SlideShare a Scribd company logo
1 of 103
ระบบประสาท
Nervous System 
Central Nervous System : 
CNS 
ระบบประสาทส่วนกลาง 
Brain Spinal cord 
ไขสันหลัง 
Peripheral Nervous System : 
PNS 
ระบบประสาทรอบนอก 
Somatic Nervous 
System 
ระบบประสาทโซมาติก 
Autonomic Nervous 
System 
ระบบประสาทอัตโนมัติ 
Sympatheti 
c 
Parasympathe 
tic
ระบบประสาทส่วนกลาง 
(The Central Nervous System; CNS) 
ระบบประสาทส่วนกลาง(The Central Nervous System) 
เป็นศูนย์กลางควบคุมการทา งานของร่างกาย ซึ่งทา งานพร้อมกันทั้ง 
ในด้านกลไกและทางเคมีภายใต้อา นาจจิตใจ ซ่งึประกอบด้วย 
1. สมอง 
2. ไขสันหลัง
ศูนย์ควบคุมระบบประสาท 
ศูนย์กลางของระบบประสาทของคน คือสมองและไขสันหลัง ซ่งึมี 
มีกา เนิดจากเนื้อเย่อืชั้นเอกโตเดิร์ม(ectoderm) ในระยะเอมบริโอ 
โดยการเปลี่ยนแปลงมาจากนิวรัลทิวบ์(neural tube) ซ่งึมี 
ลักษณะเป็นหลอดยาวไปตามแนวสันหลัง ต่อมาส่วนหน้าจะพอง 
ออกเป็นสมอง ส่วนตอนท้ายยังคงเป็นหลอดยาวกลายเป็นไขสันหลัง 
ส่วนหน้าที่พัฒนาเป็นสมอง จะแบ่งออกเป็น 3 ส่วน คือ 
1. สมองส่วนหน้า (forebrain) 
2. สมองส่วนกลาง (midbrain) 
3. สมองส่วนหลัง (hindbrain)
พัฒนาการของสมองและไขสันหลัง 
ของสัตว์มีกระดูกสันหลัง
ทั้งสมองและไขสันหลังมีเย่อืห้มุชนิ้เดยีวกัน เรียกว่า เย่อืเมนนิงจิส 
(Meninges) เป็นเยื่อห้มุที่ประกอบด้วยชั้นต่างๆ 3 ชั้น คือ 
1. ชั้นนอก มีลักษณะหนา เหนียว แข็งแรงมาก ทา หน้าที่ป้องกันการ 
กระทบกระเทือนแก่ส่วนที่เป็นสมองและไขสันหลัง 
2. ชั้นกลาง เป็นเยื่อบางๆ 
3. ชั้นใน เป็นชั้นที่มีเส้นเลือดมาหล่อเลีย้งมากมาย นาอาหารและ 
ออกซิเจนมาเลีย้งเนื้อเย่อืสมองและไขสันหลัง 
ระหว่างเนื้อเย่อืชั้นกลางกับช้นัในมีช่องบรรจุของเหลว เรียกว่า น้า 
หล่อเลีย้งสมอง-ไขสันหลัง(cerebrospinal floid; CSP) โดยจะ 
เป็นช่องติดต่อกันตลอด และมีทางติดต่อกับช่องตามยาวภายในไขสัน 
หลัง(central canal) ติดต่อกับโพรงในสมองด้วย
สมอง ไขสันหลังและเย่อืห้มุสมอง
น้าเลีย้งสมองและไขสันหลัง สร้างมาจากเส้นเลือดฝอยใน 
บริเวณโพรงสมอง (โดยจะสร้างเฉลี่ยประมาณ 0.30 ลูกบาศก์ 
เซนติเมตร /นาที หรือประมาณ 420 - 500 ลูกบาศก์เซนติเมตร/วัน ) 
น้าเลีย้งสมองและไขสันหลัง มีหน้าที่ 
1. นาสารอาหาร-แก๊สออกซิเจนมาเลีย้งเซลล์ประสาทและนาของ 
เสียออกจากเซลล์ 
2. หล่อเลีย้งให้สมองและไขสันหลังเปียกชืน้อยู่เสมอ 
ถ้าเกิดการอุดตันของทางเดินน้าเลีย้งสมองและไขสันหลัง จะ 
ทา ให้น้าเลีย้งนี้ไหลเวียนออกมาไม่ได้ จะเกิดภาวะน้าค่งัในสมอง ทา 
ให้ความดันในสมองสูงขึน้ ทา ให้มีอาการปวดศีรษะมาก - อันตราย
สมอง ไขสันหลังและเย่อืห้มุสมอง
สมอง (Brain) 
สมองของคนเป็นอวัยวะที่สา คัญและซับซ้อนท่สีุดของระบบ 
ประสาท มีน้าหนักประมาณ 1.4 กิโลกรัม บรรจุอยู่ภายในกะโหลกศีรษะ 
สมองประกอบด้วยเซลล์ประสาท ส่วนใหญ่เป็นเซลล์ประสาท 
ประสานงาน 
สมอง แบ่งเป็น 2 ชั้น คือ 
1. ชั้นนอกมีเนื้อสีเทา(gray matter ) เป็นที่รวมของตัวเซลล์ 
ประสาทและ axon ชนิดไม่มีเย่อืไมอีลินห้มุ(non-myelin 
sheath) 
2. ชั้นในมีสีขาว(white matter) เป็นที่รวมของเส้นประสาท 
ที่งอกจากเซลล์ประสาท และมีเย่อืไมอีลิน (myelin sheath) 
ห้มุ (ทา ให้เห็นเป็นสีขาว)
วิวัฒนาการของสมองในสัตว์มีกระดูกสันหลัง
สมองของสัตว์มีกระดูกสันหลัง ประกอบด้วย สมองส่วนหน้า 
(forebrain) สมองส่วนกลาง(midbrain) สมองส่วนท้าย 
(hindbrain) ในสัตว์มีกระดูกสันหลังต่างชนิดกัน จะมีขนาดของ 
สมอง 3 ส่วนไม่เท่ากัน ดังแผนภาพ 
จากแผนภาพ การพัฒนาของสมองคนมีพัฒนาการสูงที่สุด โดย 
นอกจากจะเพิ่มขนาดแล้ว ยังเพิ่มรอยหยักบนสมองอีกด้วย ซึ่งทา ให้ 
พืน้ที่ผิวของสมองเพ่มิมากขนึ้ จา นวนเซลล์ประสาทมากตามไปด้วย 
ความฉลาดของสัตว์ขึน้อยู่กับจา นวนเซลล์ประสาทในสมอง 
สัตว์ที่มีรอยหยักบนพืน้สมองมาก และมีสัดส่วนของน้าหนักสมอง 
ต่อน้าหนักตัวมาก จะมีแนวโน้มว่าจะมีเซลล์ประสาทมากกว่า และจะ 
ฉลาดกว่า
วิวัฒนาการของสมองในสัตว์มีกระดูกสันหลัง
ส่วนต่างๆ และหน้าที่ของสมอง 
สมองคน แบ่งออกเป็น 3 ส่วน ได้แก่ 
1. สมองส่วนหน้า (forebrain) ประกอบด้วย 
- อัลแฟลกตอรี บัลบ์ (Olfactory bulb) - ซีรีบรัม(Cerebrum) 
- ไฮโพทาลามัส (hypothalamus) - ทาลามัส (thalamus) 
2. สมองส่วนกลาง (midbrain) ประกอบด้วย 
- ออพติกโลบ (Optic lobe) 
3. สมองส่วนหลัง (hindbrain) ประกอบด้วย 
- เซรีเบลลัม (Cerebellum) 
- เมดัลลาออบลองกาตา (Medulla oblongata) 
- พอนส์ (pons)
1. สมองส่วนหน้า (forebrain) 
1. Olfactory bulb 
ทำหน้ำที่เกี่ยวกับกำรดมกลิ่น 
สมองส่วนนี้ของคนไม่เจริญมำก จึง 
รับกลิ่นได้ไม่ดี 
2. Cerebrum 
มีเซลล์ประสำทมำก ควำมฉลำดของ 
คนขึ้นอยู่กับจำนวนเซลล์สมอง ทำ 
หน้ำที่เกี่ยวกับควำมคิดควำมจำ เชำวน์- 
ปัญญำ เป็นศูนย์กลำงควบคุมกำรทำงำน 
ด้ำนต่ำงๆ เช่น กำรพูด กำรมองเห็น
สมองส่วนหน้า (forebrain) 
3. Thalamus 
ทำหน้ำที่เป็นศูนย์รวบรวมกระแส 
ประสำทที่ผ่ำนเข้ำออก และแยกกระแส 
ประสำทไปยังสมองที่เกี่ยวกับกระแส 
ประสำทนั้น 
4. Hypothalamus 
มีขนำดเล็ก มีควำมสำคัญในกำร 
ควบคุมขบวนกำรต่ำงๆ ของร่ำงกำย 
ควบคุมกำรทำงำนพื้นฐำนของร่ำงกำย 
เช่นควบคุมอุณหภูมิ,ควำมดันเลือด 
ควบคุมอำรมณ์ควำมรู้สึก ต่ำงๆ ฯลฯ
2. สมองส่วนกลาง (midbrain) 
ออพติกโลบ (Optic lobe) ทำหน้ำที่ควบคุมกำรเคลื่อนไหวของนัยน์ตำ, หัว 
และลำตัว เพื่อตอบสนองต่อแสงและเสียง และช่วยควบคุมกำร 
เคลื่อนไหวของร่ำงกำย
3. สมองส่วนหลัง (hindbrain) 
สมองส่วนหลังรวมกัน เรียก 
ว่ำ ก้ำนสมอง (Brain stem) 
ภำยในจะมีกลุ่มเซลล์ และใย 
ประสำท ทำหน้ำที่เป็นศูนย์ 
ควบคุมกำรมีสติสัมปชัญญะ 
ควบคุมกำรนอนหลับ กำรหลั่ง 
น้ำย่อย
สมองส่วนหลัง (hindbrain) 
1. เซรีเบลลัม (Cerebellum ) 
ประกอบด้วยเนื้อเยื่อ 2 ชั้น 
ชั้นนอกเรียกว่ำ cortex มีสี 
เทำ ชั้นในมีสีขำว 
ทำหน้ำที่ควบคุมกำรเคลื่อนไหว 
และกำรทรงตัวของร่ำงกำย
2. เมดัลลำออบลองกำตำ (Medulla oblongata ) 
- ติดกับไขสันหลัง 
- ทำหน้ำที่ควบคุมกำรทำงำนของระบบประสำทอัตโนมัติ 
- เป็นทำงผ่ำนของกระแสประสำทระหว่ำงสมองกับไขสันหลัง 
3. พอนส์(Pons ) 
- เป็นทำงผ่ำนของกระแสประสำทระหว่ำง Cerebrum กับ Cerebellum และ 
Cerebellum กับ ไขสันหลัง 
- ควบคุมกำรเคลื่อนไหวของใบหน้ำ ควบคุมกำรหำยใจ กำรเคี้ยว หลั่ง 
น้ำลำย
ไขสันหลังและเส้นประสาทไขสันหลัง
ไขสันหลัง (Spinal cord) 
ไขสันหลังเป็นส่วนนิวรัลทิวบ์(neural tube)ที่เจริญเติบโตมาน้อย 
กว่าสมอง ไขสันหลังอยู่ภายในกระดูกสันหลัง ตั้งแต่กระดูกสันหลังข้อ 
แรกของคอ จนถึงกระดูกบั้นเอวข้อที่ 2 ถัดจากส่วนนี้จะเรียวเล็กลงจน 
เหลือแต่เพียงส่วนของเส้นประสาทไขสันหลัง (ไม่มีตัวเซลล์ประสาท) 
ไขสันหลัง มี 2 ส่วนคือ 
1. ส่วนที่เป็นสีขาว (white matter) เป็นส่วนที่มีสีขาวอยู่รอบ 
นอก มีเฉพาะใยประสาทที่มีเย่อืไมอีลินหุ้ม ไม่มีตัวเซลล์ประสาทอยู่เลย 
2. ส่วนที่เป็นสีเทา (gray matter) อยู่บริเวณกลางๆ เป็นที่อยู่ 
ของเซลล์ประสาท และใยประสาทที่ไม่มีเย่อืไมอีลินห้มุ
โครงสร้างของไขสันหลัง
โครงสร้างของไขสันหลัง 
ไขสันหลัง ประกอบด้วย 2 ส่วนคือ 
1. white matter มีสีขาว อยู่รอบนอก 
2. gray matter มีสีเทาอยู่บริเวณกลางๆ มีรูปร่างคล้าย 
อักษรตัว H หรือปีกผีเสือ้ ประกอบด้วย 
2.1 ปีกบน (dorsal horn) เป็นบริเวณที่รับความรู้สึก เพราะ 
รับกระแสความรู้สึกมาจากเซลล์ประสาทขั้วเดียว ที่อยู่ในปมประ 
สาทรากบน ดังนั้นปมประสาทรากบนจึงเป็นเส้นประสาทนาความรู้สึก 
2.2 ปีกล่าง (ventral horn) เป็นบริเวณสั่งการ เพราะมีเซลล์ 
ประสาทสั่งการปรากฏอยู่ แอกซอนของเซลล์ประสาทสั่งการจะ 
ย่นืออกไปกลายเป็นรากล่าง(ventral root)
เส้นประสาทไขสันหลัง (Spinal nerve) 
เส้นประสาทไขสันหลัง (Spinal nerve) เป็นเส้นประสาทที่ย่นืออก 
มาจากไขสันหลัง ในคนมี 31 คู่ เรียกตามชื่อของกระดูก ได้แก่ 
- เส้นประสาทบริเวณคอ(cervical nerve) มี 8 คู่ 
- เส้นประสาทบริเวณอก (thoracic nerve) มี 12 คู่ 
- เส้นประสาทบริเวณเอว(lumbar nerve) มี 5 คู่ 
- เส้นประสาทบริเวณกระเบนเหน็บ (sacral nerve) มี 5 คู่ 
- เส้นประสาทบริเวณก้นกบ(coccygeal nerve) มี 1 คู่ 
โดยแต่ละคู่จะออกมาจากไขสันหลังแต่ละปล้อง ตามความยาวของ 
ไขสันหลัง
เส้นประสาทไขสันหลัง 31 คู่
เส้นประสาทไขสันหลัง ส่วนที่อยู่ใกล้กับไขสันหลัง จะแยกเป็น 
1. รากบน(dorsal root) ซึ่งจะมีตัวเซลล์ประสาทอยู่ด้วย 
( เส้นประสาทรับความรู้สึก ) 
2. รากล่าง(ventral root) ไม่มีปมประสาท (เส้นประสาทสั่งการ)
การทดลองส่งกระแสประสาท 
ของเส้นประสาทไขสันหลังของกบ
เส้นประสาทสมอง (Cranial nerve) 
เส้นประสาทสมอง เป็นเส้นประสาทที่แยกออกมาจากสมองส่วนต่างๆ 
ส่วนมากจะออกมาจาก medulla เส้นประสาทสมองของสัตว์เลีย้งลูก 
ด้วยนมมีจา นวน 12 คู่ 
เส้นประสาทสมองมี 3 ประเภท คือ 
1. เส้นประสาทรับความรู้สึก ทา หน้าที่รับกระแสความรู้สึกจากหน่วยรับ 
ความรู้สึกไปยังสมองส่วนที่เกี่ยวข้อง มี 3 คู่ ได้แก่ คู่ที่1, 2, 8 
2. เส้นประสาทสั่งการ ทา หน้าที่นากระแสคา สั่งจากสมองไปยังหน่วย 
ปฏิบัติงาน มี 5 คู่ ได้แก่ คู่ที่ 3, 4, 6, 11, 12 
3. เส้นประสาทผสม ทา หน้าที่รับกระแสความรู้สึกจากหน่วยรับความรู้สึก 
ไปยังสมองส่วนที่เก่ยีวข้อง และจากสมองไปยังหน่วยปฏิบัติงาน มี4 คู่ 
ได้แก่ คู่ที่ 5, 7, 9, 10
เส้นประสาทสมองของคน
ทิศทางการเคลื่อนที่ของกระแสประสาทเข้า-ออกจากไขสันหลัง
ทิศทางการเคลื่อนที่ของกระแสประสาทเข้า-ออกจากไขสันหลัง
Nervous System 
Central Nervous System : 
CNS 
ระบบประสาทส่วนกลาง 
Brain Spinal cord 
ไขสันหลัง 
Peripheral Nervous System : 
PNS 
ระบบประสาทรอบนอก 
Somatic Nervous 
System 
ระบบประสาทโซมาติก 
Autonomic Nervous 
System 
ระบบประสาทอัตโนมัติ 
Sympatheti 
c 
Parasympathe 
tic
แผนภาพการทางานของระบบประสาทในสัตว์มีกระดูกสันหลัง
ระบบประสาทรอบนอก(Peripheral nervous system;PNS) 
ระบบประสาทรอบนอก ประกอบด้วย 
1. ส่วนที่รับความรู้สึก(sensory division) จะรับความรู้สึกจาก 
ภายนอกและภายในร่างกาย 
2. ส่วนที่สั่งการ (motor division) 
- ถ้าการสั่งการเกิดขนึ้กับหน่วยปฏิบัติงานที่บังคับได้ จัดเป็นระบบ 
ประสาทโซมาติก(somatic nervous system ; SNS) 
- ถ้าการสั่งการเกิดขนึ้กับหน่วยปฏิบัติงานที่บังคับไม่ได้ จัดเป็น 
ระบบประสาทอัติโนวัติ(autonomic nervous system ; ANS) 
และแบ่งออกเป็น 2 ระบบย่อย คือ ระบบประสาทซิมพาเทติก 
และระบบประสาทพาราซิมพาเทติก
ระบบประสาทโซมาติก (somatic nervous system) 
ระบบประสาทโซมาติก หรือระบบประสาทใต้อานาจจิตใจ จะควบคุม 
การทา งานของกล้ามเนื้อโครงร่าง โดยเซลล์ประสาทรับความรู้สึกจะรับ 
กระแสประสาทจากหน่วยรับความรู้สึก ผ่านเส้นประสาทไขสันหลัง 
หรือเส้นประสาทสมอง เข้าสู่สมองหรือไขสันหลัง แล้วกระแสประสาท 
จะถูกส่งผ่านเส้นประสาทไขสันหลังหรือเส้นประสาทสมอง ไปยังหน่วย 
ปฏิบัติงานซึ่งเป็นกล้ามเนื้อโครงร่าง หรือบางครั้งอาจทา งานโดยผ่านไข 
สันหลังเท่านั้น
รีเฟล็กซ์ แอกชัน (reflex action) 
รีเฟล็กซ์ แอกชัน เป็นกิริยาการตอบสนองของหน่วยปฏิบัติงาน 
อย่างทันทีทันใด โดยอยู่นอกคา สั่งของอา นาจจิตใจ เช่น 
- เมื่อถูกเคาะเบาๆ ที่เอ็นใต้หัวเข่า จะมีผลทา ให้เกิดกระแสประสาท 
ที่เซลล์ประสาทรับความรู้สึก และนาผ่านไปไขสันหลัง แล้วผ่านบริเวณ 
ไซแนปส์กับเซลล์ประสาทสั่งการออกจากไขสันหลังไปยังเซลล์กล้าม 
เนื้อขา ทา ให้กระตุกขาทันที 
- การชักเท้าขึน้ทันทีทันใด เมื่อเหยียบเศษแก้วหรือก้นบุหรี่ เป็นการ 
ทา งานของกล้ามเนื้อลายนอกอา นาจจิตใจ โดยได้รับคา สั่งจากไขสัน 
หลัง ดังรูป
รีเฟล็กซ์ แอกชัน (reflex action)
แสดงการเกิดรีเฟล็กซ์
แสดงรีเฟล็กซ์อำร์กของกำรเหยียบตะปูแล้วกระตุกขำขึ้น
ประเภทของรีเฟล็กซ์ แอกชัน 
รีเฟล็กซ์ แอกชัน มี 2 ประเภท 
1. Somatic reflex เป็นรีเฟล็กซ์ แอกชัน ของระบบประสาทใต้ 
อา นาจจิตใจ ที่ตอบสนองต่อสิ่งเร้าโดยอยู่นอกอา นาจจิตใจชั่วขณะ 
และมีหน่วยปฏิบัติงานเป็นกล้ามเนื้อโครงร่าง (กล้ามเนื้อลาย) เช่น 
การชักมือ - ชักเท้าหนีของร้อนๆ หรือของมีคม 
2. Autonomic reflex เป็นรีเฟล็กซ์ แอกชัน ของระบบประสาท 
อัตโนวัติ โดยทุกกรณีตอบสนองอยู่นอกอา นาจจิตใจชั่วขณะ และมี 
หน่วยปฏิบัติงานเป็นกล้ามเนื้อเรียบ กล้ามเนื้อหัวใจ อวัยวะภายใน 
และต่อมต่างๆ เช่น 
- การหลั่งน้าตา น้า ย่อย น้าลาย น้านม
รีเฟล็กซ์ อาร์ก(reflex arc) 
รีเฟล็กซ์อาร์ก เป็นวงจรการทา งานของระบบประสาท ซ่งึประกอบ 
ด้วยหน่วยต่างๆ เช่น หน่วยรับความรู้สึก, เซลล์ประสาทประสานงาน 
เซลล์ประสาทสั่งการ, หน่วยปฏิบัติงาน ซ่งึจะต้องประกอบด้วยเซลล์ 
หลายเซลล์ มาทางานสัมพันธ์กัน 
รีเฟล็กซ์ อาร์ก มี 2 ประเภท คือ 
1. รีเฟล็กซ์ อาร์ก ของระบบประสาทใต้อานาจจิตใจ 
2. รีเฟล็กซ์ อาร์ก ของระบบประสาทใต้อัตโนวัติ
แผนภาพการทางานของระบบประสาทแบบรีเฟล็กซ์อาร์ก
แผนภาพการทางานของระบบประสาทแบบรีเฟล็กซ์อาร์ก
ระบบประสาทอัตโนวัติ 
เป็นระบบประสาทที่ควบคุมหรือปรับแต่งการทา งานของอวัยวะใน 
ร่างกาย 
อวัยวะที่ระบบประสาทอัตโนวัติควบคุมได้แก่ อวัยวะภายในต่างๆ 
(visceral organs) ซ่งึประกอบด้วย 
– กล้ามเนื้อเรียบ (smooth muscle) 
– กล้ามเนื้อหัวใจ (cardiac muscle) 
– ต่อม (glands) 
หน้าที่: ตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลงหรือสิ่งเร้าที่เกิดขนึ้ทั้งภายใน 
และภายนอกร่างกาย ผ่านทางการทา งานของกล้ามเนื้อเรียบ, 
กล้ามเนื้อหัวใจ, ต่อมต่างๆ, การเปลี่ยนแปลงเมตาบอลิซึม 
เป้าหมาย : เพื่อควบคุมร่างกายให้อยู่ในภาวะธา รงดลุ(Homeostasis)
ระบบประสาทอัตโนวัติ 
(autonomic nervous system ; ANS) 
ระบบประสาทอัติโนวัติ เป็นระบบประสาทที่ไม่อยู่ใต้บังคับของ 
จิตใจ ควบคุมการทางานของอวัยวะภายใน เช่น หัวใจ, ลาไส้, มดลูก 
กระเพาะอาหาร เป็นต้น แบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ 
1. ระบบประสาทซิมพาเทติก (sympathetic nervous system ) 
เป็นระบบประสาทอัตโนวัติที่มีเซลล์ประสาทสั่งการตัวที่ 1 
(preganglionic neuron) อยู่ในไขสันหลังส่วนอก และเอว 
2. ระบบประสาทพาราซิมพาเทติก(parasympathetic nervous 
system ) เป็นระบบประสาทอัตโนวัติที่มีเซลล์ประสาทสั่งการตัวที่ 1 
อยู่ในสมองส่วนกลาง, เมดัลลาออบลองกาตา และไขสันหลังส่วน 
กระเบนเหน็บ (ศูนย์กลางการสั่งการ)
การควบคุมการทางานของระบบประสาทอัตโนวัติ
การทางานของระบบประสาทอัตโนวัติ 
การทางานของระบบประสาทซิมพาเทติก และระบบประสาทพารา 
ซิมพาเทติก จะทางานตรงกันข้ามกัน 
การทางานของระบบประสาทอัตโนวัติ ประกอบด้วยหน่วยรับ 
ความรู้สึก(อวัยวะภายใน) และมีเซลล์ประสาทรับความรู้สึก รับกระแส 
ประสาทผ่านรากบนของเส้นประสาทไขสันหลังเข้าสู่ไขสันหลัง จากไข 
สันหลังจะมีเซลล์ประสาทออกจากไขสันหลังไปไซแนปส์กับเซลล์ประ 
สาทสั่งการ ที่ปมประสาทอัตโนวัติ(autonomic ganglion) 
เรียกเซลล์ประสาทนี้ว่าเซลล์ประสาทก่อนไซแนปส์และเรียกเซลล์ 
ประสาทสั่งการที่ออกจากปมประสาทอัตวัติ ว่าเซลล์ประสาทหลัง 
ไซแนปส์ซ่งึจะนากระแสประสาทสั่งงานไปยังกล้ามเนื้อเรียบของ 
อวัยวะภายใน, กล้ามเนื้อหัวใจ และต่อม
เปรียบเทียบวงจรประสำทของระบบประสำทโซมำติก 
และระบบประสำทอัตโนมัติ
แสดงชนิดของเซลล์ประสาทสั่งการ 
และบริเวณท่เีกิดไซแนปส์
54 
ตารางเปรียบเทียบการทางานของระบบประสาทโซมาติก (SNS) 
กบัระบบประสาทอตัโนวัติ (ANS) 
ข้อเปรียบเทียบ SNS ANS 
1. ศูนย์ควบคุมกำร 
ทำงำน 
อยู่ที่สมองและไขสันหลัง 
ควบคุมโดยตรง 
สมอง, ไขสันหลัง และ 
ปมประสำท 
2. จำนวนเซลล์ 
ประสำทสั่งกำร 
1 เซลล์ 2 เซลล์ 
3. สำรสื่อประสำท ณ 
บริเวณไซแนปส์ 
แอซิติลโคลีน มำกกว่ำนอร์ 
เอพิเนฟริน 
แอซิติลโคลีน (ระบบซิม) 
นอร์เอพิเนฟริน (ระบบ 
พำรำซิมพำ) 
4. หน่วยปฏิบัติงำน กล้ำมเนื้อโครงร่ำง (ลำย) กล้ำมเนื้อเรียบ,กล้ำมเนื้อ 
หัวใจ และต่อมต่ำงๆ
55 
ผลของการกระตุ้นระบบประสาท 
Sympathetic vs Parasympathetic 
อวยัวะ Sympathetic Parasympathetic 
ตา ม่านตาขยายตัว ม่านตาหดตัว 
ต่อมน้าลาย ลดปริมาณน้าลาย เพมิ่ปริมาณน้าลาย 
หัวใจ เตน้เร็วขนึ้ และบีบตัวแรงขนึ้เตน้ชา้ลง และบีบตัวเบาลง 
หลอดเลือด หดตัว (เพมิ่ความดันโลหิต) 
ปอด หลอดลมขยายตัว หลอดลมหดตัว 
ทางเดินอาหาร ลดการบีบตัว เพมิ่การบีบตัว 
ตับ เพิ่มการสังเคราะห์กลูโคส 
ไต ลดการสรา้งปัสสาวะ เพมิ่การสรา้งปัสสาวะ 
ต่อมหมวกไต เพมิ่การหลงั่adrenaline 
กระเพาะปัสสาวะ คลายตัว บีบตัว เกดิการขับถ่ายปัสสาวะ 
อวัยวะเพศ ejaculation erection
ตารางเปรียบเทียบการทางานของระบบประสาทอัตโนวัติ
อวัยวะรับควำมรู้สึก
อวัยวะรับควำมรู้สึก
59 
อวัยวะรับความรู้สึก (Sense Organs) 
อวัยวะรับควำมรู้สึก (Sense Organs) บำงครั้งอำจเรียกว่ำ รีเซพเตอร์ 
(Receptors) แบ่งเป็น 5 ชนิด 
1. อวัยวะรับควำมรู้สึกที่เกี่ยวกับกำรมองเห็น 
2. อวัยวะรับควำมรู้สึกที่เกี่ยวกับกำรได้ยินและกำรทรงตัว 
3. อวัยวะรับควำมรู้สึกเกี่ยวกับกำรได้รับกลิ่น 
4. อวัยวะรับควำมรู้สึกเกี่ยวกับกำรรับรส 
5. อวัยวะรับควำมรู้สึกเกี่ยวกับกำรสัมผัส
นัยน์ตากับการมองเห็น
โครงสร้างของนัยน์ตา
โครงสร้างของนัยน์ตา
1. นัยน์ตากับการมองเห็น 
โครงสร้างของนัยน์ตาคน นัยน์ตาคนมีลักษณะกลมๆ เรียกว่า ลูกตา 
อยู่ภายในเบ้าตา หรือกระบอกตา มีเส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 2.5 cm 
ผนังลูกตาเป็นผนังที่เหนียวและแข็งแรงมาก มี 3 ชั้น คือ 
1. สเคลอรา(sclera) 
2. โครอยด์(choroid) 
3. เรตินา(retina)
1. สเคลอรา เป็นผนังตาช้นันอกที่เหนียวแต่ไม่ยืดหยุ่น มีสีขาวมัวๆ 
ได้แก่ ส่วนสีขาวของตา ส่วนหน้าสุดของเย่อืนี้จะโปร่งใสและนูนออกมา 
เรียกว่า กระจกตา (cornea) หรือตาดา เป็นส่วนที่ให้แสงผ่านเข้ามา 
2. โครอยด์เป็นผนังตาช้นักลาง เป็นเย่อืบางๆ ที่มีหลอดเลือดมาเลีย้ง 
และมีสารสี(รงควัตถุ)แผ่กระจายอยู่เป็นจา นวนมาก เพื่อป้องกันไม่ให้แสง 
สว่างทะลุผ่านชั้นเรตินาไปยังด้านหลังของนัยน์ตาโดยตรง ด้านหน้าของ 
ชั้นโครอยด์จะย่นืออกมาจากด้านบนและด้านล่าง เรียกว่า ม่านตา(Iris) 
ช่องตรงกลางเรียกว่า รูม่านตา 
นัยน์ตาของชาวเอเชียมีสีดา เพราะมีรงควัตถุ เมลานิน(melanin) 
อยู่มากที่ม่านตา ผู้ที่มีตาสีฟ้าจะมีรงควัตถุชนิด กวานีน(guanine) 
ปนอยู่กับเมลานีน 
การบริจาคดวงตา จะบริจาคส่วนที่เป็นกระจกตา และสเคอรา
3. เรตินา เป็นผนังช้นัในสุด เป็นบริเวณที่มีเซลล์รับแสงแบ่งได้เป็น 
2 ชนิด ตามรูปร่างลักษณะของเซลล์ คือ 
- เซลล์รูปแท่ง (rod cell) ซ่งึไวต่อการรับแสงสว่าง 
- เซลล์รูปกรวย(cone cell) เป็นเซลล์ที่แยกความแตกต่างของสี 
นัยน์ตาแต่ละข้างจะมีเซลล์รูปแท่งประมาณ 125 ล้านเซลล์ และ 
เซลล์รูปกรวยประมาณ 6 ล้านเซลล์ 
ในชั้นเรตินายังมีเซลล์ประสาทอ่นือีกที่รับกระแสประสาทและ 
ถ่ายทอดสัญญาณไปยังเส้นประสาทสมองคู่ที่ 2 แล้วส่งไปยังสมองส่วน 
เซรีบรัมเพ่อืแปลเป็นภาพตามที่มองเห็น
โครงสร้างและตา แหน่งของเซลล์ในช้นัเรตินา
โครงสร้างและตา แหน่งของเซลล์ในขั้นเรตินา
เซลล์รับแสงบนเรตินา 
1. เซลล์รูปแท่ง (rod cell) 
- ทา งานได้ดีขณะแสงสลัว ภาพที่เห็นภาพขาวดา 
- เซลล์รูปแท่งหนาแน่นมากที่สุดทางด้านข้างของเรตินา 
2. เซลล์รูปกรวย(cone cell) 
- ทา งานได้ดีขณะแสงมาก ภาพที่เห็นเป็นภาพที่มีสีสันรายละเอียด 
- เซลล์รูปกรวยหนาแน่นมากที่สุดบริเวณใจกลางเรตินา เรียกตา แหน่งนี้ว่า 
โฟเวีย(fover) ซ่งึจะเห็นภาพชัดเจนที่สุด ส่วนบริเวณเรตินาที่มีแต่ 
แอกซอนออกจากนัยน์ตาเพื่อเข้าสู่เส้นประสาทตา จะไม่มีเซลล์รูปแท่งและ 
เซลล์รูปกรวยอยู่เลย ดังนั้นแสงที่ตกบริเวณนี้จึงไม่เกิดเป็นภาพเรียก 
บริเวณนี้ว่า จุดบอด (blind spot) 
บริเวณที่เห็นภาพชัดเจนที่สุดบนเรตินา (อยู่ตรงข้ามกับรูม่านตา) 
เรียกว่า โฟเวีย (fover)
เลนส์ตา (lens) 
เป็นเลนส์นูนอยู่ค่อนมาทางด้านหน้าของนัยน์ตา อยู่ถัดจากกระจก 
ตาเข้าไปเล็กน้อย เลนส์ตามีลักษณะใส และกั้นนัยน์ตาเป็น 2 ส่วน คือ 
ช่วงหน้าเลนส์ และช่องหลังเลนส์ ภายในช่องท้งัสองมีของเหลวใส 
บรรจุอยู่ เรียกว่า น้าเลีย้งลูกตาซึ่งจะช่วยทา ให้ความดันนัยน์ตาเป็น 
ปกติ 
หน้าที่ของน้าเลีย้งลูกตา 
1. น้าเลีย้งลูกตาที่อยู่ในช่องหน้าเลนส์ทา หน้าที่ให้สารอาหารและแก๊ส 
ออกซิเจน 
2. น้าเลีย้งลูกตาที่อยู่ในช่องหลังเลนส์ทา หน้าที่ช่วยให้ลูกตาคงรูปอยู่ 
ได้ และรักษาความดันภายในลูกตาให้เป็นปกติ
การเกิดภาพ 
การเกิดภาพ เกิดจากการหักเหของแสงท่กีระจกตา (cornea) 
และที่เลนส์ตา ส่วนเลนส์ตานั้นปรับความยาวโฟกัสได้ เพ่อืให้ภาพ 
ของวัตถุที่อยู่ในระยะต่างๆ กันเกิดภาพชัดบนเรตินา ความยาวโฟกัส 
ของเลนส์ตาเปลี่ยนแปลงได้ โดยการเปลี่ยนแปลงรูปร่างของเลนส์ตา 
(ภาพที่เกิดบนเรตินา เป็นภาพจริงหัวกลับ) 
เลนส์ตาถูกยึดด้วยเอ็นยึดเลนส์(suspensory ligament) 
และยึดติดกับกล้ามเนื้อยึดเลนส์(Ciliary muscles) การหดตัวและ 
คลายตัวของกล้ามเนื้อยดึเลนส์ จะมีผลทา ให้เอ็นท่ยีึดเลนส์หย่อน 
และตึงได้
- ถ้ากล้ามเนื้อยึดเลนส์หดตัว เอ็นยึดเลนส์จะหย่อนลง ทา ให้เลนส์ 
โป่งออก ทา ให้จุดโฟกัสใกล้เลนส์มากขนึ้ จึงเหมาะสา หรับการมอง 
ภาพในระยะใกล้ 
- ถ้ากล้ามเนื้อยึดเลนส์คลายตัว เอ็นยึดเลนส์จะตึง ทา ให้เลนส์ 
โป่งน้อยลงทาให้จุดโฟกัสไกลเลนส์ จึงเหมาะสาหรับการมองภาพ 
ในระยะไกล
72 
ความผิดปกติของการมองเห็นและการแก้ไข 
1. สำยตำสั้น (Myopia) 
- กระบอกตายาว แสงจากวัตถุตกไม่ถึงเรตินา 
แก้ไขโดย ใช้แว่นเลนส์เว้า
73 
2. สำยตำยำว (Hyperopia) 
- กระบอกตาสั้น แสงจากวัตถุตกเลยเรตินา 
แก้ไขโดย ใช้แว่นเลนส์นูน
74 
3. สำยตำเอียง (Astigmatism) 
- เกิดจากผิวของกระจกตาหรือเลนส์ตาไม่สม่า เสมอ แสงจากวัตถุจะ 
หักเหไม่เป็นภาพชัด แก้ไขโดย ใช้เลนส์ทรงกระบอก
กลไกการมองเห็น 
นักสรีรวิทยาชาวอเมริกันชื่อ G. Wale พบว่าส่วนนอกของเซลล์ 
รูปแท่งมีรงควัตถุสีม่วงแดง เรียกว่า โรดอพซิน (rhodopsin) ซ่งึประ 
กอบด้วยโปรตีนออพซิน(opsin) จับกับอนุพันธ์ของวิตามิน เอ ที่เรียก 
ว่า เรตนิอล(retinal) ซ่งึจะไวต่อแสง และจะมีการเปลี่ยนแปลงดังนี้ 
เมื่อมีแสงมากระตุ้นเซลล์รูปแท่ง โมเลกุลของเรตนิอลจะเปลี่ยน 
แปลงจนเกาะกับออพซินไม่ได้ ทาให้เกิดกระแสประสาทถ่ายทอดไป 
ตามเส้นประสาทสมองคู่ที่ 2 เพ่อืส่งไปยังสมองส่วนซีรีบรัม ให้แปล 
เป็นภาพ 
ถ้าไม่มีแสง ออพซิน และเรตินอลจะรวมกันเป็นโรดอพซิน ใหม่
การเปลี่ยนแปลงโรดอพซินในเซลล์รูปแท่ง
การมองเห็นแสงสีต่างๆ 
การเห็นสี เกิดจากการทางานของเซลล์รูปกรวย(cone cell) ซ่งึ 
แบ่งออกเป็น 3 ชนิด คือ 
1. เซลล์รูปกรวยที่ไวต่อแสงสีแดง 
2. เซลล์รูปกรวยที่ไวต่อแสงสีน้าเงิน 
3. เซลล์รูปกรวยที่ไวต่อแสงสีเขียว 
การที่เราเห็นสีต่างๆ มากมาย เพราะมีการกระตุ้นเซลล์รูปกรวยแต่ 
ละชนิดพร้อมๆ กัน ความเข้มของแสงสีต่างกันจะเกิดการผสมของ 
แสงสีต่างๆ ขึน้ เช่น 
- เซลล์รูปกรวยที่ไวต่อแสงสีแดงและเซลล์รูปกรวยที่ไวต่อแสงสีเขียว 
ถูกกระตุ้นพร้อมกัน จะเห็นวัตถุเป็นสีเหลือง 
- เซลล์รูปกรวยที่ไวต่อแสงสีแดง, แสงสีน้าเงิน และแสงสีเขียว ถูกกระตุ้น 
พร้อมกัน จะเห็นวัตถุเป็นสีขาว
การมองเห็นแสงสีต่างๆ
79 
อวัยวะรับความรู้สึกที่เกี่ยวกับการมองเห็น 
• ตา (eyes) เป็นอวัยวะรับความรู้สึกที่เกี่ยวกับกามองเห็น 
• สัตว์ชั้นต่า รับแสงได้แต่รับภาพไม่ได้ 
• สัตว์ชั้นสูงรับภาพได้เพราะมีทั้งเลนส์และเรตนิา(retina) 
• เลนส์, คอร์เนีย และของเหลวในลูกตา ช่วยโฟกัสแสง 
ให้ตกที่เรตินา 
• รูม่านตา (pupil) ทา หน้าที่ควบคุมปริมาณแสง
หูกับกำรได้ยิน
โครงสร้างภายในของหู
โครงสร้างและส่วนประกอบของหู
โครงสร้างของหู 
หูเป็นอวัยวะรับความรู้สึก ทา หน้าที่เกี่ยวกับการได้ยิน และการทรง 
ตัว หูของคนแบ่งออกเป็น 3 ส่วน คือ 
1. หูส่วนนอก (External ear) 
2. หูส่วนกลาง (Middle ear) 
3. หูส่วนใน (Internal ear) 
1. หูส่วนนอก ประกอบด้วย 
1. ใบหู (Pinna) 
2. ช่องหู ซึ่งต่อจากใบหูเข้าไป ช่องหูนี้มีความยาว 1-2 นิ้ว ในช่องหูมี 
ต่อมท่สีร้างสารที่มีลักษณะคล้ายขผี้งึ้ไว้ดักสิ่งแปลกปลอมที่จะเข้าสู่หู 
3. เยื่อแก้วหู(ear drum) เป็นเยื่อบางๆ กั้นระหว่างหูชั้นนอกและหู 
ชั้นกลาง เยื่อแก้วหูทา หน้าที่รับคลื่นเสียง แล้วเกิดการสั่นสะเทือน
โครงสร้ำงภำยในของหู 
1. ใบหู (pinna) 2. รูหู 3. เยื่อแก้วหู (Ear drum) 4. ท่อยูสเตเซียน 
5. กระดูกค้อน(Malleus) 6. กระดูกทั่ง(Incus) 7. กระดูกโกล (Stapes) 
8. คอเคลีย (Cochlea) 9. เส้นประสาทคู่ที่ 8 (auditory nervous)
2. หูส่วนกลาง มีลักษณะเป็นโพรง อยู่ระหว่างเยื่อแก้วหู กับหูส่วน 
ใน ประกอบด้วย 
1. ท่อยูสเตเชียน (eustachian tube) อยู่ทางด้านล่างของเยื่อแก้ว 
หู มีลักษณะเป็นโพรงติดต่อกับคอหอย ทา หน้าที่ปรับความดันระหว่าง 
หูส่วนในกับหูส่วนนอก(อากาศภายนอก) ให้เท่ากัน 
2. กระดูกหู มีข้างละ 3 ชิน้ คือ กระดูกฆ้อน(Malleus) กระดูกทั่ง 
(Incus) และกระดูกโกลน (Stepes) 
เมื่อคลื่นเสียงผ่านเข้ามากระทบเยื่อแก้วหู ทา ให้เยื่อแก้วหู 
สั่นสะเทือน และส่งแรงสั่นสะเทือนไปยังกระดูกค้อน กระดูกทั่ง และ 
โกลน ซ่งึจะทา หน้าที่ขยายความสั่นสะเทือนของคลื่นเสียงให้เพิ่มมาก 
ขึน้กว่าเดิม ประมาณ 22 เท่า
โครงสร้างภายในของหู
3. หูส่วนใน ประกอบด้วยโครงสร้างที่ทา หน้าที่แตกต่างกัน 2 ชุด คือ 
1. ชุดท่ใีช้ฟังเสียง อยู่ทางด้านหน้า มีลักษณะเป็นหลอดยาวขดซ้อน 
กันคล้ายก้นหอย เรียกว่า คอเคลีย(cochlea) ภายในมีของเหลว 
บรรจุอยู่ 
เมื่อคลื่นเสียงผ่านเข้ามาจนถึงคอเคลีย จะทา ให้ของเหลวภายใน 
คอเคลียสั่นสะเทือน และกระต้นุเซลล์รับเสียงให้ส่งกระแสประสาทไป 
ยังเส้นประสาทรับเสียง(auditory nerve) ซ่งึเป็นเส้นประสาท 
สมองคู่ที่ 8 เพื่อเข้าไปสู่สมองส่วนเซรีบรัม ที่เป็นศูนย์ควบคุมการได้ 
ยินเพ่อืจะแปลผลต่อไป 
คอเคลีย(cochlea) ทา หน้าที่เปลี่ยนสัญาณเสียงเป็นกระแสประสาท
2. ชุดท่ใีช้ในการทรงตัว อยู่ด้านหลังของหูส่วนใน ทา หน้าที่เกี่ยวกับ 
การทรงตัวของร่างกาย มีลักษณะเป็นหลอดครึ่งวงกลม 3 อัน วางต้งั 
ฉากกัน เรียกว่า เซมิเซอร์คิวลาร์แคแนล (semicircolar canal) 
ที่ปลายหลอดจะพองออกมา เรียกว่า แอมพูลา(impala) ภายในมี 
ของเหลว และอวัยวะรับความรู้สึก ซึ่งประกอบด้วยคิวพูลา (cupula) 
มีลักษณะคล้ายวุ้น และมีกลุ่มเซลล์ขน(hair cell) อยู่รอบๆ 
เมื่อร่างกายเคลื่อนไหว ของเหลวที่อยู่ภายในหลอดจะไหลไปมา 
การไหลของของเหลวนี้ทา ให้คิวพูลาเคลื่อนไหวและเกิดการเบนของ 
เซลล์ขน การเบนของเซลล์ขนจะทาให้เกิดกระแสประสาทส่งไปยัง 
สมอง เพ่อืให้สมองทราบถึงการเปลี่ยนแปลงตา แหน่งของศีรษะ และ 
สั่งการให้เกิดการทรงตัวในตา แหน่งที่เหมาะสม
โครงสร้างภายในของเซมิเซอร์คิวลาร์แคแนล
จมูกและการดมกลิ่น
โครงสร้างภายในของจมูก
จมูกและการดมกลิ่น 
การที่เราสามารถรับรู้กลิ่นต่างๆ รอบตัวได้นั้น ก็เพราะเรามีอวัยวะ 
รับกลิ่น คือจมูก ซึ่งจมูกนั้นสามารถแบ่งออกได้เป็น 3 ส่วน คือ 
1. เวสติบูลลาร์ (Vestibular region)ประกอบด้วย รูจมูกส่วน 
นอมีทั้งขนจมูก และต่อมน้ามัน 
2. ส่วนหายใจ (Respiratory region) ประกอบด้วย ต่อมมีเมือก 
และเส้นเลือดฝอยมากมาย 
3. ส่วนรับกลิ่น (Olfactory region) เป็นบริเวณที่เกี่ยวข้องกับ 
การดมกลิ่น อยู่ขวา-ซ้ายของช่องจมูกตอนในสุด ด้านบนมีเยื่อบุผิว 
เกี่ยวกับการดมกลิ่น เรียกว่า Olfactory epithelium ที่เยื่อนี้มี 
เซลล์ประสาทรับกลิ่น (Olfactory cell) ฝังอยู่ ซึ่งจะรับกลิ่นแล้วส่ง 
กระแสประสาทไปตามเส้นประสาทรับกลิ่น( Olfactory nerve) ซ่งึ 
เป็นเส้นประสาทสมองคู่ที่ 1 ไปสู่สมองส่วนซีรีบัม
การรับกลิ่น เกิดขึน้เมื่อโมเลกุลของสารผ่านจมูกในส่วนที่ 1 
ส่วนที่ 2 จนถึงส่วนที่ 3 และสัมผัสกับเซลล์ Olfactory cilia ซ่งึมี 
ลักษณะเป็นขนอยู่ด้านนอกสุด จากนั้นจึงไปกระตุ้นให้เซลล์ประสาท 
รับกลิ่น (Olfactory cell) ส่งกระแสประสาทไปยังเส้นประสาทรับ 
กลิ่น(Olfactory nerve) ซึ่งเป็นเส้นประสาทสมองคู่ที่ 1 ผ่าน 
ออลแฟกทอรีบัลบ์(Olfactory bulb) เพ่อืส่งต่อไปยังสมองส่วน 
ซรีีบรัม ให้แปลเป็นกลิ่นต่อไป
การรับรู้กลิ่น
ลนิ้กับการรับรส
โครงสร้างของลนิ้
โครงสร้างของลนิ้
ลนิ้กับการรับรส 
ด้านบนของลิน้จะมีปุ่มเล็กๆ จา นวนมากเรียก พาพิลลา(Papilla) 
ซ่งึประกอบด้วยตุ่มรับรส (Taste bud)ซึ่งมีอยู่ 5ชนิด ทา หน้าที่รับรส 
ต่างๆ ได้แก่ รสหวาน รสขม รสเค็ม รสเปรี้ยว และรสอร่อย กระจาย 
อยู่บนลิน้ ในแต่ละตุ่มรับรสจะมีเซลล์รับรส ซึ่งต่อกับใยประสาท 
เมื่อเซลล์รับรส(taste cell)ถูกการกระตุ้น จะเกิดกระแสประสาท 
ส่งไปตามเส้นประสาทสมองคู่ที่ 7 ซ่งึรับรสจากบริเวณปลายลิ้นและ 
ด้านข้างของลิน้ (2/3 ส่วนของลิน้ด้านหน้า) และประสาทสมองคู่ที่ 9 
รับรสจากบริเวณโคนลิน้ (1/3 ส่วนด้านโคนลิน้) เพ่อืส่งกระแสประสาท 
ต่อไปยังศูนย์รับรสที่เซรีบรัม เพ่อืให้สมองส่วนนี้แปลผลว่าเป็นรสอะไร 
โดยในแต่ละต่มุรับรสจะมี เซลล์รับรสประมาณ 4–20 เซลล์
ผิวหนังกับการรับความรู้สึก
ปลายประสาทที่ทา หน้าที่รับความรู้สึกต่างๆ ที่ผิวหนัง
ผิวหนังกับการรับความรู้สึก 
ผิวหนังเป็นอวัยวะที่ห่อห้มุร่างกาย และยังเป็นอวัยวะรับความรู้สึก 
ผิวหนังจะมีหน่วยรับความรู้สึกแต่ละประเภทโดยเฉพาะ หน่วยรับ 
ความรู้สึกเหล่านี้อาจจะอยู่ตืน้หรือลึกจากผิวหนังในระดับต่างๆกัน 
ซึ่งหน่วยรับความรู้สึกนี้ พัฒนามาจากส่วนปลายของเดนไดรต์ของเซลล์ 
ประสาทรับความรู้สึก ให้มีรูปร่างเฉพาะเพื่อทา หน้าที่เป็นหน่วยรับ 
ความรู้สึกชนิดต่างๆ ได้แก่ 
1. หน่วยรับความรู้สึกเกี่ยวกับการสัมผัส (ชั้นหนังแท้) 
2. หน่วยรับความรู้สึกเกี่ยวกับแรงกด หรือความดัน (ชั้นหนังแท้) 
3. หน่วยรับความรู้สึกเกี่ยวกับอุณหภูมิ ( ทั้งความร้อนและความเย็น ) 
4. หน่วยรับความรู้สึกเกี่ยวกับความเจ็บปวด (ชั้นหนังกา พร้า)
ปลายประสาทรับรู้เกี่ยวกับความเจ็บปวด จะอยู่ชั้นบนสุดของ 
ผิวหนัง โดยปรากฏอยู่ชั้นหนังกา พร้า 
ปลายประสาทรับรู้เกี่ยวกับแรงกดดัน จะอยู่ในระดับล่างสุด โดย 
ปรากฏอยู่ในชั้นหนังแท้ 
รีเซปเตอร์รับการสัมผัส มีอยู่มากตามฝ่ามือ,ฝ่าเท้า มากกว่าแขนขา 
และบริเวณแขนขาที่มีขนจะมีอวัยวะรับสัมผัสน้อยกว่าบริเวณที่ไม่มีขน 
รีเซปเตอร์รับความรู้สึกเจ็บปวด มีทั่วไปบนผิวหนังและตามอวัยวะ 
ที่อยู่ลึกเข้าไปข้างใน แต่บางบริเวณของผิวหนังจะมีรีเซปเตอร์รับ 
ความรู้สึกเจ็บปวดน้อยกว่าบริเวณอื่นๆ เช่น บริเวณต้นแขน, สะโพก 
(จึงนิยมฉีดยาเข้ากล้ามเนื้อบริเวณนี้)
รูปร่างของหน่วยรับความรู้สึกชนิดต่างๆ ที่ผิวหนัง

More Related Content

What's hot

เซลล์ของสิ่งมีชีวิต(สอน)
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต(สอน)เซลล์ของสิ่งมีชีวิต(สอน)
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต(สอน)Thanyamon Chat.
 
โครงสร้างของระบบประสาท
โครงสร้างของระบบประสาทโครงสร้างของระบบประสาท
โครงสร้างของระบบประสาทWan Ngamwongwan
 
ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด Thitaree Samphao
 
ใบความรู้ สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheet
ใบความรู้  สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheetใบความรู้  สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheet
ใบความรู้ สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheetPrachoom Rangkasikorn
 
กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมกระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมJariya Jaiyot
 
การเกิดลม
การเกิดลมการเกิดลม
การเกิดลมdnavaroj
 
การรับรู้และตอบสนอง
การรับรู้และตอบสนอง การรับรู้และตอบสนอง
การรับรู้และตอบสนอง Thitaree Samphao
 
เนื้อเยื่อพืช (T)
เนื้อเยื่อพืช (T)เนื้อเยื่อพืช (T)
เนื้อเยื่อพืช (T)Thitaree Samphao
 
ระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่าย ระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่าย Thitaree Samphao
 
ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง ปรากฏการณ์ของโลกและเทคโนโลย...
ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง ปรากฏการณ์ของโลกและเทคโนโลย...ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง ปรากฏการณ์ของโลกและเทคโนโลย...
ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง ปรากฏการณ์ของโลกและเทคโนโลย...Prachoom Rangkasikorn
 
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อมบทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อมWichai Likitponrak
 
บทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
บทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึกบทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
บทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึกTa Lattapol
 
เนื้อเยื่อพืช
เนื้อเยื่อพืชเนื้อเยื่อพืช
เนื้อเยื่อพืชThanyamon Chat.
 
ระบบหายใจ (Respiration)
ระบบหายใจ (Respiration)ระบบหายใจ (Respiration)
ระบบหายใจ (Respiration)joongka3332
 
โรคทางพันธุกรรม ม.3
โรคทางพันธุกรรม ม.3โรคทางพันธุกรรม ม.3
โรคทางพันธุกรรม ม.3Wuttipong Tubkrathok
 

What's hot (20)

ม.6 นิเวศ
ม.6 นิเวศม.6 นิเวศ
ม.6 นิเวศ
 
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต(สอน)
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต(สอน)เซลล์ของสิ่งมีชีวิต(สอน)
เซลล์ของสิ่งมีชีวิต(สอน)
 
โครงสร้างของระบบประสาท
โครงสร้างของระบบประสาทโครงสร้างของระบบประสาท
โครงสร้างของระบบประสาท
 
คำประสม
คำประสมคำประสม
คำประสม
 
ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด
 
ใบความรู้ สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheet
ใบความรู้  สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheetใบความรู้  สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheet
ใบความรู้ สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheet
 
กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมกระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
 
การเกิดลม
การเกิดลมการเกิดลม
การเกิดลม
 
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตการเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
 
ระบบไหลเวียนเลือด (Circulatory System)
ระบบไหลเวียนเลือด (Circulatory System)ระบบไหลเวียนเลือด (Circulatory System)
ระบบไหลเวียนเลือด (Circulatory System)
 
แรง (Force)
แรง (Force)แรง (Force)
แรง (Force)
 
การรับรู้และตอบสนอง
การรับรู้และตอบสนอง การรับรู้และตอบสนอง
การรับรู้และตอบสนอง
 
เนื้อเยื่อพืช (T)
เนื้อเยื่อพืช (T)เนื้อเยื่อพืช (T)
เนื้อเยื่อพืช (T)
 
ระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่าย ระบบขับถ่าย
ระบบขับถ่าย
 
ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง ปรากฏการณ์ของโลกและเทคโนโลย...
ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง ปรากฏการณ์ของโลกและเทคโนโลย...ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง ปรากฏการณ์ของโลกและเทคโนโลย...
ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง ปรากฏการณ์ของโลกและเทคโนโลย...
 
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อมบทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
บทที่ 1 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
 
บทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
บทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึกบทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
บทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
 
เนื้อเยื่อพืช
เนื้อเยื่อพืชเนื้อเยื่อพืช
เนื้อเยื่อพืช
 
ระบบหายใจ (Respiration)
ระบบหายใจ (Respiration)ระบบหายใจ (Respiration)
ระบบหายใจ (Respiration)
 
โรคทางพันธุกรรม ม.3
โรคทางพันธุกรรม ม.3โรคทางพันธุกรรม ม.3
โรคทางพันธุกรรม ม.3
 

Viewers also liked

ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึกระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึกbosston Duangtip
 
พื้นฐานทางสรีรวิทยาของพฤติกรรม Present2
พื้นฐานทางสรีรวิทยาของพฤติกรรม Present2พื้นฐานทางสรีรวิทยาของพฤติกรรม Present2
พื้นฐานทางสรีรวิทยาของพฤติกรรม Present2Kobchai Khamboonruang
 
การทำงานของระบบประสาทสั่งการ
การทำงานของระบบประสาทสั่งการการทำงานของระบบประสาทสั่งการ
การทำงานของระบบประสาทสั่งการWan Ngamwongwan
 
พฤติกรรม
พฤติกรรมพฤติกรรม
พฤติกรรมsukanya petin
 
การทำงานของระบบประสาทสั่งการ
การทำงานของระบบประสาทสั่งการการทำงานของระบบประสาทสั่งการ
การทำงานของระบบประสาทสั่งการNokko Bio
 
9789740332961
97897403329619789740332961
9789740332961CUPress
 
ระบบประสาทPart1blank
ระบบประสาทPart1blankระบบประสาทPart1blank
ระบบประสาทPart1blankThanyamon Chat.
 
เนื้อหาพละ
เนื้อหาพละเนื้อหาพละ
เนื้อหาพละtery10
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 พลศึกษา
หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 พลศึกษาหน่วยการเรียนรู้ที่ 5 พลศึกษา
หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 พลศึกษาnontagon
 
ตรวจร่างกายระบบประสาท
ตรวจร่างกายระบบประสาทตรวจร่างกายระบบประสาท
ตรวจร่างกายระบบประสาทCotton On
 
ระบบประสาท 2
ระบบประสาท 2ระบบประสาท 2
ระบบประสาท 2poonwork
 
Hand out of_pe_spine_edit2012 ระบบประสาท
Hand out of_pe_spine_edit2012 ระบบประสาทHand out of_pe_spine_edit2012 ระบบประสาท
Hand out of_pe_spine_edit2012 ระบบประสาทCotton On
 
หัวใจและระบบเลือด
หัวใจและระบบเลือดหัวใจและระบบเลือด
หัวใจและระบบเลือดtuiye
 
Nervous system
Nervous systemNervous system
Nervous systemBios Logos
 
การใช้ยาในผู้สูงอายุ
การใช้ยาในผู้สูงอายุการใช้ยาในผู้สูงอายุ
การใช้ยาในผู้สูงอายุSirinoot Jantharangkul
 
common CNS disease in pediatric
common CNS disease in pediatriccommon CNS disease in pediatric
common CNS disease in pediatricSakda Taw
 
มาตรฐานตัวชี้วัด
มาตรฐานตัวชี้วัดมาตรฐานตัวชี้วัด
มาตรฐานตัวชี้วัด0873130610
 
โครงสร้างที่ใช้ในการเคลื่อนที่ของคน
โครงสร้างที่ใช้ในการเคลื่อนที่ของคนโครงสร้างที่ใช้ในการเคลื่อนที่ของคน
โครงสร้างที่ใช้ในการเคลื่อนที่ของคนWan Ngamwongwan
 

Viewers also liked (20)

ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึกระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
 
พื้นฐานทางสรีรวิทยาของพฤติกรรม Present2
พื้นฐานทางสรีรวิทยาของพฤติกรรม Present2พื้นฐานทางสรีรวิทยาของพฤติกรรม Present2
พื้นฐานทางสรีรวิทยาของพฤติกรรม Present2
 
เทคนิคการจำระบบประสาทและสมอง
เทคนิคการจำระบบประสาทและสมองเทคนิคการจำระบบประสาทและสมอง
เทคนิคการจำระบบประสาทและสมอง
 
การทำงานของระบบประสาทสั่งการ
การทำงานของระบบประสาทสั่งการการทำงานของระบบประสาทสั่งการ
การทำงานของระบบประสาทสั่งการ
 
พฤติกรรม
พฤติกรรมพฤติกรรม
พฤติกรรม
 
การทำงานของระบบประสาทสั่งการ
การทำงานของระบบประสาทสั่งการการทำงานของระบบประสาทสั่งการ
การทำงานของระบบประสาทสั่งการ
 
9789740332961
97897403329619789740332961
9789740332961
 
ระบบประสาทPart1blank
ระบบประสาทPart1blankระบบประสาทPart1blank
ระบบประสาทPart1blank
 
สุขศึกษาและพลศึกษา
สุขศึกษาและพลศึกษาสุขศึกษาและพลศึกษา
สุขศึกษาและพลศึกษา
 
เนื้อหาพละ
เนื้อหาพละเนื้อหาพละ
เนื้อหาพละ
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 พลศึกษา
หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 พลศึกษาหน่วยการเรียนรู้ที่ 5 พลศึกษา
หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 พลศึกษา
 
ตรวจร่างกายระบบประสาท
ตรวจร่างกายระบบประสาทตรวจร่างกายระบบประสาท
ตรวจร่างกายระบบประสาท
 
ระบบประสาท 2
ระบบประสาท 2ระบบประสาท 2
ระบบประสาท 2
 
Hand out of_pe_spine_edit2012 ระบบประสาท
Hand out of_pe_spine_edit2012 ระบบประสาทHand out of_pe_spine_edit2012 ระบบประสาท
Hand out of_pe_spine_edit2012 ระบบประสาท
 
หัวใจและระบบเลือด
หัวใจและระบบเลือดหัวใจและระบบเลือด
หัวใจและระบบเลือด
 
Nervous system
Nervous systemNervous system
Nervous system
 
การใช้ยาในผู้สูงอายุ
การใช้ยาในผู้สูงอายุการใช้ยาในผู้สูงอายุ
การใช้ยาในผู้สูงอายุ
 
common CNS disease in pediatric
common CNS disease in pediatriccommon CNS disease in pediatric
common CNS disease in pediatric
 
มาตรฐานตัวชี้วัด
มาตรฐานตัวชี้วัดมาตรฐานตัวชี้วัด
มาตรฐานตัวชี้วัด
 
โครงสร้างที่ใช้ในการเคลื่อนที่ของคน
โครงสร้างที่ใช้ในการเคลื่อนที่ของคนโครงสร้างที่ใช้ในการเคลื่อนที่ของคน
โครงสร้างที่ใช้ในการเคลื่อนที่ของคน
 

Similar to ศ นย ควบค_มระประสาท (ต_อ)

3.ศูนย์กลางประสาท
3.ศูนย์กลางประสาท3.ศูนย์กลางประสาท
3.ศูนย์กลางประสาทWichai Likitponrak
 
ระบบประสาท - Nervous system
ระบบประสาท - Nervous systemระบบประสาท - Nervous system
ระบบประสาท - Nervous systemsupreechafkk
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาทyangclang22
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาทkruchanon2555
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาทkalita123
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาทbowpp
 
ระบบประสาทส่วนกลางและรอบนอก
ระบบประสาทส่วนกลางและรอบนอกระบบประสาทส่วนกลางและรอบนอก
ระบบประสาทส่วนกลางและรอบนอกThanyamon Chat.
 
ระบบประสาท สอนพิเศษ ม.2.pptx
ระบบประสาท สอนพิเศษ ม.2.pptxระบบประสาท สอนพิเศษ ม.2.pptx
ระบบประสาท สอนพิเศษ ม.2.pptxKunchayaPitayawongro1
 
บทท 8 ระบบประสาท (1)
บทท   8 ระบบประสาท (1)บทท   8 ระบบประสาท (1)
บทท 8 ระบบประสาท (1)Natthaya Khaothong
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาทauttapornkotsuk
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาทikaen2520
 
กายวิภาคศาสตร์และสรีรวิทยา
กายวิภาคศาสตร์และสรีรวิทยากายวิภาคศาสตร์และสรีรวิทยา
กายวิภาคศาสตร์และสรีรวิทยาAngkana Chongjarearn
 
1.2 brain system
1.2 brain system1.2 brain system
1.2 brain systemPiro Jnn
 

Similar to ศ นย ควบค_มระประสาท (ต_อ) (20)

3.ศูนย์กลางประสาท
3.ศูนย์กลางประสาท3.ศูนย์กลางประสาท
3.ศูนย์กลางประสาท
 
ระบบประสาท - Nervous system
ระบบประสาท - Nervous systemระบบประสาท - Nervous system
ระบบประสาท - Nervous system
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาท
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาท
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาท
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาท
 
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5
 
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5
 
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5
 
ระบบประสาทส่วนกลางและรอบนอก
ระบบประสาทส่วนกลางและรอบนอกระบบประสาทส่วนกลางและรอบนอก
ระบบประสาทส่วนกลางและรอบนอก
 
Biology m6
Biology m6Biology m6
Biology m6
 
Nervous
NervousNervous
Nervous
 
ระบบประสาท สอนพิเศษ ม.2.pptx
ระบบประสาท สอนพิเศษ ม.2.pptxระบบประสาท สอนพิเศษ ม.2.pptx
ระบบประสาท สอนพิเศษ ม.2.pptx
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาท
 
บทท 8 ระบบประสาท (1)
บทท   8 ระบบประสาท (1)บทท   8 ระบบประสาท (1)
บทท 8 ระบบประสาท (1)
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาท
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาท
 
กายวิภาคศาสตร์และสรีรวิทยา
กายวิภาคศาสตร์และสรีรวิทยากายวิภาคศาสตร์และสรีรวิทยา
กายวิภาคศาสตร์และสรีรวิทยา
 
1.2 brain system
1.2 brain system1.2 brain system
1.2 brain system
 
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 5ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 5
 

ศ นย ควบค_มระประสาท (ต_อ)

  • 2. Nervous System Central Nervous System : CNS ระบบประสาทส่วนกลาง Brain Spinal cord ไขสันหลัง Peripheral Nervous System : PNS ระบบประสาทรอบนอก Somatic Nervous System ระบบประสาทโซมาติก Autonomic Nervous System ระบบประสาทอัตโนมัติ Sympatheti c Parasympathe tic
  • 3. ระบบประสาทส่วนกลาง (The Central Nervous System; CNS) ระบบประสาทส่วนกลาง(The Central Nervous System) เป็นศูนย์กลางควบคุมการทา งานของร่างกาย ซึ่งทา งานพร้อมกันทั้ง ในด้านกลไกและทางเคมีภายใต้อา นาจจิตใจ ซ่งึประกอบด้วย 1. สมอง 2. ไขสันหลัง
  • 4. ศูนย์ควบคุมระบบประสาท ศูนย์กลางของระบบประสาทของคน คือสมองและไขสันหลัง ซ่งึมี มีกา เนิดจากเนื้อเย่อืชั้นเอกโตเดิร์ม(ectoderm) ในระยะเอมบริโอ โดยการเปลี่ยนแปลงมาจากนิวรัลทิวบ์(neural tube) ซ่งึมี ลักษณะเป็นหลอดยาวไปตามแนวสันหลัง ต่อมาส่วนหน้าจะพอง ออกเป็นสมอง ส่วนตอนท้ายยังคงเป็นหลอดยาวกลายเป็นไขสันหลัง ส่วนหน้าที่พัฒนาเป็นสมอง จะแบ่งออกเป็น 3 ส่วน คือ 1. สมองส่วนหน้า (forebrain) 2. สมองส่วนกลาง (midbrain) 3. สมองส่วนหลัง (hindbrain)
  • 6. ทั้งสมองและไขสันหลังมีเย่อืห้มุชนิ้เดยีวกัน เรียกว่า เย่อืเมนนิงจิส (Meninges) เป็นเยื่อห้มุที่ประกอบด้วยชั้นต่างๆ 3 ชั้น คือ 1. ชั้นนอก มีลักษณะหนา เหนียว แข็งแรงมาก ทา หน้าที่ป้องกันการ กระทบกระเทือนแก่ส่วนที่เป็นสมองและไขสันหลัง 2. ชั้นกลาง เป็นเยื่อบางๆ 3. ชั้นใน เป็นชั้นที่มีเส้นเลือดมาหล่อเลีย้งมากมาย นาอาหารและ ออกซิเจนมาเลีย้งเนื้อเย่อืสมองและไขสันหลัง ระหว่างเนื้อเย่อืชั้นกลางกับช้นัในมีช่องบรรจุของเหลว เรียกว่า น้า หล่อเลีย้งสมอง-ไขสันหลัง(cerebrospinal floid; CSP) โดยจะ เป็นช่องติดต่อกันตลอด และมีทางติดต่อกับช่องตามยาวภายในไขสัน หลัง(central canal) ติดต่อกับโพรงในสมองด้วย
  • 8. น้าเลีย้งสมองและไขสันหลัง สร้างมาจากเส้นเลือดฝอยใน บริเวณโพรงสมอง (โดยจะสร้างเฉลี่ยประมาณ 0.30 ลูกบาศก์ เซนติเมตร /นาที หรือประมาณ 420 - 500 ลูกบาศก์เซนติเมตร/วัน ) น้าเลีย้งสมองและไขสันหลัง มีหน้าที่ 1. นาสารอาหาร-แก๊สออกซิเจนมาเลีย้งเซลล์ประสาทและนาของ เสียออกจากเซลล์ 2. หล่อเลีย้งให้สมองและไขสันหลังเปียกชืน้อยู่เสมอ ถ้าเกิดการอุดตันของทางเดินน้าเลีย้งสมองและไขสันหลัง จะ ทา ให้น้าเลีย้งนี้ไหลเวียนออกมาไม่ได้ จะเกิดภาวะน้าค่งัในสมอง ทา ให้ความดันในสมองสูงขึน้ ทา ให้มีอาการปวดศีรษะมาก - อันตราย
  • 10. สมอง (Brain) สมองของคนเป็นอวัยวะที่สา คัญและซับซ้อนท่สีุดของระบบ ประสาท มีน้าหนักประมาณ 1.4 กิโลกรัม บรรจุอยู่ภายในกะโหลกศีรษะ สมองประกอบด้วยเซลล์ประสาท ส่วนใหญ่เป็นเซลล์ประสาท ประสานงาน สมอง แบ่งเป็น 2 ชั้น คือ 1. ชั้นนอกมีเนื้อสีเทา(gray matter ) เป็นที่รวมของตัวเซลล์ ประสาทและ axon ชนิดไม่มีเย่อืไมอีลินห้มุ(non-myelin sheath) 2. ชั้นในมีสีขาว(white matter) เป็นที่รวมของเส้นประสาท ที่งอกจากเซลล์ประสาท และมีเย่อืไมอีลิน (myelin sheath) ห้มุ (ทา ให้เห็นเป็นสีขาว)
  • 12. สมองของสัตว์มีกระดูกสันหลัง ประกอบด้วย สมองส่วนหน้า (forebrain) สมองส่วนกลาง(midbrain) สมองส่วนท้าย (hindbrain) ในสัตว์มีกระดูกสันหลังต่างชนิดกัน จะมีขนาดของ สมอง 3 ส่วนไม่เท่ากัน ดังแผนภาพ จากแผนภาพ การพัฒนาของสมองคนมีพัฒนาการสูงที่สุด โดย นอกจากจะเพิ่มขนาดแล้ว ยังเพิ่มรอยหยักบนสมองอีกด้วย ซึ่งทา ให้ พืน้ที่ผิวของสมองเพ่มิมากขนึ้ จา นวนเซลล์ประสาทมากตามไปด้วย ความฉลาดของสัตว์ขึน้อยู่กับจา นวนเซลล์ประสาทในสมอง สัตว์ที่มีรอยหยักบนพืน้สมองมาก และมีสัดส่วนของน้าหนักสมอง ต่อน้าหนักตัวมาก จะมีแนวโน้มว่าจะมีเซลล์ประสาทมากกว่า และจะ ฉลาดกว่า
  • 14. ส่วนต่างๆ และหน้าที่ของสมอง สมองคน แบ่งออกเป็น 3 ส่วน ได้แก่ 1. สมองส่วนหน้า (forebrain) ประกอบด้วย - อัลแฟลกตอรี บัลบ์ (Olfactory bulb) - ซีรีบรัม(Cerebrum) - ไฮโพทาลามัส (hypothalamus) - ทาลามัส (thalamus) 2. สมองส่วนกลาง (midbrain) ประกอบด้วย - ออพติกโลบ (Optic lobe) 3. สมองส่วนหลัง (hindbrain) ประกอบด้วย - เซรีเบลลัม (Cerebellum) - เมดัลลาออบลองกาตา (Medulla oblongata) - พอนส์ (pons)
  • 15.
  • 16. 1. สมองส่วนหน้า (forebrain) 1. Olfactory bulb ทำหน้ำที่เกี่ยวกับกำรดมกลิ่น สมองส่วนนี้ของคนไม่เจริญมำก จึง รับกลิ่นได้ไม่ดี 2. Cerebrum มีเซลล์ประสำทมำก ควำมฉลำดของ คนขึ้นอยู่กับจำนวนเซลล์สมอง ทำ หน้ำที่เกี่ยวกับควำมคิดควำมจำ เชำวน์- ปัญญำ เป็นศูนย์กลำงควบคุมกำรทำงำน ด้ำนต่ำงๆ เช่น กำรพูด กำรมองเห็น
  • 17. สมองส่วนหน้า (forebrain) 3. Thalamus ทำหน้ำที่เป็นศูนย์รวบรวมกระแส ประสำทที่ผ่ำนเข้ำออก และแยกกระแส ประสำทไปยังสมองที่เกี่ยวกับกระแส ประสำทนั้น 4. Hypothalamus มีขนำดเล็ก มีควำมสำคัญในกำร ควบคุมขบวนกำรต่ำงๆ ของร่ำงกำย ควบคุมกำรทำงำนพื้นฐำนของร่ำงกำย เช่นควบคุมอุณหภูมิ,ควำมดันเลือด ควบคุมอำรมณ์ควำมรู้สึก ต่ำงๆ ฯลฯ
  • 18. 2. สมองส่วนกลาง (midbrain) ออพติกโลบ (Optic lobe) ทำหน้ำที่ควบคุมกำรเคลื่อนไหวของนัยน์ตำ, หัว และลำตัว เพื่อตอบสนองต่อแสงและเสียง และช่วยควบคุมกำร เคลื่อนไหวของร่ำงกำย
  • 19. 3. สมองส่วนหลัง (hindbrain) สมองส่วนหลังรวมกัน เรียก ว่ำ ก้ำนสมอง (Brain stem) ภำยในจะมีกลุ่มเซลล์ และใย ประสำท ทำหน้ำที่เป็นศูนย์ ควบคุมกำรมีสติสัมปชัญญะ ควบคุมกำรนอนหลับ กำรหลั่ง น้ำย่อย
  • 20. สมองส่วนหลัง (hindbrain) 1. เซรีเบลลัม (Cerebellum ) ประกอบด้วยเนื้อเยื่อ 2 ชั้น ชั้นนอกเรียกว่ำ cortex มีสี เทำ ชั้นในมีสีขำว ทำหน้ำที่ควบคุมกำรเคลื่อนไหว และกำรทรงตัวของร่ำงกำย
  • 21. 2. เมดัลลำออบลองกำตำ (Medulla oblongata ) - ติดกับไขสันหลัง - ทำหน้ำที่ควบคุมกำรทำงำนของระบบประสำทอัตโนมัติ - เป็นทำงผ่ำนของกระแสประสำทระหว่ำงสมองกับไขสันหลัง 3. พอนส์(Pons ) - เป็นทำงผ่ำนของกระแสประสำทระหว่ำง Cerebrum กับ Cerebellum และ Cerebellum กับ ไขสันหลัง - ควบคุมกำรเคลื่อนไหวของใบหน้ำ ควบคุมกำรหำยใจ กำรเคี้ยว หลั่ง น้ำลำย
  • 23. ไขสันหลัง (Spinal cord) ไขสันหลังเป็นส่วนนิวรัลทิวบ์(neural tube)ที่เจริญเติบโตมาน้อย กว่าสมอง ไขสันหลังอยู่ภายในกระดูกสันหลัง ตั้งแต่กระดูกสันหลังข้อ แรกของคอ จนถึงกระดูกบั้นเอวข้อที่ 2 ถัดจากส่วนนี้จะเรียวเล็กลงจน เหลือแต่เพียงส่วนของเส้นประสาทไขสันหลัง (ไม่มีตัวเซลล์ประสาท) ไขสันหลัง มี 2 ส่วนคือ 1. ส่วนที่เป็นสีขาว (white matter) เป็นส่วนที่มีสีขาวอยู่รอบ นอก มีเฉพาะใยประสาทที่มีเย่อืไมอีลินหุ้ม ไม่มีตัวเซลล์ประสาทอยู่เลย 2. ส่วนที่เป็นสีเทา (gray matter) อยู่บริเวณกลางๆ เป็นที่อยู่ ของเซลล์ประสาท และใยประสาทที่ไม่มีเย่อืไมอีลินห้มุ
  • 25. โครงสร้างของไขสันหลัง ไขสันหลัง ประกอบด้วย 2 ส่วนคือ 1. white matter มีสีขาว อยู่รอบนอก 2. gray matter มีสีเทาอยู่บริเวณกลางๆ มีรูปร่างคล้าย อักษรตัว H หรือปีกผีเสือ้ ประกอบด้วย 2.1 ปีกบน (dorsal horn) เป็นบริเวณที่รับความรู้สึก เพราะ รับกระแสความรู้สึกมาจากเซลล์ประสาทขั้วเดียว ที่อยู่ในปมประ สาทรากบน ดังนั้นปมประสาทรากบนจึงเป็นเส้นประสาทนาความรู้สึก 2.2 ปีกล่าง (ventral horn) เป็นบริเวณสั่งการ เพราะมีเซลล์ ประสาทสั่งการปรากฏอยู่ แอกซอนของเซลล์ประสาทสั่งการจะ ย่นืออกไปกลายเป็นรากล่าง(ventral root)
  • 26. เส้นประสาทไขสันหลัง (Spinal nerve) เส้นประสาทไขสันหลัง (Spinal nerve) เป็นเส้นประสาทที่ย่นืออก มาจากไขสันหลัง ในคนมี 31 คู่ เรียกตามชื่อของกระดูก ได้แก่ - เส้นประสาทบริเวณคอ(cervical nerve) มี 8 คู่ - เส้นประสาทบริเวณอก (thoracic nerve) มี 12 คู่ - เส้นประสาทบริเวณเอว(lumbar nerve) มี 5 คู่ - เส้นประสาทบริเวณกระเบนเหน็บ (sacral nerve) มี 5 คู่ - เส้นประสาทบริเวณก้นกบ(coccygeal nerve) มี 1 คู่ โดยแต่ละคู่จะออกมาจากไขสันหลังแต่ละปล้อง ตามความยาวของ ไขสันหลัง
  • 28.
  • 29. เส้นประสาทไขสันหลัง ส่วนที่อยู่ใกล้กับไขสันหลัง จะแยกเป็น 1. รากบน(dorsal root) ซึ่งจะมีตัวเซลล์ประสาทอยู่ด้วย ( เส้นประสาทรับความรู้สึก ) 2. รากล่าง(ventral root) ไม่มีปมประสาท (เส้นประสาทสั่งการ)
  • 31. เส้นประสาทสมอง (Cranial nerve) เส้นประสาทสมอง เป็นเส้นประสาทที่แยกออกมาจากสมองส่วนต่างๆ ส่วนมากจะออกมาจาก medulla เส้นประสาทสมองของสัตว์เลีย้งลูก ด้วยนมมีจา นวน 12 คู่ เส้นประสาทสมองมี 3 ประเภท คือ 1. เส้นประสาทรับความรู้สึก ทา หน้าที่รับกระแสความรู้สึกจากหน่วยรับ ความรู้สึกไปยังสมองส่วนที่เกี่ยวข้อง มี 3 คู่ ได้แก่ คู่ที่1, 2, 8 2. เส้นประสาทสั่งการ ทา หน้าที่นากระแสคา สั่งจากสมองไปยังหน่วย ปฏิบัติงาน มี 5 คู่ ได้แก่ คู่ที่ 3, 4, 6, 11, 12 3. เส้นประสาทผสม ทา หน้าที่รับกระแสความรู้สึกจากหน่วยรับความรู้สึก ไปยังสมองส่วนที่เก่ยีวข้อง และจากสมองไปยังหน่วยปฏิบัติงาน มี4 คู่ ได้แก่ คู่ที่ 5, 7, 9, 10
  • 35. Nervous System Central Nervous System : CNS ระบบประสาทส่วนกลาง Brain Spinal cord ไขสันหลัง Peripheral Nervous System : PNS ระบบประสาทรอบนอก Somatic Nervous System ระบบประสาทโซมาติก Autonomic Nervous System ระบบประสาทอัตโนมัติ Sympatheti c Parasympathe tic
  • 37. ระบบประสาทรอบนอก(Peripheral nervous system;PNS) ระบบประสาทรอบนอก ประกอบด้วย 1. ส่วนที่รับความรู้สึก(sensory division) จะรับความรู้สึกจาก ภายนอกและภายในร่างกาย 2. ส่วนที่สั่งการ (motor division) - ถ้าการสั่งการเกิดขนึ้กับหน่วยปฏิบัติงานที่บังคับได้ จัดเป็นระบบ ประสาทโซมาติก(somatic nervous system ; SNS) - ถ้าการสั่งการเกิดขนึ้กับหน่วยปฏิบัติงานที่บังคับไม่ได้ จัดเป็น ระบบประสาทอัติโนวัติ(autonomic nervous system ; ANS) และแบ่งออกเป็น 2 ระบบย่อย คือ ระบบประสาทซิมพาเทติก และระบบประสาทพาราซิมพาเทติก
  • 38. ระบบประสาทโซมาติก (somatic nervous system) ระบบประสาทโซมาติก หรือระบบประสาทใต้อานาจจิตใจ จะควบคุม การทา งานของกล้ามเนื้อโครงร่าง โดยเซลล์ประสาทรับความรู้สึกจะรับ กระแสประสาทจากหน่วยรับความรู้สึก ผ่านเส้นประสาทไขสันหลัง หรือเส้นประสาทสมอง เข้าสู่สมองหรือไขสันหลัง แล้วกระแสประสาท จะถูกส่งผ่านเส้นประสาทไขสันหลังหรือเส้นประสาทสมอง ไปยังหน่วย ปฏิบัติงานซึ่งเป็นกล้ามเนื้อโครงร่าง หรือบางครั้งอาจทา งานโดยผ่านไข สันหลังเท่านั้น
  • 39. รีเฟล็กซ์ แอกชัน (reflex action) รีเฟล็กซ์ แอกชัน เป็นกิริยาการตอบสนองของหน่วยปฏิบัติงาน อย่างทันทีทันใด โดยอยู่นอกคา สั่งของอา นาจจิตใจ เช่น - เมื่อถูกเคาะเบาๆ ที่เอ็นใต้หัวเข่า จะมีผลทา ให้เกิดกระแสประสาท ที่เซลล์ประสาทรับความรู้สึก และนาผ่านไปไขสันหลัง แล้วผ่านบริเวณ ไซแนปส์กับเซลล์ประสาทสั่งการออกจากไขสันหลังไปยังเซลล์กล้าม เนื้อขา ทา ให้กระตุกขาทันที - การชักเท้าขึน้ทันทีทันใด เมื่อเหยียบเศษแก้วหรือก้นบุหรี่ เป็นการ ทา งานของกล้ามเนื้อลายนอกอา นาจจิตใจ โดยได้รับคา สั่งจากไขสัน หลัง ดังรูป
  • 43. ประเภทของรีเฟล็กซ์ แอกชัน รีเฟล็กซ์ แอกชัน มี 2 ประเภท 1. Somatic reflex เป็นรีเฟล็กซ์ แอกชัน ของระบบประสาทใต้ อา นาจจิตใจ ที่ตอบสนองต่อสิ่งเร้าโดยอยู่นอกอา นาจจิตใจชั่วขณะ และมีหน่วยปฏิบัติงานเป็นกล้ามเนื้อโครงร่าง (กล้ามเนื้อลาย) เช่น การชักมือ - ชักเท้าหนีของร้อนๆ หรือของมีคม 2. Autonomic reflex เป็นรีเฟล็กซ์ แอกชัน ของระบบประสาท อัตโนวัติ โดยทุกกรณีตอบสนองอยู่นอกอา นาจจิตใจชั่วขณะ และมี หน่วยปฏิบัติงานเป็นกล้ามเนื้อเรียบ กล้ามเนื้อหัวใจ อวัยวะภายใน และต่อมต่างๆ เช่น - การหลั่งน้าตา น้า ย่อย น้าลาย น้านม
  • 44. รีเฟล็กซ์ อาร์ก(reflex arc) รีเฟล็กซ์อาร์ก เป็นวงจรการทา งานของระบบประสาท ซ่งึประกอบ ด้วยหน่วยต่างๆ เช่น หน่วยรับความรู้สึก, เซลล์ประสาทประสานงาน เซลล์ประสาทสั่งการ, หน่วยปฏิบัติงาน ซ่งึจะต้องประกอบด้วยเซลล์ หลายเซลล์ มาทางานสัมพันธ์กัน รีเฟล็กซ์ อาร์ก มี 2 ประเภท คือ 1. รีเฟล็กซ์ อาร์ก ของระบบประสาทใต้อานาจจิตใจ 2. รีเฟล็กซ์ อาร์ก ของระบบประสาทใต้อัตโนวัติ
  • 47. ระบบประสาทอัตโนวัติ เป็นระบบประสาทที่ควบคุมหรือปรับแต่งการทา งานของอวัยวะใน ร่างกาย อวัยวะที่ระบบประสาทอัตโนวัติควบคุมได้แก่ อวัยวะภายในต่างๆ (visceral organs) ซ่งึประกอบด้วย – กล้ามเนื้อเรียบ (smooth muscle) – กล้ามเนื้อหัวใจ (cardiac muscle) – ต่อม (glands) หน้าที่: ตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลงหรือสิ่งเร้าที่เกิดขนึ้ทั้งภายใน และภายนอกร่างกาย ผ่านทางการทา งานของกล้ามเนื้อเรียบ, กล้ามเนื้อหัวใจ, ต่อมต่างๆ, การเปลี่ยนแปลงเมตาบอลิซึม เป้าหมาย : เพื่อควบคุมร่างกายให้อยู่ในภาวะธา รงดลุ(Homeostasis)
  • 48. ระบบประสาทอัตโนวัติ (autonomic nervous system ; ANS) ระบบประสาทอัติโนวัติ เป็นระบบประสาทที่ไม่อยู่ใต้บังคับของ จิตใจ ควบคุมการทางานของอวัยวะภายใน เช่น หัวใจ, ลาไส้, มดลูก กระเพาะอาหาร เป็นต้น แบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ 1. ระบบประสาทซิมพาเทติก (sympathetic nervous system ) เป็นระบบประสาทอัตโนวัติที่มีเซลล์ประสาทสั่งการตัวที่ 1 (preganglionic neuron) อยู่ในไขสันหลังส่วนอก และเอว 2. ระบบประสาทพาราซิมพาเทติก(parasympathetic nervous system ) เป็นระบบประสาทอัตโนวัติที่มีเซลล์ประสาทสั่งการตัวที่ 1 อยู่ในสมองส่วนกลาง, เมดัลลาออบลองกาตา และไขสันหลังส่วน กระเบนเหน็บ (ศูนย์กลางการสั่งการ)
  • 50.
  • 51. การทางานของระบบประสาทอัตโนวัติ การทางานของระบบประสาทซิมพาเทติก และระบบประสาทพารา ซิมพาเทติก จะทางานตรงกันข้ามกัน การทางานของระบบประสาทอัตโนวัติ ประกอบด้วยหน่วยรับ ความรู้สึก(อวัยวะภายใน) และมีเซลล์ประสาทรับความรู้สึก รับกระแส ประสาทผ่านรากบนของเส้นประสาทไขสันหลังเข้าสู่ไขสันหลัง จากไข สันหลังจะมีเซลล์ประสาทออกจากไขสันหลังไปไซแนปส์กับเซลล์ประ สาทสั่งการ ที่ปมประสาทอัตโนวัติ(autonomic ganglion) เรียกเซลล์ประสาทนี้ว่าเซลล์ประสาทก่อนไซแนปส์และเรียกเซลล์ ประสาทสั่งการที่ออกจากปมประสาทอัตวัติ ว่าเซลล์ประสาทหลัง ไซแนปส์ซ่งึจะนากระแสประสาทสั่งงานไปยังกล้ามเนื้อเรียบของ อวัยวะภายใน, กล้ามเนื้อหัวใจ และต่อม
  • 54. 54 ตารางเปรียบเทียบการทางานของระบบประสาทโซมาติก (SNS) กบัระบบประสาทอตัโนวัติ (ANS) ข้อเปรียบเทียบ SNS ANS 1. ศูนย์ควบคุมกำร ทำงำน อยู่ที่สมองและไขสันหลัง ควบคุมโดยตรง สมอง, ไขสันหลัง และ ปมประสำท 2. จำนวนเซลล์ ประสำทสั่งกำร 1 เซลล์ 2 เซลล์ 3. สำรสื่อประสำท ณ บริเวณไซแนปส์ แอซิติลโคลีน มำกกว่ำนอร์ เอพิเนฟริน แอซิติลโคลีน (ระบบซิม) นอร์เอพิเนฟริน (ระบบ พำรำซิมพำ) 4. หน่วยปฏิบัติงำน กล้ำมเนื้อโครงร่ำง (ลำย) กล้ำมเนื้อเรียบ,กล้ำมเนื้อ หัวใจ และต่อมต่ำงๆ
  • 55. 55 ผลของการกระตุ้นระบบประสาท Sympathetic vs Parasympathetic อวยัวะ Sympathetic Parasympathetic ตา ม่านตาขยายตัว ม่านตาหดตัว ต่อมน้าลาย ลดปริมาณน้าลาย เพมิ่ปริมาณน้าลาย หัวใจ เตน้เร็วขนึ้ และบีบตัวแรงขนึ้เตน้ชา้ลง และบีบตัวเบาลง หลอดเลือด หดตัว (เพมิ่ความดันโลหิต) ปอด หลอดลมขยายตัว หลอดลมหดตัว ทางเดินอาหาร ลดการบีบตัว เพมิ่การบีบตัว ตับ เพิ่มการสังเคราะห์กลูโคส ไต ลดการสรา้งปัสสาวะ เพมิ่การสรา้งปัสสาวะ ต่อมหมวกไต เพมิ่การหลงั่adrenaline กระเพาะปัสสาวะ คลายตัว บีบตัว เกดิการขับถ่ายปัสสาวะ อวัยวะเพศ ejaculation erection
  • 59. 59 อวัยวะรับความรู้สึก (Sense Organs) อวัยวะรับควำมรู้สึก (Sense Organs) บำงครั้งอำจเรียกว่ำ รีเซพเตอร์ (Receptors) แบ่งเป็น 5 ชนิด 1. อวัยวะรับควำมรู้สึกที่เกี่ยวกับกำรมองเห็น 2. อวัยวะรับควำมรู้สึกที่เกี่ยวกับกำรได้ยินและกำรทรงตัว 3. อวัยวะรับควำมรู้สึกเกี่ยวกับกำรได้รับกลิ่น 4. อวัยวะรับควำมรู้สึกเกี่ยวกับกำรรับรส 5. อวัยวะรับควำมรู้สึกเกี่ยวกับกำรสัมผัส
  • 63. 1. นัยน์ตากับการมองเห็น โครงสร้างของนัยน์ตาคน นัยน์ตาคนมีลักษณะกลมๆ เรียกว่า ลูกตา อยู่ภายในเบ้าตา หรือกระบอกตา มีเส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 2.5 cm ผนังลูกตาเป็นผนังที่เหนียวและแข็งแรงมาก มี 3 ชั้น คือ 1. สเคลอรา(sclera) 2. โครอยด์(choroid) 3. เรตินา(retina)
  • 64. 1. สเคลอรา เป็นผนังตาช้นันอกที่เหนียวแต่ไม่ยืดหยุ่น มีสีขาวมัวๆ ได้แก่ ส่วนสีขาวของตา ส่วนหน้าสุดของเย่อืนี้จะโปร่งใสและนูนออกมา เรียกว่า กระจกตา (cornea) หรือตาดา เป็นส่วนที่ให้แสงผ่านเข้ามา 2. โครอยด์เป็นผนังตาช้นักลาง เป็นเย่อืบางๆ ที่มีหลอดเลือดมาเลีย้ง และมีสารสี(รงควัตถุ)แผ่กระจายอยู่เป็นจา นวนมาก เพื่อป้องกันไม่ให้แสง สว่างทะลุผ่านชั้นเรตินาไปยังด้านหลังของนัยน์ตาโดยตรง ด้านหน้าของ ชั้นโครอยด์จะย่นืออกมาจากด้านบนและด้านล่าง เรียกว่า ม่านตา(Iris) ช่องตรงกลางเรียกว่า รูม่านตา นัยน์ตาของชาวเอเชียมีสีดา เพราะมีรงควัตถุ เมลานิน(melanin) อยู่มากที่ม่านตา ผู้ที่มีตาสีฟ้าจะมีรงควัตถุชนิด กวานีน(guanine) ปนอยู่กับเมลานีน การบริจาคดวงตา จะบริจาคส่วนที่เป็นกระจกตา และสเคอรา
  • 65. 3. เรตินา เป็นผนังช้นัในสุด เป็นบริเวณที่มีเซลล์รับแสงแบ่งได้เป็น 2 ชนิด ตามรูปร่างลักษณะของเซลล์ คือ - เซลล์รูปแท่ง (rod cell) ซ่งึไวต่อการรับแสงสว่าง - เซลล์รูปกรวย(cone cell) เป็นเซลล์ที่แยกความแตกต่างของสี นัยน์ตาแต่ละข้างจะมีเซลล์รูปแท่งประมาณ 125 ล้านเซลล์ และ เซลล์รูปกรวยประมาณ 6 ล้านเซลล์ ในชั้นเรตินายังมีเซลล์ประสาทอ่นือีกที่รับกระแสประสาทและ ถ่ายทอดสัญญาณไปยังเส้นประสาทสมองคู่ที่ 2 แล้วส่งไปยังสมองส่วน เซรีบรัมเพ่อืแปลเป็นภาพตามที่มองเห็น
  • 68. เซลล์รับแสงบนเรตินา 1. เซลล์รูปแท่ง (rod cell) - ทา งานได้ดีขณะแสงสลัว ภาพที่เห็นภาพขาวดา - เซลล์รูปแท่งหนาแน่นมากที่สุดทางด้านข้างของเรตินา 2. เซลล์รูปกรวย(cone cell) - ทา งานได้ดีขณะแสงมาก ภาพที่เห็นเป็นภาพที่มีสีสันรายละเอียด - เซลล์รูปกรวยหนาแน่นมากที่สุดบริเวณใจกลางเรตินา เรียกตา แหน่งนี้ว่า โฟเวีย(fover) ซ่งึจะเห็นภาพชัดเจนที่สุด ส่วนบริเวณเรตินาที่มีแต่ แอกซอนออกจากนัยน์ตาเพื่อเข้าสู่เส้นประสาทตา จะไม่มีเซลล์รูปแท่งและ เซลล์รูปกรวยอยู่เลย ดังนั้นแสงที่ตกบริเวณนี้จึงไม่เกิดเป็นภาพเรียก บริเวณนี้ว่า จุดบอด (blind spot) บริเวณที่เห็นภาพชัดเจนที่สุดบนเรตินา (อยู่ตรงข้ามกับรูม่านตา) เรียกว่า โฟเวีย (fover)
  • 69. เลนส์ตา (lens) เป็นเลนส์นูนอยู่ค่อนมาทางด้านหน้าของนัยน์ตา อยู่ถัดจากกระจก ตาเข้าไปเล็กน้อย เลนส์ตามีลักษณะใส และกั้นนัยน์ตาเป็น 2 ส่วน คือ ช่วงหน้าเลนส์ และช่องหลังเลนส์ ภายในช่องท้งัสองมีของเหลวใส บรรจุอยู่ เรียกว่า น้าเลีย้งลูกตาซึ่งจะช่วยทา ให้ความดันนัยน์ตาเป็น ปกติ หน้าที่ของน้าเลีย้งลูกตา 1. น้าเลีย้งลูกตาที่อยู่ในช่องหน้าเลนส์ทา หน้าที่ให้สารอาหารและแก๊ส ออกซิเจน 2. น้าเลีย้งลูกตาที่อยู่ในช่องหลังเลนส์ทา หน้าที่ช่วยให้ลูกตาคงรูปอยู่ ได้ และรักษาความดันภายในลูกตาให้เป็นปกติ
  • 70. การเกิดภาพ การเกิดภาพ เกิดจากการหักเหของแสงท่กีระจกตา (cornea) และที่เลนส์ตา ส่วนเลนส์ตานั้นปรับความยาวโฟกัสได้ เพ่อืให้ภาพ ของวัตถุที่อยู่ในระยะต่างๆ กันเกิดภาพชัดบนเรตินา ความยาวโฟกัส ของเลนส์ตาเปลี่ยนแปลงได้ โดยการเปลี่ยนแปลงรูปร่างของเลนส์ตา (ภาพที่เกิดบนเรตินา เป็นภาพจริงหัวกลับ) เลนส์ตาถูกยึดด้วยเอ็นยึดเลนส์(suspensory ligament) และยึดติดกับกล้ามเนื้อยึดเลนส์(Ciliary muscles) การหดตัวและ คลายตัวของกล้ามเนื้อยดึเลนส์ จะมีผลทา ให้เอ็นท่ยีึดเลนส์หย่อน และตึงได้
  • 71. - ถ้ากล้ามเนื้อยึดเลนส์หดตัว เอ็นยึดเลนส์จะหย่อนลง ทา ให้เลนส์ โป่งออก ทา ให้จุดโฟกัสใกล้เลนส์มากขนึ้ จึงเหมาะสา หรับการมอง ภาพในระยะใกล้ - ถ้ากล้ามเนื้อยึดเลนส์คลายตัว เอ็นยึดเลนส์จะตึง ทา ให้เลนส์ โป่งน้อยลงทาให้จุดโฟกัสไกลเลนส์ จึงเหมาะสาหรับการมองภาพ ในระยะไกล
  • 72. 72 ความผิดปกติของการมองเห็นและการแก้ไข 1. สำยตำสั้น (Myopia) - กระบอกตายาว แสงจากวัตถุตกไม่ถึงเรตินา แก้ไขโดย ใช้แว่นเลนส์เว้า
  • 73. 73 2. สำยตำยำว (Hyperopia) - กระบอกตาสั้น แสงจากวัตถุตกเลยเรตินา แก้ไขโดย ใช้แว่นเลนส์นูน
  • 74. 74 3. สำยตำเอียง (Astigmatism) - เกิดจากผิวของกระจกตาหรือเลนส์ตาไม่สม่า เสมอ แสงจากวัตถุจะ หักเหไม่เป็นภาพชัด แก้ไขโดย ใช้เลนส์ทรงกระบอก
  • 75. กลไกการมองเห็น นักสรีรวิทยาชาวอเมริกันชื่อ G. Wale พบว่าส่วนนอกของเซลล์ รูปแท่งมีรงควัตถุสีม่วงแดง เรียกว่า โรดอพซิน (rhodopsin) ซ่งึประ กอบด้วยโปรตีนออพซิน(opsin) จับกับอนุพันธ์ของวิตามิน เอ ที่เรียก ว่า เรตนิอล(retinal) ซ่งึจะไวต่อแสง และจะมีการเปลี่ยนแปลงดังนี้ เมื่อมีแสงมากระตุ้นเซลล์รูปแท่ง โมเลกุลของเรตนิอลจะเปลี่ยน แปลงจนเกาะกับออพซินไม่ได้ ทาให้เกิดกระแสประสาทถ่ายทอดไป ตามเส้นประสาทสมองคู่ที่ 2 เพ่อืส่งไปยังสมองส่วนซีรีบรัม ให้แปล เป็นภาพ ถ้าไม่มีแสง ออพซิน และเรตินอลจะรวมกันเป็นโรดอพซิน ใหม่
  • 77. การมองเห็นแสงสีต่างๆ การเห็นสี เกิดจากการทางานของเซลล์รูปกรวย(cone cell) ซ่งึ แบ่งออกเป็น 3 ชนิด คือ 1. เซลล์รูปกรวยที่ไวต่อแสงสีแดง 2. เซลล์รูปกรวยที่ไวต่อแสงสีน้าเงิน 3. เซลล์รูปกรวยที่ไวต่อแสงสีเขียว การที่เราเห็นสีต่างๆ มากมาย เพราะมีการกระตุ้นเซลล์รูปกรวยแต่ ละชนิดพร้อมๆ กัน ความเข้มของแสงสีต่างกันจะเกิดการผสมของ แสงสีต่างๆ ขึน้ เช่น - เซลล์รูปกรวยที่ไวต่อแสงสีแดงและเซลล์รูปกรวยที่ไวต่อแสงสีเขียว ถูกกระตุ้นพร้อมกัน จะเห็นวัตถุเป็นสีเหลือง - เซลล์รูปกรวยที่ไวต่อแสงสีแดง, แสงสีน้าเงิน และแสงสีเขียว ถูกกระตุ้น พร้อมกัน จะเห็นวัตถุเป็นสีขาว
  • 79. 79 อวัยวะรับความรู้สึกที่เกี่ยวกับการมองเห็น • ตา (eyes) เป็นอวัยวะรับความรู้สึกที่เกี่ยวกับกามองเห็น • สัตว์ชั้นต่า รับแสงได้แต่รับภาพไม่ได้ • สัตว์ชั้นสูงรับภาพได้เพราะมีทั้งเลนส์และเรตนิา(retina) • เลนส์, คอร์เนีย และของเหลวในลูกตา ช่วยโฟกัสแสง ให้ตกที่เรตินา • รูม่านตา (pupil) ทา หน้าที่ควบคุมปริมาณแสง
  • 83. โครงสร้างของหู หูเป็นอวัยวะรับความรู้สึก ทา หน้าที่เกี่ยวกับการได้ยิน และการทรง ตัว หูของคนแบ่งออกเป็น 3 ส่วน คือ 1. หูส่วนนอก (External ear) 2. หูส่วนกลาง (Middle ear) 3. หูส่วนใน (Internal ear) 1. หูส่วนนอก ประกอบด้วย 1. ใบหู (Pinna) 2. ช่องหู ซึ่งต่อจากใบหูเข้าไป ช่องหูนี้มีความยาว 1-2 นิ้ว ในช่องหูมี ต่อมท่สีร้างสารที่มีลักษณะคล้ายขผี้งึ้ไว้ดักสิ่งแปลกปลอมที่จะเข้าสู่หู 3. เยื่อแก้วหู(ear drum) เป็นเยื่อบางๆ กั้นระหว่างหูชั้นนอกและหู ชั้นกลาง เยื่อแก้วหูทา หน้าที่รับคลื่นเสียง แล้วเกิดการสั่นสะเทือน
  • 84. โครงสร้ำงภำยในของหู 1. ใบหู (pinna) 2. รูหู 3. เยื่อแก้วหู (Ear drum) 4. ท่อยูสเตเซียน 5. กระดูกค้อน(Malleus) 6. กระดูกทั่ง(Incus) 7. กระดูกโกล (Stapes) 8. คอเคลีย (Cochlea) 9. เส้นประสาทคู่ที่ 8 (auditory nervous)
  • 85. 2. หูส่วนกลาง มีลักษณะเป็นโพรง อยู่ระหว่างเยื่อแก้วหู กับหูส่วน ใน ประกอบด้วย 1. ท่อยูสเตเชียน (eustachian tube) อยู่ทางด้านล่างของเยื่อแก้ว หู มีลักษณะเป็นโพรงติดต่อกับคอหอย ทา หน้าที่ปรับความดันระหว่าง หูส่วนในกับหูส่วนนอก(อากาศภายนอก) ให้เท่ากัน 2. กระดูกหู มีข้างละ 3 ชิน้ คือ กระดูกฆ้อน(Malleus) กระดูกทั่ง (Incus) และกระดูกโกลน (Stepes) เมื่อคลื่นเสียงผ่านเข้ามากระทบเยื่อแก้วหู ทา ให้เยื่อแก้วหู สั่นสะเทือน และส่งแรงสั่นสะเทือนไปยังกระดูกค้อน กระดูกทั่ง และ โกลน ซ่งึจะทา หน้าที่ขยายความสั่นสะเทือนของคลื่นเสียงให้เพิ่มมาก ขึน้กว่าเดิม ประมาณ 22 เท่า
  • 87. 3. หูส่วนใน ประกอบด้วยโครงสร้างที่ทา หน้าที่แตกต่างกัน 2 ชุด คือ 1. ชุดท่ใีช้ฟังเสียง อยู่ทางด้านหน้า มีลักษณะเป็นหลอดยาวขดซ้อน กันคล้ายก้นหอย เรียกว่า คอเคลีย(cochlea) ภายในมีของเหลว บรรจุอยู่ เมื่อคลื่นเสียงผ่านเข้ามาจนถึงคอเคลีย จะทา ให้ของเหลวภายใน คอเคลียสั่นสะเทือน และกระต้นุเซลล์รับเสียงให้ส่งกระแสประสาทไป ยังเส้นประสาทรับเสียง(auditory nerve) ซ่งึเป็นเส้นประสาท สมองคู่ที่ 8 เพื่อเข้าไปสู่สมองส่วนเซรีบรัม ที่เป็นศูนย์ควบคุมการได้ ยินเพ่อืจะแปลผลต่อไป คอเคลีย(cochlea) ทา หน้าที่เปลี่ยนสัญาณเสียงเป็นกระแสประสาท
  • 88. 2. ชุดท่ใีช้ในการทรงตัว อยู่ด้านหลังของหูส่วนใน ทา หน้าที่เกี่ยวกับ การทรงตัวของร่างกาย มีลักษณะเป็นหลอดครึ่งวงกลม 3 อัน วางต้งั ฉากกัน เรียกว่า เซมิเซอร์คิวลาร์แคแนล (semicircolar canal) ที่ปลายหลอดจะพองออกมา เรียกว่า แอมพูลา(impala) ภายในมี ของเหลว และอวัยวะรับความรู้สึก ซึ่งประกอบด้วยคิวพูลา (cupula) มีลักษณะคล้ายวุ้น และมีกลุ่มเซลล์ขน(hair cell) อยู่รอบๆ เมื่อร่างกายเคลื่อนไหว ของเหลวที่อยู่ภายในหลอดจะไหลไปมา การไหลของของเหลวนี้ทา ให้คิวพูลาเคลื่อนไหวและเกิดการเบนของ เซลล์ขน การเบนของเซลล์ขนจะทาให้เกิดกระแสประสาทส่งไปยัง สมอง เพ่อืให้สมองทราบถึงการเปลี่ยนแปลงตา แหน่งของศีรษะ และ สั่งการให้เกิดการทรงตัวในตา แหน่งที่เหมาะสม
  • 92. จมูกและการดมกลิ่น การที่เราสามารถรับรู้กลิ่นต่างๆ รอบตัวได้นั้น ก็เพราะเรามีอวัยวะ รับกลิ่น คือจมูก ซึ่งจมูกนั้นสามารถแบ่งออกได้เป็น 3 ส่วน คือ 1. เวสติบูลลาร์ (Vestibular region)ประกอบด้วย รูจมูกส่วน นอมีทั้งขนจมูก และต่อมน้ามัน 2. ส่วนหายใจ (Respiratory region) ประกอบด้วย ต่อมมีเมือก และเส้นเลือดฝอยมากมาย 3. ส่วนรับกลิ่น (Olfactory region) เป็นบริเวณที่เกี่ยวข้องกับ การดมกลิ่น อยู่ขวา-ซ้ายของช่องจมูกตอนในสุด ด้านบนมีเยื่อบุผิว เกี่ยวกับการดมกลิ่น เรียกว่า Olfactory epithelium ที่เยื่อนี้มี เซลล์ประสาทรับกลิ่น (Olfactory cell) ฝังอยู่ ซึ่งจะรับกลิ่นแล้วส่ง กระแสประสาทไปตามเส้นประสาทรับกลิ่น( Olfactory nerve) ซ่งึ เป็นเส้นประสาทสมองคู่ที่ 1 ไปสู่สมองส่วนซีรีบัม
  • 93. การรับกลิ่น เกิดขึน้เมื่อโมเลกุลของสารผ่านจมูกในส่วนที่ 1 ส่วนที่ 2 จนถึงส่วนที่ 3 และสัมผัสกับเซลล์ Olfactory cilia ซ่งึมี ลักษณะเป็นขนอยู่ด้านนอกสุด จากนั้นจึงไปกระตุ้นให้เซลล์ประสาท รับกลิ่น (Olfactory cell) ส่งกระแสประสาทไปยังเส้นประสาทรับ กลิ่น(Olfactory nerve) ซึ่งเป็นเส้นประสาทสมองคู่ที่ 1 ผ่าน ออลแฟกทอรีบัลบ์(Olfactory bulb) เพ่อืส่งต่อไปยังสมองส่วน ซรีีบรัม ให้แปลเป็นกลิ่นต่อไป
  • 98. ลนิ้กับการรับรส ด้านบนของลิน้จะมีปุ่มเล็กๆ จา นวนมากเรียก พาพิลลา(Papilla) ซ่งึประกอบด้วยตุ่มรับรส (Taste bud)ซึ่งมีอยู่ 5ชนิด ทา หน้าที่รับรส ต่างๆ ได้แก่ รสหวาน รสขม รสเค็ม รสเปรี้ยว และรสอร่อย กระจาย อยู่บนลิน้ ในแต่ละตุ่มรับรสจะมีเซลล์รับรส ซึ่งต่อกับใยประสาท เมื่อเซลล์รับรส(taste cell)ถูกการกระตุ้น จะเกิดกระแสประสาท ส่งไปตามเส้นประสาทสมองคู่ที่ 7 ซ่งึรับรสจากบริเวณปลายลิ้นและ ด้านข้างของลิน้ (2/3 ส่วนของลิน้ด้านหน้า) และประสาทสมองคู่ที่ 9 รับรสจากบริเวณโคนลิน้ (1/3 ส่วนด้านโคนลิน้) เพ่อืส่งกระแสประสาท ต่อไปยังศูนย์รับรสที่เซรีบรัม เพ่อืให้สมองส่วนนี้แปลผลว่าเป็นรสอะไร โดยในแต่ละต่มุรับรสจะมี เซลล์รับรสประมาณ 4–20 เซลล์
  • 101. ผิวหนังกับการรับความรู้สึก ผิวหนังเป็นอวัยวะที่ห่อห้มุร่างกาย และยังเป็นอวัยวะรับความรู้สึก ผิวหนังจะมีหน่วยรับความรู้สึกแต่ละประเภทโดยเฉพาะ หน่วยรับ ความรู้สึกเหล่านี้อาจจะอยู่ตืน้หรือลึกจากผิวหนังในระดับต่างๆกัน ซึ่งหน่วยรับความรู้สึกนี้ พัฒนามาจากส่วนปลายของเดนไดรต์ของเซลล์ ประสาทรับความรู้สึก ให้มีรูปร่างเฉพาะเพื่อทา หน้าที่เป็นหน่วยรับ ความรู้สึกชนิดต่างๆ ได้แก่ 1. หน่วยรับความรู้สึกเกี่ยวกับการสัมผัส (ชั้นหนังแท้) 2. หน่วยรับความรู้สึกเกี่ยวกับแรงกด หรือความดัน (ชั้นหนังแท้) 3. หน่วยรับความรู้สึกเกี่ยวกับอุณหภูมิ ( ทั้งความร้อนและความเย็น ) 4. หน่วยรับความรู้สึกเกี่ยวกับความเจ็บปวด (ชั้นหนังกา พร้า)
  • 102. ปลายประสาทรับรู้เกี่ยวกับความเจ็บปวด จะอยู่ชั้นบนสุดของ ผิวหนัง โดยปรากฏอยู่ชั้นหนังกา พร้า ปลายประสาทรับรู้เกี่ยวกับแรงกดดัน จะอยู่ในระดับล่างสุด โดย ปรากฏอยู่ในชั้นหนังแท้ รีเซปเตอร์รับการสัมผัส มีอยู่มากตามฝ่ามือ,ฝ่าเท้า มากกว่าแขนขา และบริเวณแขนขาที่มีขนจะมีอวัยวะรับสัมผัสน้อยกว่าบริเวณที่ไม่มีขน รีเซปเตอร์รับความรู้สึกเจ็บปวด มีทั่วไปบนผิวหนังและตามอวัยวะ ที่อยู่ลึกเข้าไปข้างใน แต่บางบริเวณของผิวหนังจะมีรีเซปเตอร์รับ ความรู้สึกเจ็บปวดน้อยกว่าบริเวณอื่นๆ เช่น บริเวณต้นแขน, สะโพก (จึงนิยมฉีดยาเข้ากล้ามเนื้อบริเวณนี้)