SlideShare a Scribd company logo
โครงสร้างหลักสูตรกลุ่มสาระสังคมศึกษา
  ชันมัธยมศึกษาตอนต้น
    ้

สาระพืนฐาน
      ้
ส 21161 ประวัติศาสตร์ 1          หน่วยกิต   0.5 หน่วยกิต   20    ชัวโมง
                                                                   ่
ส 21161 ประวัติศาสตร์ 2          หน่วยกิต   0.5 หน่วยกิต   20    ชัวโมง
                                                                     ่
ส 22163 ประวัติศาสตร์ 3          หน่วยกิต   0.5 หน่วยกิต   20    ชัวโมง่
ส 22164 ประวัติศาสตร์ 4          หน่วยกิต   0.5 หน่วยกิต   20    ชัวโมง  ่
ส 23165 ประวัติศาสตร์ 5          หน่วยกิต   0.5 หน่วยกิต   20    ชัวโมง    ่
ส 23166 ประวัติศาสตร์ 6          หน่วยกิต   0.5 หน่วยกิต   20    ชัวโมง      ่
ส 21101 สังคมศึกษา               หน่วยกิต   1.5 หน่วยกิต   60    ชัวโมง        ่
ส 21102 สังคมศึกษา               หน่วยกิต   1.5 หน่วยกิต   60    ชัวโมง          ่
ส 22103 สังคมศึกษา               หน่วยกิต   1.5 หน่วยกิต   60    ชัวโมง            ่
ส 22104 สังคมศึกษา               หน่วยกิต   1.5 หน่วยกิต   60    ชัวโมง              ่
ส 23105 สังคมศึกษา               หน่วยกิต   1.5 หน่วยกิต   60    ชัวโมง                ่
ส 23106 สังคมศึกษา               หน่วยกิต   1.5 หน่วยกิต   60    ชัวโมง                  ่
สาระเพิมเติม
        ่
ส 20221 ท้องถิ่นของเรา 1         หน่วยกิต 1.0 หน่วยกิต     40   ชัวโมง
                                                                  ่
ส 20222 ท้องถิ่นของเรา 2         หน่วยกิต 1.0 หน่วยกิต     40   ชัวโมง
                                                                    ่
ส 20223 ชี วิตกับกฎหมาย          หน่วยกิต 1.0 หน่วยกิต     40   ชัวโมง่
ส 20224 ประชากรกับสิ่ งแวดล้อม   หน่วยกิต 1.0 หน่วยกิต     40   ชัวโมง  ่
ส 20224 ประเพณี และวัฒนธรรม      หน่วยกิต 1.0 หน่วยกิต     40   ชัวโมง    ่
ส 20261 จริ ยธรรมกับบุคคล        หน่วยกิต 1.0 หน่วยกิต     40   ชัวโมง      ่
ส 21161 , ส 21161 ประวัติศาสตร์ 1,2 จานวน 0.5 หน่ วยกิต 60 ชั่วโมง
คาอธิบายรายวิชา
                  วิเคราะห์ อภิปราย อธิบายความสาคัญของเวลาในการศึกษาประวัติศาสตร์ การใช้
เวลา ช่วงเวลาและยุคสมัยที่ปรากฏในเอกสารประวัติศาสตร์ ไทย ความสัมพันธ์และความสาคัญของ
อดีตที่มีต่อปัจจุบนและอนาคต เทียบศักราชตามระบบต่างๆที่ใช้ศึกษาประวัติศาสตร์ ความหมายและ
                   ั
ความสาคัญของประวัติศาสตร์ และวิธีการทางประวัติศาสตร์ที่มีความ สัมพันธ์เชื่อมโยงกัน
วิธีการทางประวัติศาสตร์ไปใช้ศึกษาเรื่ องราวของประวัติศาสตร์ไทยที่มีอยู่ในท้องถิ่นตนเองในสมัยใด
ก็ได้ (สมัยก่อนประวัติศาสตร์ สมัยก่อนสุ โขทัย สมัยสุ โขทัย สมัยอยุธยา สมัยธนบุรี
สมัยรัตนโกสิ นทร์ ) และเหตุการณ์สาคัญในสมัยสุ โขทัย
                  ศึกษา อภิปราย อธิบาย สรุ ปความรู้เกี่ยวกับที่ต้ งและสภาพทางภูมิศาสตร์ของประเทศ
                                                                  ั
ต่าง ๆ ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉี ยงใต้ ที่มีผลต่อพัฒนาการทางด้านต่างๆ พัฒนาการทางสังคม
เศรษฐกิจ และการเมืองของประเทศต่าง ๆ ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉี ยงใต้ ที่ต้ งและความสาคัญของ
                                                                                ั
แหล่งอารยธรรมในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉี ยงใต้ เช่นแหล่งมรดกโลกในประเทศต่าง ๆของเอเชีย
ตะวันออกเฉี ยงใต้ อิทธิ พลของอารยธรรมโบราณในดินแดนไทยที่มีต่อพัฒนาการของสังคมไทยใน
ปัจจุบนั
                  ศึกษาความรู้สมัยก่อนประวัติศาสตร์ในดินแดนไทย โดยสังเขป บอกรัฐโบราณใน
ดินแดนไทย เช่น ศรี วิชยตามพรลิงค์ ทวารวดี รัฐไทยในดินแดนไทย เช่น ล้านนา นครศรี ธรรมราช
                         ั
สุ พรรณภูมิ การสถาปนาอาณาจักรสุ โขทัย และ ปัจจัยที่เกี่ยวข้อง(ปัจจัยภายในและ ปัจจัยภายนอก)
พัฒนาการของอาณาจักรสุ โขทัย ในด้านการเมืองการปกครอง เศรษฐกิจ สังคม และความสัมพันธ์
ระหว่างประเทศ วัฒนธรรมสมัยสุ โขทัย เช่น ภาษาไทย วรรณกรรม ประเพณีสาคัญ ศิลปกรรมไทย
 ภูมิปัญญาไทยในสมัยสุ โขทัย เช่น การชลประทาน เครื่ องสังคโลก ความเสื่ อมของอาณาจักรสุ โขทัย
                  ส่ งผลให้นกเรี ยนมีทกษะที่จาเป็ นต่อการเป็ นนักคิดอย่างมีวจารณญาณ พัฒนาแนวคิด
                            ั         ั                                     ิ
และประสบการณ์ดานประวัติศาสตร์โดยใช้วิธีการทางประวัติศาสตร์และสังคมศาสตร์และนาแนวคิด
                      ้
ไปใช้ประโยชน์ในการดาเนินชีวตและการปฏิบติงานได้อย่างเหมาะสม
                                   ิ             ั
มาตรฐานที่ ส 4.1.1 – ส 4.1.3 (ม.1) ส 4.2.1 – ส 4.2.2 (ม.1) ส 4.3.1 – ส 4.3.3 (ม.1)
ส 32163 ส 32164 ประวัติศาสตร์ 3,4 จานวน 0.5 หน่ วยกิต 20 ชั่วโมง
คาอธิบายรายวิชา
                    ศึกษา อภิปราย อธิบาย วิธีการประเมินความน่ าเชื่อถือของหลักฐานทางประวัติศาสตร์
ในลักษณะ ต่าง ๆ อย่างง่าย ๆ เช่น การศึกษาภูมิหลังของผูทา หรื อผูเ้ กี่ยวข้อง สาเหตุ ช่วงระยะเวลา
                                                               ้
รู ปลักษณ์ของหลักฐานทางประวัติศาสตร์ การประเมินความน่าเชื่อถือของหลักฐานทางประวัติศาสตร์
ไทยที่อยู่ ในท้องถิ่นของตนเอง หรื อหลักฐานสมัยอยุธยา การวิเคราะห์ขอมูลจากเอกสารต่าง ๆ ใน
                                                                           ้
สมัยอยุธยา และธนบุรี การตีความข้อมูลจากหลักฐานที่แสดงเหตุการณ์สาคัญในสมัยอยุธยาและธนบุรี
การแยกแยะระหว่างข้อมูลกับความคิดเห็น รวมทั้งความจริ งกับข้อเท็จจริ งจากหลักฐานทาง
ประวัติศาสตร์การวิเคราะห์ขอมูล และการตีความทางประวัติศาสตร์
                                 ้
                    ศึกษา วิเคราะห์ ที่ต้ งและสภาพทางภูมิศาสตร์ ของภูมิภาคต่างๆในทวีปเอเชีย (ยกเว้น
                                          ั
เอเชียตะวันออกเฉียงใต้) พัฒนาการทางสังคม เศรษฐกิจ และการเมืองของภูมิภาคเอเชีย (ยกเว้นเอเชีย
ตะวันออกเฉี ยงใต้) ที่ต้ งและความสาคัญของแหล่งอารยธรรมโบราณในภูมิภาคเอเชีย เช่น แหล่ง
                           ั
มรดกโลกในประเทศต่างๆ ในภูมิภาคเอเชีย อิทธิ พลของอารยธรรมโบราณที่มีต่อภูมิภาคเอเชียใน
ปัจจุบนั
                    ศึกษา อธิบาย อภิปรายการสถาปนาอาณาจักรอยุธยา ปัจจัยที่ส่งผลต่อความ
เจริ ญรุ่ งเรื องของอาณาจักรอยุธยา พัฒนาการของอาณาจักรอยุธยาในด้านการเมืองการปกครอง สังคม
เศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ การเสี ยกรุ งศรี อยุธยาครั้งที่ ๑ และ การกูเ้ อกราช ภูมิ
ปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยอยุธยา เช่น การควบคุมกาลังคน และศิลปวัฒนธรรม การเสี ยกรุ งศรี
อยุธยาครั้งที่ ๒ การกู้ เอกราช และการสถาปนาอาณาจักรธนบุรี ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัย
ธนบุรี วีรกรรมของบรรพบุรุษไทย ผลงานของบุคคลสาคัญของไทยและต่างชาติ ที่มีส่วนสร้างสรรค์
ชาติไทย
                    ส่ งผลให้นกเรี ยนมีทกษะที่จาเป็ นต่อการเป็ นนักคิดอย่างมีวจารณญาณ พัฒนาแนวคิด
                               ั            ั                                 ิ
และประสบการณ์ดานประวัติศาสตร์โดยใช้วิธีการทางประวัติศาสตร์และสังคมศาสตร์และนาแนวคิด
                        ้
ไปใช้ประโยชน์ในการดาเนินชีวตและการปฏิบติงานได้อย่างเหมาะสม
                                     ิ             ั
มาตรฐานที่ ส 4.1.1 – ส 4.1.3 (ม.2) ส 4.2.1 – ส 4.2.2 (ม.2) ส 4.3.1 – ส 4.3.3 (ม.2)
ส 33165 , ส 33166 ประวัติศาสตร์ 5,6 จานวน 0.5 หน่ วยกิต 20 ชั่วโมง
คาอธิบายรายวิชา
                 ศึกษา อธิบาย อภิปรายขั้นตอนของวิธีการทางประวัติศาสตร์ สาหรับการศึกษา
เหตุการณ์ทางประวัติศาสตร์ที่เกิดขึ้นในท้องถิ่นตนเอง วิเคราะห์เหตุการณ์สาคัญในสมัย
รัตนโกสิ นทร์โดยใช้วธีการทางประวัติศาสตร์นาวิธีการทางประวัติศาสตร์มาใช้ในการศึกษาเรื่ องราว
                         ิ
ที่เกี่ยวข้องกับตนเอง ครอบครัว และท้องถิ่นของตน
                 ศึกษา อธิบาย อภิปราย วิเคราะห์ที่ต้ งและสภาพทางภูมิศาสตร์ของภูมิภาคต่างๆของ
                                                     ั
โลก (ยกเว้นเอเชีย) ที่มีผลต่อพัฒนาการโดยสังเขป อิทธิ พลของอารยธรรมตะวันตกที่มีผลต่อ
พัฒนาการและการเปลี่ยนแปลงของสังคมโลกความร่ วมมือและความขัดแย้งในคริ สต์ศตวรรษที่ ๒๐
เช่น สงครามโลกครั้งที่ ๑ ครั้งที่ ๒ สงครามเย็น องค์การความร่ วมมือระหว่างประเทศ การสถาปนา
กรุ งเทพมหานครเป็ นราชธานีของไทย ปัจจัยที่ส่งผลต่อความมันคงและความเจริ ญรุ่ งเรื องของไทยใน
                                                               ่
สมัยรัตนโกสิ นทร์ บทบาทของพระมหากษัตริ ยไทยในราชวงศ์จกรี ในการสร้างสรรค์ความเจริ ญและ
                                                  ์              ั
ความมันคงของชาติพฒนาการของไทยในสมัยรัตนโกสิ นทร์ทางด้านการเมือง การปกครอง สังคม
         ่             ั
เศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศตามช่วงสมัยต่างๆ เหตุการณ์สาคัญสมัยรัตนโกสิ นทร์ที่
มีผลต่อการพัฒนาชาติไทย เช่น การทาสนธิสัญญาเบาว์ริงในสมัยรัชกาลที่ ๔ การปฏิรูปประเทศใน
สมัยรัชกาลที่ ๕ การเข้าร่ วมสงครามโลกครั้งที่ ๑ และครั้งที่ ๒ โดยวิเคราะห์สาเหตุปัจจัย และผลของ
เหตุการณ์ต่าง ๆ ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยในสมัยรัตนโกสิ นทร์ บทบาทของไทยตั้งแต่
เปลี่ยนแปลง การปกครองจนถึงปัจจุบนในสังคมโลก
                                       ั
                 ส่ งผลให้นกเรี ยนมีทกษะที่จาเป็ นต่อการเป็ นนักคิดอย่างมีวจารณญาณ พัฒนาแนวคิด
                           ั         ั                                     ิ
และประสบการณ์ดานประวัติศาสตร์โดยใช้วิธีการทางประวัติศาสตร์และสังคมศาสตร์และนาแนวคิด
                     ้
ไปใช้ประโยชน์ในการดาเนินชีวตและการปฏิบติงานได้อย่างเหมาะสม
                                  ิ             ั
มาตรฐานที่ ส 4.1.1 – ส 4.1.2 (ม.3) ส 4.2.1 – ส 4.2.2 (ม.3) ส 4.3.1 – ส 4.3.4 (ม.3)
ส21101 สั งคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม 1             1.5 หน่ วยกิต 60 ชั่วโมง
คาอธิบายรายวิชา
                 ศึกษา อธิบาย อภิปรายการสังคายนา การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศไทย
ความสาคัญของพระพุทธศาสนาต่อสังคมไทยในฐานะเป็ นศาสนาประจาชาติ และสถาบันหลักของ
สังคมไทยสรุ ปและวิเคราะห์ พุทธประวัติ พุทธสาวก พุทธสาวิกา ชาดก พระรัตนตรัย อริ ยสัจ 4
พุทธศาสน สุภาษิต โยนิ โสมนสิการ สวดมนต์แปล และแผ่เมตตา วิธีปฏิบติและประโยชน์ของการบริ หาร
                                                                            ั
จิตและเจริ ญปั ญญา การฝึ กบริ หารจิตและเจริ ญปั ญญาตามหลักสติปัฎฐานเน้นอานาปานสตินาวิธีการ
บริ หารจิตและเจริ ญปั ญญาไปใช้ในชีวตประจาวัน การประพฤติปฏิบติตนและวิถีการดาเนินชีวต แตกต่างกัน
                                      ิ                               ั                        ิ
ตามหลักความเชื่อและคาสอน ของศาสนาที่ตนนับถือการปฏิบติอย่างเหมาะสมต่อศาสนิกชนอื่นใน
                                                              ั
              ่
สถานการณ์ตางๆ ตัวอย่างบุคคลในท้องถิ่นหรื อประเทศที่ปฏิบติตนเป็ นแบบอย่างด้านศาสนสัมพันธ์หรื อมี
                                                                ั
ผลงานด้านศาสนสัมพันธ์
                 ศึกษา ปฏิบติการบาเพ็ญประโยชน์ การบารุ งรักษาวัดและศาสนสถาน วิถีชีวตของพระภิกษุ
                                ั                                                            ิ
บทบาทของพระภิกษุในการเผยแผ่พระพุทธศาสนา เช่น การแสดงธรรม ปาฐกถาธรรม การประพฤติตนให้
เป็ นแบบอย่าง การเข้าพบพระภิกษุ การแสดงความเคารพ การประนมมือ การไหว้ การกราบ การเคารพ
พระรัตนตรัย การฟังเจริ ญพระพุทธมนต์ การฟั งสวดพระอภิธรรม การฟังพระธรรมเทศนา
                 ศึกษา วิเคราะห์ อภิปรายเกี่ยวกับกฎหมายในการคุมครองสิทธิของบุคคลได้แก่ กฎหมาย
                                                                    ้
การคุมครองเด็ก กฎหมายการศึกษา กฎหมายการคุมครองผูบริ โภค กฎหมายลิขสิทธิ์ ประโยชน์ของการ
          ้                                      ้        ้
ปฏิบติตนตามกฎหมายการคุมครองสิทธิของบุคคล
      ั                       ้
                 รู ้จก อธิบายและแสดงบทบาทและหน้าที่ของเยาวชนที่มีต่อสังคมและประเทศชาติ โดยเน้น
                      ั
จิตสาธารณะ เช่น เคารพกติกาสังคม ปฏิบติตนตามกฎหมาย มีส่วนร่ วมและรับผิดชอบในกิจกรรมทางสังคม
                                        ั
อนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ รักษาสาธารณประโยชน์
                 วิเคราะห์ความคล้ายคลึงและความแตกต่างระหว่างวัฒนธรรมไทยกับวัฒนธรรมของ
ประเทศในภูมิภาคเอเชียตะวันออก เฉียงใต้ วัฒนธรรมที่เป็ นปั จจัยในการสร้างความสัมพันธ์ที่ดี หรื ออาจ
นาไปสู่ความเข้าใจผิดต่อกัน
                 วิเคราะห์วิธีปฏิบติตนและผลที่ไดจากการเคารพในสิทธิของตนเองและผูอื่น
                                  ั                                                      ้
                 บอก อธิบาย อภิปรายหลักการ เจตนารมณ์ โครงสร้าง และสาระสาคัญของรัฐธรรมนูญ
แห่งราชอาณาจักรไทย ฉบับปั จจุบน อานาจอธิปไตยในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย การปฏิบติตน
                                    ั                                                               ั
ตามบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยส่งผลให้นกเรี ยนมีทกษะที่จาเป็ นต่อการเป็ นนักคิด
                                                                  ั       ั
อย่างมีวจารณญาณ พัฒนาแนวคิดและประสบการณ์ดานศาสนา คุณธรรม จริ ยธรรม ค่านิยม ความเชื่อ
            ิ                                       ้
ขนบประเพณี วัฒนธรรม การเมืองการปกครอง และนาแนวคิดไปใช้ประโยชน์ในการดาเนินชีวิตและการ
ปฏิบติงานได้อย่างเหมาะสม
        ั
มาตรฐานที่ ส 1.1.1 – ส 1.1.11 (ม. 1) ส 1.2.1 – ส 1.2.5 (ม. 1) ส 2.1.1 – ส 2.1.4 (ม.1) ส 2.2.1 – ส 2.2.3
(ม.1)
ส21102 สั งคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม 2              จานวน 1.5 หน่ วยกิต            60 ชั่วโมง
คาอธิบายรายวิชา
                 ศึกษา อธิบาย อภิปราย ความหมายและความสาคัญของเศรษฐศาสตร์เบื้องต้น ความหมาย
ของคาว่าทรัพยากรมีจากัดกับ ความต้องการมีไม่จากัด ความขาดแคลน การเลือกและค่าเสียโอกาส
ความหมายและความสาคัญของการบริ โภคอย่างมีประสิทธิภาพ หลักการในการบริ โภคที่ดี ปั จจัยที่มี
อิทธิพลต่อพฤติกรรมการบริ โภค ค่านิยมและพฤติกรรมของการบริ โภคของคนในสังคมปั จจุบน รวมทั้ง     ั
ผลดีและผลเสียของพฤติกรรมดังกล่าว ความหมายและความเป็ นมาของปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ความ
                                                                              ่ ั
เป็ นมาของเศรษฐกิจพอเพียง และหลักการทรงงานของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูหวรวมทั้งโครงการตาม
พระราชดาริ หลักการของเศรษฐกิจพอเพียง การประยุกต์ใช้ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ในการดารงชีวต          ิ
ความสาคัญ คุณค่าและประโยชน์ของปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงต่อสังคมไทย
                 วิเคราะห์ อธิบาย อภิปราย ความหมาย ประเภท และความสาคัญของสถาบันการเงินที่มีต่อ
ระบบเศรษฐกิจ บทบาทหน้าที่และความสาคัญของธนาคารกลาง การหารายได้ รายจ่าย การออม การลงทุน
ซึ่งแสดงความสัมพันธ์ระหว่างผูผลิต ผูบริ โภค และสถาบันการเงิน ตัวอย่างที่สะท้อนให้เห็นการพึ่งพาอาศัย
                                 ้     ้
กันและกัน การแข่งขันกันทางเศรษฐกิจในประเทศ ปั ญหาเศรษฐกิจในชุมชน ประเทศ และเส้นแนว
ทางแก้ไข ความหมายและกฎอุปสงค์ อุปทาน ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการกาหนดอุปสงค์และอุปทาน
ความหมายและความสาคัญของทรัพย์สินทางปั ญญา กฎหมายที่เกี่ยวกับการคุมครองทรัพย์สินทางปั ญญาพอ
                                                                            ้
สังเขป ตัวอย่างการละเมิดแห่งทรัพย์สินทางปั ญญาแต่ละประเภท
                 ศึกษาเครื่ องมือทางภูมิศาสตร์ (ลูกโลก แผนที่ กราฟ แผนภูมิ ฯลฯ) ที่แสดงลักษณะทาง
กายภาพ และสังคมของประเทศไทยและทวีปเอเชีย ออสเตรเลีย และ โอเชียเนี ย บอกความแตกต่างของ
เวลา มาตรฐานกับเวลาท้องถิ่น ภัยธรรมชาติและการระวังภัยที่เกิดขึ้นในประเทศไทยและทวีปเอเชีย
ออสเตรเลีย โอเชียเนี ย
                 วิเคราะห์การเปลี่ยนแปลงประชากร เศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรมในทวีปเอเชีย
ออสเตรเลีย และโอเชียเนียการก่อเกิดสิ่งแวดล้อมใหม่ทางสังคมแนวทางการใช้ทรัพยากรของคนในชุมชน
ให้ใช้ได้นานขึ้น โดยมีจิตสานึกรู คุณค่าของทรัพยากร แผนอนุรักษ์ทรัยากรในทวีปเอเชีย ความร่ วมมือ
                                   ้
ระหว่างประเทศในทวีปเอเชีย ออสเตรเลีย โอเชียเนี ย ที่มีผลต่อสิ่งแวดล้อมทางธรรมชาติ ทาเลที่ต้งกิจกรรม
                                                                                               ั
ทางเศรษฐกิจและสังคมในทวีปเอเชีย ออสเตรเลีย และโอเชียเนีย เช่น ศูนย์กลางการคมนาคม ปัจจัยทาง
กายภาพและสังคมที่มีผลต่อ การเลื่อนไหลของความคิด เทคโนโลยี สินค้า และประชากรในทวีปเอเชีย
ออสเตรเลีย และโอเชียเนีย
                 ส่งผลให้นกเรี ยนมีทกษะที่จาเป็ นต่อการเป็ นนักคิดอย่างมีวจารณญาณ พัฒนาแนวคิดและ
                             ั       ั                                    ิ
ประสบการณ์ดานภูมิศาสตร์และเศรษฐศาสตร์ และนาแนวคิดไปใช้ประโยชน์ในการดาเนินชีวตและการ
               ้                                                                           ิ
ปฏิบติงานได้อย่างเหมาะสม
      ั
มาตรฐานที่ ส 3.1.1 – ส 3.1.3 (ม.1) ส 3.2.1 – ส 3.2.4 (ม.1) ส 5.1.1 – ส 5.1.3 (ม.1) ส 5.2.1 – ส 5.2.4
(ม.1)
ส22103 สั งคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม 3                จานวน 1.5 หน่ วยกิต             60 ชั่วโมง
คาอธิบายรายวิชา
                     ศึกษา อธิบาย อภิปรายการเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศเพือนบ้านและการนับถือ
                                                                                   ่
พระพุทธศาสนาของประเทศเพือนบ้านในปั จจุบน ความสาคัญของพระพุทธศาสนาที่ช่วยเสริ มสร้างความ
                                   ่                ั
               ั
เข้าใจอันดีกบประเทศเพือนบ้าน ความสาคัญของพระพุทธศาสนาต่อสังคมไทยในฐานะเป็ นรากฐานของ
                             ่
วัฒนธรรม เอกลักษณ์และ มรดกของชาติ ความสาคัญของพระพุทธศาสนากับการพัฒนาชุมชนและการจัด
ระเบียบสังคม สรุ ปและวิเคราะห์ พุทธประวัติ โครงสร้าง และสาระสังเขปของ                พระวินยปิ ฎก พระ
                                                                                              ั
สุตตันตปิ ฎก และพระอภิธรรมปิ ฎก พระรัตนตรัย อริ ยสัจ 4 พุทธศาสนสุภาษิต พัฒนาการเรี ยนรู ้ดวยวิธีคิด
                                                                                                  ้
แบบโยนิโส-มนสิการ ๒ วิธี คือ วิธีคิดแบบอุบายปลุกเร้าคุณธรรม และวิธีคิดแบบอรรถธรรมสัมพันธ์ สวด
มนต์แปล และแผ่เมตตา รู ้และเข้าใจวิธีปฏิบติและประโยชน์ของการบริ หารจิตและเจริ ญปั ญญา ฝึ กการ
                                              ั
บริ หารจิตและเจริ ญปั ญญาตามหลักสติปัฎฐาน เน้นอานาปานสติ นาวิธีการบริ หารจิตและเจริ ญปั ญญาไปใช้
                     ปฏิบติตนอย่างเหมาะสมต่อเพือนตามหลักพระพุทธศาสนา หรื อศาสนาที่ตนนับถือ การ
                           ั                      ่
พิธีกรรม และปฏิบติตนในศาสนพิธี พิธีกรรมในศาสนาต่างๆ การเป็ นลูกที่ดีตามหลักทิศเบื้องหน้าในทิศ ๖
                       ั
                     มีมรรยาทของความเป็ นศาสนิกชนที่ดี วิเคราะห์คุณค่าของศาสนพิธี และปฏิบติตน คาสอน
                                                                                                ั
ที่เกี่ยวเนื่องกับวันสาคัญทางศาสนา และปฏิบติตน ความแตกต่างของศาสนพิธีพธีกรรม ตาม แนวปฏิบติ
                                                ั                                ิ                    ั
ของศาสนาอื่น ๆ เพือนาไปสู่การยอมรับ และความเข้าใจซึ่งกันและกัน
                         ่
                     ศึกษา อธิบาย อภิปรายกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับตนเอง ครอบครัว ได้แก่กฎหมายเกี่ยวกับ
ความสามารถของผูเ้ ยาว์ กฎหมายบัตรประจาตัวประชาชน กฎหมายเพ่งเกี่ยวกับครอบครัวและมรดก เช่น
การหมั้น การสมรส การรับรองบุตร การรับบุตรบุญธรรม และมรดก กฎหมายที่เกี่ยวกับชุมชนและ
ประเทศกฎหมายเกี่ยวกับการอนุรักษ์ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม กฎหมายเกี่ยวกับภาษีอากรและกรอกแบบ
แสดงรายการ ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา กฎหมายแรงงาน สถานภาพ บทบาท สิทธิ เสรี ภาพ หน้าที่ในฐานะ
พลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตย แนวทางส่งเสริ มให้ปฏิบติตนเป็ นพลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตย บทบาท
                                                            ั
ความสาคัญและความสัมพันธ์ของสถาบันทางสังคม เช่น สถาบันครอบครัว สถาบันการศึกษา สถาบัน
ศาสนา สถาบันเศรษฐกิจ สถาบัน ทางการเมืองการปกครอง
                     ความคล้ายคลึงและความแตกต่างของวัฒนธรรมไทย และวัฒนธรรมของประเทศใน
ภูมิภาคเอเชียวัฒนธรรม เป็ นปั จจัยสาคัญในการสร้างความเข้าใจอันดีระหว่างกัน
                     ศึกษา อธิบาย อภิปรายกระบวนการในการตรากฎหมาย ผูมีสิทธิเสนอร่ างกฎหมาย
                                                                             ้
ขั้นตอนการตรากฎหมายการมีส่วนร่ วมของประชาชนใน กระบวนการตรากฎหมาย เหตุการณ์ และการ
เปลี่ยนแปลงสาคัญของระบอบการปกครองของไทย
                     ส่งผลให้นกเรี ยนมีทกษะที่จาเป็ นต่อการเป็ นนักคิดอย่างมีวจารณญาณ พัฒนาแนวคิดและ
                               ั        ั                                      ิ
ประสบการณ์ดานศาสนา คุณธรรม จริ ยธรรม ค่านิยม ความเชื่อ ขนบประเพณี วัฒนธรรม การเมืองการ
                  ้
ปกครอง และนาแนวคิดไปใช้ประโยชน์ในการดาเนินชีวตและการปฏิบติงานได้อย่างเหมาะสม
                                                          ิ               ั
มาตรฐานที่ ส 1.1.1 – ส 1.1.11 (ม.2) ส 1.2.1 – ส 1.2.5 (ม.2) ส 2.1.1 – ส 2.1.4 (ม.2) ส 2.2.1 – ส 2.2.2
(ม.2)
ส22104 สั งคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม 4 จานวน 1.5 หน่ วยกิต                         60 ชั่วโมง
คาอธิบายรายวิชา
                  อธิบาย อภิปราย สรุ ปความหมายและความสาคัญของการลงทุนและการออมต่อระบบ
เศรษฐกิจ การบริ หารจัดการเงินออมและการลงทุนภาคครัวเรื อน ปัจจัยของการลงทุนและการออมคือ
อัตราดอกเบี้ย รวมทั้งปัจจัยอื่น ๆ เช่น ค่าของเงิน เทคโนโลยี การคาดเดาเกี่ยวกับอนาคต ปั ญหาของ
การลงทุนและการออมในสังคมไทย ความหมาย ความสาคัญ และหลักการผลิตสิ นค้าและบริ การ
อย่างมีประสิ ทธิภาพ สารวจการผลิตสิ นค้าในท้องถิ่น ว่ามีการผลิตอะไรบ้าง ใช้วธีการผลิตอย่างไร
                                                                                   ิ
มีปัญหาด้านใดบ้าง มีการนาเทคโนโลยีอะไรมาใช้ที่มีผลต่อการผลิตสิ นค้าและบริ การ นาหลักการ
ผลิตมาวิเคราะห์การผลิตสิ นค้าและบริ การในท้องถิ่นทั้งด้านเศรษฐกิจ สังคม และสิ่ งแวดล้อม
หลักการและเป้ าหมายปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง สารวจและวิเคราะห์ปัญหาการผลิตสิ นค้าและ
บริ การในท้องถิ่นประยุกต์ใช้ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในการผลิตสิ นค้าและบริ การในท้องถิ่น
การรักษาและคุมครองสิ ทธิประโยชน์ของ ผูบริ โภคกฎหมายคุมครองสิ ทธิ ผบริ โภคและหน่วยงานที่
                ้                              ้                 ้            ุ้
เกี่ยวข้องการดาเนิ นกิจกรรมพิทกษ์สิทธิและผลประโยชน์ตามกฎหมายในฐานะผูบริ โภค แนวทางการ
                                  ั                                              ้
ปกป้ องสิ ทธิของผูบริ โภค
                     ้
                  วิเคราะห์หลักการและผลกระทบการพึ่งพาอาศัยกัน และการแข่งขันกันทางเศรษฐกิจ
ในภูมิภาคเอเชียการกระจายของทรัพยากรในโลกที่ส่งผลต่อความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจระหว่าง
ประเทศ เช่น น้ ามัน ป่ าไม้ ทองคา ถ่านหิ น แร่ การแข่งขันทางการค้าในประเทศและต่างประเทศ
                  ศึกษาและใช้เครื่ องมือทางภูมิศาสตร์ที่แสดงลักษณะทางกายภาพและสังคมของทวีป
ยุโรป และแอฟริ กา ลักษณะทางกายภาพและสังคมของทวีปยุโรปและแอฟริ กาการเปลี่ยนแปลง
ประชากร เศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรมของทวีปยุโรป และแอฟริ กา การอนุรักษ์
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่ งแวดล้อมในทวีปยุโรป และแอฟริ กา ปั ญหาเกี่ยวกับสิ่ งแวดล้อมที่เกิดขึ้นใน
ทวีปยุโรป และแอฟริ กา ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงของสิ่ งแวดล้อมในทวีปยุโรป และแอฟริ กา
ต่อประเทศไทย
                  ส่ งผลให้นกเรี ยนมีทกษะที่จาเป็ นต่อการเป็ นนักคิดอย่างมีวจารณญาณ พัฒนาแนวคิด
                            ั          ั                                    ิ
และประสบการณ์ดานภูมิศาสตร์และเศรษฐศาสตร์ และนาแนวคิดไปใช้ประโยชน์ในการดาเนิ นชีวต
                       ้                                                                      ิ
และการปฏิบติงานได้อย่างเหมาะสม
              ั
มาตรฐานที่ ส 3.1.1 – ส 3.1.4 (ม.2) ส 3.2.1 – ส 3.2.4 (ม.2) ส 5.1.1 – ส 5.1.2 (ม.2) ส 5.2.1 – ส
5.2.4 (ม.2)
ส23105 สั งคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม 5             จานวน 1.5 หน่ วยกิต                 60 ชั่วโมง
คาอธิบายรายวิชา
                  ศึกษา อธิบาย อภิปรายการเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศต่าง ๆ ทัวโลก และการนับ
                                                                                        ่
ถือพระพุทธศาสนาของประเทศเหล่านั้นในปั จจุบน ความสาคัญของพระพุทธศาสนาในฐานะที่ช่วย
                                                 ั
สร้างสรรค์อารยธรรมและความสงบสุขให้แก่โลก สัมมนาพระพุทธศาสนากับปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
และการพัฒนาอย่างยังยืน ศึกษาพุทธประวัติจากพระพุทธรู ปปาง ต่าง ๆ สรุ ปและวิเคราะห์พทธประวัติ พระ
                       ่                                                                       ุ
รัตนตรัย อริ ยสัจ 4 พุทธศาสนสุภาษิต พัฒนาการเรี ยนรู ้ดวยวิธีคิดแบบโยนิ โสมนสิการ ๒ วิธี คือ วิธีคิด
                                                           ้
แบบอริ ยสัจ และวิธีคิดแบบสืบสาวเหตุปัจจัย สวดมนต์แปล และแผ่เมตตารู ้และเข้าใจวิธีปฏิบติและ         ั
ประโยชน์ของการบริ หารจิตและเจริ ญปั ญญาฝึ กการบริ หารจิตและเจริ ญปั ญญาตามหลัก สติปัฎฐานเน้นอานา
ปานสติ นาวิธีการบริ หารจิตและเจริ ญปั ญญาไปใช้ในชีวตประจาวัน ศึกษาวิถีการดาเนินชีวตของศาสนิกชน
                                                       ิ                                     ิ
ศาสนาอื่นๆ
                  วิเคราะห์หน้าที่และบทบาทของสาวก และปฏิบติตนต่อสาวก ปฏิบติตนอย่างเหมาะสมต่อ
                                                                  ั                ั
บุคคลต่าง ๆ ตามหลักศาสนา หน้าที่ของศาสนิกชนที่ดี ในศาสนพิธีพิธีกรรม ประวัติวนสาคัญทางศาสนา
                                                                                     ั
และปฏิบติตน แสดงตนเป็ นพุทธมามกะ หรื อแสดงตนเป็ นศาสนิกชนของศาสนาที่ตนนับถือ แนวทางในการ
           ั
ธารงรักษาศาสนาที่ตนนับถือ
                  บอกลักษณะการกระทาความผิดทางอาญา และโทษ ลักษณะการกระทาความผิดทางแพ่ง
และโทษ ตัวอย่างการกระทาความผิดทางอาญา เช่น ความผิดเกี่ยวกับทรัพย์ ตัวอย่างการทาความผิดทางแพ่ง
เช่น การทาผิดสัญญา การทาละเมิด ความหมาย และความสาคัญของสิทธิมนุษยชนการมีส่วนร่ วมคุมครอง             ้
สิทธิมนุษยชนตามรัฐธรรมนูญ แห่งราชอาณาจักรไทยตามวาระและโอกาสที่เหมาะสมความสาคัญของ
วัฒนธรรมไทย ภูมิปัญญาไทยและวัฒนธรรมสากลการอนุรักษ์วฒนธรรมไทยและภูมิปัญญาไทยที่
                                                                ั
เหมาะสม การเลือกรับวัฒนธรรมสากลที่เหมาะสม ปั จจัยที่ก่อให้เกิดความขัดแย้ง เช่น การเมือง การ
ปกครอง เศรษฐกิจ สังคม ความเชื่อ สาเหตุปัญหาทางสังคม เช่น ปั ญหาสิ่งแวดล้อม ปั ญหายาเสพติด
ปั ญหาการทุจริ ต ปั ญหาอาชญากรรม ฯลฯ แนวทางความร่ วมมือในการลดความขัดแย้งและการสร้างความ
สมานฉันท์ ปั จจัยที่ส่งเสริ มการดารงชีวตให้มีความสุข เช่น การอยูร่วมกันอย่างมีขนติธรรม หลักปรัชญา
                                        ิ                           ่           ั
ของเศรษฐกิจพอเพียง เห็นคุณค่าในตนเอง รู ้จกมองโลกในแง่ดี สร้างทักษะทางอารมณ์ รู ้จกบริ โภคด้วย
                                              ั                                                  ั
ปั ญญา เลือกรับ ปฏิเสธข่าวและวัตถุต่างๆ ปรับปรุ งตนเองและสิ่งต่างๆให้ดีข้ ึนอยูเ่ สมอ
                  วิเคราะห์ระบอบการปกครอง แบบต่างๆ ที่ใช้ในยุคปั จจุบน เช่น การปกครองแบบเผด็จการ
                                                                          ั
การปกครองแบบประชาธิปไตย ความแตกต่าง ความคล้ายคลึงของการปกครองของไทย กับประเทศอื่นๆ ที่
มีการปกครองระบอบประชาธิปไตย กฎหมายรัฐธรรมนูญฉบับปั จจุบนในมาตราต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับการ
                                                                      ั
เลือกตั้ง การมีส่วนร่ วม และการตรวจสอบการใช้อานาจรัฐ ปั ญหาที่เป็ นอุปสรรคต่อการพัฒนา
ประชาธิปไตยของประเทศไทยและเสนอแนวทางแก้ไข
                  ส่งผลให้นกเรี ยนมีทกษะที่จาเป็ นต่อการเป็ นนักคิดอย่างมีวจารณญาณ พัฒนาแนวคิดและ
                             ั        ั                                     ิ
ประสบการณ์ดานศาสนา คุณธรรม จริ ยธรรม ค่านิยม ความเชื่อ ขนบประเพณี วัฒนธรรม การเมืองการ
                ้
ปกครอง และนาแนวคิดไปใช้ประโยชน์ในการดาเนินชีวตและการปฏิบติงานได้อย่างเหมาะสม
                                                         ิ              ั
 มาตรฐานที่ ส 1.1.1 – ส 1.1.10 (ม.3) ส 1.2.1 – ส 1.2.7 (ม.3) ส 2.1.1 – ส 2.1.5 (ม.3) ส 2.2.1–ส 2.2.4 (ม.3)
ส23106 สั งคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม 6                   จานวน 1.5 หน่ วยกิต           60 ชั่วโมง
คาอธิบายรายวิชา
                    ศึกษา อธิบาย อภิปราย บอกความหมายและประเภทของตลาด ความหมายและตัวอย่างของ
อุปสงค์และอุปทาน ความหมายและความสาคัญของกลไกราคาและการกาหนดราคาในระบบเศรษฐกิจ
หลักการปรับและเปลี่ยนแปลงราคาสินค้าและบริ การ สารวจสภาพปั จจุบนปั ญหาท้องถิ่นทั้งทางด้านสังคม
                                                                           ั
เศรษฐกิจและสิ่งแวดล้อม วิเคราะห์ปัญหาของท้องถิ่นโดยใช้ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง แนวทางการ
แก้ไขและพัฒนาท้องถิ่นตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง แนวคิดของเศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาใน
ระดับต่าง ๆ หลักการสาคัญของระบบสหกรณ์ ความสัมพันธ์ระหว่างแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียงกับ หลักการ
และระบบของสหกรณ์เพือประยุกต์ใช้ในการพัฒนาเศรษฐกิจชุมชน
                            ่
                    วิเคราะห์ ระบุบทบาทหน้าที่ของรัฐบาลในการพัฒนาประเทศในด้านต่าง ๆ บทบาทและ
กิจกรรมทางเศรษฐกิจของรัฐบาล เช่นการผลิตสินค้าและบริ การสาธารณะที่เอกชนไม่ดาเนินการ เช่นไฟฟ้ า
ถนน โรงเรี ยน บทบาทการเก็บภาษีเพือพัฒนาประเทศ ของรัฐในระดับต่าง ๆ บทบาทการแทรกแซงราคา
                                             ่
และการควบคุมราคาเพือการแจกจ่ายและการจัดสรรในทางเศรษฐกิจ บทบาทอื่นของรัฐบาลในระบบ
                          ่
เศรษฐกิจในสังคมไทย นโยบาย และกิจกรรมทางเศรษฐกิจของรัฐบาล บทบาทความสาคัญของการรวมกลุ่ม
ทางเศรษฐกิจระหว่างประเทศ ลักษณะของการรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจ กลุ่มทางเศรษฐกิจในภูมิภาคต่างๆ
ผลกระทบที่เกิดจากภาวะเงินเฟ้ อ เงินฝื ด ความหมายสาเหตุและแนวทางแก้ไขภาวะเงินเฟ้ อ เงินฝื ด สภาพ
และสาเหตุปัญหาการว่างงาน ผลกระทบจากปั ญหาการว่างงานแนวทางการแก้ไขปั ญหาการว่างงาน การค้า
และการลงทุนระหว่างประเทศ สาเหตุและวิธีการกีดกันทางการค้าในการค้าระหว่างประเทศ
                    ศึกษาและใช้เครื่ องมือทางภูมิศาสตร์ที่แสดงลักษณะทางกายภาพและสังคมของทวีป
อเมริ กาเหนือ และอเมริ กาใต้ ลักษณะทางกายภาพและสังคมของทวีป อเมริ กาเหนือ และอเมริ กาใต้
                    วิเคราะห์ การเปลี่ยนแปลงประชากร เศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรมของทวีปอเมริ กา
เหนือและอเมริ กาใต้ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมในทวีป อเมริ กาเหนือและอเมริ กาใต้ ปั ญหา
เกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมที่เกิดขึ้นในทวีปอเมริ กาเหนือและอเมริ กาใต้ ผลกระทบต่อเนื่องของสิ่งแวดล้อมในทวีป
อเมริ กาเหนือและอเมริ กาใต้ ที่ส่งผลต่อประเทศไทย
                    ส่งผลให้นกเรี ยนมีทกษะที่จาเป็ นต่อการเป็ นนักคิดอย่างมีวจารณญาณ พัฒนาแนวคิดและ
                                ั        ั                                   ิ
ประสบการณ์ดานศาสนา คุณธรรม จริ ยธรรม ค่านิยม ความเชื่อ ขนบประเพณี วัฒนธรรม การเมืองการ
                  ้
ปกครอง และนาแนวคิดไปใช้ประโยชน์ในการดาเนินชีวตและการปฏิบติงานได้อย่างเหมาะสม
                                                             ิ           ั
                    เพือให้นกเรี ยนมีความรู เ้ กี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงของโลก โดยเปรี ยบเทียบประเทศไทยกับ
                       ่      ั
ภูมิภาคต่างๆของโลก
                    ส่งผลให้นกเรี ยนมีทกษะที่จาเป็ นต่อการเป็ นนักคิดอย่างมีวจารณญาณ พัฒนาแนวคิดและ
                                  ั        ั                                   ิ
ประสบการณ์ดานภูมิศาสตร์และเศรษฐศาสตร์ และนาแนวคิดไปใช้ประโยชน์ในการดาเนินชีวตและการ
                ้                                                                              ิ
ปฏิบติงานได้อย่างเหมาะสม
      ั
มาตรฐานที่ ส 3.1.1 – ส 3.1.3 (ม.3) ส 3.2.1 – ส 3.2.6 (ม.3) ส 5.1.1 – ส 5.1.2 (ม.3) ส 5.2.1 – ส 5.2.4
(ม.3)
ส23106 สั งคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม 6                   จานวน 1.5 หน่ วยกิต           60 ชั่วโมง
คาอธิบายรายวิชา
                    ศึกษา อธิบาย อภิปราย บอกความหมายและประเภทของตลาด ความหมายและตัวอย่างของ
อุปสงค์และอุปทาน ความหมายและความสาคัญของกลไกราคาและการกาหนดราคาในระบบเศรษฐกิจ
หลักการปรับและเปลี่ยนแปลงราคาสินค้าและบริ การ สารวจสภาพปั จจุบนปั ญหาท้องถิ่นทั้งทางด้านสังคม
                                                                           ั
เศรษฐกิจและสิ่งแวดล้อม วิเคราะห์ปัญหาของท้องถิ่นโดยใช้ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง แนวทางการ
แก้ไขและพัฒนาท้องถิ่นตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง แนวคิดของเศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาใน
ระดับต่าง ๆ หลักการสาคัญของระบบสหกรณ์ ความสัมพันธ์ระหว่างแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียงกับ หลักการ
และระบบของสหกรณ์เพือประยุกต์ใช้ในการพัฒนาเศรษฐกิจชุมชน
                            ่
                    วิเคราะห์ ระบุบทบาทหน้าที่ของรัฐบาลในการพัฒนาประเทศในด้านต่าง ๆ บทบาทและ
กิจกรรมทางเศรษฐกิจของรัฐบาล เช่นการผลิตสินค้าและบริ การสาธารณะที่เอกชนไม่ดาเนินการ เช่นไฟฟ้ า
ถนน โรงเรี ยน บทบาทการเก็บภาษีเพือพัฒนาประเทศ ของรัฐในระดับต่าง ๆ บทบาทการแทรกแซงราคา
                                             ่
และการควบคุมราคาเพือการแจกจ่ายและการจัดสรรในทางเศรษฐกิจ บทบาทอื่นของรัฐบาลในระบบ
                          ่
เศรษฐกิจในสังคมไทย นโยบาย และกิจกรรมทางเศรษฐกิจของรัฐบาล บทบาทความสาคัญของการรวมกลุ่ม
ทางเศรษฐกิจระหว่างประเทศ ลักษณะของการรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจ กลุ่มทางเศรษฐกิจในภูมิภาคต่างๆ
ผลกระทบที่เกิดจากภาวะเงินเฟ้ อ เงินฝื ด ความหมายสาเหตุและแนวทางแก้ไขภาวะเงินเฟ้ อ เงินฝื ด สภาพ
และสาเหตุปัญหาการว่างงาน ผลกระทบจากปั ญหาการว่างงานแนวทางการแก้ไขปั ญหาการว่างงาน การค้า
และการลงทุนระหว่างประเทศ สาเหตุและวิธีการกีดกันทางการค้าในการค้าระหว่างประเทศ
                    ศึกษาและใช้เครื่ องมือทางภูมิศาสตร์ที่แสดงลักษณะทางกายภาพและสังคมของทวีป
อเมริ กาเหนือ และอเมริ กาใต้ ลักษณะทางกายภาพและสังคมของทวีป อเมริ กาเหนือ และอเมริ กาใต้
                    วิเคราะห์ การเปลี่ยนแปลงประชากร เศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรมของทวีปอเมริ กา
เหนือและอเมริ กาใต้ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมในทวีป อเมริ กาเหนือและอเมริ กาใต้ ปั ญหา
เกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมที่เกิดขึ้นในทวีปอเมริ กาเหนือและอเมริ กาใต้ ผลกระทบต่อเนื่องของสิ่งแวดล้อมในทวีป
อเมริ กาเหนือและอเมริ กาใต้ ที่ส่งผลต่อประเทศไทย
                    ส่งผลให้นกเรี ยนมีทกษะที่จาเป็ นต่อการเป็ นนักคิดอย่างมีวจารณญาณ พัฒนาแนวคิดและ
                                ั        ั                                   ิ
ประสบการณ์ดานศาสนา คุณธรรม จริ ยธรรม ค่านิยม ความเชื่อ ขนบประเพณี วัฒนธรรม การเมืองการ
                  ้
ปกครอง และนาแนวคิดไปใช้ประโยชน์ในการดาเนินชีวตและการปฏิบติงานได้อย่างเหมาะสม
                                                             ิ           ั
                    เพือให้นกเรี ยนมีความรู เ้ กี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงของโลก โดยเปรี ยบเทียบประเทศไทยกับ
                       ่      ั
ภูมิภาคต่างๆของโลก
                    ส่งผลให้นกเรี ยนมีทกษะที่จาเป็ นต่อการเป็ นนักคิดอย่างมีวจารณญาณ พัฒนาแนวคิดและ
                                  ั        ั                                   ิ
ประสบการณ์ดานภูมิศาสตร์และเศรษฐศาสตร์ และนาแนวคิดไปใช้ประโยชน์ในการดาเนินชีวตและการ
                ้                                                                              ิ
ปฏิบติงานได้อย่างเหมาะสม
      ั
มาตรฐานที่ ส 3.1.1 – ส 3.1.3 (ม.3) ส 3.2.1 – ส 3.2.6 (ม.3) ส 5.1.1 – ส 5.1.2 (ม.3) ส 5.2.1 – ส 5.2.4
(ม.3)
ส 20201 ศาสนา ศีลธรรมและจริ ยธรรม จานวน 1.0 หน่ วยกิต 40 ชั่วโมง
คาอธิบายรายวิชา
                ศึกษาพระพุทธศาสนา ปะวัติพทธสาวกสาวิกา พระสารี บุตร พระโมคคัลลานะ พระ
                                                ุ
นางมัลลิกา พระเจ้าสุ ทโธทนะ
                หลักธรรมศาสนพิธี แนวปฏิบติของศาสนิกชน วันสาคัญของศาสนาคาศัพท์ ข้อความ
                                              ั
สาคัญในศาสนา ศึกษาวิถีชีวตไทย ความคิด ความเชื่อ วัฒนธรรม ภูมิปัญญา รวมทั้งบุคคลสาคัญและ
                             ิ
ผลงานที่เป็ นคุณประโยชน์ต่อชาติ
                เพื่อให้เกิดความรู้ความเข้าใจยึดมัน ศรัทธาในศาสนาที่ตนนับถือ เกิดความภาคภูมิใจ
                                                  ่
ในวิถีไทย ภูมิปัญญาไทยนาหลักธรรมและแนวปฏิบติที่ดีงามของศาสนาและสาวก รวมทั้งบุคคล
                                                    ั
สาคัญที่มีผลงานดีเด่นมาปรับใช้และพัฒนาคุณภาพชีวตให้ดารงชีวิตอย่างสันติสุข
                                                      ิ

ส 20221 ชีวิตกับกฎหมาย จานวน 1.0 หน่ วยกิต 40 ชั่วโมง
คาอธิบายรายวิชา
                ศึกษากฎหมายที่สาคัญที่เกี่ยวข้องกับตนเอง ครอบครัว ชุมชนและประเทศ เพื่อให้มี
ความรู้ความเข้าใจ เห็นความสาคัญของกฎหมายในฐานะที่เป็ นกติกาของสังคม และสามารถปฏิบติตน  ั
ตามกฎหมายได้อย่างถูกต้อง ในฐานะสมาชิกที่ดีของสังคม

ส 20222ประชากรกับสิ่ งแวดล้อม จานวน 1.0 หน่ วยกิต 40 ชั่วโมง
คาอธิบายรายวิชา
                  ศึกษาความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับประชากรและสิ่ งแวดล้อม ปัญหาประชากรและ
สิ่ งแวดล้อมวิเคราะห์ผลกระทบของภาวะประชากรที่มีต่อสภาพแวดล้อมและคุณภาพชีวต ทั้งที่เป็ น
                                                                                  ิ
ส่ วนตัวและส่ วนรวมเพื่อให้เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างประชากรกับสิ่ งแวดล้อม ตระหนักในปัญหา
สิ่ งแวดล้อมที่เกิดจากประชากร มีความรับผิดชอบต่อการแก้ปัญหา มีส่วนร่ วมในการอนุรักษ์ฟ้ื นฟู
ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่ งแวดล้อมให้เกิดประโยชน์สูงสุ ดและถาวร
ส 20223 ท้ องถิ่นของเรา            จานวน 1.0 หน่ วยกิต 40 ชั่วโมง
คาอธิบายรายวิชา
                  ศึกษาสภาพแวดล้อมทางภูมิศาสตร์ ประวัติความเป็ นมาของท้องถิ่น และอาณาจักร
โบราณที่เกี่ยวข้อง ขนบธรรมเนียมประเพณี ศิลปะพืนบ้าน บุคคลสาคัญของท้องถิ่น และการดาเนิ น
                                                    ้
ชีวติ
                  เพื่อให้เกิดความเข้าใจในอิทธิ พลของสภาพแวดล้อม ทั้งทางธรรมชาติและสังคม
วัฒนธรรมที่มีต่อการดาเนินชีวตของคนในท้องถิ่น มีความภาคภูมิใจรักและผูกพันกับท้องถิ่นของตน
                                 ิ
ร่ วมกันอนุ รักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ และวัฒนธรรมของท้องถิ่น

ส 20224 ประเพณีและวัฒนธรรมไทย จานวน 1.0 หน่ วยกิต 40 ชั่วโมง
คาอธิบายรายวิชา
               ศึกษาเกี่ยวกับลักษณะทัวไปของสังคมไทย ลักษณะนิสัยและเอกลักษณ์ของคนไทย
                                       ่
ศึกษาค่านิ ยมและความเชื่อของสังคมไทย
                                                            ่
               ศึกษาประเพณีวถีชีวิตของคนไทย ความเป็ นอยูและศิลปวัฒนธรรมในสังคมไทย
                               ิ
               ศึกษาการเปลี่ยนแปลงของสังคมไทยจากอดีต จนถึงปัจจุบน     ั
               เพื่อให้เกิดความรู้ ความเข้าใจ สามารถที่จะนาไปเผยแพร่ แลกเปลี่ยนวัฒนธรรมกับ
ชาวต่างชาติได้ เพื่อให้เกิดความภาคภูมิใจในความเป็ นไทย

ส 20261 จริ ยธรรมกับบุคคล จานวน 1.0 หน่ วยกิต 40 ชั่วโมง
คาอธิบายรายวิชา
                  ศึกษาชีวิตและงานของบุคคลที่ประกอบด้วยคุณธรรม จริ ยธรรม สร้างสรรค์ความ
          ั
เจริ ญให้กบท้องถิ่น สังคมและประเทศ วิเคราะห์คุณธรรม แนวทางปฏิบติและแนวคิดของบุคคล
                                                                    ั
เหล่านั้น ที่ส่งผลต่อการพัฒนาตนเอง ท้องถิ่น ประเทศชาติ เพื่อให้เห็นแบบอย่างการประพฤติปฏิบติที่
                                                                                         ั
ดี เห็นคุณค่าในการฝึ กคุณธรรม จริ ยธรรม เป็ นหลักในการดาเนินชีวต สามารถเลือกแนวทางในการ
                                                                 ิ
ปฏิบติตนได้อย่างเหมาะสม ในอันที่จะพัฒนาคน ท้องถิ่น และประเทศชาติ
      ั

More Related Content

What's hot

4.หลักสูตรสังคม
4.หลักสูตรสังคม4.หลักสูตรสังคม
4.หลักสูตรสังคมnang_phy29
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๓
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๓แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๓
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๓krusuparat01
 
กำนดม.2ภูมิปัญญา
กำนดม.2ภูมิปัญญากำนดม.2ภูมิปัญญา
กำนดม.2ภูมิปัญญาkrusuparat01
 
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษามาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษาkorakate
 
หลักสูตรสังคมศึกษา
หลักสูตรสังคมศึกษาหลักสูตรสังคมศึกษา
หลักสูตรสังคมศึกษา
ครูต๋อง ฉึก ฉึก
 
ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง
ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลางตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง
ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลางkorakate
 
ตัวอย่างวิจัยประวัติศาสตร์
ตัวอย่างวิจัยประวัติศาสตร์ตัวอย่างวิจัยประวัติศาสตร์
ตัวอย่างวิจัยประวัติศาสตร์Nuttapol Time
 
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาประวัติศาสตร์ ม.1 หน่วยที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาประวัติศาสตร์ ม.1 หน่วยที่ 1แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาประวัติศาสตร์ ม.1 หน่วยที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาประวัติศาสตร์ ม.1 หน่วยที่ 1Sokoy_jj
 

What's hot (19)

4.หลักสูตรสังคม
4.หลักสูตรสังคม4.หลักสูตรสังคม
4.หลักสูตรสังคม
 
หน่วย 1
หน่วย 1หน่วย 1
หน่วย 1
 
เนื้อหา
เนื้อหาเนื้อหา
เนื้อหา
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๓
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๓แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๓
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๓
 
กำนดม.2ภูมิปัญญา
กำนดม.2ภูมิปัญญากำนดม.2ภูมิปัญญา
กำนดม.2ภูมิปัญญา
 
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษามาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
มาตรฐานตัวชี้วัดสังคมศึกษา
 
หลักสูตรสังคมศึกษา
หลักสูตรสังคมศึกษาหลักสูตรสังคมศึกษา
หลักสูตรสังคมศึกษา
 
หน่วยที่๖
หน่วยที่๖หน่วยที่๖
หน่วยที่๖
 
ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง
ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลางตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง
ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๗
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๗แผนการจัดการเรียนรู้ที่๗
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๗
 
หน่วยที่๑๐
หน่วยที่๑๐หน่วยที่๑๐
หน่วยที่๑๐
 
หน่วยที่๓
หน่วยที่๓หน่วยที่๓
หน่วยที่๓
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๘
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๘แผนการจัดการเรียนรู้ที่๘
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๘
 
หน่วยที่๗
หน่วยที่๗หน่วยที่๗
หน่วยที่๗
 
ตัวอย่างวิจัยประวัติศาสตร์
ตัวอย่างวิจัยประวัติศาสตร์ตัวอย่างวิจัยประวัติศาสตร์
ตัวอย่างวิจัยประวัติศาสตร์
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๑๐
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๑๐แผนการจัดการเรียนรู้ที่๑๐
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๑๐
 
เอกสารประกอบการเรียนเล่ม2
เอกสารประกอบการเรียนเล่ม2เอกสารประกอบการเรียนเล่ม2
เอกสารประกอบการเรียนเล่ม2
 
หน่วย 3
หน่วย 3 หน่วย 3
หน่วย 3
 
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาประวัติศาสตร์ ม.1 หน่วยที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาประวัติศาสตร์ ม.1 หน่วยที่ 1แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาประวัติศาสตร์ ม.1 หน่วยที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาประวัติศาสตร์ ม.1 หน่วยที่ 1
 

Viewers also liked

Math asean
Math aseanMath asean
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 พื้นที่ผิวและปริมาตร
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 พื้นที่ผิวและปริมาตรหน่วยการเรียนรู้ที่ 1 พื้นที่ผิวและปริมาตร
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 พื้นที่ผิวและปริมาตรนางอัจฉรา วงศ์อามาตย์
 
ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์
พัน พัน
 

Viewers also liked (7)

ภาษาไทย ต้น
ภาษาไทย ต้นภาษาไทย ต้น
ภาษาไทย ต้น
 
วิทยาศาสตร์
วิทยาศาสตร์วิทยาศาสตร์
วิทยาศาสตร์
 
หลักสูตร
หลักสูตรหลักสูตร
หลักสูตร
 
M&e m3 51
M&e m3 51M&e m3 51
M&e m3 51
 
Math asean
Math aseanMath asean
Math asean
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 พื้นที่ผิวและปริมาตร
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 พื้นที่ผิวและปริมาตรหน่วยการเรียนรู้ที่ 1 พื้นที่ผิวและปริมาตร
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 พื้นที่ผิวและปริมาตร
 
ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์
 

Similar to อังกฤษ ต้น

มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรมมาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม
Boonlert Aroonpiboon
 
บทที่ 1 วิธีการทางประวัติศาสตร์ และการแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
บทที่ 1 วิธีการทางประวัติศาสตร์  และการแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์บทที่ 1 วิธีการทางประวัติศาสตร์  และการแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
บทที่ 1 วิธีการทางประวัติศาสตร์ และการแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์krunumc
 
13. ม.๓ เทอม ๑ สาระพื้นฐาน วิชาสังคมศึกษา๕ 2
13. ม.๓  เทอม ๑ สาระพื้นฐาน วิชาสังคมศึกษา๕  213. ม.๓  เทอม ๑ สาระพื้นฐาน วิชาสังคมศึกษา๕  2
13. ม.๓ เทอม ๑ สาระพื้นฐาน วิชาสังคมศึกษา๕ 2hadradchai
 
บทเรียนสำเร็จรูป ประวัติศาสตร์สมัยสุโขทัย
บทเรียนสำเร็จรูป ประวัติศาสตร์สมัยสุโขทัยบทเรียนสำเร็จรูป ประวัติศาสตร์สมัยสุโขทัย
บทเรียนสำเร็จรูป ประวัติศาสตร์สมัยสุโขทัยairja
 
บทความวิชาการ โยนิโสมนสิการ
บทความวิชาการ โยนิโสมนสิการบทความวิชาการ โยนิโสมนสิการ
บทความวิชาการ โยนิโสมนสิการ
นางจำเรียง กอมพนม
 
9789740329817
97897403298179789740329817
9789740329817
CUPress
 
คำอธิบายรายวิชาและโครงสร้างรายวิชา
คำอธิบายรายวิชาและโครงสร้างรายวิชาคำอธิบายรายวิชาและโครงสร้างรายวิชา
คำอธิบายรายวิชาและโครงสร้างรายวิชาPrincess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 
โครงการพผร.แฟนพันธุ์แท้
โครงการพผร.แฟนพันธุ์แท้โครงการพผร.แฟนพันธุ์แท้
โครงการพผร.แฟนพันธุ์แท้
nusabasukyankit
 
หลักสูตรสังคม
หลักสูตรสังคมหลักสูตรสังคม
หลักสูตรสังคมkorakate
 
ม.1 ภาคเรียนที่ 1
ม.1 ภาคเรียนที่ 1ม.1 ภาคเรียนที่ 1
ม.1 ภาคเรียนที่ 1
นายสมหมาย ฉิมมาลี
 
โครงสร้าง
โครงสร้างโครงสร้าง
โครงสร้างSumontira Niyama
 
9789740337027
97897403370279789740337027
9789740337027
CUPress
 
ม.2 ภาคเรียนที่ 1
ม.2 ภาคเรียนที่ 1ม.2 ภาคเรียนที่ 1
ม.2 ภาคเรียนที่ 1
นายสมหมาย ฉิมมาลี
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1suchinmam
 

Similar to อังกฤษ ต้น (20)

Hist m1
Hist m1Hist m1
Hist m1
 
Hist m1
Hist m1Hist m1
Hist m1
 
ประวัติศาสตร์ไทย 3
ประวัติศาสตร์ไทย 3ประวัติศาสตร์ไทย 3
ประวัติศาสตร์ไทย 3
 
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรมมาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม
 
บทที่ 1 วิธีการทางประวัติศาสตร์ และการแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
บทที่ 1 วิธีการทางประวัติศาสตร์  และการแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์บทที่ 1 วิธีการทางประวัติศาสตร์  และการแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
บทที่ 1 วิธีการทางประวัติศาสตร์ และการแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
 
History-m1.pdf
History-m1.pdfHistory-m1.pdf
History-m1.pdf
 
13. ม.๓ เทอม ๑ สาระพื้นฐาน วิชาสังคมศึกษา๕ 2
13. ม.๓  เทอม ๑ สาระพื้นฐาน วิชาสังคมศึกษา๕  213. ม.๓  เทอม ๑ สาระพื้นฐาน วิชาสังคมศึกษา๕  2
13. ม.๓ เทอม ๑ สาระพื้นฐาน วิชาสังคมศึกษา๕ 2
 
บทเรียนสำเร็จรูป ประวัติศาสตร์สมัยสุโขทัย
บทเรียนสำเร็จรูป ประวัติศาสตร์สมัยสุโขทัยบทเรียนสำเร็จรูป ประวัติศาสตร์สมัยสุโขทัย
บทเรียนสำเร็จรูป ประวัติศาสตร์สมัยสุโขทัย
 
บทความวิชาการ โยนิโสมนสิการ
บทความวิชาการ โยนิโสมนสิการบทความวิชาการ โยนิโสมนสิการ
บทความวิชาการ โยนิโสมนสิการ
 
Pdf
PdfPdf
Pdf
 
9789740329817
97897403298179789740329817
9789740329817
 
คำอธิบายรายวิชาและโครงสร้างรายวิชา
คำอธิบายรายวิชาและโครงสร้างรายวิชาคำอธิบายรายวิชาและโครงสร้างรายวิชา
คำอธิบายรายวิชาและโครงสร้างรายวิชา
 
โครงการพผร.แฟนพันธุ์แท้
โครงการพผร.แฟนพันธุ์แท้โครงการพผร.แฟนพันธุ์แท้
โครงการพผร.แฟนพันธุ์แท้
 
หลักสูตรสังคม
หลักสูตรสังคมหลักสูตรสังคม
หลักสูตรสังคม
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๕
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๕แผนการจัดการเรียนรู้ที่๕
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๕
 
ม.1 ภาคเรียนที่ 1
ม.1 ภาคเรียนที่ 1ม.1 ภาคเรียนที่ 1
ม.1 ภาคเรียนที่ 1
 
โครงสร้าง
โครงสร้างโครงสร้าง
โครงสร้าง
 
9789740337027
97897403370279789740337027
9789740337027
 
ม.2 ภาคเรียนที่ 1
ม.2 ภาคเรียนที่ 1ม.2 ภาคเรียนที่ 1
ม.2 ภาคเรียนที่ 1
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
 

More from กลุ่มงาน วิชาการ

More from กลุ่มงาน วิชาการ (20)

เกี่ยวกับ
เกี่ยวกับเกี่ยวกับ
เกี่ยวกับ
 
ติดต่อเรา
ติดต่อเราติดต่อเรา
ติดต่อเรา
 
8
88
8
 
7
77
7
 
6
66
6
 
สุขศึกษาและพลศึกษา ปลาย
สุขศึกษาและพลศึกษา ปลายสุขศึกษาและพลศึกษา ปลาย
สุขศึกษาและพลศึกษา ปลาย
 
สุขศึกษาและพลศึกษา ต้น
สุขศึกษาและพลศึกษา ต้นสุขศึกษาและพลศึกษา ต้น
สุขศึกษาและพลศึกษา ต้น
 
สังคมศึกษา ต้น
สังคมศึกษา ต้นสังคมศึกษา ต้น
สังคมศึกษา ต้น
 
ศิลปะ ปลาย
ศิลปะ ปลายศิลปะ ปลาย
ศิลปะ ปลาย
 
ศิลปะ ต้น
ศิลปะ ต้นศิลปะ ต้น
ศิลปะ ต้น
 
วิทยาศาสตร์ ปลาย
วิทยาศาสตร์  ปลายวิทยาศาสตร์  ปลาย
วิทยาศาสตร์ ปลาย
 
วิทยาศาสตร์ ต้น
วิทยาศาสตร์  ต้นวิทยาศาสตร์  ต้น
วิทยาศาสตร์ ต้น
 
วิชาการงาน ต้น
วิชาการงาน ต้นวิชาการงาน ต้น
วิชาการงาน ต้น
 
คณิตศาสตร์ ปลาย
คณิตศาสตร์ ปลายคณิตศาสตร์ ปลาย
คณิตศาสตร์ ปลาย
 
คณิตศาสตร์ ต้น
คณิตศาสตร์ ต้นคณิตศาสตร์ ต้น
คณิตศาสตร์ ต้น
 
วิชาการงาน ปลาย
วิชาการงาน ปลายวิชาการงาน ปลาย
วิชาการงาน ปลาย
 
ภาษาไทย ปลาย
ภาษาไทย ปลายภาษาไทย ปลาย
ภาษาไทย ปลาย
 
ศิลปะ
ศิลปะศิลปะ
ศิลปะ
 
วิชาภาษาอังกฤษ
วิชาภาษาอังกฤษวิชาภาษาอังกฤษ
วิชาภาษาอังกฤษ
 
อาชีพและเทคโนโลยี
อาชีพและเทคโนโลยีอาชีพและเทคโนโลยี
อาชีพและเทคโนโลยี
 

อังกฤษ ต้น

  • 1. โครงสร้างหลักสูตรกลุ่มสาระสังคมศึกษา ชันมัธยมศึกษาตอนต้น ้ สาระพืนฐาน ้ ส 21161 ประวัติศาสตร์ 1 หน่วยกิต 0.5 หน่วยกิต 20 ชัวโมง ่ ส 21161 ประวัติศาสตร์ 2 หน่วยกิต 0.5 หน่วยกิต 20 ชัวโมง ่ ส 22163 ประวัติศาสตร์ 3 หน่วยกิต 0.5 หน่วยกิต 20 ชัวโมง่ ส 22164 ประวัติศาสตร์ 4 หน่วยกิต 0.5 หน่วยกิต 20 ชัวโมง ่ ส 23165 ประวัติศาสตร์ 5 หน่วยกิต 0.5 หน่วยกิต 20 ชัวโมง ่ ส 23166 ประวัติศาสตร์ 6 หน่วยกิต 0.5 หน่วยกิต 20 ชัวโมง ่ ส 21101 สังคมศึกษา หน่วยกิต 1.5 หน่วยกิต 60 ชัวโมง ่ ส 21102 สังคมศึกษา หน่วยกิต 1.5 หน่วยกิต 60 ชัวโมง ่ ส 22103 สังคมศึกษา หน่วยกิต 1.5 หน่วยกิต 60 ชัวโมง ่ ส 22104 สังคมศึกษา หน่วยกิต 1.5 หน่วยกิต 60 ชัวโมง ่ ส 23105 สังคมศึกษา หน่วยกิต 1.5 หน่วยกิต 60 ชัวโมง ่ ส 23106 สังคมศึกษา หน่วยกิต 1.5 หน่วยกิต 60 ชัวโมง ่ สาระเพิมเติม ่ ส 20221 ท้องถิ่นของเรา 1 หน่วยกิต 1.0 หน่วยกิต 40 ชัวโมง ่ ส 20222 ท้องถิ่นของเรา 2 หน่วยกิต 1.0 หน่วยกิต 40 ชัวโมง ่ ส 20223 ชี วิตกับกฎหมาย หน่วยกิต 1.0 หน่วยกิต 40 ชัวโมง่ ส 20224 ประชากรกับสิ่ งแวดล้อม หน่วยกิต 1.0 หน่วยกิต 40 ชัวโมง ่ ส 20224 ประเพณี และวัฒนธรรม หน่วยกิต 1.0 หน่วยกิต 40 ชัวโมง ่ ส 20261 จริ ยธรรมกับบุคคล หน่วยกิต 1.0 หน่วยกิต 40 ชัวโมง ่
  • 2. ส 21161 , ส 21161 ประวัติศาสตร์ 1,2 จานวน 0.5 หน่ วยกิต 60 ชั่วโมง คาอธิบายรายวิชา วิเคราะห์ อภิปราย อธิบายความสาคัญของเวลาในการศึกษาประวัติศาสตร์ การใช้ เวลา ช่วงเวลาและยุคสมัยที่ปรากฏในเอกสารประวัติศาสตร์ ไทย ความสัมพันธ์และความสาคัญของ อดีตที่มีต่อปัจจุบนและอนาคต เทียบศักราชตามระบบต่างๆที่ใช้ศึกษาประวัติศาสตร์ ความหมายและ ั ความสาคัญของประวัติศาสตร์ และวิธีการทางประวัติศาสตร์ที่มีความ สัมพันธ์เชื่อมโยงกัน วิธีการทางประวัติศาสตร์ไปใช้ศึกษาเรื่ องราวของประวัติศาสตร์ไทยที่มีอยู่ในท้องถิ่นตนเองในสมัยใด ก็ได้ (สมัยก่อนประวัติศาสตร์ สมัยก่อนสุ โขทัย สมัยสุ โขทัย สมัยอยุธยา สมัยธนบุรี สมัยรัตนโกสิ นทร์ ) และเหตุการณ์สาคัญในสมัยสุ โขทัย ศึกษา อภิปราย อธิบาย สรุ ปความรู้เกี่ยวกับที่ต้ งและสภาพทางภูมิศาสตร์ของประเทศ ั ต่าง ๆ ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉี ยงใต้ ที่มีผลต่อพัฒนาการทางด้านต่างๆ พัฒนาการทางสังคม เศรษฐกิจ และการเมืองของประเทศต่าง ๆ ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉี ยงใต้ ที่ต้ งและความสาคัญของ ั แหล่งอารยธรรมในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉี ยงใต้ เช่นแหล่งมรดกโลกในประเทศต่าง ๆของเอเชีย ตะวันออกเฉี ยงใต้ อิทธิ พลของอารยธรรมโบราณในดินแดนไทยที่มีต่อพัฒนาการของสังคมไทยใน ปัจจุบนั ศึกษาความรู้สมัยก่อนประวัติศาสตร์ในดินแดนไทย โดยสังเขป บอกรัฐโบราณใน ดินแดนไทย เช่น ศรี วิชยตามพรลิงค์ ทวารวดี รัฐไทยในดินแดนไทย เช่น ล้านนา นครศรี ธรรมราช ั สุ พรรณภูมิ การสถาปนาอาณาจักรสุ โขทัย และ ปัจจัยที่เกี่ยวข้อง(ปัจจัยภายในและ ปัจจัยภายนอก) พัฒนาการของอาณาจักรสุ โขทัย ในด้านการเมืองการปกครอง เศรษฐกิจ สังคม และความสัมพันธ์ ระหว่างประเทศ วัฒนธรรมสมัยสุ โขทัย เช่น ภาษาไทย วรรณกรรม ประเพณีสาคัญ ศิลปกรรมไทย ภูมิปัญญาไทยในสมัยสุ โขทัย เช่น การชลประทาน เครื่ องสังคโลก ความเสื่ อมของอาณาจักรสุ โขทัย ส่ งผลให้นกเรี ยนมีทกษะที่จาเป็ นต่อการเป็ นนักคิดอย่างมีวจารณญาณ พัฒนาแนวคิด ั ั ิ และประสบการณ์ดานประวัติศาสตร์โดยใช้วิธีการทางประวัติศาสตร์และสังคมศาสตร์และนาแนวคิด ้ ไปใช้ประโยชน์ในการดาเนินชีวตและการปฏิบติงานได้อย่างเหมาะสม ิ ั มาตรฐานที่ ส 4.1.1 – ส 4.1.3 (ม.1) ส 4.2.1 – ส 4.2.2 (ม.1) ส 4.3.1 – ส 4.3.3 (ม.1)
  • 3. ส 32163 ส 32164 ประวัติศาสตร์ 3,4 จานวน 0.5 หน่ วยกิต 20 ชั่วโมง คาอธิบายรายวิชา ศึกษา อภิปราย อธิบาย วิธีการประเมินความน่ าเชื่อถือของหลักฐานทางประวัติศาสตร์ ในลักษณะ ต่าง ๆ อย่างง่าย ๆ เช่น การศึกษาภูมิหลังของผูทา หรื อผูเ้ กี่ยวข้อง สาเหตุ ช่วงระยะเวลา ้ รู ปลักษณ์ของหลักฐานทางประวัติศาสตร์ การประเมินความน่าเชื่อถือของหลักฐานทางประวัติศาสตร์ ไทยที่อยู่ ในท้องถิ่นของตนเอง หรื อหลักฐานสมัยอยุธยา การวิเคราะห์ขอมูลจากเอกสารต่าง ๆ ใน ้ สมัยอยุธยา และธนบุรี การตีความข้อมูลจากหลักฐานที่แสดงเหตุการณ์สาคัญในสมัยอยุธยาและธนบุรี การแยกแยะระหว่างข้อมูลกับความคิดเห็น รวมทั้งความจริ งกับข้อเท็จจริ งจากหลักฐานทาง ประวัติศาสตร์การวิเคราะห์ขอมูล และการตีความทางประวัติศาสตร์ ้ ศึกษา วิเคราะห์ ที่ต้ งและสภาพทางภูมิศาสตร์ ของภูมิภาคต่างๆในทวีปเอเชีย (ยกเว้น ั เอเชียตะวันออกเฉียงใต้) พัฒนาการทางสังคม เศรษฐกิจ และการเมืองของภูมิภาคเอเชีย (ยกเว้นเอเชีย ตะวันออกเฉี ยงใต้) ที่ต้ งและความสาคัญของแหล่งอารยธรรมโบราณในภูมิภาคเอเชีย เช่น แหล่ง ั มรดกโลกในประเทศต่างๆ ในภูมิภาคเอเชีย อิทธิ พลของอารยธรรมโบราณที่มีต่อภูมิภาคเอเชียใน ปัจจุบนั ศึกษา อธิบาย อภิปรายการสถาปนาอาณาจักรอยุธยา ปัจจัยที่ส่งผลต่อความ เจริ ญรุ่ งเรื องของอาณาจักรอยุธยา พัฒนาการของอาณาจักรอยุธยาในด้านการเมืองการปกครอง สังคม เศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ การเสี ยกรุ งศรี อยุธยาครั้งที่ ๑ และ การกูเ้ อกราช ภูมิ ปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยอยุธยา เช่น การควบคุมกาลังคน และศิลปวัฒนธรรม การเสี ยกรุ งศรี อยุธยาครั้งที่ ๒ การกู้ เอกราช และการสถาปนาอาณาจักรธนบุรี ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัย ธนบุรี วีรกรรมของบรรพบุรุษไทย ผลงานของบุคคลสาคัญของไทยและต่างชาติ ที่มีส่วนสร้างสรรค์ ชาติไทย ส่ งผลให้นกเรี ยนมีทกษะที่จาเป็ นต่อการเป็ นนักคิดอย่างมีวจารณญาณ พัฒนาแนวคิด ั ั ิ และประสบการณ์ดานประวัติศาสตร์โดยใช้วิธีการทางประวัติศาสตร์และสังคมศาสตร์และนาแนวคิด ้ ไปใช้ประโยชน์ในการดาเนินชีวตและการปฏิบติงานได้อย่างเหมาะสม ิ ั มาตรฐานที่ ส 4.1.1 – ส 4.1.3 (ม.2) ส 4.2.1 – ส 4.2.2 (ม.2) ส 4.3.1 – ส 4.3.3 (ม.2)
  • 4. ส 33165 , ส 33166 ประวัติศาสตร์ 5,6 จานวน 0.5 หน่ วยกิต 20 ชั่วโมง คาอธิบายรายวิชา ศึกษา อธิบาย อภิปรายขั้นตอนของวิธีการทางประวัติศาสตร์ สาหรับการศึกษา เหตุการณ์ทางประวัติศาสตร์ที่เกิดขึ้นในท้องถิ่นตนเอง วิเคราะห์เหตุการณ์สาคัญในสมัย รัตนโกสิ นทร์โดยใช้วธีการทางประวัติศาสตร์นาวิธีการทางประวัติศาสตร์มาใช้ในการศึกษาเรื่ องราว ิ ที่เกี่ยวข้องกับตนเอง ครอบครัว และท้องถิ่นของตน ศึกษา อธิบาย อภิปราย วิเคราะห์ที่ต้ งและสภาพทางภูมิศาสตร์ของภูมิภาคต่างๆของ ั โลก (ยกเว้นเอเชีย) ที่มีผลต่อพัฒนาการโดยสังเขป อิทธิ พลของอารยธรรมตะวันตกที่มีผลต่อ พัฒนาการและการเปลี่ยนแปลงของสังคมโลกความร่ วมมือและความขัดแย้งในคริ สต์ศตวรรษที่ ๒๐ เช่น สงครามโลกครั้งที่ ๑ ครั้งที่ ๒ สงครามเย็น องค์การความร่ วมมือระหว่างประเทศ การสถาปนา กรุ งเทพมหานครเป็ นราชธานีของไทย ปัจจัยที่ส่งผลต่อความมันคงและความเจริ ญรุ่ งเรื องของไทยใน ่ สมัยรัตนโกสิ นทร์ บทบาทของพระมหากษัตริ ยไทยในราชวงศ์จกรี ในการสร้างสรรค์ความเจริ ญและ ์ ั ความมันคงของชาติพฒนาการของไทยในสมัยรัตนโกสิ นทร์ทางด้านการเมือง การปกครอง สังคม ่ ั เศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศตามช่วงสมัยต่างๆ เหตุการณ์สาคัญสมัยรัตนโกสิ นทร์ที่ มีผลต่อการพัฒนาชาติไทย เช่น การทาสนธิสัญญาเบาว์ริงในสมัยรัชกาลที่ ๔ การปฏิรูปประเทศใน สมัยรัชกาลที่ ๕ การเข้าร่ วมสงครามโลกครั้งที่ ๑ และครั้งที่ ๒ โดยวิเคราะห์สาเหตุปัจจัย และผลของ เหตุการณ์ต่าง ๆ ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยในสมัยรัตนโกสิ นทร์ บทบาทของไทยตั้งแต่ เปลี่ยนแปลง การปกครองจนถึงปัจจุบนในสังคมโลก ั ส่ งผลให้นกเรี ยนมีทกษะที่จาเป็ นต่อการเป็ นนักคิดอย่างมีวจารณญาณ พัฒนาแนวคิด ั ั ิ และประสบการณ์ดานประวัติศาสตร์โดยใช้วิธีการทางประวัติศาสตร์และสังคมศาสตร์และนาแนวคิด ้ ไปใช้ประโยชน์ในการดาเนินชีวตและการปฏิบติงานได้อย่างเหมาะสม ิ ั มาตรฐานที่ ส 4.1.1 – ส 4.1.2 (ม.3) ส 4.2.1 – ส 4.2.2 (ม.3) ส 4.3.1 – ส 4.3.4 (ม.3)
  • 5. ส21101 สั งคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม 1 1.5 หน่ วยกิต 60 ชั่วโมง คาอธิบายรายวิชา ศึกษา อธิบาย อภิปรายการสังคายนา การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศไทย ความสาคัญของพระพุทธศาสนาต่อสังคมไทยในฐานะเป็ นศาสนาประจาชาติ และสถาบันหลักของ สังคมไทยสรุ ปและวิเคราะห์ พุทธประวัติ พุทธสาวก พุทธสาวิกา ชาดก พระรัตนตรัย อริ ยสัจ 4 พุทธศาสน สุภาษิต โยนิ โสมนสิการ สวดมนต์แปล และแผ่เมตตา วิธีปฏิบติและประโยชน์ของการบริ หาร ั จิตและเจริ ญปั ญญา การฝึ กบริ หารจิตและเจริ ญปั ญญาตามหลักสติปัฎฐานเน้นอานาปานสตินาวิธีการ บริ หารจิตและเจริ ญปั ญญาไปใช้ในชีวตประจาวัน การประพฤติปฏิบติตนและวิถีการดาเนินชีวต แตกต่างกัน ิ ั ิ ตามหลักความเชื่อและคาสอน ของศาสนาที่ตนนับถือการปฏิบติอย่างเหมาะสมต่อศาสนิกชนอื่นใน ั ่ สถานการณ์ตางๆ ตัวอย่างบุคคลในท้องถิ่นหรื อประเทศที่ปฏิบติตนเป็ นแบบอย่างด้านศาสนสัมพันธ์หรื อมี ั ผลงานด้านศาสนสัมพันธ์ ศึกษา ปฏิบติการบาเพ็ญประโยชน์ การบารุ งรักษาวัดและศาสนสถาน วิถีชีวตของพระภิกษุ ั ิ บทบาทของพระภิกษุในการเผยแผ่พระพุทธศาสนา เช่น การแสดงธรรม ปาฐกถาธรรม การประพฤติตนให้ เป็ นแบบอย่าง การเข้าพบพระภิกษุ การแสดงความเคารพ การประนมมือ การไหว้ การกราบ การเคารพ พระรัตนตรัย การฟังเจริ ญพระพุทธมนต์ การฟั งสวดพระอภิธรรม การฟังพระธรรมเทศนา ศึกษา วิเคราะห์ อภิปรายเกี่ยวกับกฎหมายในการคุมครองสิทธิของบุคคลได้แก่ กฎหมาย ้ การคุมครองเด็ก กฎหมายการศึกษา กฎหมายการคุมครองผูบริ โภค กฎหมายลิขสิทธิ์ ประโยชน์ของการ ้ ้ ้ ปฏิบติตนตามกฎหมายการคุมครองสิทธิของบุคคล ั ้ รู ้จก อธิบายและแสดงบทบาทและหน้าที่ของเยาวชนที่มีต่อสังคมและประเทศชาติ โดยเน้น ั จิตสาธารณะ เช่น เคารพกติกาสังคม ปฏิบติตนตามกฎหมาย มีส่วนร่ วมและรับผิดชอบในกิจกรรมทางสังคม ั อนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ รักษาสาธารณประโยชน์ วิเคราะห์ความคล้ายคลึงและความแตกต่างระหว่างวัฒนธรรมไทยกับวัฒนธรรมของ ประเทศในภูมิภาคเอเชียตะวันออก เฉียงใต้ วัฒนธรรมที่เป็ นปั จจัยในการสร้างความสัมพันธ์ที่ดี หรื ออาจ นาไปสู่ความเข้าใจผิดต่อกัน วิเคราะห์วิธีปฏิบติตนและผลที่ไดจากการเคารพในสิทธิของตนเองและผูอื่น ั ้ บอก อธิบาย อภิปรายหลักการ เจตนารมณ์ โครงสร้าง และสาระสาคัญของรัฐธรรมนูญ แห่งราชอาณาจักรไทย ฉบับปั จจุบน อานาจอธิปไตยในรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย การปฏิบติตน ั ั ตามบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยส่งผลให้นกเรี ยนมีทกษะที่จาเป็ นต่อการเป็ นนักคิด ั ั อย่างมีวจารณญาณ พัฒนาแนวคิดและประสบการณ์ดานศาสนา คุณธรรม จริ ยธรรม ค่านิยม ความเชื่อ ิ ้ ขนบประเพณี วัฒนธรรม การเมืองการปกครอง และนาแนวคิดไปใช้ประโยชน์ในการดาเนินชีวิตและการ ปฏิบติงานได้อย่างเหมาะสม ั มาตรฐานที่ ส 1.1.1 – ส 1.1.11 (ม. 1) ส 1.2.1 – ส 1.2.5 (ม. 1) ส 2.1.1 – ส 2.1.4 (ม.1) ส 2.2.1 – ส 2.2.3 (ม.1)
  • 6. ส21102 สั งคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม 2 จานวน 1.5 หน่ วยกิต 60 ชั่วโมง คาอธิบายรายวิชา ศึกษา อธิบาย อภิปราย ความหมายและความสาคัญของเศรษฐศาสตร์เบื้องต้น ความหมาย ของคาว่าทรัพยากรมีจากัดกับ ความต้องการมีไม่จากัด ความขาดแคลน การเลือกและค่าเสียโอกาส ความหมายและความสาคัญของการบริ โภคอย่างมีประสิทธิภาพ หลักการในการบริ โภคที่ดี ปั จจัยที่มี อิทธิพลต่อพฤติกรรมการบริ โภค ค่านิยมและพฤติกรรมของการบริ โภคของคนในสังคมปั จจุบน รวมทั้ง ั ผลดีและผลเสียของพฤติกรรมดังกล่าว ความหมายและความเป็ นมาของปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ความ ่ ั เป็ นมาของเศรษฐกิจพอเพียง และหลักการทรงงานของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูหวรวมทั้งโครงการตาม พระราชดาริ หลักการของเศรษฐกิจพอเพียง การประยุกต์ใช้ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ในการดารงชีวต ิ ความสาคัญ คุณค่าและประโยชน์ของปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงต่อสังคมไทย วิเคราะห์ อธิบาย อภิปราย ความหมาย ประเภท และความสาคัญของสถาบันการเงินที่มีต่อ ระบบเศรษฐกิจ บทบาทหน้าที่และความสาคัญของธนาคารกลาง การหารายได้ รายจ่าย การออม การลงทุน ซึ่งแสดงความสัมพันธ์ระหว่างผูผลิต ผูบริ โภค และสถาบันการเงิน ตัวอย่างที่สะท้อนให้เห็นการพึ่งพาอาศัย ้ ้ กันและกัน การแข่งขันกันทางเศรษฐกิจในประเทศ ปั ญหาเศรษฐกิจในชุมชน ประเทศ และเส้นแนว ทางแก้ไข ความหมายและกฎอุปสงค์ อุปทาน ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการกาหนดอุปสงค์และอุปทาน ความหมายและความสาคัญของทรัพย์สินทางปั ญญา กฎหมายที่เกี่ยวกับการคุมครองทรัพย์สินทางปั ญญาพอ ้ สังเขป ตัวอย่างการละเมิดแห่งทรัพย์สินทางปั ญญาแต่ละประเภท ศึกษาเครื่ องมือทางภูมิศาสตร์ (ลูกโลก แผนที่ กราฟ แผนภูมิ ฯลฯ) ที่แสดงลักษณะทาง กายภาพ และสังคมของประเทศไทยและทวีปเอเชีย ออสเตรเลีย และ โอเชียเนี ย บอกความแตกต่างของ เวลา มาตรฐานกับเวลาท้องถิ่น ภัยธรรมชาติและการระวังภัยที่เกิดขึ้นในประเทศไทยและทวีปเอเชีย ออสเตรเลีย โอเชียเนี ย วิเคราะห์การเปลี่ยนแปลงประชากร เศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรมในทวีปเอเชีย ออสเตรเลีย และโอเชียเนียการก่อเกิดสิ่งแวดล้อมใหม่ทางสังคมแนวทางการใช้ทรัพยากรของคนในชุมชน ให้ใช้ได้นานขึ้น โดยมีจิตสานึกรู คุณค่าของทรัพยากร แผนอนุรักษ์ทรัยากรในทวีปเอเชีย ความร่ วมมือ ้ ระหว่างประเทศในทวีปเอเชีย ออสเตรเลีย โอเชียเนี ย ที่มีผลต่อสิ่งแวดล้อมทางธรรมชาติ ทาเลที่ต้งกิจกรรม ั ทางเศรษฐกิจและสังคมในทวีปเอเชีย ออสเตรเลีย และโอเชียเนีย เช่น ศูนย์กลางการคมนาคม ปัจจัยทาง กายภาพและสังคมที่มีผลต่อ การเลื่อนไหลของความคิด เทคโนโลยี สินค้า และประชากรในทวีปเอเชีย ออสเตรเลีย และโอเชียเนีย ส่งผลให้นกเรี ยนมีทกษะที่จาเป็ นต่อการเป็ นนักคิดอย่างมีวจารณญาณ พัฒนาแนวคิดและ ั ั ิ ประสบการณ์ดานภูมิศาสตร์และเศรษฐศาสตร์ และนาแนวคิดไปใช้ประโยชน์ในการดาเนินชีวตและการ ้ ิ ปฏิบติงานได้อย่างเหมาะสม ั มาตรฐานที่ ส 3.1.1 – ส 3.1.3 (ม.1) ส 3.2.1 – ส 3.2.4 (ม.1) ส 5.1.1 – ส 5.1.3 (ม.1) ส 5.2.1 – ส 5.2.4 (ม.1)
  • 7. ส22103 สั งคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม 3 จานวน 1.5 หน่ วยกิต 60 ชั่วโมง คาอธิบายรายวิชา ศึกษา อธิบาย อภิปรายการเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศเพือนบ้านและการนับถือ ่ พระพุทธศาสนาของประเทศเพือนบ้านในปั จจุบน ความสาคัญของพระพุทธศาสนาที่ช่วยเสริ มสร้างความ ่ ั ั เข้าใจอันดีกบประเทศเพือนบ้าน ความสาคัญของพระพุทธศาสนาต่อสังคมไทยในฐานะเป็ นรากฐานของ ่ วัฒนธรรม เอกลักษณ์และ มรดกของชาติ ความสาคัญของพระพุทธศาสนากับการพัฒนาชุมชนและการจัด ระเบียบสังคม สรุ ปและวิเคราะห์ พุทธประวัติ โครงสร้าง และสาระสังเขปของ พระวินยปิ ฎก พระ ั สุตตันตปิ ฎก และพระอภิธรรมปิ ฎก พระรัตนตรัย อริ ยสัจ 4 พุทธศาสนสุภาษิต พัฒนาการเรี ยนรู ้ดวยวิธีคิด ้ แบบโยนิโส-มนสิการ ๒ วิธี คือ วิธีคิดแบบอุบายปลุกเร้าคุณธรรม และวิธีคิดแบบอรรถธรรมสัมพันธ์ สวด มนต์แปล และแผ่เมตตา รู ้และเข้าใจวิธีปฏิบติและประโยชน์ของการบริ หารจิตและเจริ ญปั ญญา ฝึ กการ ั บริ หารจิตและเจริ ญปั ญญาตามหลักสติปัฎฐาน เน้นอานาปานสติ นาวิธีการบริ หารจิตและเจริ ญปั ญญาไปใช้ ปฏิบติตนอย่างเหมาะสมต่อเพือนตามหลักพระพุทธศาสนา หรื อศาสนาที่ตนนับถือ การ ั ่ พิธีกรรม และปฏิบติตนในศาสนพิธี พิธีกรรมในศาสนาต่างๆ การเป็ นลูกที่ดีตามหลักทิศเบื้องหน้าในทิศ ๖ ั มีมรรยาทของความเป็ นศาสนิกชนที่ดี วิเคราะห์คุณค่าของศาสนพิธี และปฏิบติตน คาสอน ั ที่เกี่ยวเนื่องกับวันสาคัญทางศาสนา และปฏิบติตน ความแตกต่างของศาสนพิธีพธีกรรม ตาม แนวปฏิบติ ั ิ ั ของศาสนาอื่น ๆ เพือนาไปสู่การยอมรับ และความเข้าใจซึ่งกันและกัน ่ ศึกษา อธิบาย อภิปรายกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับตนเอง ครอบครัว ได้แก่กฎหมายเกี่ยวกับ ความสามารถของผูเ้ ยาว์ กฎหมายบัตรประจาตัวประชาชน กฎหมายเพ่งเกี่ยวกับครอบครัวและมรดก เช่น การหมั้น การสมรส การรับรองบุตร การรับบุตรบุญธรรม และมรดก กฎหมายที่เกี่ยวกับชุมชนและ ประเทศกฎหมายเกี่ยวกับการอนุรักษ์ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม กฎหมายเกี่ยวกับภาษีอากรและกรอกแบบ แสดงรายการ ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา กฎหมายแรงงาน สถานภาพ บทบาท สิทธิ เสรี ภาพ หน้าที่ในฐานะ พลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตย แนวทางส่งเสริ มให้ปฏิบติตนเป็ นพลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตย บทบาท ั ความสาคัญและความสัมพันธ์ของสถาบันทางสังคม เช่น สถาบันครอบครัว สถาบันการศึกษา สถาบัน ศาสนา สถาบันเศรษฐกิจ สถาบัน ทางการเมืองการปกครอง ความคล้ายคลึงและความแตกต่างของวัฒนธรรมไทย และวัฒนธรรมของประเทศใน ภูมิภาคเอเชียวัฒนธรรม เป็ นปั จจัยสาคัญในการสร้างความเข้าใจอันดีระหว่างกัน ศึกษา อธิบาย อภิปรายกระบวนการในการตรากฎหมาย ผูมีสิทธิเสนอร่ างกฎหมาย ้ ขั้นตอนการตรากฎหมายการมีส่วนร่ วมของประชาชนใน กระบวนการตรากฎหมาย เหตุการณ์ และการ เปลี่ยนแปลงสาคัญของระบอบการปกครองของไทย ส่งผลให้นกเรี ยนมีทกษะที่จาเป็ นต่อการเป็ นนักคิดอย่างมีวจารณญาณ พัฒนาแนวคิดและ ั ั ิ ประสบการณ์ดานศาสนา คุณธรรม จริ ยธรรม ค่านิยม ความเชื่อ ขนบประเพณี วัฒนธรรม การเมืองการ ้ ปกครอง และนาแนวคิดไปใช้ประโยชน์ในการดาเนินชีวตและการปฏิบติงานได้อย่างเหมาะสม ิ ั มาตรฐานที่ ส 1.1.1 – ส 1.1.11 (ม.2) ส 1.2.1 – ส 1.2.5 (ม.2) ส 2.1.1 – ส 2.1.4 (ม.2) ส 2.2.1 – ส 2.2.2 (ม.2)
  • 8. ส22104 สั งคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม 4 จานวน 1.5 หน่ วยกิต 60 ชั่วโมง คาอธิบายรายวิชา อธิบาย อภิปราย สรุ ปความหมายและความสาคัญของการลงทุนและการออมต่อระบบ เศรษฐกิจ การบริ หารจัดการเงินออมและการลงทุนภาคครัวเรื อน ปัจจัยของการลงทุนและการออมคือ อัตราดอกเบี้ย รวมทั้งปัจจัยอื่น ๆ เช่น ค่าของเงิน เทคโนโลยี การคาดเดาเกี่ยวกับอนาคต ปั ญหาของ การลงทุนและการออมในสังคมไทย ความหมาย ความสาคัญ และหลักการผลิตสิ นค้าและบริ การ อย่างมีประสิ ทธิภาพ สารวจการผลิตสิ นค้าในท้องถิ่น ว่ามีการผลิตอะไรบ้าง ใช้วธีการผลิตอย่างไร ิ มีปัญหาด้านใดบ้าง มีการนาเทคโนโลยีอะไรมาใช้ที่มีผลต่อการผลิตสิ นค้าและบริ การ นาหลักการ ผลิตมาวิเคราะห์การผลิตสิ นค้าและบริ การในท้องถิ่นทั้งด้านเศรษฐกิจ สังคม และสิ่ งแวดล้อม หลักการและเป้ าหมายปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง สารวจและวิเคราะห์ปัญหาการผลิตสิ นค้าและ บริ การในท้องถิ่นประยุกต์ใช้ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในการผลิตสิ นค้าและบริ การในท้องถิ่น การรักษาและคุมครองสิ ทธิประโยชน์ของ ผูบริ โภคกฎหมายคุมครองสิ ทธิ ผบริ โภคและหน่วยงานที่ ้ ้ ้ ุ้ เกี่ยวข้องการดาเนิ นกิจกรรมพิทกษ์สิทธิและผลประโยชน์ตามกฎหมายในฐานะผูบริ โภค แนวทางการ ั ้ ปกป้ องสิ ทธิของผูบริ โภค ้ วิเคราะห์หลักการและผลกระทบการพึ่งพาอาศัยกัน และการแข่งขันกันทางเศรษฐกิจ ในภูมิภาคเอเชียการกระจายของทรัพยากรในโลกที่ส่งผลต่อความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจระหว่าง ประเทศ เช่น น้ ามัน ป่ าไม้ ทองคา ถ่านหิ น แร่ การแข่งขันทางการค้าในประเทศและต่างประเทศ ศึกษาและใช้เครื่ องมือทางภูมิศาสตร์ที่แสดงลักษณะทางกายภาพและสังคมของทวีป ยุโรป และแอฟริ กา ลักษณะทางกายภาพและสังคมของทวีปยุโรปและแอฟริ กาการเปลี่ยนแปลง ประชากร เศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรมของทวีปยุโรป และแอฟริ กา การอนุรักษ์ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่ งแวดล้อมในทวีปยุโรป และแอฟริ กา ปั ญหาเกี่ยวกับสิ่ งแวดล้อมที่เกิดขึ้นใน ทวีปยุโรป และแอฟริ กา ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงของสิ่ งแวดล้อมในทวีปยุโรป และแอฟริ กา ต่อประเทศไทย ส่ งผลให้นกเรี ยนมีทกษะที่จาเป็ นต่อการเป็ นนักคิดอย่างมีวจารณญาณ พัฒนาแนวคิด ั ั ิ และประสบการณ์ดานภูมิศาสตร์และเศรษฐศาสตร์ และนาแนวคิดไปใช้ประโยชน์ในการดาเนิ นชีวต ้ ิ และการปฏิบติงานได้อย่างเหมาะสม ั มาตรฐานที่ ส 3.1.1 – ส 3.1.4 (ม.2) ส 3.2.1 – ส 3.2.4 (ม.2) ส 5.1.1 – ส 5.1.2 (ม.2) ส 5.2.1 – ส 5.2.4 (ม.2)
  • 9. ส23105 สั งคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม 5 จานวน 1.5 หน่ วยกิต 60 ชั่วโมง คาอธิบายรายวิชา ศึกษา อธิบาย อภิปรายการเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศต่าง ๆ ทัวโลก และการนับ ่ ถือพระพุทธศาสนาของประเทศเหล่านั้นในปั จจุบน ความสาคัญของพระพุทธศาสนาในฐานะที่ช่วย ั สร้างสรรค์อารยธรรมและความสงบสุขให้แก่โลก สัมมนาพระพุทธศาสนากับปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และการพัฒนาอย่างยังยืน ศึกษาพุทธประวัติจากพระพุทธรู ปปาง ต่าง ๆ สรุ ปและวิเคราะห์พทธประวัติ พระ ่ ุ รัตนตรัย อริ ยสัจ 4 พุทธศาสนสุภาษิต พัฒนาการเรี ยนรู ้ดวยวิธีคิดแบบโยนิ โสมนสิการ ๒ วิธี คือ วิธีคิด ้ แบบอริ ยสัจ และวิธีคิดแบบสืบสาวเหตุปัจจัย สวดมนต์แปล และแผ่เมตตารู ้และเข้าใจวิธีปฏิบติและ ั ประโยชน์ของการบริ หารจิตและเจริ ญปั ญญาฝึ กการบริ หารจิตและเจริ ญปั ญญาตามหลัก สติปัฎฐานเน้นอานา ปานสติ นาวิธีการบริ หารจิตและเจริ ญปั ญญาไปใช้ในชีวตประจาวัน ศึกษาวิถีการดาเนินชีวตของศาสนิกชน ิ ิ ศาสนาอื่นๆ วิเคราะห์หน้าที่และบทบาทของสาวก และปฏิบติตนต่อสาวก ปฏิบติตนอย่างเหมาะสมต่อ ั ั บุคคลต่าง ๆ ตามหลักศาสนา หน้าที่ของศาสนิกชนที่ดี ในศาสนพิธีพิธีกรรม ประวัติวนสาคัญทางศาสนา ั และปฏิบติตน แสดงตนเป็ นพุทธมามกะ หรื อแสดงตนเป็ นศาสนิกชนของศาสนาที่ตนนับถือ แนวทางในการ ั ธารงรักษาศาสนาที่ตนนับถือ บอกลักษณะการกระทาความผิดทางอาญา และโทษ ลักษณะการกระทาความผิดทางแพ่ง และโทษ ตัวอย่างการกระทาความผิดทางอาญา เช่น ความผิดเกี่ยวกับทรัพย์ ตัวอย่างการทาความผิดทางแพ่ง เช่น การทาผิดสัญญา การทาละเมิด ความหมาย และความสาคัญของสิทธิมนุษยชนการมีส่วนร่ วมคุมครอง ้ สิทธิมนุษยชนตามรัฐธรรมนูญ แห่งราชอาณาจักรไทยตามวาระและโอกาสที่เหมาะสมความสาคัญของ วัฒนธรรมไทย ภูมิปัญญาไทยและวัฒนธรรมสากลการอนุรักษ์วฒนธรรมไทยและภูมิปัญญาไทยที่ ั เหมาะสม การเลือกรับวัฒนธรรมสากลที่เหมาะสม ปั จจัยที่ก่อให้เกิดความขัดแย้ง เช่น การเมือง การ ปกครอง เศรษฐกิจ สังคม ความเชื่อ สาเหตุปัญหาทางสังคม เช่น ปั ญหาสิ่งแวดล้อม ปั ญหายาเสพติด ปั ญหาการทุจริ ต ปั ญหาอาชญากรรม ฯลฯ แนวทางความร่ วมมือในการลดความขัดแย้งและการสร้างความ สมานฉันท์ ปั จจัยที่ส่งเสริ มการดารงชีวตให้มีความสุข เช่น การอยูร่วมกันอย่างมีขนติธรรม หลักปรัชญา ิ ่ ั ของเศรษฐกิจพอเพียง เห็นคุณค่าในตนเอง รู ้จกมองโลกในแง่ดี สร้างทักษะทางอารมณ์ รู ้จกบริ โภคด้วย ั ั ปั ญญา เลือกรับ ปฏิเสธข่าวและวัตถุต่างๆ ปรับปรุ งตนเองและสิ่งต่างๆให้ดีข้ ึนอยูเ่ สมอ วิเคราะห์ระบอบการปกครอง แบบต่างๆ ที่ใช้ในยุคปั จจุบน เช่น การปกครองแบบเผด็จการ ั การปกครองแบบประชาธิปไตย ความแตกต่าง ความคล้ายคลึงของการปกครองของไทย กับประเทศอื่นๆ ที่ มีการปกครองระบอบประชาธิปไตย กฎหมายรัฐธรรมนูญฉบับปั จจุบนในมาตราต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับการ ั เลือกตั้ง การมีส่วนร่ วม และการตรวจสอบการใช้อานาจรัฐ ปั ญหาที่เป็ นอุปสรรคต่อการพัฒนา ประชาธิปไตยของประเทศไทยและเสนอแนวทางแก้ไข ส่งผลให้นกเรี ยนมีทกษะที่จาเป็ นต่อการเป็ นนักคิดอย่างมีวจารณญาณ พัฒนาแนวคิดและ ั ั ิ ประสบการณ์ดานศาสนา คุณธรรม จริ ยธรรม ค่านิยม ความเชื่อ ขนบประเพณี วัฒนธรรม การเมืองการ ้ ปกครอง และนาแนวคิดไปใช้ประโยชน์ในการดาเนินชีวตและการปฏิบติงานได้อย่างเหมาะสม ิ ั มาตรฐานที่ ส 1.1.1 – ส 1.1.10 (ม.3) ส 1.2.1 – ส 1.2.7 (ม.3) ส 2.1.1 – ส 2.1.5 (ม.3) ส 2.2.1–ส 2.2.4 (ม.3)
  • 10. ส23106 สั งคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม 6 จานวน 1.5 หน่ วยกิต 60 ชั่วโมง คาอธิบายรายวิชา ศึกษา อธิบาย อภิปราย บอกความหมายและประเภทของตลาด ความหมายและตัวอย่างของ อุปสงค์และอุปทาน ความหมายและความสาคัญของกลไกราคาและการกาหนดราคาในระบบเศรษฐกิจ หลักการปรับและเปลี่ยนแปลงราคาสินค้าและบริ การ สารวจสภาพปั จจุบนปั ญหาท้องถิ่นทั้งทางด้านสังคม ั เศรษฐกิจและสิ่งแวดล้อม วิเคราะห์ปัญหาของท้องถิ่นโดยใช้ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง แนวทางการ แก้ไขและพัฒนาท้องถิ่นตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง แนวคิดของเศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาใน ระดับต่าง ๆ หลักการสาคัญของระบบสหกรณ์ ความสัมพันธ์ระหว่างแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียงกับ หลักการ และระบบของสหกรณ์เพือประยุกต์ใช้ในการพัฒนาเศรษฐกิจชุมชน ่ วิเคราะห์ ระบุบทบาทหน้าที่ของรัฐบาลในการพัฒนาประเทศในด้านต่าง ๆ บทบาทและ กิจกรรมทางเศรษฐกิจของรัฐบาล เช่นการผลิตสินค้าและบริ การสาธารณะที่เอกชนไม่ดาเนินการ เช่นไฟฟ้ า ถนน โรงเรี ยน บทบาทการเก็บภาษีเพือพัฒนาประเทศ ของรัฐในระดับต่าง ๆ บทบาทการแทรกแซงราคา ่ และการควบคุมราคาเพือการแจกจ่ายและการจัดสรรในทางเศรษฐกิจ บทบาทอื่นของรัฐบาลในระบบ ่ เศรษฐกิจในสังคมไทย นโยบาย และกิจกรรมทางเศรษฐกิจของรัฐบาล บทบาทความสาคัญของการรวมกลุ่ม ทางเศรษฐกิจระหว่างประเทศ ลักษณะของการรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจ กลุ่มทางเศรษฐกิจในภูมิภาคต่างๆ ผลกระทบที่เกิดจากภาวะเงินเฟ้ อ เงินฝื ด ความหมายสาเหตุและแนวทางแก้ไขภาวะเงินเฟ้ อ เงินฝื ด สภาพ และสาเหตุปัญหาการว่างงาน ผลกระทบจากปั ญหาการว่างงานแนวทางการแก้ไขปั ญหาการว่างงาน การค้า และการลงทุนระหว่างประเทศ สาเหตุและวิธีการกีดกันทางการค้าในการค้าระหว่างประเทศ ศึกษาและใช้เครื่ องมือทางภูมิศาสตร์ที่แสดงลักษณะทางกายภาพและสังคมของทวีป อเมริ กาเหนือ และอเมริ กาใต้ ลักษณะทางกายภาพและสังคมของทวีป อเมริ กาเหนือ และอเมริ กาใต้ วิเคราะห์ การเปลี่ยนแปลงประชากร เศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรมของทวีปอเมริ กา เหนือและอเมริ กาใต้ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมในทวีป อเมริ กาเหนือและอเมริ กาใต้ ปั ญหา เกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมที่เกิดขึ้นในทวีปอเมริ กาเหนือและอเมริ กาใต้ ผลกระทบต่อเนื่องของสิ่งแวดล้อมในทวีป อเมริ กาเหนือและอเมริ กาใต้ ที่ส่งผลต่อประเทศไทย ส่งผลให้นกเรี ยนมีทกษะที่จาเป็ นต่อการเป็ นนักคิดอย่างมีวจารณญาณ พัฒนาแนวคิดและ ั ั ิ ประสบการณ์ดานศาสนา คุณธรรม จริ ยธรรม ค่านิยม ความเชื่อ ขนบประเพณี วัฒนธรรม การเมืองการ ้ ปกครอง และนาแนวคิดไปใช้ประโยชน์ในการดาเนินชีวตและการปฏิบติงานได้อย่างเหมาะสม ิ ั เพือให้นกเรี ยนมีความรู เ้ กี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงของโลก โดยเปรี ยบเทียบประเทศไทยกับ ่ ั ภูมิภาคต่างๆของโลก ส่งผลให้นกเรี ยนมีทกษะที่จาเป็ นต่อการเป็ นนักคิดอย่างมีวจารณญาณ พัฒนาแนวคิดและ ั ั ิ ประสบการณ์ดานภูมิศาสตร์และเศรษฐศาสตร์ และนาแนวคิดไปใช้ประโยชน์ในการดาเนินชีวตและการ ้ ิ ปฏิบติงานได้อย่างเหมาะสม ั มาตรฐานที่ ส 3.1.1 – ส 3.1.3 (ม.3) ส 3.2.1 – ส 3.2.6 (ม.3) ส 5.1.1 – ส 5.1.2 (ม.3) ส 5.2.1 – ส 5.2.4 (ม.3)
  • 11. ส23106 สั งคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม 6 จานวน 1.5 หน่ วยกิต 60 ชั่วโมง คาอธิบายรายวิชา ศึกษา อธิบาย อภิปราย บอกความหมายและประเภทของตลาด ความหมายและตัวอย่างของ อุปสงค์และอุปทาน ความหมายและความสาคัญของกลไกราคาและการกาหนดราคาในระบบเศรษฐกิจ หลักการปรับและเปลี่ยนแปลงราคาสินค้าและบริ การ สารวจสภาพปั จจุบนปั ญหาท้องถิ่นทั้งทางด้านสังคม ั เศรษฐกิจและสิ่งแวดล้อม วิเคราะห์ปัญหาของท้องถิ่นโดยใช้ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง แนวทางการ แก้ไขและพัฒนาท้องถิ่นตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง แนวคิดของเศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาใน ระดับต่าง ๆ หลักการสาคัญของระบบสหกรณ์ ความสัมพันธ์ระหว่างแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียงกับ หลักการ และระบบของสหกรณ์เพือประยุกต์ใช้ในการพัฒนาเศรษฐกิจชุมชน ่ วิเคราะห์ ระบุบทบาทหน้าที่ของรัฐบาลในการพัฒนาประเทศในด้านต่าง ๆ บทบาทและ กิจกรรมทางเศรษฐกิจของรัฐบาล เช่นการผลิตสินค้าและบริ การสาธารณะที่เอกชนไม่ดาเนินการ เช่นไฟฟ้ า ถนน โรงเรี ยน บทบาทการเก็บภาษีเพือพัฒนาประเทศ ของรัฐในระดับต่าง ๆ บทบาทการแทรกแซงราคา ่ และการควบคุมราคาเพือการแจกจ่ายและการจัดสรรในทางเศรษฐกิจ บทบาทอื่นของรัฐบาลในระบบ ่ เศรษฐกิจในสังคมไทย นโยบาย และกิจกรรมทางเศรษฐกิจของรัฐบาล บทบาทความสาคัญของการรวมกลุ่ม ทางเศรษฐกิจระหว่างประเทศ ลักษณะของการรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจ กลุ่มทางเศรษฐกิจในภูมิภาคต่างๆ ผลกระทบที่เกิดจากภาวะเงินเฟ้ อ เงินฝื ด ความหมายสาเหตุและแนวทางแก้ไขภาวะเงินเฟ้ อ เงินฝื ด สภาพ และสาเหตุปัญหาการว่างงาน ผลกระทบจากปั ญหาการว่างงานแนวทางการแก้ไขปั ญหาการว่างงาน การค้า และการลงทุนระหว่างประเทศ สาเหตุและวิธีการกีดกันทางการค้าในการค้าระหว่างประเทศ ศึกษาและใช้เครื่ องมือทางภูมิศาสตร์ที่แสดงลักษณะทางกายภาพและสังคมของทวีป อเมริ กาเหนือ และอเมริ กาใต้ ลักษณะทางกายภาพและสังคมของทวีป อเมริ กาเหนือ และอเมริ กาใต้ วิเคราะห์ การเปลี่ยนแปลงประชากร เศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรมของทวีปอเมริ กา เหนือและอเมริ กาใต้ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมในทวีป อเมริ กาเหนือและอเมริ กาใต้ ปั ญหา เกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมที่เกิดขึ้นในทวีปอเมริ กาเหนือและอเมริ กาใต้ ผลกระทบต่อเนื่องของสิ่งแวดล้อมในทวีป อเมริ กาเหนือและอเมริ กาใต้ ที่ส่งผลต่อประเทศไทย ส่งผลให้นกเรี ยนมีทกษะที่จาเป็ นต่อการเป็ นนักคิดอย่างมีวจารณญาณ พัฒนาแนวคิดและ ั ั ิ ประสบการณ์ดานศาสนา คุณธรรม จริ ยธรรม ค่านิยม ความเชื่อ ขนบประเพณี วัฒนธรรม การเมืองการ ้ ปกครอง และนาแนวคิดไปใช้ประโยชน์ในการดาเนินชีวตและการปฏิบติงานได้อย่างเหมาะสม ิ ั เพือให้นกเรี ยนมีความรู เ้ กี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงของโลก โดยเปรี ยบเทียบประเทศไทยกับ ่ ั ภูมิภาคต่างๆของโลก ส่งผลให้นกเรี ยนมีทกษะที่จาเป็ นต่อการเป็ นนักคิดอย่างมีวจารณญาณ พัฒนาแนวคิดและ ั ั ิ ประสบการณ์ดานภูมิศาสตร์และเศรษฐศาสตร์ และนาแนวคิดไปใช้ประโยชน์ในการดาเนินชีวตและการ ้ ิ ปฏิบติงานได้อย่างเหมาะสม ั มาตรฐานที่ ส 3.1.1 – ส 3.1.3 (ม.3) ส 3.2.1 – ส 3.2.6 (ม.3) ส 5.1.1 – ส 5.1.2 (ม.3) ส 5.2.1 – ส 5.2.4 (ม.3)
  • 12. ส 20201 ศาสนา ศีลธรรมและจริ ยธรรม จานวน 1.0 หน่ วยกิต 40 ชั่วโมง คาอธิบายรายวิชา ศึกษาพระพุทธศาสนา ปะวัติพทธสาวกสาวิกา พระสารี บุตร พระโมคคัลลานะ พระ ุ นางมัลลิกา พระเจ้าสุ ทโธทนะ หลักธรรมศาสนพิธี แนวปฏิบติของศาสนิกชน วันสาคัญของศาสนาคาศัพท์ ข้อความ ั สาคัญในศาสนา ศึกษาวิถีชีวตไทย ความคิด ความเชื่อ วัฒนธรรม ภูมิปัญญา รวมทั้งบุคคลสาคัญและ ิ ผลงานที่เป็ นคุณประโยชน์ต่อชาติ เพื่อให้เกิดความรู้ความเข้าใจยึดมัน ศรัทธาในศาสนาที่ตนนับถือ เกิดความภาคภูมิใจ ่ ในวิถีไทย ภูมิปัญญาไทยนาหลักธรรมและแนวปฏิบติที่ดีงามของศาสนาและสาวก รวมทั้งบุคคล ั สาคัญที่มีผลงานดีเด่นมาปรับใช้และพัฒนาคุณภาพชีวตให้ดารงชีวิตอย่างสันติสุข ิ ส 20221 ชีวิตกับกฎหมาย จานวน 1.0 หน่ วยกิต 40 ชั่วโมง คาอธิบายรายวิชา ศึกษากฎหมายที่สาคัญที่เกี่ยวข้องกับตนเอง ครอบครัว ชุมชนและประเทศ เพื่อให้มี ความรู้ความเข้าใจ เห็นความสาคัญของกฎหมายในฐานะที่เป็ นกติกาของสังคม และสามารถปฏิบติตน ั ตามกฎหมายได้อย่างถูกต้อง ในฐานะสมาชิกที่ดีของสังคม ส 20222ประชากรกับสิ่ งแวดล้อม จานวน 1.0 หน่ วยกิต 40 ชั่วโมง คาอธิบายรายวิชา ศึกษาความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับประชากรและสิ่ งแวดล้อม ปัญหาประชากรและ สิ่ งแวดล้อมวิเคราะห์ผลกระทบของภาวะประชากรที่มีต่อสภาพแวดล้อมและคุณภาพชีวต ทั้งที่เป็ น ิ ส่ วนตัวและส่ วนรวมเพื่อให้เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างประชากรกับสิ่ งแวดล้อม ตระหนักในปัญหา สิ่ งแวดล้อมที่เกิดจากประชากร มีความรับผิดชอบต่อการแก้ปัญหา มีส่วนร่ วมในการอนุรักษ์ฟ้ื นฟู ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่ งแวดล้อมให้เกิดประโยชน์สูงสุ ดและถาวร
  • 13. ส 20223 ท้ องถิ่นของเรา จานวน 1.0 หน่ วยกิต 40 ชั่วโมง คาอธิบายรายวิชา ศึกษาสภาพแวดล้อมทางภูมิศาสตร์ ประวัติความเป็ นมาของท้องถิ่น และอาณาจักร โบราณที่เกี่ยวข้อง ขนบธรรมเนียมประเพณี ศิลปะพืนบ้าน บุคคลสาคัญของท้องถิ่น และการดาเนิ น ้ ชีวติ เพื่อให้เกิดความเข้าใจในอิทธิ พลของสภาพแวดล้อม ทั้งทางธรรมชาติและสังคม วัฒนธรรมที่มีต่อการดาเนินชีวตของคนในท้องถิ่น มีความภาคภูมิใจรักและผูกพันกับท้องถิ่นของตน ิ ร่ วมกันอนุ รักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ และวัฒนธรรมของท้องถิ่น ส 20224 ประเพณีและวัฒนธรรมไทย จานวน 1.0 หน่ วยกิต 40 ชั่วโมง คาอธิบายรายวิชา ศึกษาเกี่ยวกับลักษณะทัวไปของสังคมไทย ลักษณะนิสัยและเอกลักษณ์ของคนไทย ่ ศึกษาค่านิ ยมและความเชื่อของสังคมไทย ่ ศึกษาประเพณีวถีชีวิตของคนไทย ความเป็ นอยูและศิลปวัฒนธรรมในสังคมไทย ิ ศึกษาการเปลี่ยนแปลงของสังคมไทยจากอดีต จนถึงปัจจุบน ั เพื่อให้เกิดความรู้ ความเข้าใจ สามารถที่จะนาไปเผยแพร่ แลกเปลี่ยนวัฒนธรรมกับ ชาวต่างชาติได้ เพื่อให้เกิดความภาคภูมิใจในความเป็ นไทย ส 20261 จริ ยธรรมกับบุคคล จานวน 1.0 หน่ วยกิต 40 ชั่วโมง คาอธิบายรายวิชา ศึกษาชีวิตและงานของบุคคลที่ประกอบด้วยคุณธรรม จริ ยธรรม สร้างสรรค์ความ ั เจริ ญให้กบท้องถิ่น สังคมและประเทศ วิเคราะห์คุณธรรม แนวทางปฏิบติและแนวคิดของบุคคล ั เหล่านั้น ที่ส่งผลต่อการพัฒนาตนเอง ท้องถิ่น ประเทศชาติ เพื่อให้เห็นแบบอย่างการประพฤติปฏิบติที่ ั ดี เห็นคุณค่าในการฝึ กคุณธรรม จริ ยธรรม เป็ นหลักในการดาเนินชีวต สามารถเลือกแนวทางในการ ิ ปฏิบติตนได้อย่างเหมาะสม ในอันที่จะพัฒนาคน ท้องถิ่น และประเทศชาติ ั