SlideShare a Scribd company logo
1 of 43
รังสิมา ภูมิสวัสดิ์
18-Jan-17 1
E mail: rangsima.p@cmu.ac.th
Facebook: Nursing Room By Rangsima
Slideshare: Nursing Room By Rangsima
• อธิบายวิธีการซักประวัติสุขภาพในระบบ
ทางเดินหายใจได้
• บอกหลักการสาคัญในการตรวจร่างกาย
ระบบทางเดินหายใจได้
• อธิบายขั้นตอนและวิธีการตรวจร่างกาย
ระบบทางเดินหายใจได้
• บอกวิธีการตรวจทางห้องปฏิบัติการและ
การตรวจพิเศษระบบทางเดินหายใจได้
18-Jan-17 2
• แลกเปลี่ยนออกซิเจนจากอากาศที่หายใจเข้ากับ
คาร์บอนไดออกไซด์ที่เป็นของเสียจากกระบวนการเมตาบอลิซึม
ของเซล (perfusion)
• กระบวนการนาออกซิเจนเข้าและออกจากร่างกาย
(ventilation)
• การแลกเปลี่ยนออกซิเจนและคาร์บอนไดออกไซด์ระหว่างถุง
ลมกับหลอดเลือดฝอยรอบๆถุงลม (diffusion)
18-Jan-17 3
18-Jan-17 4
• อาการสาคัญ = อาการนามา ร.พ. + ระยะเวลา
• อาการเจ็บอก (ควรถามเวลาที่เกิด ตาแหน่งที่เจ็บและเจ็บร้าว ทา
อย่างไรอาการเจ็บอกจึงลดลง)
• อาการไอ ระยะเวลาที่เริ่มมีอาการ ความถี่ สม่าเสมอหรือเป็นๆ
หายๆ ไอมีเสมหะ? สี ความเหนียวข้นและปริมาณของเสมหะ อาการ
ไอเป็นเลือด (hemoptysis)
• อาการแพ้ แพ้อะไร? -สารเคมี สบู่ ละอองเกสร ผงซักฟอก การ
ได้รับยาใดๆ ในการรักษาอาการแพ้ ถ้าได้รับให้ระบุชนิดของยาที่ได้รับ
18-Jan-17 5
• อาการหายใจลาบาก -มีอาการหายใจหอบ (dyspnea) หายใจหอบนอน
ราบไม่ได้ (orthopnea) มีอาการหายใจลาบากหลังจากนอนไปแล้ว 1-2
ชั่วโมง ต้องลุกมายืนหรือเดินสักครู่จึงจะดีขึ้น (paroxysmal nocturnal
dyspnea) หายใจหอบขณะออกกาลังกาย (dyspnea on exertion) หรือ
แม้แต่ขณะพักก็มีอาการหายใจหอบ (dyspnea at rest)
• อาการเป็นหวัดบ่อย ๆ (frequent colds)
• เหงื่อออกตอนกลางคืน (night sweats)
18-Jan-17 6
• ประวัติการเจ็บป่วยอื่นๆ เช่น asthma, pneumonia, bronchitis,
emphysema, tuberculosis การรักษา ประวัติการสัมผัสผู้ป่วยวัณโรค
การทดสอบ tuberculin
• การเอกซเรย์ทรวงอกครั้งสุดท้ายและผลของการเอกซเรย์ ปกติ
หรือไม่อย่างไร
• อาชีพ -สารเคมี แก๊ซ ถ่านหิน แมกนีเซียม ซิลิเคต และสารอินทรีย์
ต่าง ๆ เช่น ฝุ่นละออง ข้าวสาลีหรือหญ้าเฮย์
• นิสัยส่วนบุคคล ประวัติสูบบุหรี่ควรถามปริมาณบุหรี่ที่สูบในแต่ละวัน
ระยะเวลาที่สูบ18-Jan-17 7
C.C. (chief complaint): ไอและเจ็บอกก่อนมาโรงพยาบาล 1 วัน
P.I. (Present illness): 4 วันก่อนมาโรงพยาบาลหลังจากกลับจากโรงเรียนตอนเย็นเริ่ม
รู้สึกตัวร้อน มีไข้ ปวดศีรษะเล็กน้อย ได้รับประทานยาลดไข้ไปอาการดีขึ้น แต่ยังคงรู้สึกครั่น
เนื้อครั่นตัว อ่อนเพลียอยู่บ้างนอนพักแล้วอาการดีขึ้น
2 วันก่อนมาเริ่มมีน้ามูกใสๆไหล มีไอมีเสมหะสีขาวๆจานวนเล็กน้อย
ไม่ได้รับประทานยาใดๆ
1 วันก่อนมา เริ่มมีอาการไอมากขึ้น และมีอาการเจ็บอกด้านขวาแบบ
แปล๊บๆ ไม่มีอาการเจ็บร้าวไปที่ใด มีไข้และไอมีเสมหะสีเหลืองปนเขียว
เช้านี้เริ่มมีอาการเหนื่อยและหนาวสั่น จึงมารักษาที่โรงพยาบาล
18-Jan-17 8
18-Jan-17 9
18-Jan-17 10
18-Jan-17 11
18-Jan-17 12
18-Jan-17 13
18-Jan-17 14
18-Jan-17 15
• ห้องตรวจควรมีแสงสว่างที่เพียงพอและควรเงียบ
• ผู้ถูกตรวจ (หรือผู้ใช้บริการ) ไม่ควรสวมเสื้อ
• ใช้เทคนิค ดู คลา เคาะ ฟัง เปรียบเทียบความแตกต่างของปอดข้างซ้าย และข้างขวา
• ตรวจจากส่วนบนของทรวงอกลงล่าง
• นึกถึงกายวิภาคของทรวงอกและปอด เพื่อที่จะสามารถระบุได้ว่า บริเวณหรือตาแหน่งใดที่ผิดปกติ
• ตรวจทรวงอกและปอดด้านหลัง ควรให้ผู้ถูกตรวจอยู่ในท่านั่ง เอามือวางไว้ข้างหน้า ทั้งนี้เพื่อให้
บางส่วนของกระดูกสะบักยื่นออกมา
• ตรวจทรวงอกและปอดด้านหน้าอาจอยู่ในท่านอนหรือท่านั่งก็ได้ (แต่ท่านอนจะสะดวกกว่าท่านั่ง)
18-Jan-17 16
• รูปร่างลักษณะทรวงอก
• การดูรูปร่างลักษณะทรวงอกจะต้องดูจาก
ด้านหน้าไปด้านหลังและด้านข้างทั้งสองข้าง
ปกติทรวงอกจะมีรูปร่างกลมแบนโดยมี
เส้นผ่าศูนย์กลางจากด้านหน้าไปด้านหลัง
(Anteroposterior diameter) แคบกว่า
ด้านข้าง (Lateral diameter or Transverse
diameter)
• ปกติ Anteroposterior diameter : Lateral
diameter ประมาณ 1:2 / 5:7 ในทารกหรือ
ผู้สูงอายุ จะมีอัตราส่วน 1:118-Jan-17 17
18-Jan-17 18
Barrel Chest
Lordosis
Scoliosis
Kyphosis
Pigeon Chest
-Pectus Carinatum Funnel Chest
-Pectus Excavatum
18-Jan-17 19
• ความลาดเอียงของกระดูกซี่โครง ปกติกระดูกซี่โครงทามุมกับกระดูก
สันหลังประมาณ 45 องศา ในแนวขวาง แต่ในผู้ป่วยโรคถุงลมโป่งพอง
กระดูกซี่โครงจะเปลี่ยนจากแนวขวางเป็นแนวนอน
• ความกว้างของ costal angle ปกติจะน้อยกว่า 90 องศา และจะกว้าง
ในขณะหายใจ เพราะมีการขยายตัวของทรวงอกด้านข้าง แต่ในผู้ป่วย
โรคถุงลมโป่งพอง costal angle จะเพิ่มมากขึ้น
• ช่องซี่โครง (intercostal space)
– มีการหดรั้งในช่วงหายใจเข้าหรือไม่ ถ้ามีจะบ่งบอกถึงมีการอุดตันของ
ทางเดินหายใจ เช่น Tracheal obstruction
– มีการโป่งผิดปกติของช่องซี่โครงในระหว่างการหายใจออก เช่น ในผู้ป่วย
โรคหอบหืด ถุงลมโป่งพอง แสดงถึงความลาบากในการหายใจเอาอากาศ
ออกจากทรวงอก
– บางครั้งการโป่งออกของช่องซี่โครงก็อาจเป็นผลจากเนื้องอก หัวใจโต
อย่างเด่นชัดในทารกและเด็ก หรือ aortic aneurysm
18-Jan-17 20
• จังหวะ อัตราและความลึกของการหายใจ
– อัตราการหายใจในผู้ใหญ่ปกติประมาณ 14 – 18 ครั้งต่อนาที (บาง
ตารา 16 – 20 ครั้งต่อนาที) สม่าเสมอทั้งจังหวะ และความลึก
– ทารกประมาณ 44 ครั้งต่อนาที
– อัตราส่วนระหว่างการหายใจกับชีพจร จะประมาณ 1:4
18-Jan-17 21
• อัตราการหายใจ : นับการหายใจเข้า
และออกนับเป็น 1 ครั้ง สังเกตใน 1
นาที หน่วยวัดการหายใจ เป็นครั้งต่อ
นาที (bpm)
• วัดการหายใจขณะผู้ป่วยพัก
18-Jan-17 22
• อัตราการหายใจตามอายุ (eupnea) คนปกติ
ทั่วไป
– ทารกแรกเกิด (newborn) 35-40 bpm
– ทารก (6 เดือน) 30-50 bpm
– 2 ปี 25-32 bpm
– เด็ก 20-30 bpm
– วัยรุ่น 16-19 bpm
– ผู้ใหญ่ 16-20 bpm
• tachypnea อัตราการหายใจในผู้ใหญ่ มากกว่า 24 ครั้ง/นาที
• bradypnea อัตราการหายใจในผู้ใหญ่ น้อยกว่า 10 ครั้ง/นาที
• apnea การไม่หายใจ – หยุดหายใจ
• Cheyne stokes respiration การหายใจเป็นช่วง ๆไม่
สม่าเสมอ โดยจะเพิ่มอัตราการหายใจหายใจเร็วลึกและตาม
ด้วยช่วงที่หยุดหายใจ แล้วกลับมาหายใจเร็วอีก
• Bilot respiration การหายใจปกติสลับกับการหายใจเร็วลึก
ไม่สม่าเสมอเป็นช่วงสั้น ๆ 2-3 ครั้ง แล้วตามด้วยหยุดหายใจ
ช่วงสั้น ๆ อีก
• dyspnea เป็นอาการหายใจลาบาก การหายใจต้องใช้แรง
มากกว่าปกติ สังเกตการเคลื่อนไหวของทรวงอก การหดรัดตัว
ของกล้ามเนื้อบริเวณคอ18-Jan-17 23
• orthopnea เป็นอาการหายใจลาบากในท่านอนราบจะหายใจได้ต้องลุกขึ้น
นั่งหรือยืนเท่านั้น
• Paroxysmal nocturnal dyspnea เป็นอาการหายใจลาบากในตอน
กลางคืนเกิดอาการหายใจหอบรุนแรงจนต้องลุกนั่งหายใจเข้าลึกๆ อาการ
จึงทุเลาลงสาเหตุจาก Heart failure
• Paroxysmal dyspnea มีอาการหอบอย่างรุนแรง ต้องลุกนั่ง ไอมีเสมหะ
ลักษณะเป็นฟองละเอียดออกมา กระวนกระวาย หายใจมีเสียงดังทั้งหายใจ
เข้าและออก มักมีสาเหตุมาจาก acute pulmonary edema
• Air hunger ผู้ป่วยพยายามหายใจทั้งทางจมูก และปากอย่างรุนแรง พบใน
ภาวะมีการอุดกั้นทางเดินหายใจ
18-Jan-17 24
• 1. เพื่อตรวจหาตาแหน่งที่กดเจ็บ บริเวณที่ผู้ถูก
ตรวจบอกว่าเจ็บหรือบริเวณที่มีความผิดปกติ
ชัดเจนควรคลาด้วยความระมัดระวัง
• 2. เพื่อประเมินลักษณะความผิดปกติที่เห็นได้
เช่น มีก้อน จุดกดเจ็บ หรือ sinus tract (เป็นแผล
อักเสบบริเวณผิวหนังที่ไม่ติดต่อกับช่องอวัยวะ
ภายใน)
18-Jan-17 25
• เพื่อประเมินการเคลื่อนไหวของทรวงอกขณะหายใจเข้าว่ามีการขยายเท่ากันหรือไม่
Lung expansion
18-Jan-17 26
• เพื่อตรวจ vocal fremitus หรือ tactile fremitus
18-Jan-17 27
• เคาะตรงบริเวณผนังทรวงอก ตามแนวบริเวณเนื้อเยื่อที่เกี่ยวกับการ
เคลื่อนไหวและสามารถได้ยินเสียง
• ช่วยให้ทราบว่าเนื้อเยื่อของปอดนั้นมีลม น้าหรือของแข็งอยู่ ซึ่งการเคาะนี้จะ
สามารถตรวจพยาธิสภาพที่อยู่ลึกจากผนังทรวงอกได้เพียง 5 – 7 เซนติเมตร
และพยาธิสภาพนั้นจะต้องมีเส้นผ่าศูนย์กลางไม่น้อยกว่า 2 เซนติเมตร
• เคาะทางตรง กระทาโดยใช้นิ้วกลางและนิ้วนางหรือปลายนิ้วทุกนิ้วเคาะลงบน
ผนังทรวงอกโดยตรง ปัจจุบันไม่นิยมเพราะยากต่อการแปลผล
• เคาะทางอ้อม เป็นวิธีที่ทากันอยู่ทั่วไป โดยวางนิ้วกลางมือซ้าย (มือที่ไม่
ถนัด) ลงบน body surface ให้แนบแน่น ยกนิ้วอื่นอย่าให้แตะผิวเนื้อ เพราะจะ
ทาให้การสั่นสะเทือนเปลี่ยนไป ใช้นิ้วกลางข้าวขวา (มือที่ถนัด) เคาะลงบน
บริเวณข้อนิ้วส่วนปลายของนิ้วกลางหรือข้อถัดมาก็ได้ นิ้วกลางข้างขวาที่จะ
เคาะต้องงอเล็กน้อย เคาะลงไปให้เร็ว ตั้งฉากและเป็นสปริง เมื่อเคาะแล้วควร
ยกนิ้วขึ้นทันที จะช่วยให้ได้ยินเสียงชัดขึ้น
18-Jan-17 28
• เคาะแต่ละตาแหน่ง ควรเคาะ 1 – 2 ครั้ง แล้วจึงเคาะบริเวณถัดไป
• ควรใช้เทคนิคการเคาะที่แรงเท่าๆ กัน
• เคาะผนังทรวงอกทั้งสองข้างเปรียบเทียบกัน จากส่วนบนลง
ส่วนล่าง
• เสียงที่เกิดจากการเคาะเรียกว่า percussion sounds
– flatness เทียบได้กับเสียงที่เกิดจากการเคาะกล้ามเนื้อต้นขา
หรือเคาะถังน้าเต็ม เป็นเสียงทึบมาก อาจเรียก “stone
dullness” หรือ “absolute dullness” เคาะได้เสียง Flatness
แสดงว่ามีของเหลวจานวนมากในช่องเยื่อหุ้มปอด เช่น
extensive or massive pleural effusion
18-Jan-17 29
• dullness เทียบได้กับเสียงที่เกิดจากการเคาะบริเวณตับ (ประมาณ
ช่องซี่โครงช่องที่ 5 จะเป็นขอบบนของตับตรงกับเส้นกึ่งกลางไหปลา
ร้าข้างขวาที่จะเคาะได้เสียงทึบ) หรือเคาะตรงบริเวณหัวใจก็จะได้เสียง
ทึบเช่นกัน เสียงทึบ dullness
• มีความทึบน้อยกว่า flatness
• ถ้าเคาะที่ปอดได้ยินเสียง dullness แสดงว่าผู้ป่วยมีภาวะ pneumonia
เนื้องอก วัณโรค หรือพบในผู้ป่วยที่มีปริมาณของเหลวงปานกลางใน
ช่องเยื่อหุ้มปอด (pleural effusion)
18-Jan-17 30
• resonance เป็นเสียงที่เกิดจากการเคาะปอดปกติ มีลักษณะ
เสียงต่าปานกลาง
• hyperresonance เทียบได้กับเสียงที่เกิดจากการเคาะบริเวณที่มี
ลมอยู่มาก เสียงต่ากว่า resonance พบในผู้ป่วยถุงลมโป่งพอง
(emphysema) หรือบางครั้งอาจพบในผู้ป่วย pneumothorax
• tympany เทียบได้กับการเคาะอวัยวะที่กลวงและมีลม คล้าย
เสียงกลองจะได้ยินบริเวณตาแหน่งของกระเพาะอาหาร เสียง
tympany จะมีเสียงสูงปานกลาง และเสียงจะสูงกว่า resonance
18-Jan-17 31
18-Jan-17 32
Posterior Anterior
18-Jan-17 33
• ประเมินลมที่ผ่านหลอดลมและส่วนต่างๆ ของทางเดินหายใจ, น้าหรือ เสมหะ
หรือสิ่งอื่นที่อุดตันทางเดินหายใจ, สภาพของเนื้อปอดทั่ว ๆ ไป และช่องเยื่อหุ้มปอด
• การฟังเสียงหายใจโดยใช้ stethoscope
• ควรให้ผู้ถูกตรวจหายใจเข้า–ออกแรงหรือลึกกว่าปกติทางปาก เพื่อที่จะลด
เสียงรบกวนที่เกิดขึ้นในจมูกและลาคอ จะทาให้ฟังเสียงหายได้ชัดเจน
• ในแต่ละตาแหน่งควรฟังให้ตลอดทั้งช่วงหายใจเข้าและหายใจออก เพื่อที่จะ
สามารถระบุความผิดปกติที่เกิดขึ้นว่าเกิดในช่วงไหน หายใจเข้าหรือหายใจออก
• การฟังต้องฟังเปรียบเทียบซ้าย–ขวา จากส่วนบนลงส่วนลาง
• ระวังอย่าให้ผู้ถูกตรวจหายใจเข้า–ออกลึกนานมากเกินไป เพราะอาจทาให้ผู้ถูก
ตรวจเกิดอาการเวียนศีรษะ หน้ามืดได้
• ถ้าจาเป็นควรให้ผู้ถูกตรวจได้พักเป็นครั้งคราว
18-Jan-17 34
• เสียงหายใจที่ปกติ Breath sounds
• เสียงหายใจที่ปกติมี 3 ชนิด จะได้ยินในตาแหน่งที่ต่างกันและมีคุณลักษณะต่างกันดัง
18-Jan-17 35
bronchial(tracheal)
breath sounds
bronchovesicular
(bronchoalveolar)
breath sounds
vesicular
breath sounds
• เสียงหายใจที่ผิดปกติ (adventitious breath sounds)
• rales or crepitation เป็นเสียงที่เกิดจากมีความชื้นหรือน้าอยู่ในทางเดิน
หายใจส่วนหลอดลมจนถึงถุงลม เช่น pulmonary edema, pneumonia ลักษณะ
เหมือนพรายแก๊ซน้าอัดลม หรือเหมือนขยี้เส้นผมใกล้ ๆ ใบหู จะได้ยินชัดช่วง
หายใจเข้า และจะเปลี่ยนไปเมื่อมีการไอ
18-Jan-17 36
• Rhonchi เป็น continuous sounds เกิดจากทางเดินหายใจแคบลง
เนื่องจากมีเยื่อเมือก (mucous) การหดตัว การบวมของเยื่อบุทางเดิน
หายใจ เนื้อ
• จะได้ยินชัดในช่วงหายใจออกมากกว่าช่วงหายใจเข้า หรืออาจได้ยินชัด
ทั้งช่วงหายใจเข้าและหายใจออก
• กรณีเสียงแหลมสูง (high pitched) เกิดจากทางเดินหายใจส่วนที่เล็ก
แคบ เช่น หลอดลมฝอย (bronchiole) เรียก sibilant rhonchi
(wheeze) พบในผู้ป่วยโรคหอบหืด
• ถ้าเสียงต่า (low pitched) เกิดจากทางเดินหายใจขนาดใหญ่แคบลง
เรียก sonorous rhonchi
• เสียงเปลี่ยนไปเมื่อมีการไอ ถ้าหลังไอเสียงไม่เปลี่ยนอาจเกิดจาก
หลอดลมบริเวณนั้นตีบแคบลงจากเนื้องอกก็ได้
18-Jan-17 37
• Pleural friction rub พบในรายที่มีการอักเสบของเยื่อหุ้มปอด
• โดยทั่วไปจะได้ยินทั้งช่วงหายใจเข้าและหายใจออก แต่จะได้ยินชัดเจน
ในช่วงท้ายของการหายใจเข้า
• เสียงนี้จะไม่เปลี่ยนเมื่อมีการไอ
• เสียงฟังได้ยินเหมือนอยู่ใกล้ ๆ หู เมื่อกด stetoscope แนบกับผนังทรวง
อกแรงขึ้นจะได้ยินเสียงชัดขึ้น
• เสียงนี้เทียบได้กับเสียงที่เอาแผ่นหนัง 2 แผ่นมาถูกัน หรือเทียบกับเสียง
ที่ใช้ปลายนิ้วชี้ถูที่ติ่งหูไปมา หรือใช้ฝ่ามือปิดหูข้างหนึ่งแล้วใช้นิ้วของ
มืออีกข้างหนึ่งถูไปมาบนหลังมือของฝ่ามือที่ปิดหูไว้จะได้ยินชัดบริเวณ
anterolateral chest wall
18-Jan-17 38
• Voice sounds เกิดจากการฟังเสียงพูดผ่านทางผนังทรวงอกโดยใช้
stetoscope ปกติฟังได้ไม่ชัด ยกเว้นบริเวณเหนือหลอดลมใหญ่ และเมื่อมี
ความผิดปกติหรือพยาธิสภาพของปอด เช่น pulmonary consolidation
– Bronchophony จะได้ยินเสียงพูดดังชัดเจน ใช้ Stetoscope ด้าน
diaphragm ฟังบริเวณต่าง ๆ โดยให้ผู้ถูกตรวจพูดเสียงปกติ เสียงพูดจะ
แยกพยางค์ได้ชัดเจน พบใน Early pneumonia
– Whispered pectoriloguy ให้ผู้ถูกตรวจพูดกระซิบ 1 – 2 – 3
stetoscope ฟังจะได้ยินเสียงชัดทั้ง ๆ ที่ให้ผู้ถูกตรวจกระซิบ
– Egophony เป็นเสียงคล้ายเสียงขึ้นจมูก ถ้าให้ผู้ถูกตรวจออกเสียง อี...
(ee) ถ้ามีพยาธิสภาพจะได้ยินเสียง “แอ”… (aa) พบใน pleural
effusion18-Jan-17 39
• ทรวงอกและปอด: ทรวงอกสมมาตรกันดี ไม่มีลักษณะการหายใจที่ลาบาก ไม่มีการหดรั้งหรือโป่งของ
ช่องซี่โครงขณะหายใจเข้าและออก AP: lateral diameter = 1:2 ทรวงอกขยายตัวขณะหายใจเท่ากันทั้ง
สองข้าง tactile fremitus เพิ่มขึ้นที่ปอดกลีบกลางข้างขวา จากการเคาะได้เสียงทึบ (dullness) ที่บริเวณ
ปอดกลีบกลางข้างขวา กระบังลมเคลื่อนขึ้นลง 5 เซนติเมตรทั้งสองข้าง เสียงหายใจปกติยกเว้น ได้ยิน
เสียง fine rales ที่บริเวณปอดกลีบกลางข้างขวา ไม่มี voice sounds ที่ผิดปกติ
• Chest and lung : Symmetry, no dyspnea, no distressed breathing. no retraction or bulging of
the intercostalspaces during respiration. Chest expansion equal bilaterally, Increased vocal
fremitus over RML. Increased dullness on percussion of RML. Diaphragmatic excursion 5 cm bilat.
Breath sounds clear except for fine rales heard in RML, No Egophony. Bronchophony and
whispered pectoriloquy.
18-Jan-17 40
• การตรวจนับจานวนเม็ดเลือด (complete blood count:
CBC) ในกรณีของผู้ที่มีจานวนเม็ดเลือดแดง และระดับ
ฮีโมโกลบิน (hemoglobin) ลดลง อาจเกิดจากการถูก
ทาลายของเม็ดเลือดแดง หรือการสูญเสียเลือด หากมี
จานวนเม็ดเลือดขาวเพิ่มขึ้นอาจเกิดจากการติดเชื้อ
• ค่าความอิ่มตัวของออกซิเจนในเลือดแดง Oxygen
saturation (SaO2) เพื่อตรวจดูระดับความอิ่มตัวของ
ออกซิเจนในหลอดเลือดแดงส่วนปลาย ในกรณีมีค่าต่ากว่า
ปกติอาจบ่งบอกถึงระดับระดับความดันของก๊าซออกซิเจน
ในเลือดแดงต่าได้18-Jan-17 41
• การวิเคราะห์ก๊าซในเลือดแดง (arterial blood gas) เพื่อตรวจดูระดับ
ความเป็นกรด-ด่าง(pH) ระดับความดันของก๊าซออกซิเจน(PaO2) และก๊าซ
คาร์บอนไดออกไซด์(PaCO2) ระดับค่าไบคาร์บอเนตในเลือดแดง (HCO3)
ซึ่งบ่งชี้ความสามารถในการแลกเปลี่ยนก๊าซของปอด
• การเพาะเชื้อจากเสมหะ (sputum culture) เพื่อตรวจชนิดของเชื้อโรคที่
พบในระบบทางเดินหายใจ
• การถ่ายภาพรังสีทรวงอก (chest X-ray)เพื่อตรวจดูความผิดปกติที่
เกิดขึ้นในระบบทางเดินหายใจ
• การตรวจสมรรถภาพปอด (pulmonary function test: PFT) เพื่อ
ตรวจหาค่าความจุภายในปอด (lung capacity) ปริมาตรของอากาศที่
หายใจในแต่ละครั้ง ( tidal volume)18-Jan-17 42
QUESTIONS
4318/01/60

More Related Content

What's hot

Cvp central venous pressure monitoring
Cvp central venous pressure monitoringCvp central venous pressure monitoring
Cvp central venous pressure monitoringpiyarat wongnai
 
การวัดความดันในหลอดเลือดดำกลาง Yui
การวัดความดันในหลอดเลือดดำกลาง Yuiการวัดความดันในหลอดเลือดดำกลาง Yui
การวัดความดันในหลอดเลือดดำกลาง Yuipiyarat wongnai
 
ประเภทสารน้ำ
ประเภทสารน้ำประเภทสารน้ำ
ประเภทสารน้ำPrathan Somrith
 
ติวเด็ก
 ติวเด็ก ติวเด็ก
ติวเด็กRofus Yakoh
 
Clinical practice guidelines mild head injury
Clinical practice guidelines mild head injuryClinical practice guidelines mild head injury
Clinical practice guidelines mild head injurySiwaporn Khureerung
 
การดูแลผู้บาดเจ็บที่ทรวงอก
การดูแลผู้บาดเจ็บที่ทรวงอกการดูแลผู้บาดเจ็บที่ทรวงอก
การดูแลผู้บาดเจ็บที่ทรวงอกPatamaporn Seajoho
 
การอ่านค่า Ekg
การอ่านค่า Ekgการอ่านค่า Ekg
การอ่านค่า Ekgtechno UCH
 
การส่งเสริมการขับถ่ายอุจจาระ 57
การส่งเสริมการขับถ่ายอุจจาระ 57การส่งเสริมการขับถ่ายอุจจาระ 57
การส่งเสริมการขับถ่ายอุจจาระ 57Sirinoot Jantharangkul
 
Nursing Care for Coronary Artery disease edition 111058
Nursing Care for Coronary Artery disease edition 111058Nursing Care for Coronary Artery disease edition 111058
Nursing Care for Coronary Artery disease edition 111058Aphisit Aunbusdumberdor
 
Trauma Initial assessment and Resuscitation
Trauma Initial assessment and ResuscitationTrauma Initial assessment and Resuscitation
Trauma Initial assessment and ResuscitationNarenthorn EMS Center
 
ตรวจร่างกายระบบประสาท
ตรวจร่างกายระบบประสาทตรวจร่างกายระบบประสาท
ตรวจร่างกายระบบประสาทCotton On
 
pathophysiology of lower gastrointestinal for nursing students
pathophysiology of lower gastrointestinal for nursing studentspathophysiology of lower gastrointestinal for nursing students
pathophysiology of lower gastrointestinal for nursing studentsAphisit Aunbusdumberdor
 
11แผน
11แผน11แผน
11แผนFmz Npaz
 
SฺBAR เอสบา การสื่อสารอย่างปลอดภัย
SฺBAR เอสบา การสื่อสารอย่างปลอดภัยSฺBAR เอสบา การสื่อสารอย่างปลอดภัย
SฺBAR เอสบา การสื่อสารอย่างปลอดภัยSuradet Sriangkoon
 
ไข้เลือดออก
ไข้เลือดออกไข้เลือดออก
ไข้เลือดออกPrachaya Sriswang
 

What's hot (20)

Cvp central venous pressure monitoring
Cvp central venous pressure monitoringCvp central venous pressure monitoring
Cvp central venous pressure monitoring
 
การวัดความดันในหลอดเลือดดำกลาง Yui
การวัดความดันในหลอดเลือดดำกลาง Yuiการวัดความดันในหลอดเลือดดำกลาง Yui
การวัดความดันในหลอดเลือดดำกลาง Yui
 
EKG in ACLS
EKG in ACLSEKG in ACLS
EKG in ACLS
 
ประเภทสารน้ำ
ประเภทสารน้ำประเภทสารน้ำ
ประเภทสารน้ำ
 
ติวเด็ก
 ติวเด็ก ติวเด็ก
ติวเด็ก
 
Thai nihss
Thai nihssThai nihss
Thai nihss
 
Clinical practice guidelines mild head injury
Clinical practice guidelines mild head injuryClinical practice guidelines mild head injury
Clinical practice guidelines mild head injury
 
การให้ยาฉีด
การให้ยาฉีดการให้ยาฉีด
การให้ยาฉีด
 
การดูแลผู้บาดเจ็บที่ทรวงอก
การดูแลผู้บาดเจ็บที่ทรวงอกการดูแลผู้บาดเจ็บที่ทรวงอก
การดูแลผู้บาดเจ็บที่ทรวงอก
 
การอ่านค่า Ekg
การอ่านค่า Ekgการอ่านค่า Ekg
การอ่านค่า Ekg
 
การส่งเสริมการขับถ่ายอุจจาระ 57
การส่งเสริมการขับถ่ายอุจจาระ 57การส่งเสริมการขับถ่ายอุจจาระ 57
การส่งเสริมการขับถ่ายอุจจาระ 57
 
Nursing Care for Coronary Artery disease edition 111058
Nursing Care for Coronary Artery disease edition 111058Nursing Care for Coronary Artery disease edition 111058
Nursing Care for Coronary Artery disease edition 111058
 
Trauma Initial assessment and Resuscitation
Trauma Initial assessment and ResuscitationTrauma Initial assessment and Resuscitation
Trauma Initial assessment and Resuscitation
 
CAD IHD and VHD
CAD IHD and VHDCAD IHD and VHD
CAD IHD and VHD
 
ตรวจร่างกายระบบประสาท
ตรวจร่างกายระบบประสาทตรวจร่างกายระบบประสาท
ตรวจร่างกายระบบประสาท
 
จำแนกประเภท
จำแนกประเภทจำแนกประเภท
จำแนกประเภท
 
pathophysiology of lower gastrointestinal for nursing students
pathophysiology of lower gastrointestinal for nursing studentspathophysiology of lower gastrointestinal for nursing students
pathophysiology of lower gastrointestinal for nursing students
 
11แผน
11แผน11แผน
11แผน
 
SฺBAR เอสบา การสื่อสารอย่างปลอดภัย
SฺBAR เอสบา การสื่อสารอย่างปลอดภัยSฺBAR เอสบา การสื่อสารอย่างปลอดภัย
SฺBAR เอสบา การสื่อสารอย่างปลอดภัย
 
ไข้เลือดออก
ไข้เลือดออกไข้เลือดออก
ไข้เลือดออก
 

Viewers also liked

เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารNew Prapairin
 
Cholinergic blocking agents (เพจจากใจหมอยาๆๆๆ)
Cholinergic blocking agents (เพจจากใจหมอยาๆๆๆ)Cholinergic blocking agents (เพจจากใจหมอยาๆๆๆ)
Cholinergic blocking agents (เพจจากใจหมอยาๆๆๆ)some163
 
PHOL Oppday 2554Q2
PHOL Oppday 2554Q2PHOL Oppday 2554Q2
PHOL Oppday 2554Q2Share Rora
 
การดูดเสมหะ Paramedic msu
การดูดเสมหะ Paramedic msuการดูดเสมหะ Paramedic msu
การดูดเสมหะ Paramedic msuNantawan Tippayanate
 

Viewers also liked (6)

เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
 
Cholinergic blocking agents (เพจจากใจหมอยาๆๆๆ)
Cholinergic blocking agents (เพจจากใจหมอยาๆๆๆ)Cholinergic blocking agents (เพจจากใจหมอยาๆๆๆ)
Cholinergic blocking agents (เพจจากใจหมอยาๆๆๆ)
 
PHOL Oppday 2554Q2
PHOL Oppday 2554Q2PHOL Oppday 2554Q2
PHOL Oppday 2554Q2
 
การดูดเสมหะ Paramedic msu
การดูดเสมหะ Paramedic msuการดูดเสมหะ Paramedic msu
การดูดเสมหะ Paramedic msu
 
Basic Pulmonary anatomy
Basic Pulmonary anatomyBasic Pulmonary anatomy
Basic Pulmonary anatomy
 
2016 Neurological Assessment
2016 Neurological Assessment2016 Neurological Assessment
2016 Neurological Assessment
 

More from Nursing Room By Rangsima

2018 concepts and management of complicated eye problems
2018  concepts and management of complicated eye problems2018  concepts and management of complicated eye problems
2018 concepts and management of complicated eye problemsNursing Room By Rangsima
 
2018 Fundamental Concepts of Eye Health Assessment For Ophthalmic Nurse Pract...
2018 Fundamental Concepts of Eye Health Assessment For Ophthalmic Nurse Pract...2018 Fundamental Concepts of Eye Health Assessment For Ophthalmic Nurse Pract...
2018 Fundamental Concepts of Eye Health Assessment For Ophthalmic Nurse Pract...Nursing Room By Rangsima
 
2018-Issues and Trend in Ocular Pharmacology for Ophthalmic Nurse Practitioner
2018-Issues and Trend in Ocular Pharmacology for Ophthalmic Nurse Practitioner2018-Issues and Trend in Ocular Pharmacology for Ophthalmic Nurse Practitioner
2018-Issues and Trend in Ocular Pharmacology for Ophthalmic Nurse PractitionerNursing Room By Rangsima
 

More from Nursing Room By Rangsima (20)

2018 concepts and management of complicated eye problems
2018  concepts and management of complicated eye problems2018  concepts and management of complicated eye problems
2018 concepts and management of complicated eye problems
 
2018 Fundamental Concepts of Eye Health Assessment For Ophthalmic Nurse Pract...
2018 Fundamental Concepts of Eye Health Assessment For Ophthalmic Nurse Pract...2018 Fundamental Concepts of Eye Health Assessment For Ophthalmic Nurse Pract...
2018 Fundamental Concepts of Eye Health Assessment For Ophthalmic Nurse Pract...
 
2018-Issues and Trend in Ocular Pharmacology for Ophthalmic Nurse Practitioner
2018-Issues and Trend in Ocular Pharmacology for Ophthalmic Nurse Practitioner2018-Issues and Trend in Ocular Pharmacology for Ophthalmic Nurse Practitioner
2018-Issues and Trend in Ocular Pharmacology for Ophthalmic Nurse Practitioner
 
2016 GI Assessment
2016 GI Assessment2016 GI Assessment
2016 GI Assessment
 
2016 CVS assessment
2016 CVS assessment2016 CVS assessment
2016 CVS assessment
 
4.strategies 53
4.strategies  534.strategies  53
4.strategies 53
 
3.public policy 53
3.public policy  533.public policy  53
3.public policy 53
 
2.primary health care 53
2.primary health care 532.primary health care 53
2.primary health care 53
 
1.Health Community_Concept
1.Health Community_Concept1.Health Community_Concept
1.Health Community_Concept
 
2010 breast & reproductve examination
2010 breast & reproductve examination2010 breast & reproductve examination
2010 breast & reproductve examination
 
Review PMC 2010
Review PMC 2010Review PMC 2010
Review PMC 2010
 
2010 musculo skeleton assessment
2010 musculo skeleton assessment2010 musculo skeleton assessment
2010 musculo skeleton assessment
 
Eye assessment
Eye assessmentEye assessment
Eye assessment
 
Case Conference_PMC
Case Conference_PMCCase Conference_PMC
Case Conference_PMC
 
2010_GI Assessment
2010_GI Assessment2010_GI Assessment
2010_GI Assessment
 
2010_Thyroid Examination
2010_Thyroid Examination2010_Thyroid Examination
2010_Thyroid Examination
 
2010_Cardiovascular Assessment
2010_Cardiovascular Assessment2010_Cardiovascular Assessment
2010_Cardiovascular Assessment
 
2010_Health assessment
2010_Health assessment2010_Health assessment
2010_Health assessment
 
2010_Concept of Nursing Process
2010_Concept of Nursing Process2010_Concept of Nursing Process
2010_Concept of Nursing Process
 
Orientation 551495 : Primary Medical Care
Orientation 551495 : Primary Medical CareOrientation 551495 : Primary Medical Care
Orientation 551495 : Primary Medical Care
 

2016 Respiratory Assessment

  • 1. รังสิมา ภูมิสวัสดิ์ 18-Jan-17 1 E mail: rangsima.p@cmu.ac.th Facebook: Nursing Room By Rangsima Slideshare: Nursing Room By Rangsima
  • 2. • อธิบายวิธีการซักประวัติสุขภาพในระบบ ทางเดินหายใจได้ • บอกหลักการสาคัญในการตรวจร่างกาย ระบบทางเดินหายใจได้ • อธิบายขั้นตอนและวิธีการตรวจร่างกาย ระบบทางเดินหายใจได้ • บอกวิธีการตรวจทางห้องปฏิบัติการและ การตรวจพิเศษระบบทางเดินหายใจได้ 18-Jan-17 2
  • 3. • แลกเปลี่ยนออกซิเจนจากอากาศที่หายใจเข้ากับ คาร์บอนไดออกไซด์ที่เป็นของเสียจากกระบวนการเมตาบอลิซึม ของเซล (perfusion) • กระบวนการนาออกซิเจนเข้าและออกจากร่างกาย (ventilation) • การแลกเปลี่ยนออกซิเจนและคาร์บอนไดออกไซด์ระหว่างถุง ลมกับหลอดเลือดฝอยรอบๆถุงลม (diffusion) 18-Jan-17 3
  • 5. • อาการสาคัญ = อาการนามา ร.พ. + ระยะเวลา • อาการเจ็บอก (ควรถามเวลาที่เกิด ตาแหน่งที่เจ็บและเจ็บร้าว ทา อย่างไรอาการเจ็บอกจึงลดลง) • อาการไอ ระยะเวลาที่เริ่มมีอาการ ความถี่ สม่าเสมอหรือเป็นๆ หายๆ ไอมีเสมหะ? สี ความเหนียวข้นและปริมาณของเสมหะ อาการ ไอเป็นเลือด (hemoptysis) • อาการแพ้ แพ้อะไร? -สารเคมี สบู่ ละอองเกสร ผงซักฟอก การ ได้รับยาใดๆ ในการรักษาอาการแพ้ ถ้าได้รับให้ระบุชนิดของยาที่ได้รับ 18-Jan-17 5
  • 6. • อาการหายใจลาบาก -มีอาการหายใจหอบ (dyspnea) หายใจหอบนอน ราบไม่ได้ (orthopnea) มีอาการหายใจลาบากหลังจากนอนไปแล้ว 1-2 ชั่วโมง ต้องลุกมายืนหรือเดินสักครู่จึงจะดีขึ้น (paroxysmal nocturnal dyspnea) หายใจหอบขณะออกกาลังกาย (dyspnea on exertion) หรือ แม้แต่ขณะพักก็มีอาการหายใจหอบ (dyspnea at rest) • อาการเป็นหวัดบ่อย ๆ (frequent colds) • เหงื่อออกตอนกลางคืน (night sweats) 18-Jan-17 6
  • 7. • ประวัติการเจ็บป่วยอื่นๆ เช่น asthma, pneumonia, bronchitis, emphysema, tuberculosis การรักษา ประวัติการสัมผัสผู้ป่วยวัณโรค การทดสอบ tuberculin • การเอกซเรย์ทรวงอกครั้งสุดท้ายและผลของการเอกซเรย์ ปกติ หรือไม่อย่างไร • อาชีพ -สารเคมี แก๊ซ ถ่านหิน แมกนีเซียม ซิลิเคต และสารอินทรีย์ ต่าง ๆ เช่น ฝุ่นละออง ข้าวสาลีหรือหญ้าเฮย์ • นิสัยส่วนบุคคล ประวัติสูบบุหรี่ควรถามปริมาณบุหรี่ที่สูบในแต่ละวัน ระยะเวลาที่สูบ18-Jan-17 7
  • 8. C.C. (chief complaint): ไอและเจ็บอกก่อนมาโรงพยาบาล 1 วัน P.I. (Present illness): 4 วันก่อนมาโรงพยาบาลหลังจากกลับจากโรงเรียนตอนเย็นเริ่ม รู้สึกตัวร้อน มีไข้ ปวดศีรษะเล็กน้อย ได้รับประทานยาลดไข้ไปอาการดีขึ้น แต่ยังคงรู้สึกครั่น เนื้อครั่นตัว อ่อนเพลียอยู่บ้างนอนพักแล้วอาการดีขึ้น 2 วันก่อนมาเริ่มมีน้ามูกใสๆไหล มีไอมีเสมหะสีขาวๆจานวนเล็กน้อย ไม่ได้รับประทานยาใดๆ 1 วันก่อนมา เริ่มมีอาการไอมากขึ้น และมีอาการเจ็บอกด้านขวาแบบ แปล๊บๆ ไม่มีอาการเจ็บร้าวไปที่ใด มีไข้และไอมีเสมหะสีเหลืองปนเขียว เช้านี้เริ่มมีอาการเหนื่อยและหนาวสั่น จึงมารักษาที่โรงพยาบาล 18-Jan-17 8
  • 16. • ห้องตรวจควรมีแสงสว่างที่เพียงพอและควรเงียบ • ผู้ถูกตรวจ (หรือผู้ใช้บริการ) ไม่ควรสวมเสื้อ • ใช้เทคนิค ดู คลา เคาะ ฟัง เปรียบเทียบความแตกต่างของปอดข้างซ้าย และข้างขวา • ตรวจจากส่วนบนของทรวงอกลงล่าง • นึกถึงกายวิภาคของทรวงอกและปอด เพื่อที่จะสามารถระบุได้ว่า บริเวณหรือตาแหน่งใดที่ผิดปกติ • ตรวจทรวงอกและปอดด้านหลัง ควรให้ผู้ถูกตรวจอยู่ในท่านั่ง เอามือวางไว้ข้างหน้า ทั้งนี้เพื่อให้ บางส่วนของกระดูกสะบักยื่นออกมา • ตรวจทรวงอกและปอดด้านหน้าอาจอยู่ในท่านอนหรือท่านั่งก็ได้ (แต่ท่านอนจะสะดวกกว่าท่านั่ง) 18-Jan-17 16
  • 17. • รูปร่างลักษณะทรวงอก • การดูรูปร่างลักษณะทรวงอกจะต้องดูจาก ด้านหน้าไปด้านหลังและด้านข้างทั้งสองข้าง ปกติทรวงอกจะมีรูปร่างกลมแบนโดยมี เส้นผ่าศูนย์กลางจากด้านหน้าไปด้านหลัง (Anteroposterior diameter) แคบกว่า ด้านข้าง (Lateral diameter or Transverse diameter) • ปกติ Anteroposterior diameter : Lateral diameter ประมาณ 1:2 / 5:7 ในทารกหรือ ผู้สูงอายุ จะมีอัตราส่วน 1:118-Jan-17 17
  • 18. 18-Jan-17 18 Barrel Chest Lordosis Scoliosis Kyphosis Pigeon Chest -Pectus Carinatum Funnel Chest -Pectus Excavatum
  • 20. • ความลาดเอียงของกระดูกซี่โครง ปกติกระดูกซี่โครงทามุมกับกระดูก สันหลังประมาณ 45 องศา ในแนวขวาง แต่ในผู้ป่วยโรคถุงลมโป่งพอง กระดูกซี่โครงจะเปลี่ยนจากแนวขวางเป็นแนวนอน • ความกว้างของ costal angle ปกติจะน้อยกว่า 90 องศา และจะกว้าง ในขณะหายใจ เพราะมีการขยายตัวของทรวงอกด้านข้าง แต่ในผู้ป่วย โรคถุงลมโป่งพอง costal angle จะเพิ่มมากขึ้น • ช่องซี่โครง (intercostal space) – มีการหดรั้งในช่วงหายใจเข้าหรือไม่ ถ้ามีจะบ่งบอกถึงมีการอุดตันของ ทางเดินหายใจ เช่น Tracheal obstruction – มีการโป่งผิดปกติของช่องซี่โครงในระหว่างการหายใจออก เช่น ในผู้ป่วย โรคหอบหืด ถุงลมโป่งพอง แสดงถึงความลาบากในการหายใจเอาอากาศ ออกจากทรวงอก – บางครั้งการโป่งออกของช่องซี่โครงก็อาจเป็นผลจากเนื้องอก หัวใจโต อย่างเด่นชัดในทารกและเด็ก หรือ aortic aneurysm 18-Jan-17 20
  • 21. • จังหวะ อัตราและความลึกของการหายใจ – อัตราการหายใจในผู้ใหญ่ปกติประมาณ 14 – 18 ครั้งต่อนาที (บาง ตารา 16 – 20 ครั้งต่อนาที) สม่าเสมอทั้งจังหวะ และความลึก – ทารกประมาณ 44 ครั้งต่อนาที – อัตราส่วนระหว่างการหายใจกับชีพจร จะประมาณ 1:4 18-Jan-17 21
  • 22. • อัตราการหายใจ : นับการหายใจเข้า และออกนับเป็น 1 ครั้ง สังเกตใน 1 นาที หน่วยวัดการหายใจ เป็นครั้งต่อ นาที (bpm) • วัดการหายใจขณะผู้ป่วยพัก 18-Jan-17 22 • อัตราการหายใจตามอายุ (eupnea) คนปกติ ทั่วไป – ทารกแรกเกิด (newborn) 35-40 bpm – ทารก (6 เดือน) 30-50 bpm – 2 ปี 25-32 bpm – เด็ก 20-30 bpm – วัยรุ่น 16-19 bpm – ผู้ใหญ่ 16-20 bpm
  • 23. • tachypnea อัตราการหายใจในผู้ใหญ่ มากกว่า 24 ครั้ง/นาที • bradypnea อัตราการหายใจในผู้ใหญ่ น้อยกว่า 10 ครั้ง/นาที • apnea การไม่หายใจ – หยุดหายใจ • Cheyne stokes respiration การหายใจเป็นช่วง ๆไม่ สม่าเสมอ โดยจะเพิ่มอัตราการหายใจหายใจเร็วลึกและตาม ด้วยช่วงที่หยุดหายใจ แล้วกลับมาหายใจเร็วอีก • Bilot respiration การหายใจปกติสลับกับการหายใจเร็วลึก ไม่สม่าเสมอเป็นช่วงสั้น ๆ 2-3 ครั้ง แล้วตามด้วยหยุดหายใจ ช่วงสั้น ๆ อีก • dyspnea เป็นอาการหายใจลาบาก การหายใจต้องใช้แรง มากกว่าปกติ สังเกตการเคลื่อนไหวของทรวงอก การหดรัดตัว ของกล้ามเนื้อบริเวณคอ18-Jan-17 23
  • 24. • orthopnea เป็นอาการหายใจลาบากในท่านอนราบจะหายใจได้ต้องลุกขึ้น นั่งหรือยืนเท่านั้น • Paroxysmal nocturnal dyspnea เป็นอาการหายใจลาบากในตอน กลางคืนเกิดอาการหายใจหอบรุนแรงจนต้องลุกนั่งหายใจเข้าลึกๆ อาการ จึงทุเลาลงสาเหตุจาก Heart failure • Paroxysmal dyspnea มีอาการหอบอย่างรุนแรง ต้องลุกนั่ง ไอมีเสมหะ ลักษณะเป็นฟองละเอียดออกมา กระวนกระวาย หายใจมีเสียงดังทั้งหายใจ เข้าและออก มักมีสาเหตุมาจาก acute pulmonary edema • Air hunger ผู้ป่วยพยายามหายใจทั้งทางจมูก และปากอย่างรุนแรง พบใน ภาวะมีการอุดกั้นทางเดินหายใจ 18-Jan-17 24
  • 25. • 1. เพื่อตรวจหาตาแหน่งที่กดเจ็บ บริเวณที่ผู้ถูก ตรวจบอกว่าเจ็บหรือบริเวณที่มีความผิดปกติ ชัดเจนควรคลาด้วยความระมัดระวัง • 2. เพื่อประเมินลักษณะความผิดปกติที่เห็นได้ เช่น มีก้อน จุดกดเจ็บ หรือ sinus tract (เป็นแผล อักเสบบริเวณผิวหนังที่ไม่ติดต่อกับช่องอวัยวะ ภายใน) 18-Jan-17 25
  • 27. • เพื่อตรวจ vocal fremitus หรือ tactile fremitus 18-Jan-17 27
  • 28. • เคาะตรงบริเวณผนังทรวงอก ตามแนวบริเวณเนื้อเยื่อที่เกี่ยวกับการ เคลื่อนไหวและสามารถได้ยินเสียง • ช่วยให้ทราบว่าเนื้อเยื่อของปอดนั้นมีลม น้าหรือของแข็งอยู่ ซึ่งการเคาะนี้จะ สามารถตรวจพยาธิสภาพที่อยู่ลึกจากผนังทรวงอกได้เพียง 5 – 7 เซนติเมตร และพยาธิสภาพนั้นจะต้องมีเส้นผ่าศูนย์กลางไม่น้อยกว่า 2 เซนติเมตร • เคาะทางตรง กระทาโดยใช้นิ้วกลางและนิ้วนางหรือปลายนิ้วทุกนิ้วเคาะลงบน ผนังทรวงอกโดยตรง ปัจจุบันไม่นิยมเพราะยากต่อการแปลผล • เคาะทางอ้อม เป็นวิธีที่ทากันอยู่ทั่วไป โดยวางนิ้วกลางมือซ้าย (มือที่ไม่ ถนัด) ลงบน body surface ให้แนบแน่น ยกนิ้วอื่นอย่าให้แตะผิวเนื้อ เพราะจะ ทาให้การสั่นสะเทือนเปลี่ยนไป ใช้นิ้วกลางข้าวขวา (มือที่ถนัด) เคาะลงบน บริเวณข้อนิ้วส่วนปลายของนิ้วกลางหรือข้อถัดมาก็ได้ นิ้วกลางข้างขวาที่จะ เคาะต้องงอเล็กน้อย เคาะลงไปให้เร็ว ตั้งฉากและเป็นสปริง เมื่อเคาะแล้วควร ยกนิ้วขึ้นทันที จะช่วยให้ได้ยินเสียงชัดขึ้น 18-Jan-17 28
  • 29. • เคาะแต่ละตาแหน่ง ควรเคาะ 1 – 2 ครั้ง แล้วจึงเคาะบริเวณถัดไป • ควรใช้เทคนิคการเคาะที่แรงเท่าๆ กัน • เคาะผนังทรวงอกทั้งสองข้างเปรียบเทียบกัน จากส่วนบนลง ส่วนล่าง • เสียงที่เกิดจากการเคาะเรียกว่า percussion sounds – flatness เทียบได้กับเสียงที่เกิดจากการเคาะกล้ามเนื้อต้นขา หรือเคาะถังน้าเต็ม เป็นเสียงทึบมาก อาจเรียก “stone dullness” หรือ “absolute dullness” เคาะได้เสียง Flatness แสดงว่ามีของเหลวจานวนมากในช่องเยื่อหุ้มปอด เช่น extensive or massive pleural effusion 18-Jan-17 29
  • 30. • dullness เทียบได้กับเสียงที่เกิดจากการเคาะบริเวณตับ (ประมาณ ช่องซี่โครงช่องที่ 5 จะเป็นขอบบนของตับตรงกับเส้นกึ่งกลางไหปลา ร้าข้างขวาที่จะเคาะได้เสียงทึบ) หรือเคาะตรงบริเวณหัวใจก็จะได้เสียง ทึบเช่นกัน เสียงทึบ dullness • มีความทึบน้อยกว่า flatness • ถ้าเคาะที่ปอดได้ยินเสียง dullness แสดงว่าผู้ป่วยมีภาวะ pneumonia เนื้องอก วัณโรค หรือพบในผู้ป่วยที่มีปริมาณของเหลวงปานกลางใน ช่องเยื่อหุ้มปอด (pleural effusion) 18-Jan-17 30
  • 31. • resonance เป็นเสียงที่เกิดจากการเคาะปอดปกติ มีลักษณะ เสียงต่าปานกลาง • hyperresonance เทียบได้กับเสียงที่เกิดจากการเคาะบริเวณที่มี ลมอยู่มาก เสียงต่ากว่า resonance พบในผู้ป่วยถุงลมโป่งพอง (emphysema) หรือบางครั้งอาจพบในผู้ป่วย pneumothorax • tympany เทียบได้กับการเคาะอวัยวะที่กลวงและมีลม คล้าย เสียงกลองจะได้ยินบริเวณตาแหน่งของกระเพาะอาหาร เสียง tympany จะมีเสียงสูงปานกลาง และเสียงจะสูงกว่า resonance 18-Jan-17 31
  • 34. • ประเมินลมที่ผ่านหลอดลมและส่วนต่างๆ ของทางเดินหายใจ, น้าหรือ เสมหะ หรือสิ่งอื่นที่อุดตันทางเดินหายใจ, สภาพของเนื้อปอดทั่ว ๆ ไป และช่องเยื่อหุ้มปอด • การฟังเสียงหายใจโดยใช้ stethoscope • ควรให้ผู้ถูกตรวจหายใจเข้า–ออกแรงหรือลึกกว่าปกติทางปาก เพื่อที่จะลด เสียงรบกวนที่เกิดขึ้นในจมูกและลาคอ จะทาให้ฟังเสียงหายได้ชัดเจน • ในแต่ละตาแหน่งควรฟังให้ตลอดทั้งช่วงหายใจเข้าและหายใจออก เพื่อที่จะ สามารถระบุความผิดปกติที่เกิดขึ้นว่าเกิดในช่วงไหน หายใจเข้าหรือหายใจออก • การฟังต้องฟังเปรียบเทียบซ้าย–ขวา จากส่วนบนลงส่วนลาง • ระวังอย่าให้ผู้ถูกตรวจหายใจเข้า–ออกลึกนานมากเกินไป เพราะอาจทาให้ผู้ถูก ตรวจเกิดอาการเวียนศีรษะ หน้ามืดได้ • ถ้าจาเป็นควรให้ผู้ถูกตรวจได้พักเป็นครั้งคราว 18-Jan-17 34
  • 35. • เสียงหายใจที่ปกติ Breath sounds • เสียงหายใจที่ปกติมี 3 ชนิด จะได้ยินในตาแหน่งที่ต่างกันและมีคุณลักษณะต่างกันดัง 18-Jan-17 35 bronchial(tracheal) breath sounds bronchovesicular (bronchoalveolar) breath sounds vesicular breath sounds
  • 36. • เสียงหายใจที่ผิดปกติ (adventitious breath sounds) • rales or crepitation เป็นเสียงที่เกิดจากมีความชื้นหรือน้าอยู่ในทางเดิน หายใจส่วนหลอดลมจนถึงถุงลม เช่น pulmonary edema, pneumonia ลักษณะ เหมือนพรายแก๊ซน้าอัดลม หรือเหมือนขยี้เส้นผมใกล้ ๆ ใบหู จะได้ยินชัดช่วง หายใจเข้า และจะเปลี่ยนไปเมื่อมีการไอ 18-Jan-17 36
  • 37. • Rhonchi เป็น continuous sounds เกิดจากทางเดินหายใจแคบลง เนื่องจากมีเยื่อเมือก (mucous) การหดตัว การบวมของเยื่อบุทางเดิน หายใจ เนื้อ • จะได้ยินชัดในช่วงหายใจออกมากกว่าช่วงหายใจเข้า หรืออาจได้ยินชัด ทั้งช่วงหายใจเข้าและหายใจออก • กรณีเสียงแหลมสูง (high pitched) เกิดจากทางเดินหายใจส่วนที่เล็ก แคบ เช่น หลอดลมฝอย (bronchiole) เรียก sibilant rhonchi (wheeze) พบในผู้ป่วยโรคหอบหืด • ถ้าเสียงต่า (low pitched) เกิดจากทางเดินหายใจขนาดใหญ่แคบลง เรียก sonorous rhonchi • เสียงเปลี่ยนไปเมื่อมีการไอ ถ้าหลังไอเสียงไม่เปลี่ยนอาจเกิดจาก หลอดลมบริเวณนั้นตีบแคบลงจากเนื้องอกก็ได้ 18-Jan-17 37
  • 38. • Pleural friction rub พบในรายที่มีการอักเสบของเยื่อหุ้มปอด • โดยทั่วไปจะได้ยินทั้งช่วงหายใจเข้าและหายใจออก แต่จะได้ยินชัดเจน ในช่วงท้ายของการหายใจเข้า • เสียงนี้จะไม่เปลี่ยนเมื่อมีการไอ • เสียงฟังได้ยินเหมือนอยู่ใกล้ ๆ หู เมื่อกด stetoscope แนบกับผนังทรวง อกแรงขึ้นจะได้ยินเสียงชัดขึ้น • เสียงนี้เทียบได้กับเสียงที่เอาแผ่นหนัง 2 แผ่นมาถูกัน หรือเทียบกับเสียง ที่ใช้ปลายนิ้วชี้ถูที่ติ่งหูไปมา หรือใช้ฝ่ามือปิดหูข้างหนึ่งแล้วใช้นิ้วของ มืออีกข้างหนึ่งถูไปมาบนหลังมือของฝ่ามือที่ปิดหูไว้จะได้ยินชัดบริเวณ anterolateral chest wall 18-Jan-17 38
  • 39. • Voice sounds เกิดจากการฟังเสียงพูดผ่านทางผนังทรวงอกโดยใช้ stetoscope ปกติฟังได้ไม่ชัด ยกเว้นบริเวณเหนือหลอดลมใหญ่ และเมื่อมี ความผิดปกติหรือพยาธิสภาพของปอด เช่น pulmonary consolidation – Bronchophony จะได้ยินเสียงพูดดังชัดเจน ใช้ Stetoscope ด้าน diaphragm ฟังบริเวณต่าง ๆ โดยให้ผู้ถูกตรวจพูดเสียงปกติ เสียงพูดจะ แยกพยางค์ได้ชัดเจน พบใน Early pneumonia – Whispered pectoriloguy ให้ผู้ถูกตรวจพูดกระซิบ 1 – 2 – 3 stetoscope ฟังจะได้ยินเสียงชัดทั้ง ๆ ที่ให้ผู้ถูกตรวจกระซิบ – Egophony เป็นเสียงคล้ายเสียงขึ้นจมูก ถ้าให้ผู้ถูกตรวจออกเสียง อี... (ee) ถ้ามีพยาธิสภาพจะได้ยินเสียง “แอ”… (aa) พบใน pleural effusion18-Jan-17 39
  • 40. • ทรวงอกและปอด: ทรวงอกสมมาตรกันดี ไม่มีลักษณะการหายใจที่ลาบาก ไม่มีการหดรั้งหรือโป่งของ ช่องซี่โครงขณะหายใจเข้าและออก AP: lateral diameter = 1:2 ทรวงอกขยายตัวขณะหายใจเท่ากันทั้ง สองข้าง tactile fremitus เพิ่มขึ้นที่ปอดกลีบกลางข้างขวา จากการเคาะได้เสียงทึบ (dullness) ที่บริเวณ ปอดกลีบกลางข้างขวา กระบังลมเคลื่อนขึ้นลง 5 เซนติเมตรทั้งสองข้าง เสียงหายใจปกติยกเว้น ได้ยิน เสียง fine rales ที่บริเวณปอดกลีบกลางข้างขวา ไม่มี voice sounds ที่ผิดปกติ • Chest and lung : Symmetry, no dyspnea, no distressed breathing. no retraction or bulging of the intercostalspaces during respiration. Chest expansion equal bilaterally, Increased vocal fremitus over RML. Increased dullness on percussion of RML. Diaphragmatic excursion 5 cm bilat. Breath sounds clear except for fine rales heard in RML, No Egophony. Bronchophony and whispered pectoriloquy. 18-Jan-17 40
  • 41. • การตรวจนับจานวนเม็ดเลือด (complete blood count: CBC) ในกรณีของผู้ที่มีจานวนเม็ดเลือดแดง และระดับ ฮีโมโกลบิน (hemoglobin) ลดลง อาจเกิดจากการถูก ทาลายของเม็ดเลือดแดง หรือการสูญเสียเลือด หากมี จานวนเม็ดเลือดขาวเพิ่มขึ้นอาจเกิดจากการติดเชื้อ • ค่าความอิ่มตัวของออกซิเจนในเลือดแดง Oxygen saturation (SaO2) เพื่อตรวจดูระดับความอิ่มตัวของ ออกซิเจนในหลอดเลือดแดงส่วนปลาย ในกรณีมีค่าต่ากว่า ปกติอาจบ่งบอกถึงระดับระดับความดันของก๊าซออกซิเจน ในเลือดแดงต่าได้18-Jan-17 41
  • 42. • การวิเคราะห์ก๊าซในเลือดแดง (arterial blood gas) เพื่อตรวจดูระดับ ความเป็นกรด-ด่าง(pH) ระดับความดันของก๊าซออกซิเจน(PaO2) และก๊าซ คาร์บอนไดออกไซด์(PaCO2) ระดับค่าไบคาร์บอเนตในเลือดแดง (HCO3) ซึ่งบ่งชี้ความสามารถในการแลกเปลี่ยนก๊าซของปอด • การเพาะเชื้อจากเสมหะ (sputum culture) เพื่อตรวจชนิดของเชื้อโรคที่ พบในระบบทางเดินหายใจ • การถ่ายภาพรังสีทรวงอก (chest X-ray)เพื่อตรวจดูความผิดปกติที่ เกิดขึ้นในระบบทางเดินหายใจ • การตรวจสมรรถภาพปอด (pulmonary function test: PFT) เพื่อ ตรวจหาค่าความจุภายในปอด (lung capacity) ปริมาตรของอากาศที่ หายใจในแต่ละครั้ง ( tidal volume)18-Jan-17 42