SlideShare a Scribd company logo
1 of 67
Download to read offline
ติวเข้มเติมเต็มความรู้
รายวิชาชีววิทยา
สาหรับนักเรียนระดับชั้น
มัธยมศึกษาตอนปลาย
เรื่อง
ศูนย์ควบคุมระบบประสาท
(CENTRAL NERVOUS SYSTEM)
ผู้สอน...ครูวิชัย ลิขิตพรรักษ์
ศูนย์ควบคุมระบบประสาท
(CENTRAL NERVOUS SYSTEM)
• 1. การเกิดระบบประสาทในสัตว์มีกระดูกสันหลัง
• 2. ระบบประสาทศูนย์กลางในสัตว์มีกระดูกสันหลัง : สมอง (Brain)
• 3. ระบบประสาทรอบนอกในสัตว์มีกระดูกสันหลัง : เส้นประสาทสมอง (cranial nerve)
• 4. ระบบประสาทศูนย์กลางในสัตว์มีกระดูกสันหลัง : ไขสันหลัง (spinal cord)
• 5. ระบบประสาทรอบนอกในสัตว์มีกระดูกสันหลัง : เส้นประสาทไขสันหลัง (spinal nerve)
การเกิดระบบประสาทในสัตว์มีกระดูกสันหลัง
กาเนิดระบบประสาท (THE ORIGIN OF NERVOUS SYSTEM)
• ระบบประสาทพัฒนามาจากเนื้อเยื่อชั้นนอก (ectoderm) ทางด้านหลังของตัวอ่อน พัฒนาเปลี่ยนสภาพเป็น
หลอดประสาทหรือนิวรัลทิวบ์ (neural tube)
การเจริญ
พัฒนาของ
สมองมนุษย์
โครงสร้างของสมอง
• สมองส่วนหน้า (forebrain หรือ prosencephalon)
• สมองส่วนกลาง (midbrain หรือ mesencephalon)
• สมองส่วนท้าย (hindbrain หรือ rhombencephalon)
พัฒนาการสมองของสัตว์
• สมองส่วนหน้า (forebrain หรือ prosencephalon) ทาหน้าที่เกี่ยวข้องกับการ
เรียนรู้เป็นส่วนใหญ่ พบในสัตว์ที่มีวิวัฒนาการสูงขึ้น
• สมองส่วนกลาง (midbrain หรือ mesencephalon) ทาหน้าที่เกี่ยวกับการ
มองเห็น จะมีขนาดใหญ่สุดในปลาและมีขนาดเล็กลงในสัตว์ที่มีวิวัฒนาการสูงขึ้น
• สมองส่วนท้าย (hindbrain หรือ rhombencephalon) จะมีพัฒนาการดีมากใน
สัตว์ที่เคลื่อนที่ 3 มิติ เช่น ปลา นก รวมทั้งคนด้วย
ทบทวนความรู้ความเข้าใจ
• ระบบประสาทของสัตว์มีกระดูกสันหลังพัฒนามาจากเนื้อเยื่อชั้นใดในระยะเอ็มบริออ
• อวัยวะแรกที่เอ็มบริออพัฒนาขึ้นมาคืออะไร
ทบทวนความรู้ความเข้าใจ
• จงวาดภาพกระบวนการเกิดระบบประสาทในสัตว์มีกระดูกสันหลังตามลาดับขั้นตอน
• จงอธิบายกระบวนการพัฒนาของสมองและไขสันหลังในสันมีกระดูกสันหลัง
ระบบประสาทศูนย์กลางในสัตว์มีกระดูกสันหลัง : สมอง (BRAIN)
ระบบประสาทในสัตว์มีกระดูกสันหลัง
ระบบประสาทแบ่งเป็น
1.ระบบประสาทส่วนกลาง (Central
nervous system; CNS): สมองและไขสัน
หลัง ทาหน้าที่รวบรวมและแปลผลข้อมูล
2.ระบบประสาทรอบนอก (Peripheral
nervous system; PNS): เส้นประสาท
สมอง (cranial nerve) เส้นประสาทไขสัน
หลัง (spinal nerve) และปมประสาท
(ganglia) ทาหน้าที่นาสัญญาณประสาท
เข้า-ออก CNS และควบคุมการเปลี่ยนแปลง
สภาพแวดล้อมภายในร่างกาย
เยื่อหุ้ม (MENINGES) ประกอบด้วย 3 ชั้น คือ
• ชั้นนอก (dura mater) หนาและเหนียวและแข็งแรงช่วยป้องกันอันตรายและกระทบกระเทือนให้แก่สมองและไขสันหลัง
• ชั้นกลาง (arachnoid mater) เป็นเยื่อบางๆ อยู่ระหว่างชั้นนอกกับชั้นใน
• ชั้นใน (pia mater) เป็นชั้นที่อยู่ติดกับเนื้อสมองและไขสันหลังเส้นเลือดมาหล่อเลี้ยงมากนาสารอาหารและออกซิเจนมาให้สมอง
อครงสร้างและหน้าที่ในสมองส่วนต่างๆของคน
• สมองส่วนหน้า(forebrain หรือ prosencephalon)
1. ซีรีบัล (cerebrum) * frontal lobe * temporal lobe * parietal lope* occipital lobe
2. ทาลามัส (thalamus)
3. ไฮโพทาลามัส (hypothalamus)
4. ออแฟกตอรบัลบ์ (olfactory bulb)
• สมองส่วนกลาง (midbrain หรือ mesencephalon)
ออฟติก โลป (optic lope)
• สมองส่วนท้าย (hindbrain หรือ rhombencephalon)
1. ซีรีเบลลัม (cerebellum) 2.medulla oblongata 3. pons
สมองส่วนหน้า (FOREBRAIN หรือ PROSENCEPHALON)
1. cerebrum
- เป็นศูนย์กลางการเรียนรู้ - เป็นศูนย์กลางการรับรู้
- ควบคุมการทางานของกล้ามเนื้อลาย - ควบคุมการออกเสียงของคน
- ควบคุมเกี่ยวกับอารมณ์ - ควบคุมเกี่ยวกับบุคลิกภาพ
- ควบคุมทักษะ - เกี่ยวกับการต่อสู้
- ควบคุมพฤติกรรมทางสังคม
 frontal lobe เกี่ยวกับความจา ความคิด สั่งงานกล้ามเนื้อ
 temporal lobe ดมกลิ่น ได้ยิน การพูด
เข้าใจคาพูดและการอ่าน
 parietal lope การรู้สึกตัว รับรส/ความรู้สึก
 occipital lobe การมองเห็น
CEREBRAL HEMISPHERE
LIMBIC SYSTEM (CNS: FOREBRAIN/PROSENCEPHALON)
• Amygdala และ hippocampus : ควบคุมพฤติกรรมทางอารมณ์ (ก้าวร้าว/กล้า/สับสน/กลัว)
• Amygdala
• ตาแหน่ง : เป็นส่วนที่ผิวด้านในของ cerebral cortex ด้าน temporal lobe
• หน้าที่ : ร่วมกับ olfactory bulb และ temporal lobe ในการรับกลิ่น ,ร่วมกับโครงสร้าง
อื่นๆ ในการควบคุมระบบต่อมไร้ท่อและระบบประสาทอัตโนวัติ
• Hippocampus
• ตาแหน่ง : อยู่บริเวณผิวด้านในของ cerebral cortex มีรูปร่างคล้ายเขาแกะและอยู่ใต้ต่อม
amygdala
• หน้าที่ : เกี่ยวกับความจาทั้งระยะสั้น (recent memory) และระยะยาว (long-term
memory) ,ร่วมกับโครงสร้างอื่นๆ ในการควบคุมระบบต่อมไร้ท่อและระบบประสาทอัตโนมัติ
2. ทาลามัส (thalamus)
- ทาหน้าที่เป็นศูนย์รวมกระแสประสาทที่ผ่านมาแล้วแยกกระแสประสาทไปยังสมองที่เกี่ยวข้อง จึงอาจเรียกส่วนนี้ว่าเป็นสถานีถ่ายทอด
ที่สาคัญของสมอง
- ทาหน้าที่เป็นศูนย์ควบคุมอารมณ์และการตื่น
3. ไฮโพทาลามัส (hypothalamus)
- ควบคุมอุณภูมิของร่างกาย การเต้นหัวใจ ความดันเลือด การนอนการหลับ ความหิว ความอิ่ม ความรู้สึกทางเพศและสร้างฮอร์โมน
- เป็นศูนย์แห่งความสุขและใน mammal : biological clock/circadian rhythms
4. ออแฟกตอรบัลบ์ (olfactory bulb)
- ทาหน้าที่เกี่ยวกับการดมกลิ่น
- ในพวกปลาจะเจริญดีมากต่างจากพวกไพรเมต(primate)
สมองส่วนหน้า (FOREBRAIN หรือ PROSENCEPHALON)
• สมองส่วนกลาง (midbrain หรือ mesencephalon)
ออฟติก โลป (optic lobe) ทาหน้าที่เกี่ยวข้องกับการมองเห็นเจริญพัฒนามากในสัตว์พวกปลา นกและลดน้อยลงใน
สัตว์ชั้นสูง (การเคลื่อนไหวของลูกตาและควบคุมการปิด-เปิดของม่านตา)
• สมองส่วนท้าย (hindbrain หรือ rhombencephalon)
1. ซีรีเบลลัม (cerebellum) ทาหน้าที่ควบคุมการเคลื่อนไหวต่างๆให้เป็นไปอย่างสละสลวย ควบคุมการทรงตัว
2. เมดุลา ออฟลองกาตา (medulla ablongata) ทาหน้าที่เกี่ยวกับระบบประสาทอัตโนวัติ ได้แก่ควบคุมอัตราการเต้นของหัวใจ ควบคุม
การหายใจ ความดันเลือด การกลืนการจาม การอาเจียน
3. พอนส์ (pons) ทาหน้าที่ ควบคุมการเคี้ยว การหลั่งน้าลายและการเคลื่อนไหวของใบหน้าควบคุมการหายใจ เป็นทางผ่านของกระแส
ประสาทระหว่างซีรีบรัมกับซีรีเบลลัมและระหว่างซีรีเบลลัมกับไขสันหลัง
Brainstem (ก้านสมอง)
- ตาแหน่ง = midbrain + pons + medulla oblongata
- หน้าที่ = ระบบ reticular formation / Ascending Reticular Activating System (ARAS)
ARAS = ควบคุมระดับความรู้สึกตัว (level of consciousness) / หลับตื่น / รู้ตัว / ฝัน  [full awake  coma]
ถ้าก้านสมองถูกทาลาย = เสียชีวิตในทางการแพทย์ ยังสามารถบริจาคอวัยวะเพื่อผู้อื่นได้
ascending reticular
activating system
ทบทวนความรู้ความเข้าใจ
• เยื่อหุ้มสมองและไขสันหลังแบ่งออกเป็นกี่ชั้น อะไรบ้าง
• สมองมนุษย์สามารถแบ่งออกเป็นกี่ส่วน อะไรบ้าง
ทบทวนความรู้ความเข้าใจ
• สมองส่วนหน้าของมนุษย์แบ่งออกเป็นกี่ส่วน แต่ละส่วนทาหน้าที่สาคัญอย่างไร
• สมองส่วนหลังของมนุษย์แบ่งออกเป็นกี่ส่วน แต่ละส่วนทาหน้าที่สาคัญอย่างไร
ระบบประสาทรอบนอกในสัตว์มี
กระดูกสันหลัง : เส้นประสาทสมอง
(CRANIAL NERVE)
เส้นประสาทสมอง (CRANIAL NERVE)
เส้นประสาทสมองแบ่งออกเป็น 3 ประเภท
• เส้นประสาทสมองที่ทาหน้าที่รับความรู้สึก (sensory
nerve) ทาหน้าที่รับกระแสความรู้สึกจากหน่วยรับ
ความรู้สึกไปยังสมองส่วนที่เกี่ยวข้อง
• เส้นประสาทสมองที่ทาหน้าที่นาคาสั่ง (motor nerve)
ทาหน้าที่นากระแสคาสั่งจากสมองไปยังหน่วยปฏิบัติงาน
• เส้นประสาทสมองที่ทาหน้าที่ผสม (mixed nerve) ทา
หน้าที่รับกระแสความรู้สึกจากหน่วยรับความรู้สึก ไปยัง
สมองส่วนที่เกี่ยวข้อง และจากสมองไปยังหน่วยปฏิบัติงาน
เส้นประสาทสมอง (CRANIAL NERVE) คนมี 12 คู่
39
สรุป
• เส้นประสาทสมองที่ทาหน้าที่รับ
ความรู้สึก มี 3 คู่ ได้แก่ 1 , 2 , 8
• เส้นประสาทสมองที่ทาหน้าที่นา
คาสั่ง มี 5 คู่ ได้แก่ 3 , 4 , 6 , 11 , 12
• เส้นประสาทสมองที่ทาหน้าที่ผสม
มี 4 คู่ ได้แก่ 5 , 7 , 9 , 10
ควรเข้าใจเพิ่มเติม
40
• Olfactory bulb : ทางออกของเส้นประสาท
สมองคู่ที่ 1
• Occipital lobe (cerebral
cortex) : ทางออกของเส้นประสาทสมองคู่ที่ 2
• Mid brain : ทางออกของเส้นประสาทสมองคู่ที่
3 และ 4
• Pons : ทางออกของเส้นประสาทสมองคู่ที่ 5 ถึง 7
• Medulla oblongata : ทางออกของ
เส้นประสาทสมองคู่ที่ 8 ถึง 12
41
ทบทวนความรู้ความเข้าใจ
• จานวนเส้นประสาทสมองของสัตว์มีกระดูกสันหลังแต่ละชนิดมีความแตกต่างกันอย่างไร
• เส้นประสาทสมองของมนุษย์แบ่งตามหน้าที่ได้กี่ประเภท อะไรบ้าง
ทบทวนความรู้ความเข้าใจ
• หากนักเรียนกาลังอ่านหนังสือเรียน เส้นประสาทสมองคู่ใดกาลังทางานบ้าง
• อรคอัลไซเมอร์และอรคพาร์กินสันมีลักษณะอาการและสาเหตุแตกต่างกันอย่างไร
ระบบประสาทศูนย์กลางในสัตว์มีกระดูกสันหลัง : ไขสันหลัง (SPINAL CORD)
48
ไขสันหลัง (spinal cord)
• เนื้อไขสันหลังมี 2 ส่วนคือ
1. White matter เป็นส่วนที่มีสีขาวอยู่รอบนอก โดยบริเวณนี้มี
เฉพาะใยประสาทที่มีเยื่อไมอีลินหุ้มโดยไม่มีตัวเซลล์ประสาทอยู่เลย
2. Gray matter เป็นส่วนที่มีสีเทา อยู่บริเวณกลางๆ โดยบริเวณ
นี้มีทั้งตัวเซลล์ประสาทและใยประสาทที่ไม่มีเยื่อไมอีลินหุ้ม ตัวเซลล์ประสาท
มีทั้งเซลล์ประสาทประสานงานและเซลล์ประสาทนาคาสั่ง มีรูปร่างคล้าย
ตัวอักษรตัว H หรือปีกผีเสื้อ ประกอบด้วย
- ปีกบน (dorsal horn) เป็นบริเวณรับความรู้สึก
- ปีกล่าง (ventral horn) เป็นบริเวณนาคาสั่ง
- ปีกข้าง (lateral horn) เป็นระบบประสาทอัตโนวัติเพราะมีเซลล์ประสาท
นาคาสั่งตัวที่ 1 ปรากฏอยู่
49
ภาพแสดงไขสันหลังที่บรรจุอยู่ในโพรงกระดูก
50
51
52
ไขสันหลังของคนอยู่
ภายในกระดูกสันหลัง
ตั้งแต่กระดูกสันหลัง
บริเวณข้อแรกถึงกระดูก
สันหลังบริเวณเอวข้อที่ 2
: L2 (เมื่อเจริญเติบโต
เต็มที่) แต่ในทารกแรก
คลอดจะอยู่บริเวณเอวข้อ
ที่ 3 : L3
53
54
การเจาะน้าไขสันหลัง (lumbar puncture (LP), spinal tap)
การเจาะหลัง/แทงหลัง เป็น
การที่หมอแทงเข็มเข้าไปใน
ช่องไขสันหลังเพื่อ
จุดประสงค์ต่างๆกัน ไม่ว่าจะ
เป็นการตรวจหาโรค , การให้
ยาชา หรือการให้ยาเพื่อ
รักษาโรค
ทบทวนความรู้ความเข้าใจ
• สีเนื้อของไขสันหลังและสมองมีลักษณะเหมือนหรือแตกต่างกันอย่างไร
• บริเวณไขสันหลังที่มีรูปร่างคล้าย H มีส่วนประกอบสาคัญอะไรบ้าง
ทบทวนความรู้ความเข้าใจ
• การเจริญของไขสันหลังกับกระดูกสันหลังในมนุษย์มีความสัมพันธ์กันอย่างไร
• การเจาะน้าเลี้ยงไขสันหลังเพื่อนามาตรวจวินิจฉัยอรคควรทาที่ตาแหน่งใด เพราะเหตุใด
ระบบประสาทรอบนอกในสัตว์มี
กระดูกสันหลัง : เส้นประสาทไขสัน
หลัง (SPINAL NERVE)
เส้นประสาทไขสันหลัง (SPINAL NERVE)
58
• ในคนมีทั้งหมด 31 คู่ ทั้งหมดเป็นเส้นประสาทผสม (mixed
nerve) เส้นประสาทไขสันหลังจึงเหมือนเส้นประสาทสมองคู่ที่
5,7,9,10
VERTEBRAL COLUMN VS. SPINAL NERVE
59
60
62
(1) รีเฟล็กซ์ แอกชันของการกระตุ้นขา (2) รีเฟล็กซ์ แอกชันเมื่อเหยียบเศษแก้ว
63
monosynaptic reflex or simple reflex arc
64
polysynaptic reflex or complex reflex arc
ทบทวนความรู้ความเข้าใจ
• เส้นประสาทไขสันหลังของมนุษย์ทั้งหมดจัดเป็นประเภทใด
• จานวนเส้นประสาทไขสันหลังกับกระดูกสันหลังเท่ากันหรือไม่ อธิบาย
ทบทวนความรู้ความเข้าใจ
• รีเฟล็กซ์ อาร์ก คืออะไร จงเขียนแผนภาพประกอบ
• รีเฟล็กซ์ แอกชัน มีกี่รูปแบบ แต่ละรูปแบบแตกต่างกันอย่างไร
“THE END”
THANK YOU FOR YOUR ATTENTION!

More Related Content

What's hot

ระบบประสาทส่วนกลางและรอบนอก
ระบบประสาทส่วนกลางและรอบนอกระบบประสาทส่วนกลางและรอบนอก
ระบบประสาทส่วนกลางและรอบนอกThanyamon Chat.
 
การรับรู้และการตอบสนอง
การรับรู้และการตอบสนองการรับรู้และการตอบสนอง
การรับรู้และการตอบสนองsukanya petin
 
อวัยวะรับความรู้สึก
อวัยวะรับความรู้สึกอวัยวะรับความรู้สึก
อวัยวะรับความรู้สึกThitaree Samphao
 
ชีววิทยาเรื่องระบบขับถ่าย Excretion
ชีววิทยาเรื่องระบบขับถ่าย Excretionชีววิทยาเรื่องระบบขับถ่าย Excretion
ชีววิทยาเรื่องระบบขับถ่าย Excretionkasidid20309
 
ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด Thitaree Samphao
 
ศ นย ควบค_มระประสาท (ต_อ)
ศ นย ควบค_มระประสาท (ต_อ)ศ นย ควบค_มระประสาท (ต_อ)
ศ นย ควบค_มระประสาท (ต_อ)Natthaya Khaothong
 
เอกสารประกอบกิจกรรมการเรียนรู้ การศึกษาการสังเคราะห์ด้วยแสง
เอกสารประกอบกิจกรรมการเรียนรู้ การศึกษาการสังเคราะห์ด้วยแสงเอกสารประกอบกิจกรรมการเรียนรู้ การศึกษาการสังเคราะห์ด้วยแสง
เอกสารประกอบกิจกรรมการเรียนรู้ การศึกษาการสังเคราะห์ด้วยแสงOui Nuchanart
 
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสAomiko Wipaporn
 
พลังงานทดแทนกับการใช้ประโยชน์
พลังงานทดแทนกับการใช้ประโยชน์พลังงานทดแทนกับการใช้ประโยชน์
พลังงานทดแทนกับการใช้ประโยชน์Ponpirun Homsuwan
 
เซลล์ประสาทและการทำงาน
เซลล์ประสาทและการทำงาน เซลล์ประสาทและการทำงาน
เซลล์ประสาทและการทำงาน Thitaree Samphao
 
6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์
6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์
6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์สำเร็จ นางสีคุณ
 
การทำงานของระบบประสาทสั่งการ
การทำงานของระบบประสาทสั่งการการทำงานของระบบประสาทสั่งการ
การทำงานของระบบประสาทสั่งการWan Ngamwongwan
 
บทท 8 ระบบประสาท (1)
บทท   8 ระบบประสาท (1)บทท   8 ระบบประสาท (1)
บทท 8 ระบบประสาท (1)Natthaya Khaothong
 
ข้อสอบวิชาชีววิทยา
ข้อสอบวิชาชีววิทยาข้อสอบวิชาชีววิทยา
ข้อสอบวิชาชีววิทยาNuttarika Kornkeaw
 

What's hot (20)

ระบบประสาทส่วนกลางและรอบนอก
ระบบประสาทส่วนกลางและรอบนอกระบบประสาทส่วนกลางและรอบนอก
ระบบประสาทส่วนกลางและรอบนอก
 
การรับรู้และการตอบสนอง
การรับรู้และการตอบสนองการรับรู้และการตอบสนอง
การรับรู้และการตอบสนอง
 
อวัยวะรับความรู้สึก
อวัยวะรับความรู้สึกอวัยวะรับความรู้สึก
อวัยวะรับความรู้สึก
 
ชีววิทยาเรื่องระบบขับถ่าย Excretion
ชีววิทยาเรื่องระบบขับถ่าย Excretionชีววิทยาเรื่องระบบขับถ่าย Excretion
ชีววิทยาเรื่องระบบขับถ่าย Excretion
 
ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด
 
ศ นย ควบค_มระประสาท (ต_อ)
ศ นย ควบค_มระประสาท (ต_อ)ศ นย ควบค_มระประสาท (ต_อ)
ศ นย ควบค_มระประสาท (ต_อ)
 
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตการเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
 
เอกสารประกอบกิจกรรมการเรียนรู้ การศึกษาการสังเคราะห์ด้วยแสง
เอกสารประกอบกิจกรรมการเรียนรู้ การศึกษาการสังเคราะห์ด้วยแสงเอกสารประกอบกิจกรรมการเรียนรู้ การศึกษาการสังเคราะห์ด้วยแสง
เอกสารประกอบกิจกรรมการเรียนรู้ การศึกษาการสังเคราะห์ด้วยแสง
 
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
 
ระบบย่อยอาหาร (Digestive System)
ระบบย่อยอาหาร (Digestive System)ระบบย่อยอาหาร (Digestive System)
ระบบย่อยอาหาร (Digestive System)
 
01เอกสารสอนเสริม01 16
01เอกสารสอนเสริม01 1601เอกสารสอนเสริม01 16
01เอกสารสอนเสริม01 16
 
พลังงานทดแทนกับการใช้ประโยชน์
พลังงานทดแทนกับการใช้ประโยชน์พลังงานทดแทนกับการใช้ประโยชน์
พลังงานทดแทนกับการใช้ประโยชน์
 
เซลล์ประสาทและการทำงาน
เซลล์ประสาทและการทำงาน เซลล์ประสาทและการทำงาน
เซลล์ประสาทและการทำงาน
 
ชุดการสอนที่ 9 การรักษาดุลยภาพด้วยฮอร์โมน
ชุดการสอนที่ 9 การรักษาดุลยภาพด้วยฮอร์โมนชุดการสอนที่ 9 การรักษาดุลยภาพด้วยฮอร์โมน
ชุดการสอนที่ 9 การรักษาดุลยภาพด้วยฮอร์โมน
 
6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์
6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์
6แบบทดสอบการลำเลียงสารผ่านเซลล์
 
การทำงานของระบบประสาทสั่งการ
การทำงานของระบบประสาทสั่งการการทำงานของระบบประสาทสั่งการ
การทำงานของระบบประสาทสั่งการ
 
บทท 8 ระบบประสาท (1)
บทท   8 ระบบประสาท (1)บทท   8 ระบบประสาท (1)
บทท 8 ระบบประสาท (1)
 
อวัยวะรับความรู้สึก
อวัยวะรับความรู้สึกอวัยวะรับความรู้สึก
อวัยวะรับความรู้สึก
 
ข้อสอบวิชาชีววิทยา
ข้อสอบวิชาชีววิทยาข้อสอบวิชาชีววิทยา
ข้อสอบวิชาชีววิทยา
 
แผนBioม.5 1
แผนBioม.5 1แผนBioม.5 1
แผนBioม.5 1
 

Similar to 3.ศูนย์กลางประสาท

โครงสร้างของระบบประสาท
โครงสร้างของระบบประสาทโครงสร้างของระบบประสาท
โครงสร้างของระบบประสาทWan Ngamwongwan
 
กายวิภาคศาสตร์และสรีรวิทยา
กายวิภาคศาสตร์และสรีรวิทยากายวิภาคศาสตร์และสรีรวิทยา
กายวิภาคศาสตร์และสรีรวิทยาAngkana Chongjarearn
 
ระบบประสาท - Nervous system
ระบบประสาท - Nervous systemระบบประสาท - Nervous system
ระบบประสาท - Nervous systemsupreechafkk
 
โครงสร้างของระบบประสาท
โครงสร้างของระบบประสาทโครงสร้างของระบบประสาท
โครงสร้างของระบบประสาทnokbiology
 
1.2 brain system
1.2 brain system1.2 brain system
1.2 brain systemPiro Jnn
 
งาน ส่วนประกอบของสมอง
งาน ส่วนประกอบของสมองงาน ส่วนประกอบของสมอง
งาน ส่วนประกอบของสมองPongsatorn Srivhieang
 
ระบบประสาท สอนพิเศษ ม.2.pptx
ระบบประสาท สอนพิเศษ ม.2.pptxระบบประสาท สอนพิเศษ ม.2.pptx
ระบบประสาท สอนพิเศษ ม.2.pptxKunchayaPitayawongro1
 
ศูนย์สำรอง เขียนแผนภาพการทำงานระบบประสาท ชุดการสอนที่ 5
ศูนย์สำรอง เขียนแผนภาพการทำงานระบบประสาท ชุดการสอนที่ 5ศูนย์สำรอง เขียนแผนภาพการทำงานระบบประสาท ชุดการสอนที่ 5
ศูนย์สำรอง เขียนแผนภาพการทำงานระบบประสาท ชุดการสอนที่ 5ชโลธร กีรติศักดิ์กุล
 
ศูนย์สำรอง เขียนแผนภาพการทำงานระบบประสาท ชุดการสอนที่ 5
ศูนย์สำรอง เขียนแผนภาพการทำงานระบบประสาท ชุดการสอนที่ 5ศูนย์สำรอง เขียนแผนภาพการทำงานระบบประสาท ชุดการสอนที่ 5
ศูนย์สำรอง เขียนแผนภาพการทำงานระบบประสาท ชุดการสอนที่ 5ชโลธร กีรติศักดิ์กุล
 
ศูนย์สำรอง เขียนแผนภาพการทำงานระบบประสาท ชุดการสอนที่ 5
ศูนย์สำรอง เขียนแผนภาพการทำงานระบบประสาท ชุดการสอนที่ 5ศูนย์สำรอง เขียนแผนภาพการทำงานระบบประสาท ชุดการสอนที่ 5
ศูนย์สำรอง เขียนแผนภาพการทำงานระบบประสาท ชุดการสอนที่ 5ชโลธร กีรติศักดิ์กุล
 

Similar to 3.ศูนย์กลางประสาท (20)

โครงสร้างของระบบประสาท
โครงสร้างของระบบประสาทโครงสร้างของระบบประสาท
โครงสร้างของระบบประสาท
 
กายวิภาคศาสตร์และสรีรวิทยา
กายวิภาคศาสตร์และสรีรวิทยากายวิภาคศาสตร์และสรีรวิทยา
กายวิภาคศาสตร์และสรีรวิทยา
 
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 4
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 4ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 4
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 4
 
ระบบประสาท - Nervous system
ระบบประสาท - Nervous systemระบบประสาท - Nervous system
ระบบประสาท - Nervous system
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาท
 
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5
 
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5
 
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5
 
โครงสร้างของระบบประสาท
โครงสร้างของระบบประสาทโครงสร้างของระบบประสาท
โครงสร้างของระบบประสาท
 
1.2 brain system
1.2 brain system1.2 brain system
1.2 brain system
 
Nervous
NervousNervous
Nervous
 
งาน ส่วนประกอบของสมอง
งาน ส่วนประกอบของสมองงาน ส่วนประกอบของสมอง
งาน ส่วนประกอบของสมอง
 
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 5ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 5
 
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 5ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 5
 
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 5ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 5
 
ระบบประสาท สอนพิเศษ ม.2.pptx
ระบบประสาท สอนพิเศษ ม.2.pptxระบบประสาท สอนพิเศษ ม.2.pptx
ระบบประสาท สอนพิเศษ ม.2.pptx
 
Nervous system
Nervous systemNervous system
Nervous system
 
ศูนย์สำรอง เขียนแผนภาพการทำงานระบบประสาท ชุดการสอนที่ 5
ศูนย์สำรอง เขียนแผนภาพการทำงานระบบประสาท ชุดการสอนที่ 5ศูนย์สำรอง เขียนแผนภาพการทำงานระบบประสาท ชุดการสอนที่ 5
ศูนย์สำรอง เขียนแผนภาพการทำงานระบบประสาท ชุดการสอนที่ 5
 
ศูนย์สำรอง เขียนแผนภาพการทำงานระบบประสาท ชุดการสอนที่ 5
ศูนย์สำรอง เขียนแผนภาพการทำงานระบบประสาท ชุดการสอนที่ 5ศูนย์สำรอง เขียนแผนภาพการทำงานระบบประสาท ชุดการสอนที่ 5
ศูนย์สำรอง เขียนแผนภาพการทำงานระบบประสาท ชุดการสอนที่ 5
 
ศูนย์สำรอง เขียนแผนภาพการทำงานระบบประสาท ชุดการสอนที่ 5
ศูนย์สำรอง เขียนแผนภาพการทำงานระบบประสาท ชุดการสอนที่ 5ศูนย์สำรอง เขียนแผนภาพการทำงานระบบประสาท ชุดการสอนที่ 5
ศูนย์สำรอง เขียนแผนภาพการทำงานระบบประสาท ชุดการสอนที่ 5
 

More from Wichai Likitponrak

บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfSAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfWichai Likitponrak
 
การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64Wichai Likitponrak
 
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64Wichai Likitponrak
 
การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64Wichai Likitponrak
 
การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64Wichai Likitponrak
 
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564Wichai Likitponrak
 

More from Wichai Likitponrak (20)

บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
 
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfSAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
 
การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64
 
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
 
การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64
 
การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64
 
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
 
Biotest kku60
Biotest kku60Biotest kku60
Biotest kku60
 
Key biotestku60 kruwichaitu
Key biotestku60 kruwichaituKey biotestku60 kruwichaitu
Key biotestku60 kruwichaitu
 
Bi opat2 onet2564_kru_wichai
Bi opat2 onet2564_kru_wichaiBi opat2 onet2564_kru_wichai
Bi opat2 onet2564_kru_wichai
 
BiOsaman2564
BiOsaman2564BiOsaman2564
BiOsaman2564
 
Biosaman63 kruwichai
Biosaman63 kruwichaiBiosaman63 kruwichai
Biosaman63 kruwichai
 
Ijs obio62 testing
Ijs obio62 testingIjs obio62 testing
Ijs obio62 testing
 
Pptgst uprojectplant62
Pptgst uprojectplant62Pptgst uprojectplant62
Pptgst uprojectplant62
 
Pptgst uprojectpaper62
Pptgst uprojectpaper62Pptgst uprojectpaper62
Pptgst uprojectpaper62
 
Pptgst uprojectnickle61
Pptgst uprojectnickle61Pptgst uprojectnickle61
Pptgst uprojectnickle61
 
Pptgst uprojectflower61
Pptgst uprojectflower61Pptgst uprojectflower61
Pptgst uprojectflower61
 

3.ศูนย์กลางประสาท