15. ระบบประสาทควบคุมการนอนหลับและการตื่น (Neural regulation of Sleep-Wake) ◦Brain stem มีกลุ่มเซลล์ประสาทreticular activating system (RAS) มีบทบาท สาคัญต่อการตื่น (wakefulness) ◦Hypothalamus -posterior hypothalamus มีบทบาทสาคัญต่อการตื่น -anterior hypothalamusมีบทบาทสาคัญต่อการนอนหลับ
  • 16. Cerebralcortex Burst firing Tonic firing LDT/PPT RP LC RP LC LDT/PPT 5-HT NE ACh K+ Thalamic relay neuron 5-HT2 1 M1 Reticular activating system (RAS) - locus ceruleus (LC) - raphe nucleus (RP) - laterodorsal/peduculopontine tegmental nuclei (LDT/PPT) beta wave / desynchronized EEG
  • 18.
  • 22. Insomnia เป็นความผิดปกติของการนอนหลับที่พบบ่อยที่สุด เป็นภาวะที่บุคคลมีความรู้สึกว่า -นอนไม่เพียงพอ -นอนหลับยากใช้เวลามากกว่า 30 นาทีจึงหลับ -หลับไม่ต่อเนื่อง (ตื่นกลางคืนบ่อย หรือตื่นเช้าเกินไปและไม่สามารถหลับต่อ) เป็นผลให้เกิดอาการในเวลากลางวัน เช่น อ่อนเพลีย ขาดสมาธิ ความจาไม่ดี ประสิทธิภาพในการทางานลดลง แบ่งออกเป็น ◦ 1) Transient Insomnia ◦ 2) short-term insomnia ◦ 3) Long-term Insomnia
  • 23. ◦1) Transient Insomnia พบในคนปกติที่เกิดความเครียดเฉียบพลัน (acute stress)มักมีอาการ2-3วัน ◦2) short-term insomnia ได้แก่การนอนไม่หลับไม่เกิน 3 สัปดาห์ สาเหตุที่พบ บ่อยที่สุดคือความกดดันอาชีพการงาน การเปลี่ยนแปลงของสิ่งแวดล้อม เช่น ใกล้สอบ ตกงาน เปลี่ยนที่พัก เป็นต้น ◦3)Long-term Insomnia ได้แก่การนอนไม่หลับเรื้อรังนานกว่า 3 สัปดาห์
  • 24. สาเหตุของการนอนไม่หลับ 1. Psychiatric disorder major depression, anxiety disorder 2. Physical cause alcohol, coffee, stimulant drugs 3. Medical and neurologic disorders chronic pain, chronic illness 4. Psychophysiologic and conditioned insomnia environmental factor, bereavement, life stress
  • 25. ◦การรักษา รักษาตามสาเหตุ ร่วมไปกับการให้ผู้ป่วยมี sleep hygiene ที่ดี อาจต้องใช้ยาช่วยให้หลับร่วม ควรให้เป็นช่วงสั้น ๆ เป็นครั้งคราวเท่านั้น Sleep hygiene -เข้านอนและตื่นนอนให้เป็นเวลา -ออกกาลังกายอย่างสม่าเสมอ ไม่ควรออกกาลังกายก่อนนอน -จัดสิ่งแวดล้อมให้เหมาะสม หลีกเลี่ยงเสียงดัง หรืออากาศร้อน -ทาจิตใจให้สบายก่อนนอน หลีกเลี่ยงสิ่งที่กระตุ้นจิตใจ -ไม่ใช้เตียงทากิจกรรมอื่น ๆ เช่น อ่านหนังสือ รับประทานอาหาร -หากนอนไม่หลับนานเกิน 30 นาที ให้ลุกจากเตียง ทากิจกรรมอื่นจนง่วง จึงเข้านอนใหม่ -งดสุรา กาแฟ ก่อนนอน
  • 26. การรักษาด้วยยา medical treatment ◦ benzodiazepines -เป็นยาหลักในการรักษาอาการนอนไม่หลับ -ออกฤทธิ์โดยการจับที่ benzodiazepine receptor sites ที่ GABAA receptor complex -ทาให้ระยะเวลาก่อนหลับ (sleep latency) สั้นลง เพิ่มระยะเวลาหลับรวม (total sleep time) เพิ่มสัดส่วนร้อยละของการหลับขั้นที่ 2 (stage 2 sleep) ลดสัดส่วนร้อยละของการหลับชนิด delta sleep และ REM sleep1 -มีผลกดการทางานต่อระบบการหายใจ ไม่ควรใช้ยากลุ่มนี้กับผู้ป่วยโรค OSAและCOPD
  • 27. -พบการดื้อยาได้ในการใช้ยากลุ่มนี้ โดยเฉพาะยาที่มีค่ากึ่งชีวิตสั้น และใช้ติดต่อกันนานกว่า 1-2 สัปดาห์ -เมื่อหยุดยาทันทีจะเกิดอาการถอนยา(withdrawal) เช่น วิตกกังวล อ่อนเพลีย วิงเวียน ซึมเศร้า สั่น นอนไม่หลับมากขึ้น (rebound insomnia) -ยาที่มีค่ากึ่งชีวิตยาวมีโอกาสเกิดง่วงในวันรุ่งขึ้นได้มากกว่ายาที่มีค่ากึ่งชีวิตสั้น -ยาที่มีค่ากึ่งชีวิตสั้น จะพบปัญหาความจาในวันรุ่งขึ้น
  • 28.
  • 29. ยา Zolpidem (Stilnox ) ◦ imidazopyridine hypnotic ◦ ไม่ใช่โครงสร้างในกลุ่ม benzodiazepine แต่ออกฤทธิ์โดยการจับที่ benzodiazepine binding site ของ GABAA receptor complex ◦ จับเฉพาะ BZ1 receptor เป็นเหตุให้ยานี้ ให้ผล anticonvulsant, myorelaxant, anxiolytic น้อยมาก ◦ ออกฤทธิ์เร็วให้ผลในช่วงสั้น ไม่มี active metabolite ◦ มีค่ากึ่งชีวิตของยานาน 2-3 ชั่วโมง ◦ ผลของยาต่อการนอนหลับพบว่ายา zolpidem ไม่เปลี่ยนโครงสร้างการนอนหลับ (sleep architecture) อย่างกลุ่มยา benzodiazepine ซึ่งมักจะลดการหลับชนิด REM และ delta sleep ◦ พบว่ายา zolpidem 10 มก. ก่อนนอน ไม่มีผลต่อการหายใจระหว่างหลับในผู้ป่วยโรค chronic obstructive pulmonary disease (COPD)
  • 30. ◦ barbiturates- ยา amobarbital, pentobarbital, phenobarbital, secobarbital เป็นต้น ◦choral hydrate ◦สาร L-tryptopha เป็น essential amino acid ซึ่งเป็นสารที่ใช้สังเคราะห์ serotonin (“natural” hypnotic) ◦สาร Melatonin เป็น neurohormone สร้างจาก serotonin ที่ pineal gland ไม่พบหลักฐาน เพียงพอที่แสดงว่าสาร melatonin ช่วยการนอนหลับที่ไม่สัมพันธ์กับ circadian rhythm ◦สาร Barakol ต้นขี้เหล็ก (cassia siamea) สกัด alkaloid จากใบ พบว่ามีการออกฤทธิ์ต่อ ประสาทส่วนกลางและมีผลช่วยการนอนหลับ
  • 33.
  • 34. Narcolepsy tetrad ◦Somnolence อาการง่วงในช่วงกลางวัน Excessive Daytime Sleepiness (EDS) ◦Cataplexy การมีกล้ามเนื้ออ่อนแรงกะทันหัน จากการมีสิ่งเร้าด้านอารมณ์สูง ◦Sleep paralysis กล้ามเนื้ออ่อนแรงในช่วงเคลิ้มก่อนตื่นนอน ◦Hypnagogic hallucination ประสาทหลอนช่วงเคลิ้มหลับ *abnormal REM sleep เข้าสุ่ช่วงREM sleep อย่างรวดเร็ว
  • 35.
  • 36.
  • 37.
  • 38.
  • 39. การให้การวินิจฉัย ◦ตรวจการนอนหลับ polysomnogram(PSG) ◦ และตรวจ multiple sleep latency test (MSLT) ตรวจเกี่ยวกับอาการง่วงนอนมากผิดปกติ ในเวลากลางวัน โดยจะทาต่อเนื่องหลังจากคืนที่ทาการตรวจ PSG ตรวจหาsleep latency และ REM sleep latency ทาการตรวจวัดหลายๆครั้ง ห่างกันครั้งละ 2 ชั่วโมง คนปกติมีค่า MSLT 10นาที
  • 40. การรักษา Treatment of Excessive Daytime Sleepiness ◦ stimulants or wake promoting medications ◦ Sleep hygiene
  • 41. Treatment of REM Symptoms ◦ Antidepressants ◦ aimed to treat Cataplexy Hypnagogic and Hypnopompic Hallucinations, ◦ Sodium Oxibate (Xyrem®)
  • 42. Klein-Levin syndrome ◦ recurrent episodes of hypersomnia ◦ นอนมากและนานเฉลี่ย12 -24 ชมต่อวัน ◦ มักพบโรคในวัยรุ่นชาย ◦พบความผิดปกติของ serotonergic or dopaminergic pathway. ◦
  • 43. Breathing-related Sleep Disorder (Sleep Apnea) การหายใจของผู้ป่วยหยุดลงอย่างน้อย 10 วินาที เป็นมากกว่า 5 ครั้งต่อชั่วโมง ตามมาด้วยการ สะดุ้งตื่น(arousal) การหยุดหายใจช่วงREMยาวกว่าNREMเนื่องจาก REM arousal treashold สูง มักจะมาด้วยอาการกรนเสียงดังเป็นประจา (habitual loud snoring) มีผู้สังเกตว่าหยุดหายใจขณะหลับ (witnessed apnea) ง่วงนอนมากผิดปกติในเวลากลางวัน (excessive daytime sleepiness) แบ่งออกเป็น - central type เกิดจากพยาธิสภาพในสมอง - obstructive type ซึ่งผู้ป่วยหยุดหายใจ ขณะพยายามหายใจเข้า inspiratory effort
  • 44.
  • 45. เกณฑ์ที่ใช้ในการวินิจฉัยโรค คือ ◦ ดัชนีการหยุดหายใจและหายใจแผ่ว หรือ apnea-hypopnea index (AHI) คือ ความถี่ของ apnea และ hypopnea ระหว่างการนอนหลับจริง (sleep time) ≥ 5 ครั้งต่อชั่วโมง ◦ ดัชนีการหายใจผิดปกติ หรือ respiratory-disturbance index (RDI) คือ ความถี่ของ apnea, hypopnea และ respiratory effort-related arousal (RERAs) ระหว่างการนอนหลับจริง (sleep time) ≥ 5 ครั้งต่อ ชั่วโมงเช่นกัน RERAเป็นภาวะที่เกิดจากการอุดกั้นทางเดินหายใจ ทาให้มีการสะดุ้งตื่น เกิด sleep fragmentation ได้โดยไม่มีลักษณะของ apnea หรือ hypopnea ที่ชัดเจน
  • 46. ผู้ป่วยAHI > 20 มีอัตราการตายสูง ควรได้การรักษาทุกราย
  • 47. ◦ ระหว่างที่หยุดหายใจมีการเพิ่มขึ้นของความดันก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ (CO2) ในเลือด ทาให้เลือดมี ความเป็นกรดเพิ่มขึ้น (acidosis) ภาวะที่เป็นกรดนี้จะกระตุ้น chemoreceptor ให้ผู้ป่วยตื่นขึ้น มีความตึง ตัวของกล้ามเนื้อกลับมาดังเดิม เพื่อให้หายใจได้ปกติ แล้วก็หลับต่อ ◦ การลดลงของระดับออกซิเจนในเลือด จะกระตุ้นให้มีการหลั่ง catecholamine ทาให้หลอดเลือดทั่ว ร่างกาย และหลอดเลือดในปอดหดตัว เกิดความดันโลหิตสูงและโรคความดันโลหิตในปอดสูง (pulmonary hypertension) ตามลาดับ ซึ่งการที่มีโรคความดันโลหิตในปอดสูงนี้จะทาให้เกิด right ventricular hypertrophy และเกิด right heart failure ตามมาได้.
  • 48. การรักษา 1. การใช้เครื่องอัดอากาศแรงดันบวก (Positive Airway Pressure:CPAP) 2. การผ่าตัดแก้ไขทางเดินหายใจในส่วนต่างๆที่มีภาวะตีบแคบ เช่น การผ่าตัดต่อมทอลซิล
  • 49. Circadian Rhythm Sleep Disorder ทีสาคัญมี 3 ชนิด ได้แก่ 1) Delayed-sleep Phase Type 2) Jet Lag Type 3) Shift Work Sleep Type
  • 50. Circadian rhythm ◦สิ่งมีชีวิตมีนาฬิกาชีวิต (biological clock) ที่ทาหน้าที่ควบคุมการทางานของระบบต่างๆ ◦นาฬิกาชีวิตที่สาคัญตามธรรมชาติจึงมีการเปลี่ยนแปลงตามความมืด-ความสว่าง เรียก ◦ศูนย์กลางควบคุม circadian rhythm คือตัวที่ทาหน้าที่สร้างจังหวะ (circadian pacemaker) ซึ่งอยู่ที่ส่วน suprachiasmatic nucleus (SCN) ของสมองส่วนไฮโปธาลามัส
  • 51.
  • 52. 1) Delayed-sleep Phase Type -delayed sleep phase syndrome (DSPS) เป็นโรคที่พบได้บ่อยในวัยรุ่น -มี circadian rhythm ยาวกว่าปกติ ทาให้ไม่รู้สึกง่วงนอนและนอนไม่หลับเมื่อถึงเวลาที่เคย นอน ผู้ป่วยง่วงนอนในเวลาช้ากว่าคนทั่วไปมาก เช่น เวลา 3- 6 โมงเช้า -แต่ลักษณะการนอนหลับหลับปกติ -รักษาโดยให้นอนช้าขึ้นกว่าเดิมวันละ 2-3 ชั่วโมงจนกว่าจะถึงเวลาที่ปกติ
  • 53. 2) Jet Lag Type เกิดจาการเดินทางข้ามหลายๆ เขตเวลา (time zone) ในช่วงเวลาสั้นๆ ทาให้ circadian rhythm ของร่างกายไม่สามารถปรับตัวสอดคล้องกับเวลากลางวัน-กลางคืน มีภาวะง่วงซึมหรือไม่ง่วงนอน ตามเวลาของท้องถิ่นนั้น ๆ พบเมื่อเดินทางไปทิศตะวันออกมากกว่าทิศตะวันตก การใช้เมลาโทนินก็อาจช่วยลดอาการได้
  • 54. 3) Shift Work Sleep Type พบบ่อยในผู้ที่ทางานเป็นผลัด และต้องเปลี่ยนผลัดในการทางานอยู่เรื่อย ๆ ทาให้จังหวะการ นอนหลับสับสน นอนไม่หลับหรือหลับ ๆ ตื่น ๆ แก้ไขโดยการเปลี่ยนผลัดให้เปลี่ยนเป็น เวลาต่อไป (ใช้เวลาปรับตัว 2-3 วัน) แทนที่จะเปลี่ยนเวลาขึ้นมา (ใช้เวลาปรับตัว 6-7 วัน) เช่น เดิมทางานผลัด 8-16 นาฬิกา ต่อไปควรทาผลัด 16-24 นาฬิกา แทนที่จะทาผลัด 24-8 นาฬิกา และอาจให้มีช่วงงีบหลับตอนกลางวัน
  • 55. Parasomnias ◦ พฤติกรรมหรืออาการแสดงที่ผิดปกติระหว่างการนอนหลับ ◦ สามารถเกิดได้ทุกstageของการนอน(REM and NREM) ◦ NREM parasomnias. เกิดในช่วงต้นของการนอนหลับ เป็นช่วงที่นอนหลับลึกมากที่สุด เนื่องจากมี NREM sleep มากที่สุด ผู้ป่วยจะจดจาเหตุการณ์ได้น้อย ◦REM sleep parasomnias เกิดในช่วงท้ายของการนอน เนื่องจากมีREM sleepมากที่สุด ผู้ป่วยจะ จดจาเหตุการณ์หรือความฝันได้มาก
  • 56. ◦ Parasomnias - Risk Factors Age ◦ Childhood: sleepwalking bedwetting Genetics ◦ If sleepwalking, night terrors or certain other parasomnias run in your family, you are more likely to have them. Stress ◦ Some people are more likely to sleepwalk or have other parasomnias when they are under stress Post-Traumatic Stress Disorder ◦ Nightmare disorder and trauma-related nightmares are frequently associated with PTSD. ◦ Nearly 80 percent of patients with PTSD have nightmares within three months of the trauma.
  • 57. Medications Some medications may cause other parasomnias. ◦ Sleepwalking disorder:, thioridazine, fluphenazine, perphenazine, desipramine, chloral hydrate, and lithium ◦ Sleep terror disorder:CNS depressant medications(alcohol,SSRI, TCA, hypnotics) ◦ Nightmare disorder: levodopa, beta-adrenergic drugs, and withdrawal of REM-suppressing medications Drug or Alcohol Abuse ◦ may also worsen the symptoms of some parasomnias. Other Disorders ◦ Some parasomnias are linked to other disorders. ◦ bedwetting is linked to obstructive sleep apnea and congestive heart failure. ◦ REM sleep behavior disorder is often associated with Parkinson’s disease.
  • 58. ◦ Non-REM (NREM) Sleep Parasomnias Sleepwalking(somnambulism) ◦ Sleepwalking involves getting up from bed and walking around when you are still asleep. ◦ sometimes involves a series of other complex actions ◦ eyes are usually open ◦ . Being woken up will not harm a sleepwalker ◦ Trying to restrain a sleepwalker may result in ◦ aggressive behavior such as kicking or biting.
  • 59. Confusional Arousals ◦ common in children. ◦ They result from partial or incomplete arousal from deep sleep, ◦ typically during the first third of the night. ◦ can last from a few minutes to a few hours. ◦ no memory of these episodes. ◦ In general, confusional arousals are benign and require no treatment.
  • 60. ◦ Sleep terrors (parvor nocturnus, incubus attacks). ◦ The individual sits up with an expression of terror ◦ displays autonomic arousal with rapid breathing, tachycardia, sweating, dilated pupils, and increased muscle tone ◦ The typical duration is between 30 seconds and 3 minutes ◦ the end of an attack, usually returns to sleep.
  • 61. ◦ Treatment of NREM parasomnias. ◦ For most children, treatment of parasomnias is not necessary ◦ reassured that events are not harmful ◦ Treatment may be needed if episodes are frequent, severe, and impose danger ◦ benzodiazepines, such as diazepam, oxazepam, and especially clonazepam usually help
  • 62. REM Sleep Parasomnias REM Sleep Behavior Disorder ◦ more common in the elderly. ◦ men are affected more frequently than women ◦ This potentially dangerous sleep disorder causes act out dreams ◦ There is a strong association between RBD and Lewy body-involving neurodegenerative disorders of Parkinson's disease, Treatment Clonazepam 0.5 to 1mg Melatonin at doses of 3 to 12mg tricyclic antidepressants, levodopa, and dopamine agonists, may also be effective.
  • 63. Nightmare Disorder ◦ Nightmares are frightening dreams ◦ usually awaken the sleeper from REM sleep ◦ fear and/or anxiety are the most frequent emotions ◦ Up to 40 percent have been diagnosed with schizotypal, borderline, or schizoid personality disorders. ◦ Treatment ◦ of nightmares includes psychotherapy, minimizing or avoiding stress, and minimizing the use of drugs ◦ cyproheptadine at doses of 4 to 16mg ◦ prazosin at doses of 5 to 10mg
  • 64. reference ◦ http://med-stud.narod.ru/med/misc/sleep.html ◦ http://www.sciencedirect.com/topics/page/Ventrolateral_preoptic_nucleus ◦ http://neurowiki2013.wikidot.com/individual:neurotransmitter-system-and-neural-circuits-gover ◦ http://www.dr-survival.com/academic/academic_detail.php?ac_id=&subacid=&acm_id=427 ◦ http://www.psychiatry.or.th/JOURNAL/v4518.html ◦ https://www.ncbi.nlm.nih.gov/pmc/articles/PMC3021925/ ◦ https://www.doctor.or.th/clinic/detail/6923 ◦ http://www.sleepeducation.org/essentials-in-sleep/parasomnias/symptoms ◦ https://www.ncbi.nlm.nih.gov/pmc/articles/PMC2958868/ ◦ Barrett KE, Barman SM, Boitano S, Brooks HL. Ganong’ s review of medicalphysiology. 23rd ed. Boston:McGraw-Hill; 2010. P. 229-240. ◦ Benarroch EE. Basic neuroscienceswith clinicalapplication.Philadelphia:Butterworth Heinemann/Elsevier; 2006. p. 771-805. ◦ Conn PM. Neuroscience in Medicine. 3rd ed. New Jersey: Humana; 2008. p. 623-649. ◦ Kandel ER, Schwartz JH, JessellTM, Siegelbaum SA, Hudspeth AJ. Principlesof neural science. 5th ed. New York: McGraw-Hill; 2013. ◦ Nolte J. Elsevier’s Integrated Neuroscience. Philadelphia:Mosby/Elsevier; 2007. p. 201-205.