SlideShare a Scribd company logo
*******************************************************************************
มาตรฐาน ส 4.1 เข้าใจความหมาย ความสาคัญของเวลา และยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
สามารถใช้วิธีการทางประวัติศาสตร์มาวิเคราะห์เหตุการณ์ต่าง ๆ อย่างเป็น
ระบบ
ตัวชี้วัด
มาตรฐาน ส 4.1 ป.6 / 1 อธิบายความสาคัญของวิธีการทางประวัติศาสตร์ในการศึกษา
เรื่องราวทางประวัติศาสตร์อย่างง่าย ๆ
สาระสาคัญ
การศึกษาเรื่องการใช้ช่วงเวลาต่างๆ และเหตุการณ์สาคัญในประวัติศาสตร์ไทย ทาให้เกิด
ความรู้ความเข้าใจเรื่องราวและพัฒนาการของประวัติศาสตร์ไทยได้มากยิ่งขึ้น
จุดประสงค์การเรียนรู้
1. อธิบายรูปแบบการบอกเวลา การใช้คาบอกช่วงเวลา และยกตัวอย่างการใช้ได้
2. บอกเล่าเรื่องราวในประวัติศาสตร์ไทยได้
3. ลาดับเหตุการณ์ที่สาคัญในประวัติศาสตร์ไทยตามช่วงเวลาได้
3. บอกความสาคัญและประโยชน์ของการใช้ช่วงเวลาบอกเล่าเรื่องราวในประวัติศาสตร์ไทย
คุณลักษณะอันพึงประสงค์
1. มีความรับผิดชอบ
2 .ให้ความร่วมมือและช่วยเหลือผู้อื่นได้
3. มีความสนใจใฝ่เรียนรู้
4. นาความรู้ที่ได้มาประยุกต์ใช้ได้
5. มีความขยันประหยัดและอดทน
แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ 1
กลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ชั้นประถามศึกษาปีที่ 6
สาระประวัติศาสตร์
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เวลากับประวัติศาสตร์ เวลา ชั่วโมง
เรื่อง เหตุการณ์และคาบอกเวลา เวลา 1 ชั่วโมง
สาระการเรียนรู้
1. การใช้ช่วงเวลาบอกเล่าเรื่องราวในประวัติศาสตร์ไทย
2. เหตุการณ์สาคัญในประวัติศาสตร์ไทย
กระบวนการจัดการเรียนรู้
1. ครูทบทวนความหมายและความสาคัญของการศึกษาประวัติศาสตร์ โดยให้นักเรียน
ช่วยกันตอบคาถาม
2. ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายและสรุปเกี่ยวกับความหมายสาคัญของการศึกษา
ประวัติศาสตร์ และความเกี่ยวข้องของเวลากับการศึกษาประวัติศาสตร์
3. ครูให้นักเรียนศึกษาการใช้ช่วงเวลาบอกเล่าเรื่องราวในประวัติศาสตร์ ตามหัวข้อต่างๆ
4. ครูให้นักเรียนค้นคว้าหนังสือที่เกี่ยวกับประวัติศาสตร์ไทยในห้องสมุด แล้วหาคาบอก
ช่วงเวลา ประเภทต่างๆ จากหนังสือนั้น นามาบันทึกข้อมูลตามหัวข้อที่กาหนดให้
5. ครูยกตัวอย่างเรื่องราวในประวัติศาสตร์เหตุการณ์หนึ่ง ให้นักเรียนช่วยกันคิดว่าอยู่ใน
ช่วงเวลา ใดบ้าง โดยใช้รูปแบบการบอกเวลาหลายๆ รูปแบบ เช่น ตรงกับสมัยของ
พระมหากษัตริย์ พระองค์ใด รัฐบาลใด ตรงกับวันทางจันทรคติหรือสุริยคติใด และตรงกับ
ช่วงเวลาพุทธศตวรรษ คริสต์ศตวรรษ หรือทศวรรษใด เป็นต้น
6. ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายและสรุปถึงแนวทางการศึกษาเหตุการณ์ โดยใช้คาบอก
ช่วงเวลา ต่างๆ
7. ครูให้นักเรียนยกตัวอย่างการใช้คาบอกช่วงเวลาประเภทต่างๆ โดยให้ยกสถานการณ์ขึ้น
ประกอบด้วยตนเอง แล้วออกมานาเสนอผลงานที่หน้าชั้น
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
1. ใบความรู้
2. ใบงาน
การวัดผลและประเมินผล
1. สังเกตความตั้งใจในการเรียน
2. ความกระตือรือร้นในการตอบคาถามของนักเรียน
3. ตรวจแบบทดสอบและใบงานของนักเรียน
กิจกรรมเสนอแนะ
………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………….…
………………………..………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………..……
ข้อเสนอแนะของหัวหน้าสถานศึกษา หรือผู้ที่ได้รับมอบหมาย
( ตรวจ / นิเทศ / เสนอแนะ / รับรอง )
………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………….…………………………
…………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………..…………………
ลงชื่อ……………………………………..……..
(………………………………………….)
ตาแหน่ง…………………………………………..
วันที่ ……. เดือน………………..พ.ศ…………
บันทึกผลหลังกระบวนการเรียนรู้
ผลการเรียนรู้
………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………….……………………
……………………………………………………………………………………….………………
ปัญหา / อุปสรรค
………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………..……………
ข้อเสนอแนะ / แนวทางแก้ไข
………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
( ลงชื่อ ) ……………………………..ผู้สอน
( …………………………….)
ตาแหน่ง…………………………………….
…………/…………./………………
ใบความรู้ที่ 1
การศึกษาประวัติศาสตร์คือ การศึกษาเรื่องราวของมนุษย์ที่เกิดขึ้นในอดีตซึ่งเรื่องราว
เหตุการณ์ต่างๆที่เกิดขึ้น อาจส่งผลและมีความสาคัญต่อปัจจุบันการศึกษาประวัติศาสตร์จึงเกี่ยวข้อง
กับเวลา เพราะเมื่อกล่าวถึงเรื่องราวต่างๆทั้งในอดีตและปัจจุบัน และที่จะเกิดขึ้นในอนาคต เราอาจ
กล่าวถึงช่วงเวลาที่เกิดเหตุการณ์นั้นๆซึ่งช่วงเวลาทาให้เรารู้ว่า เหตุการณ์ใดเกิดขึ้นก่อนและหลัง จึง
เห็นได้ว่า เวลา มีความสาคัญ และจาเป็นต่อการศึกษาประวัติศาสตร์เป็นอย่างมาก
การใช้ช่วงเวลาบอกเลาเรื่องราวในประวัติศาสตร์ไทย
เวลาเป็นเครื่องหมายที่สาคัญ และมีความสาคัญเกี่ยวข้องกับเหตุการณ์ต่างๆในประวัติศาสตร์
โดยตรงการใช้คาบอช่วงเวลาในการเล่าเรื่องราวทางประวัติศาสตร์มีหลายแบบ ดังนี้
รูปแบบการบอกเวลา คาบอกช่วงเวลา
บอกอย่างละเอียด วันเดือน ปี (วันที่ 6 เมษายน พ.ศ.2325)
บอกอย่างกว้างๆ พุทธศตวรรษ คริสต์ศตวรรษ ทษวรรษ
บอกเป็นศักราช พุทธศักราช คริสต์ต์ศักราช
บอกเป็นสมัย สมัยหิน สมัยโลหะ สมัยประวัติศาสตร์
บอกตามราชธานี สมัยสุโขทัย สมัยอยุธย สมัยธนบุรี
สมัยรัตนโกสินทร์
บอกตามสมัยพระมหากษัตริย์ สมัยสมเด็จพระนเรศวร(พ.ศ.2133-2148)
สมัยสมเด็จพระเจ้าตากสิน(พ.ศ.2310-2325)
‡‡‡‡‡‡‡‡‡‡‡‡‡‡‡‡‡‡‡‡‡‡‡‡
ใบงานที่ 1
คาชี้แจง : ค้นคว้าหนังสือที่เกี่ยวกับประวัติศาสตร์ไทยในห้องสมุดแล้วหาคาตอบบอกช่วงเวลา
ประเภทต่างๆ
หนังสือ ชื่อ.........................................................................................................................................
คาที่พบ................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................
หนังสือ ชื่อ.........................................................................................................................................
คาที่พบ................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................
หนังสือ ชื่อ.........................................................................................................................................
คาที่พบ................................................................................................................................................
............................................................................................................................................................
ใบงานที่ 2
คาชี้แจง : ยกตัวอย่างการใช้คาบอกช่วงเวลาประเภทต่างๆ โดยให้ยกสถานการณ์ขึ้นประกอบด้วย
ตนเอง
1. ........................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
2. ........................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
3. ........................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
4. ........................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
5. ........................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
แบบสังเกตพฤติกรรมการเรียนรู้รายบุคคลกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ฯ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
หน่วยที่ 1 ช่วงเวลากับประวัติศาสตร์ ประอบแผนที่ 1 เหตุการณ์และคาบอกเวลา
เลข
ที่
ชื่อ – สกุล
ด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์
รวมคะแนนด้านคุณลักษณะฯ
ด้านผลงาน
รวม
ผ่าน/ไม่ผ่าน
มีความรับผิดชอบ
ให้ความร่วมมือและช่วยผู้อื่นได้
ทางานร่วมกับผู้อื่นได้
มีความสนใจใฝ่เรียนรู้
มีความขยันประยัดและอดทน
การทาแบบทดสอบก่อนเรียน
การทาแบบฝึกกิจกรรมชุดที่
2 2 2 2 2 10 10 10 30
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
12
13
ความหมายระดับคุณภาพ 2 หมายถึง ดี เกณฑ์ระดับคะแนน 25 – 30 = 2
1 หมายถึง พอใช้ 18 – 24 = 1
0 หมายถึง ปรับปรุง 0 - 17 = 0
เกณฑ์การผ่าน ได้คะแนน 1 ขึ้นไป
ลงชื่อ...........................................ผู้ประเมิน
( .............................................. )
*******************************************************************************
มาตรฐาน ส 4.1 เข้าใจความหมาย ความสาคัญของเวลา และยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
สามารถใช้วิธีการทางประวัติศาสตร์มาวิเคราะห์เหตุการณ์ต่าง ๆ อย่างเป็น
ระบบ
ตัวชี้วัด
มาตรฐาน ส 4.1 ป.6 / 2 นาเสนอข้อมูลจากหลักฐานที่หลากหลายในการทาความเข้าใจ
เรื่องราวสาคัญในอดีต
สาระสาคัญ
การศึกษาเรื่องการใช้ช่วงเวลาต่างๆ และเหตุการณ์สาคัญในประวัติศาสตร์ไทย ทาให้เกิด
ความรู้ความเข้าใจเรื่องราวและพัฒนาการของประวัติศาสตร์ไทยได้มากยิ่งขึ้น
จุดประสงค์การเรียนรู้
1. อธิบายรูปแบบการบอกเวลา การใช้คาบอกช่วงเวลา และยกตัวอย่างการใช้ได้
4. บอกเล่าเรื่องราวในประวัติศาสตร์ไทยได้
5. ลาดับเหตุการณ์ที่สาคัญในประวัติศาสตร์ไทยตามช่วงเวลาได้
3. บอกความสาคัญและประโยชน์ของการใช้ช่วงเวลาบอกเล่าเรื่องราวในประวัติศาสตร์ไทย
คุณลักษณะอันพึงประสงค์
1. มีความรับผิดชอบ
2 .ให้ความร่วมมือและช่วยเหลือผู้อื่นได้
3. มีความสนใจใฝ่เรียนรู้
4. นาความรู้ที่ได้มาประยุกต์ใช้ได้
5. มีความขยันประหยัดและอดทน
แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ 2
กลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ชั้นประถามศึกษาปีที่ 6
สาระประวัติศาสตร์
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เวลากับประวัติศาสตร์ เวลา ชั่วโมง
เรื่อง เหตุการณ์ในประวัติศาสตร์ไทย เวลา 1 ชั่วโมง
สาระการเรียนรู้
3. การใช้ช่วงเวลาบอกเล่าเรื่องราวในประวัติศาสตร์ไทย
4. เหตุการณ์สาคัญในประวัติศาสตร์ไทย
กระบวนการจัดการเรียนรู้
1. ครูยกตัวอย่างเหตุการณ์สาคัญในประวัติศาสตร์ที่เกิดขึ้นในช่วงเวลาต่างๆ กัน มาให้
นักเรียนเปรียบเทียบว่า เหตุการณ์ใดเกิดขึ้นก่อน - หลัง
2. ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายถึงประโยชน์ของการลาดับเหตุการณ์ ในการศึกษา
เรื่องราวในประวัติศาสตร์ไทย ได้อย่างมีเหตุผลและจดจาเหตุการณ์ก่อน - หลังได้ถูกต้อง
3. ครูให้นักเรียนช่วยกันยกตัวอย่างเรื่องราวในประวัติศาสตร์สมัยใดสมัยหนึ่ง หรือ
เหตุการณ์สาคัญที่สนใจ จากนั้นช่วยกันลาดับ เหตุการณ์เพื่อนาเป็นแนวทางในการปฏิบัติ
4. ครูให้นักเรียนแบ่งกลุ่ม ให้แต่ละกลุ่มสืบค้นเรื่องราวต่างๆ ในประวัติศาสตร์ที่สนใจ 1
เรื่อง แล้วร่วมกันสรุป โดยเรียงลาดับเหตุการณ์ตามลาดับช่วงเวลาให้ถูกต้อง จากนั้นส่งตัวแทน
ออกมารายงานที่หน้าชั้น
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
3. ใบความรู้
4. ใบงาน
การวัดผลและประเมินผล
1. สังเกตความตั้งใจในการเรียน
2. ความกระตือรือร้นในการตอบคาถามของนักเรียน
3. ตรวจแบบทดสอบและใบงานของนักเรียน
กิจกรรมเสนอแนะ
………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………….…
………………………..………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………..……
ข้อเสนอแนะของหัวหน้าสถานศึกษา หรือผู้ที่ได้รับมอบหมาย
( ตรวจ / นิเทศ / เสนอแนะ / รับรอง )
………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………….…………………………
…………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………..…………………
ลงชื่อ……………………………………..……..
(………………………………………….)
ตาแหน่ง…………………………………………..
วันที่ ……. เดือน………………..พ.ศ…………
บันทึกผลหลังกระบวนการเรียนรู้
ผลการเรียนรู้
………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………….……………………
……………………………………………………………………………………….………………
ปัญหา / อุปสรรค
………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………..……………
ข้อเสนอแนะ / แนวทางแก้ไข
………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
( ลงชื่อ ) ……………………………..ผู้สอน
( …………………………….)
ตาแหน่ง…………………………………….
…………/…………./………………
ใบความรู้ที่ 1
การใช้คาบอกช่วงเวลาในประวัติศาสตร์ไทย
ช่วงเวลา ตัวอย่างการใช้
ศตวรรษ หมายถึง พระบรมราชวงศ์จักรี เป็นนาม
รอบ100ปี หรือเวลนานชั่ว100ปี ราชวงศ์พระมหากษัตริย์ไทยในสมัย
รัตนโกสินทร์ โดยมีพระบาทสมเด็จ
พระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชเป็น
พระปฐมกษัตริย์
พุทธศตวรรษ หมายถึง ภายหลังที่ท่านเอซิไซได้นาเอาเซนจาก
รอบ100ปี นับตั้งแต่วันที่ จีนมาเผยแผ่เมื่อพุทธศตวรรษที่12 ได้
พระพุทธเจ้าปรินิพาน ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางวัฒน
ธรรมของชาวญี่ปุ่นทั้งทางด้านวัตถุ
และทางด้านจิตใจหลายประการ
คริสต์ศตวรรษ หมายถึง การก่อตั้งอาณาจักรไทย ตามหลักฐาน
รอบ100ปี นับตั้งแต่วัน การปรากฏของตัวของกลุ่มชนที่ได้พูด
สมภพของพระเยซู ภาษาไทย ปรากฏอยู่ในจารึกของเขมร
ทศวรรษ หมายถึง รอบ10ปี ในปีดังกล่าวได้ทรงยกเลิกทาสให้ทาส
ให้ทาสทุกคนเป็นไท ความห่วงใยต่อ
พสกนิกรยังเห็นได้จากการเสด็จไป
ประพาสต้นในช่วงปลายทศวรรษ2440
ใบงานที่ 1
คาชี้แจง : แบ่งกลุ่มให้แต่ละกลุ่มสืบค้นเรื่องราวต่างๆ ในประวัติศาสตร์ที่สนใจ 1 เรื่อง แล้ว
ร่วมกันสรุปโดยให้เรียงลาดับเหตุการณ์ตามลาดับช่วงเวลาให้ถูกต้อง จากนั้นส่งตัวแทนรายงาน
หน้าชั้น
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
ใบงานที่ 2
คาชี้แจง : ให้นักเรียนกาหนดหัวข้อที่สนใจศึกษาและบอกประเภทของหลักฐานที่จะนามาใช้ศึกษา
ค้นคว้า หัวข้อนั้น
…………………………………………………………………………………………..
…………………………………………………………………………………………..
…………………………………………………………………………………………..
…………………………………………………………………………………………..
…………………………………………………………………………………………..
…………………………………………………………………………………………..
…………………………………………………………………………………………..
…………………………………………………………………………………………..
…………………………………………………………………………………………..
…………………………………………………………………………………………..
…………………………………………………………………………………………..
…………………………………………………………………………………………..
ใบงานที่ 3
คาชี้แจง : ให้นักเรียนร่วมกันอภิปรายว่า การค้นคว้าข้อมูลทางประวัติศาสตร์ได้จากหลักฐาน
อะไรบ้าง
……………………………………
……………………………………
……………………………………
……………………………………
……………………………………
……………………………………
……………………………………
……………………………………
……………………………………
……………………………………
……………………………………
……………………………………
……………………………………
……………………………………
……………………………………
……………………………………
……………………………………
……………………………………
แบบทดสอบก่อน - หลังเรียน
1. คาบอกช่วงเวลาในข้อใด กินระยะเวลานานที่สุด
ก. ศตวรรษ
ข. ปี
ค. ทศวรรษ
ง. เดือน
2. “วันที่ 14 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2545 เป็นรูปแบบการบอกเวลาประเภทใด
ก. แบบจันทรคติ
ข. แบบสุริยคติ
ค. บอกอย่างกว้างๆ
ง. บอกเป็นศักราช
3. “ชวด ฉลู ขาล เถาะ” ปีใดเป็นปีต่อไป
ก. มะเส็ง
ข. มะโรง
ค. มะเมีย
ง. มะแม
4. เมืองใดเป็นเมืองหลวงของไทย
ก. สุโขทัย
ข. อยุธยา
ค. ธนบุรี
ง. กรุงเทพฯ
5. “สมัยนายชวน หลีกภัย”
เป็นรูปแบบการบอกเวลาลักษณะใด
ก. บอกตามรัชกาล
ข. บอกตามราชวงศ์
ค. บอกอย่างละเอียด
ง. บอกตามสมัยของรัฐบาล
6. ข้อใดไม่ใช่ปะโยชน์ของการลาดับเหตุการณ์
ก. ทาให้เข้าใจง่าย
ข. ทาให้ไม่สับสนเรื่องราว
ค. ทาให้ผู้คนยกย่อง
ง. ทาให้เรื่องราวชัดเจน
7. ไตรภูมิพระร่วง แต่งขึ้นในสมัยใด
ก. พ่อขุนรามคาแหงมหาราช
ข. พญาลิไทย
ค. พญาเลอไทย
ง. พ่อขุนบานเมือง
8. สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช ทรงกระทาวีรกรรมสาคัญใด
ก. กู้เอกราช
ข. ตรากฎหมาย
ค. เลิกทาส
ง. ปฏิรูปบ้านเมือง
9. ข้อใด ไม่สัมพันธ์กัน
ก. สมัยสุโขทัย - พ่อขุนรามคาแหง
ข. สมัยอยุธยา - พระเจ้าอู่ทอง
ค. สมัยธนบุรี - สมเด็จพระเจ้าตากสิน
ง. สมัยรัตนโกสินทร์ - พญาลิไทย
10. คณะราษฎร คือใคร
ก. ผู้ปฏิวัติการปกครอง
ข. ราษฎรทั่วไป
ค. ชาวนา
ง. เชื้อพระวงศ์
แบบสังเกตพฤติกรรมการเรียนรู้รายบุคคลกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ฯ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
หน่วยที่ 1 ช่วงเวลากับประวัติศาสตร์ ประอบแผนที่ 2 เหตุการณ์ในประวัติศาสตร์ไทย
เลข
ที่
ชื่อ – สกุล
ด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์
รวมคะแนนด้านคุณลักษณะฯ
ด้านผลงาน
รวม
ผ่าน/ไม่ผ่าน
มีความรับผิดชอบ
ให้ความร่วมมือและช่วยผู้อื่นได้
ทางานร่วมกับผู้อื่นได้
มีความสนใจใฝ่เรียนรู้
มีความขยันประยัดและอดทน
การทาแบบฝึกกิจกรรมชุดที่
การทาแบบฝึกกิจกรรมชุดที่
2 2 2 2 2 10 10 10 30
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
12
13
ความหมายระดับคุณภาพ 2 หมายถึง ดี เกณฑ์ระดับคะแนน 25 – 30 = 2
1 หมายถึง พอใช้ 18 – 24 = 1
0 หมายถึง ปรับปรุง 0 - 17 = 0
เกณฑ์การผ่าน ได้คะแนน 1 ขึ้นไป
ลงชื่อ...........................................ผู้ประเมิน
( .............................................. )
*******************************************************************************
มาตรฐาน ส 4.1 เข้าใจความหมาย ความสาคัญของเวลา และยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
สามารถใช้วิธีการทางประวัติศาสตร์มาวิเคราะห์เหตุการณ์ต่าง ๆ อย่างเป็น
ระบบ
ตัวชี้วัด
มาตรฐาน ส 4.1 ป.6 / 2 นาเสนอข้อมูลจากหลักฐานที่หลากหลายในการทาความเข้าใจ
เรื่องราวสาคัญในอดีต
สาระสาคัญ
การศึกษาวิธีการทางประวัติศาสตร์ และหลักฐานทางประวัติศาสตร์ประเภทต่างๆ ทาให้มี
ความรู้ ความเข้าใจกระบวนการหาความรู้ทางด้านประวัติศาสตร์ และสามารถตรวจสอบความ
ถูกต้องของข้อมูลได้อย่างถูกวิธีตามหลักวิชาการ
จุดประสงค์การเรียนรู้
1. อธิบายรูปแบบการบอกเวลา การใช้คาบอกช่วงเวลา และยกตัวอย่างการใช้ได้
6. บอกเล่าเรื่องราวในประวัติศาสตร์ไทยได้
7. ลาดับเหตุการณ์ที่สาคัญในประวัติศาสตร์ไทยตามช่วงเวลาได้
3. บอกความสาคัญและประโยชน์ของการใช้ช่วงเวลาบอกเล่าเรื่องราวในประวัติศาสตร์ไทย
คุณลักษณะอันพึงประสงค์
1. มีความรับผิดชอบ
2 .ให้ความร่วมมือและช่วยเหลือผู้อื่นได้
3. มีความสนใจใฝ่เรียนรู้
4. นาความรู้ที่ได้มาประยุกต์ใช้ได้
5. ประหยัดและอยู่อย่างพอเพียง
แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ 3
กลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ชั้นประถามศึกษาปีที่ 6
สาระประวัติศาสตร์
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เวลากับประวัติศาสตร์ เวลา ชั่วโมง
เรื่อง คาบอกเวลาช่วงต่างๆ เวลา 1 ชั่วโมง
สาระการเรียนรู้
5. การใช้ช่วงเวลาบอกเล่าเรื่องราวในประวัติศาสตร์ไทย
6. เหตุการณ์สาคัญในประวัติศาสตร์ไทย
กระบวนการจัดการเรียนรู้
1. ครูให้นักเรียนตอบคาถามเกี่ยวกับเรื่องต่างๆ ของประเทศไทย และให้บอกแหล่งข้อมูล
ว่าได้ความรู้นั้นมาอย่างไร
2. ครูให้นักเรียนแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับเรื่องราวต่างๆ ที่เพื่อนเล่าให้ฟัง ว่าน่าเชื่อถือ
หรือไม่ เพราะอะไร แล้วร่วมกันอภิปรายในหัวข้อ การศึกษาเรื่องราวเกี่ยวกับประวัติศาสตร์ ควรใช้
วิธีการใด เพื่อให้ได้ข้อมูลที่ถูกต้อง ตรงตามข้อเท็จจริงมากที่สุด
3. ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายและสรุปถึงวิธีการหาความรู้เกี่ยวกับประเทศของเรา โดย
ใช้วิธีการทางประวัติศาสตร์
4. ครูให้นักเรียนแบ่งกลุ่ม รวมกันวางแผนเพื่อหาความรู้เกี่ยวกับประเทศของเรา แล้ว
บันทึกผล แล้วส่งตัวแทนออกมานาเสนอผลงานที่หน้าชั้น
5. ครูให้นักเรียนสืบค้นข้อมูลทางประวัติศาสตร์ในห้องสมุด แล้วเลือกหัวข้อทาง
ประวัติศาสตร์ที่ สนใจ พร้อมบอกชื่อหนังสือที่คนคว้าและเขียนสรุปเกี่ยวกับเรื่องนี้ให้ชัดเจน
แล้วผลัดกัน นาเสนอผลงานที่หน้าชั้น
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
5. ใบความรู้
6. ใบงาน
การวัดผลและประเมินผล
1. สังเกตความตั้งใจในการเรียน
2. ความกระตือรือร้นในการตอบคาถามของนักเรียน
3. ตรวจแบบทดสอบและใบงานของนักเรียน
กิจกรรมเสนอแนะ
………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………….…
………………………..………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………..……
ข้อเสนอแนะของหัวหน้าสถานศึกษา หรือผู้ที่ได้รับมอบหมาย
( ตรวจ / นิเทศ / เสนอแนะ / รับรอง )
………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………….…………………………
…………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………..…………………
ลงชื่อ……………………………………..……..
(………………………………………….)
ตาแหน่ง…………………………………………..
วันที่ ……. เดือน………………..พ.ศ…………
บันทึกผลหลังกระบวนการเรียนรู้
ผลการเรียนรู้
………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………….……………………
……………………………………………………………………………………….………………
ปัญหา / อุปสรรค
………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………..……………
ข้อเสนอแนะ / แนวทางแก้ไข
………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
( ลงชื่อ ) ……………………………..ผู้สอน
( …………………………….)
ตาแหน่ง…………………………………….
…………/…………./………………
ใบความรู้ที่ 1
การใช้คาบอกช่วงเวลาในงานเขียนด้านประวัติศาสตร์อื่น มีหลายรูปแบบดังตัวอย่างที่กล่าว
ไว้ข้างต้น ทั้งนี้แล้วแต่ความเหมาะสม หรือความประสงค์ของผู้เขียนว่าจะใช้แบบใด จึงจะเหมาะกับ
เหตุการณ์เรื่องราว ที่จะสื่อความหมายให้ผู้อ่านได้อ่านมากที่สุด
เหตุการณ์สาคัญในประวัติศาสตร์ไทย
การลาดับเหตุการณ์ในการศึกษาเรื่องราวในประวัติศาสตร์ไทย จะช่วยให้ผู้ศึกษาเกิดความ
เข้าใจ และสามารถวิเคราะห์เรื่องราวที่เกิดขึ้นได้อย่างมีเหตุผล ทาให้ไม่สบสนในการลาดับความคิด
อีกทั้งสามารถจดจาเหตุการณ์สาคัญตามลาดับถูกต้อง
ลาดับเหตุการณ์สาคัญในประวัติศาสตร์ไทย
ช่วงเวลา เหตุการณ์
พุทธศตวรรษ18-21 สมัยสุโขทัย(พ.ศ.1792-206)
พ.ศ.1826 -พ่อขุนรามคาแหงมหาราชทรง
ประดิษฐ์ลายสือไทย
พ.ศ.1888 -พระมหาธรรมราชาที่1(ลิไทย)ทรง
พระราชนิพนธ์ไตรภูมิพระร่วง
ซึ่งเป็นวรรณคดีทางพระพุทธศาสนา
พุทธศตวรรษที่19-24 สมัยอยุทธยา(พ.ศ.1893-2310)
พ.ศ.1893 -สมเด็จพระรามาธิบดี1(พระเจ้าอู่ทอง)
สถาปนากรุงศรีอยุธยาในบริเวณลุ่ม
แม่น้าเจ้าพระยา
พ.ศ.1902 -พระมหาธรรมราชาที่1 ทรงโปรด
เกล้าฯให้ส่งคนไปนิมนต์พระลังกา
พ.ศ.1921-1931 -สุโขทัยตกเป็นมืองขึ้นของกรุงศรี
อยุธยา
พ.ศ.1996 -กรุงศรีอยุธยาตีได้นครธมราชธานี
ของขอมได้ข้าราชการ พราหมณ์
เจ้านาย ท้ายพระยา ผู้ชานาญต่างๆ
จึงเป็นเหตุผลที่ทาให้มีการปฏิรูป
พ.ศ.2006 -สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ
แห่งกรุงศรีอยุธยาเสด็จไปปกครอง
เมืองพิษณุโลก ถือเป็นการสิ้นสุดของ
อาณาจักรสุโขทัย
พ.ศ.2056 - ชาวโปรตุเกส เป็นชาวตะวันตก
ชาติแรกที่เข้ามาถึงกรุงศรีอยุธยา
พ.ศ.2106 -พระเจ้าบุเรงนองแม่ทัพพม่าทรงยก
ทัพมาไทยใช้ปืนใหญ่สร้างความเสีย
หายในพระนครอย่างมาก
พ.ศ.2111 -สมด็จพระมหาจักรพรรดิสวรรคต
พ.ศ.2112 -เสียกรุงศรีอยุธยาครั้งที่1
พ.ศ.2127 -สมเด็จพระนเรศวรมหาราชประกาศ
อิสรภาพจากพม่า
พ.ศ.2135 -สมเด็จพระนารายณ์มหาราชทรงทา
ยุทธหัตถีกับพระมหาอุปราชพม่า
พ.ศ.2227-2230 -สมัยสมเด็จพระนารายณ์ทรงมีการ
เชื่อมสัมพันธ์กับฝรั่งเศส
พ.ศ.2228 -คณะทูตฝรั่งเศสนาโดย เชอร์วาเลีย
เดอร์โชมอง เข้าสเฝ้าพระนารายณ์
พ.ศ2228-2230 -ออกพระวิสุทธิสนทร(ปาน)ได้เป็น
ราชทูตไปเจริญสัมพันธ์ไมตรีกับ
ฝรั่งเศส
พ.ศ.2310 -เสียกรุงศรีอยุธยาครั้งที่2
มีแต่เรื่องน่ารู้ทั้งนั้นเลย จะจายังไงไหวเนี๊ยะ
แต่ยังไงก็ต้องจาให้ได้ก็มันน่าสนใจจริง ๆ
ใบงานที่ 1
คาชี้แจง : ให้แบ่งกลุ่ม ร่วมกันวางแผนเพื่อหาความรู้เกี่ยวกับประเทศของเราโดยกาหนดหัวข้อหรือ
ประเด็นที่ต้องการศึกษาตามความสนใจ บันทึกข้อมูล และนาเสนอผลงานที่หน้าชั้น
การศึกษาเรื่อง..................................
1. จุดประสงค์ของการศึกษา
........................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................
2. วิธีรวบรวมข้อมูล............................................................................................................................
........................................................................................................................................................
3. วิธีการตรวจสอบข้อมูล...................................................................................................................
........................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................
4. วิธีการตีความและจัดระบบข้อมูล...................................................................................................
........................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................
5. วิธีการนาเสนอข้อมูล......................................................................................................................
........................................................................................................................................................
........................................................................................................................................................
ใบงานที่ 2
คาชี้แจง : สืบค้นข้อมูลทางประวัติศาสตร์ในห้องสมุด แล้วเลือกหัวข้อทางประวัติศาสตร์ไทยที่
สนใจ พร้อมบอกชื่อหนังสือที่ค้นคว้าและเขียนสรุปเกี่ยวกับเรื่องนี้ให้ชัดเจน
หัวข้อที่สนใจ.......................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
รายชื่อหนังสือที่ค้นคว้า.......................................................................................................................
1. ........................................................................................................................................................
2. ........................................................................................................................................................
3. ........................................................................................................................................................
ความรู้ที่ได้รับ......................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
แบบสังเกตพฤติกรรมการเรียนรู้รายบุคคลกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ฯ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
หน่วยที่ 1 ช่วงเวลากับประวัติศาสตร์ ประอบแผนที่ 3 คาบอกเวลาช่วงต่างๆ
เลข
ที่
ชื่อ – สกุล
ด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์
รวมคะแนนด้านคุณลักษณะฯ
ด้านผลงาน
รวม
ผ่าน/ไม่ผ่าน
มีความรับผิดชอบ
ให้ความร่วมมือและช่วยผู้อื่นได้
มีความสนใจใฝ่เรียนรู้
นาความรู้มาประยุกต์ใช้
ประหยัดและอยู่อย่างพอเพียง
การทาแบบฝึกกิจกรรมชุดที่
การทาแบบฝึกกิจกรรมชุดที่
2 2 2 2 2 10 10 10 30
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
12
13
ความหมายระดับคุณภาพ 2 หมายถึง ดี เกณฑ์ระดับคะแนน 25 – 30 = 2
1 หมายถึง พอใช้ 18 – 24 = 1
0 หมายถึง ปรับปรุง 0 - 17 = 0
เกณฑ์การผ่าน ได้คะแนน 1 ขึ้นไป
ลงชื่อ...........................................ผู้ประเมิน
( .............................................. )
*******************************************************************************
มาตรฐาน ส 4.1 เข้าใจความหมาย ความสาคัญของเวลา และยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
สามารถใช้วิธีการทางประวัติศาสตร์มาวิเคราะห์เหตุการณ์ต่าง ๆ อย่างเป็น
ระบบ
ตัวชี้วัด
มาตรฐาน ส 4.1 ป.6 / 2 นาเสนอข้อมูลจากหลักฐานที่หลากหลายในการทาความเข้าใจ
เรื่องราวสาคัญในอดีต
สาระสาคัญ
การศึกษาวิธีการทางประวัติศาสตร์ และหลักฐานทางประวัติศาสตร์ประเภทต่างๆ ทาให้มี
ความรู้ ความเข้าใจกระบวนการหาความรู้ทางด้านประวัติศาสตร์ และสามารถตรวจสอบความ
ถูกต้องของข้อมูลได้อย่างถูกวิธีตามหลักวิชาการ
จุดประสงค์การเรียนรู้
1. อธิบายและยกตัวอย่างวิธีการหาความรู้เกี่ยวกับประเทศของเราได้
2. อธิบายและยกตัวอย่างหลักฐานทางประวัติศาสตร์ประเภทต่าง ๆ ได้
3. ใช้วิธีการทางประวัติศาสตร์ในการศึกษาความเป็นมาของประเทศได้
คุณลักษณะอันพึงประสงค์
1. มีความรับผิดชอบ
2 .ให้ความร่วมมือและช่วยเหลือผู้อื่นได้
3. มีความสนใจใฝ่เรียนรู้
4. นาความรู้ที่ได้มาประยุกต์ใช้ได้
5. ประหยัดและอยู่อย่างพอเพียง
แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ 4
กลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ชั้นประถามศึกษาปีที่ 6
สาระประวัติศาสตร์
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เวลากับประวัติศาสตร์ เวลา ชั่วโมง
เรื่อง หลักฐานทางประวัติศาสตร์ เวลา 1 ชั่วโมง
สาระการเรียนรู้
1. วิธีการหาความรู้เกี่ยวกับประเทศของเรา
2. หลักฐานทางประวัติศาสตร์เกี่ยวกับประเทศของเรา
3. วิธีการประวัติศาสตร์กับการศึกษาความเป็นมาของประเทศ
กระบวนการจัดการเรียนรู้
1. ครูให้นักเรียนตอบคาถามเกี่ยวกับเรื่องราวต่างๆ ของประเทศไทย และให้บอกแหล่ง
ของข้อมูลว่ามาได้อย่างไร
2. ครูให้นักเรียนแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับเรื่องราวต่าง ๆ ที่เพื่อน ๆ เล่าให้ฟัง แล้วร่วม
กันอภิปรายว่า การศึกษาเรื่องราวเกี่ยวกับประวัติศาสตร์ ควรใช้วิธีการใดในการศึกษา เพื่อให้ได้
ข้อมูลที่ถูกต้อง
3. ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปถึงวิธีการหาความรู้เกี่ยวกับประเทศของเรา โดยใช้วิธีการทาง
ประวัติศาสตร์ แล้วจัดทาเป็นผลงานนาเสนอหน้าชั้นเรียน
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
7. ใบความรู้
8. ใบงาน
การวัดผลและประเมินผล
1. สังเกตความตั้งใจในการเรียน
2. ความกระตือรือร้นในการตอบคาถามของนักเรียน
3. ตรวจแบบทดสอบและใบงานของนักเรียน
กิจกรรมเสนอแนะ
………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………….…
………………………..………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………..……
ข้อเสนอแนะของหัวหน้าสถานศึกษา หรือผู้ที่ได้รับมอบหมาย
( ตรวจ / นิเทศ / เสนอแนะ / รับรอง )
………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………….…………………………
…………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………..…………………
ลงชื่อ……………………………………..……..
(………………………………………….)
ตาแหน่ง…………………………………………..
วันที่ ……. เดือน………………..พ.ศ…………
บันทึกผลหลังกระบวนการเรียนรู้
ผลการเรียนรู้
………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………….……………………
……………………………………………………………………………………….………………
ปัญหา / อุปสรรค
………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………..……………
ข้อเสนอแนะ / แนวทางแก้ไข
………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
( ลงชื่อ ) ……………………………..ผู้สอน
( …………………………….)
ตาแหน่ง…………………………………….
…………/…………./………………
ใบความรู้ที่ 1
วิธีการหาความรู้เกี่ยวกับประเทศของเรา
1.1 การกาหนดหัวข้อหรือประเด็นที่ต้องการศึกษา คือ การกาหนดหัวข้อหรือประเด็นที่
สนใจต้องการที่จะศึกษาค้นคว้าให้ชัดเจนและควบคุม เพื่อที่จะวางแผนในการเก็บรวบรวมข้อมูล
อย่างถูกต้องและสมบรูณ์ในขั้นต่อไป เช่น การศึกษาเรื่องการกู้ชาติของสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช
เรื่องการปฏิวัติของคณะราษฎร เป็นต้น
1.2 การรวบรวมข้อมูล เป็นการรวบรวมรายละเอียดและหลักฐานของเรื่องราวที่เกี่ยวข้องกับ
หัวข้อหรือประเด็นที่จะศึกษา โดยศึกษาค้นคว้าจากหลักฐานชั้นรองก่อน เช่น หนังสือที่มีผู้เรียบเรียง
ตีความไว้ จากอินเทอร์เนต จากแถบบันทึกเสียง หรือแผ่นบันทึก เป็นต้น ต่อจากนั้นจึงศึกษาเพิ่มเติม
จากหลักฐานชั้นต้น เช่นตานาน สมุดบันทึก พงศาวดาร จารึก ภาพถ่าย เป็นต้น
การศึกษาประวัติศาสตร์ สามารถหาข้อมูลด้วยวิธีการต่างๆประกอบกัน เช่น
1.การสัมภาษณ์
2.การใช้แบบสอบถาม
3.การใช้แบบประเมิน
4.การสืบค้นข้อมูลในท้องถิ่น
5.การศึกษาเครื่องใช้และสิ่งของต่างๆ
6.การบันทึกภาพและเสียง
โฮโฮ้… เรื่องนี้น่าสนใจจังเลย
ต้องตั้งใจอ่านซะแล้ว..
1.3 การตรวจสอบข้อมูล เป็นการตรวจสอบความถูกต้อง พื่อหาความน่าเชื่อถือของข้อมูลเช่น
พิจารณาว่าใครเป็นคนบอกเล่า ใครเป็นคนเขียน หรือใครเป็นคนทาขึ้น มีความเชี่ยวชาญ หรือมี
ความรู้เฉพาะทางหรือไม่เพียงใด
1.4 การตีความข้อมูลและจัดระบบข้อมูล คือการนาข้อมูลที่รวบรวมและตรวจสอบอย่าง
ถูกต้องชัดเจนแล้ว มาใช้ประโยชน์ต่อไป โดยพิจารณาอย่างละเอียดถี่ถ้วนและวิเคราะห์ว่า เราจะรับ
ความรู้ใดบ้างจากข้อมูลดังกล่าว แล้วนาข้อมูลนั้นมาแยกประเภท จัดหมวดหมู่ เรียงลาดับตาม
เหตุการณ์เวลาเพื่อประโชน์ในการนาไปใช้ศึกษาหรืออ้างอิงต่อไป
1.5 การนาเสนอข้อมูล เป็นการนาเสนอ ข้อมูลที่ได้จากหลักฐานอ้างอิงที่เชื่อถือได้แล้วนามา
เสนออย่างเป็นกลางโดยการเขียนรายงาน การบรรยายในที่ประชุม การเขียนเรียงความ เป็นต้น
เพื่อน ๆ เข้าใจไหมครับ หากไม่เข้าใจ
ถามคุณครูนะครับ จะได้สอบผ่าน..
หมูน้อยเข้าใจแล้ว
ใบงานที่ 1
คาชี้แจง : ให้แบ่งกลุ่ม วางแผนเพื่อหาความรู้เกี่ยวกับประเทศของเรา โดยกาหนดหัวข้อตามความ
สนใจ บันทึกผลข้อมูล และนาเสนอหน้าชั้นเรียน
การศึกษา เรื่อง …………………………………..
1. จุดประสงค์ของการศึกษา
……………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………
2. วิธีการรวบรวมข้อมูล
……………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………
3. วิธีการตรวจสอบข้อมูล
……………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………
4. วิธีการตีความและจัดระบบข้อมูล
……………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………
5. วิธีการนาเสนอข้อมูล
……………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………
แบบสังเกตพฤติกรรมการเรียนรู้รายบุคคลกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ฯ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
หน่วยที่ 1 ช่วงเวลากับประวัติศาสตร์ ประอบแผนที่ 4 หลักฐานทางประวัติศาสตร์
เลข
ที่
ชื่อ – สกุล
ด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์
รวมคะแนนด้านคุณลักษณะฯ
ด้านผลงาน
รวม
ผ่าน/ไม่ผ่าน
มีความรับผิดชอบ
ให้ความร่วมมือและช่วยผู้อื่นได้
มีความสนใจใฝ่เรียนรู้
นาความรู้มาประยุกต์ใช้
ประหยัดและอยู่อย่างพอเพียง
การทาแบบฝึกกิจกรรมชุดที่
การทาแบบฝึกกิจกรรมชุดที่
2 2 2 2 2 10 10 10 30
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
12
13
ความหมายระดับคุณภาพ 2 หมายถึง ดี เกณฑ์ระดับคะแนน 25 – 30 = 2
1 หมายถึง พอใช้ 18 – 24 = 1
0 หมายถึง ปรับปรุง 0 - 17 = 0
เกณฑ์การผ่าน ได้คะแนน 1 ขึ้นไป
ลงชื่อ...........................................ผู้ประเมิน
( .............................................. )
*******************************************************************************
มาตรฐาน ส 4.1 เข้าใจความหมาย ความสาคัญของเวลา และยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
สามารถใช้วิธีการทางประวัติศาสตร์มาวิเคราะห์เหตุการณ์ต่าง ๆ อย่างเป็น
ระบบ
ตัวชี้วัด
มาตรฐาน ส 4.1 ป.6 / 2 นาเสนอข้อมูลจากหลักฐานที่หลากหลายในการทาความเข้าใจ
เรื่องราวสาคัญในอดีต
สาระสาคัญ
การศึกษาวิธีการทางประวัติศาสตร์ และหลักฐานทางประวัติศาสตร์ประเภทต่างๆ ทาให้มี
ความรู้ ความเข้าใจกระบวนการหาความรู้ทางด้านประวัติศาสตร์ และสามารถตรวจสอบความ
ถูกต้องของข้อมูลได้อย่างถูกวิธีตามหลักวิชาการ
จุดประสงค์การเรียนรู้
4. อธิบายและยกตัวอย่างวิธีการหาความรู้เกี่ยวกับประเทศของเราได้
5. อธิบายและยกตัวอย่างหลักฐานทางประวัติศาสตร์ประเภทต่าง ๆ ได้
6. ใช้วิธีการทางประวัติศาสตร์ในการศึกษาความเป็นมาของประเทศได้
คุณลักษณะอันพึงประสงค์
1. มีความรับผิดชอบ
2 .ให้ความร่วมมือและช่วยเหลือผู้อื่นได้
3. มีความสนใจใฝ่เรียนรู้
4. นาความรู้ที่ได้มาประยุกต์ใช้ได้
5. ประหยัดและอยู่อย่างพอเพียง
แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ 5
กลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ชั้นประถามศึกษาปีที่ 6
สาระประวัติศาสตร์
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เวลากับประวัติศาสตร์ เวลา ชั่วโมง
เรื่อง หลักฐานทางประวัติศาสตร์ เวลา 1 ชั่วโมง
สาระการเรียนรู้
4. วิธีการหาความรู้เกี่ยวกับประเทศของเรา
5. หลักฐานทางประวัติศาสตร์เกี่ยวกับประเทศของเรา
6. วิธีการประวัติศาสตร์กับการศึกษาความเป็นมาของประเทศ
กระบวนการจัดการเรียนรู้
1. ครูยกตัวอย่างตานาน จารึก หรือพงศาวดาร มาให้นักเรียนพิจารณาว่า ได้เรียนรู้
อะไรบ้างจาก ด้านบน จารึก หรือพงศาวดารต่างๆ และจะนามาใช้ประโยชน์เพื่อการศึกษา
เกี่ยวกับประเทศ ของเราได้อย่างไร
2. ครูให้นักเรียนเปรียบเทียบความเหมือนความแตกต่างของตานาน จารึก และพงศาวดาร แล้ว
เขียนสรุปเป็นลักษณะเฉพาะของแต่ละอย่าง และยกตัวอย่างประกอบ จากนั้นให้นักเรียนแบ่ง
ประเภทของหลักฐานทางประวัติศาสตร์เกี่ยวกับความเป็นมาของประเทศไทย แล้วร่วมกัน
อภิปรายและสรุปว่า แบ่งเป็นประเภทใหญ่ๆ ได้ 2 ประเภท คือ หลักฐานที่เป็นลายลักษณ์ อักษร
และหลักฐานที่ไม่เป็นลายลักษณ์อักษร
3. ครูให้นักเรียน 3-4 คน ออกมานาเสนอหน้าชั้นเรียน
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
9. ใบความรู้
10. ใบงาน
การวัดผลและประเมินผล
1. สังเกตความตั้งใจในการเรียน
2. ความกระตือรือร้นในการตอบคาถามของนักเรียน
3. ตรวจแบบทดสอบและใบงานของนักเรียน
กิจกรรมเสนอแนะ
………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………….…
………………………..………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………..……
ข้อเสนอแนะของหัวหน้าสถานศึกษา หรือผู้ที่ได้รับมอบหมาย
( ตรวจ / นิเทศ / เสนอแนะ / รับรอง )
………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………….…………………………
…………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………..…………………
ลงชื่อ……………………………………..……..
(………………………………………….)
ตาแหน่ง…………………………………………..
วันที่ ……. เดือน………………..พ.ศ…………
บันทึกผลหลังกระบวนการเรียนรู้
ผลการเรียนรู้
………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………….……………………
……………………………………………………………………………………….………………
ปัญหา / อุปสรรค
………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………..……………
ข้อเสนอแนะ / แนวทางแก้ไข
………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
( ลงชื่อ ) ……………………………..ผู้สอน
( …………………………….)
ตาแหน่ง…………………………………….
…………/…………./………………
ใบความรู้ที่ 1
หลักฐานทางประวัติศาสตร์ในการศึกษาเกี่ยวกับประเทศของเรา
หลักฐานทางประวัติศาสตร์เกี่ยวกับความเป็นมาของประเทศไทยมีหลายประเภท สามารถ
แบ่งเป็นประเภทใหญ่ ได้2 ประเภท
2.1 หลักฐานที่เป็นลายลักษณ์อักษร
1) ตานาน เป็นเรื่องเล่าต่อๆกันมา และมีการจดบันทึกวันในภายหลัง เช่น เรื่องเกี่ยวกับความ
เชื่อถือทางศาสนาต่างๆ ความเป็นมาของสถานที่ต่างๆ ซึ่งมักมีเรื่องของปาฎิหาริย์ เรื่องราวของพวก
กฎแห่งกรรม และคติเตือนใจ
เรื่องราวในตานานมักจะสะท้อนความคิด ความเชื่อ วิถีชีวิต
ของชาวบ้าน มากกว่าเหตุผลจากข้อเท็จจริง ดังนั้นการใช้ข้อมูลจาก
ตานาน จึงต้องมีความรอบคอบระมัดระวัง ควรพิจารณาประกอบกับ
หลักฐานอื่น
2) จารึก เป็นหลักฐานที่เขียนกัน เพื่อเล่าถึงเรื่องราว หรือ เหตุการ์ต่างๆ ที่เกิดขึ้นในบ้านเมือง
เช่นประวัติบุคคลสาคัญ วิถีชีวิตของชาวเมืองวิธีการปกครอง และความเจริญรุ่งเรืองในสมัยนั้นๆ
เป็นต้น ตัวอย่างจารึก เช่น ศิลาจารึกวัดป่าม่วง เป็นต้น
3) พงศาวดาร เป็นการบันทึกเรื่องราวของ
เหตุการณ์เกี่ยวกับประเทศชาติ หรือพระมหากษัตริย์ผู้เป็น
ประมุขของประเทศนั้น มักแสดงให้เห็นถึงบุญาบารมี ความ
เก่งกล้าสามารถเป็นพิเศษของกษัตริย์ในสมัยนั้นๆ และ
เขียนขึ้นโดยการควบคุมจากราชสานัก โดยส่วนมากจะ
กล่าวถึงที่ด้านที่ดี ที่เป็นประโยชน์ หรือยกย่องสรรเสริญ
ความเจริญรุ่งเรืองของประเทศชาติ และคุณธรรมความดี
ของพระมหากษัตริย์
4) เอกสารราชการ เป็นเอกสารที่เกี่ยวกับเรื่องราว
ต่าง ๆในด้านการบริหาร การปกครอง บ้านเมืองของหน่วย
ราชการในสมัยต่างๆ เช่น พระราชบัญญัติ รายงานการ
ประชุม นโยบาย ประกาศ ข้อมูลทางสถิติ ต่างๆ เป็นต้น
2.2 หลักฐานที่ไม่เป็นลายลักษณ์อักษร
ได้แก่ หลักฐานประเภทโบราณสถาน โบราณวัตถุ สิ่งของเครื่องใช้ ภาพถ่าย ภาพวาด
ศิลปะต่างๆ เป็นต้น
ในการศึกษาประวัติศาสตร์ความเป็นมาของประเทศไทย ผู้ศึกษาสามารถศึกษาหลักฐานทาง
ประวัติศาสตร์ประเภทต่างๆ ได้ตามความเหมาะสม และสามารถนาหลักฐานมาประกอบการ
วิเคราะห์ข้อเท็จจริง ในการอภิปราย หรืออธิบายเหตุการณ์ต่างๆได้ โดยอาจใช้หลักฐานชั้นต้น
หลักฐานชั้นรอง หลักฐานที่ไม่เป็นลายลักษณ์อักษรประกอบนั้น
การศึกษาประวัติศาสตร์ของท้องถิ่น อาจศึกษาจากเอกสารทางราชการ โบราณสถาน บา
รณวัตถุ ภาพวาด ศิลปะ ต่างๆ ที่เกิดจากภูมิปัญญาชาวบ้าน และตานานพื้นบ้านในท้องถิ่นนั้น
ประกอบกัน
ใบความรู้ที่ 2
แหล่งข้อมูลที่ใช้ศึกษาค้นคว้าโดยทั่วไป เช่น
1) ห้องสมุดต่างๆ
2) วัดต่างๆ เช่น วัดมะขามเฒ่า จังหวัดชัยนาท ซึ้งภายในพระอุโบสถมีภาพเขียนฝีพระหัตถ์
ของกรมหลวงชุมพรเขตอุดมศักดิ์ และมีตานานเล่าเกี่ยวกับนายมะขามเฒ่า
แหล่งข้อมูลทางราชการ
1) สานักหอสมุดแห่งชาติ กรุงเทพมหานคร
2) กรมศิลปากร
3) สานักหอจดหมายเหตุแห่งชาติ
4) พิพิธภัณฑ์สถานทางราชการและเอกชนทั้งในกรุงเทพมหานครและต่างจังหวัด เช่น
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ ที่กรุงเทพฯ พิพิธภัณฑ์เครื่องปั้นดินเผา ของชาวไทยเชื้อสายมอญที่จังหวัด
กาญจนบุรี เป็นต้น
ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์

More Related Content

What's hot

บทเรียนสำเร็จรูป ประวัติศาสตร์สมัยสุโขทัย
บทเรียนสำเร็จรูป ประวัติศาสตร์สมัยสุโขทัยบทเรียนสำเร็จรูป ประวัติศาสตร์สมัยสุโขทัย
บทเรียนสำเร็จรูป ประวัติศาสตร์สมัยสุโขทัยairja
 
กำนดม.2ภูมิปัญญา
กำนดม.2ภูมิปัญญากำนดม.2ภูมิปัญญา
กำนดม.2ภูมิปัญญาkrusuparat01
 
ปฏิทินกับวันสำคัญ+545+T1 p1 3-his_01
ปฏิทินกับวันสำคัญ+545+T1 p1 3-his_01ปฏิทินกับวันสำคัญ+545+T1 p1 3-his_01
ปฏิทินกับวันสำคัญ+545+T1 p1 3-his_01
Prachoom Rangkasikorn
 
เอกสารประกอบการเรียประวัติศาสตร์
เอกสารประกอบการเรียประวัติศาสตร์เอกสารประกอบการเรียประวัติศาสตร์
เอกสารประกอบการเรียประวัติศาสตร์
พัน พัน
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๓
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๓แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๓
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๓krusuparat01
 
การสร้างองค์ความรู้ใหม่ทางประวัติศาสตร์ไทย
การสร้างองค์ความรู้ใหม่ทางประวัติศาสตร์ไทยการสร้างองค์ความรู้ใหม่ทางประวัติศาสตร์ไทย
การสร้างองค์ความรู้ใหม่ทางประวัติศาสตร์ไทย
SAKANAN ANANTASOOK
 

What's hot (18)

เอกสารประกอบการเรียนเล่ม3
เอกสารประกอบการเรียนเล่ม3เอกสารประกอบการเรียนเล่ม3
เอกสารประกอบการเรียนเล่ม3
 
บทเรียนสำเร็จรูป ประวัติศาสตร์สมัยสุโขทัย
บทเรียนสำเร็จรูป ประวัติศาสตร์สมัยสุโขทัยบทเรียนสำเร็จรูป ประวัติศาสตร์สมัยสุโขทัย
บทเรียนสำเร็จรูป ประวัติศาสตร์สมัยสุโขทัย
 
กำนดม.2ภูมิปัญญา
กำนดม.2ภูมิปัญญากำนดม.2ภูมิปัญญา
กำนดม.2ภูมิปัญญา
 
เอกสารประกอบการเรียนเล่ม2
เอกสารประกอบการเรียนเล่ม2เอกสารประกอบการเรียนเล่ม2
เอกสารประกอบการเรียนเล่ม2
 
ปฏิทินกับวันสำคัญ+545+T1 p1 3-his_01
ปฏิทินกับวันสำคัญ+545+T1 p1 3-his_01ปฏิทินกับวันสำคัญ+545+T1 p1 3-his_01
ปฏิทินกับวันสำคัญ+545+T1 p1 3-his_01
 
เอกสารประกอบการเรียประวัติศาสตร์
เอกสารประกอบการเรียประวัติศาสตร์เอกสารประกอบการเรียประวัติศาสตร์
เอกสารประกอบการเรียประวัติศาสตร์
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๑
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๑แผนการจัดการเรียนรู้ที่๑
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๑
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๕
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๕แผนการจัดการเรียนรู้ที่๕
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๕
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๗
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๗แผนการจัดการเรียนรู้ที่๗
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๗
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๘
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๘แผนการจัดการเรียนรู้ที่๘
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๘
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๖
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๖แผนการจัดการเรียนรู้ที่๖
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๖
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๔
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๔แผนการจัดการเรียนรู้ที่๔
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๔
 
หน่วยที่๔
หน่วยที่๔หน่วยที่๔
หน่วยที่๔
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๓
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๓แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๓
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๓
 
การสร้างองค์ความรู้ใหม่ทางประวัติศาสตร์ไทย
การสร้างองค์ความรู้ใหม่ทางประวัติศาสตร์ไทยการสร้างองค์ความรู้ใหม่ทางประวัติศาสตร์ไทย
การสร้างองค์ความรู้ใหม่ทางประวัติศาสตร์ไทย
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๙
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๙แผนการจัดการเรียนรู้ที่๙
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๙
 
หน่วยที่๘
หน่วยที่๘หน่วยที่๘
หน่วยที่๘
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๓
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๓แผนการจัดการเรียนรู้ที่๓
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๓
 

Similar to ประวัติศาสตร์

แผนที16
แผนที16แผนที16
แผนที16
wiriyakit kettong
 
บทที่ 5 ประวัติความเป็นมาการจัดการศึกาปฐมวัยในประเทศไทย 55
บทที่ 5 ประวัติความเป็นมาการจัดการศึกาปฐมวัยในประเทศไทย 55บทที่ 5 ประวัติความเป็นมาการจัดการศึกาปฐมวัยในประเทศไทย 55
บทที่ 5 ประวัติความเป็นมาการจัดการศึกาปฐมวัยในประเทศไทย 55Decode Ac
 
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 6 การแพร่
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 6 การแพร่แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 6 การแพร่
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 6 การแพร่Wann Rattiya
 
สารานุกรม (Encyclopedias)
สารานุกรม  (Encyclopedias)สารานุกรม  (Encyclopedias)
สารานุกรม (Encyclopedias)Srion Janeprapapong
 
แผนย่อเทอม 1
แผนย่อเทอม 1แผนย่อเทอม 1
แผนย่อเทอม 1krunimsocial
 
แผนย่อเทอม 1
แผนย่อเทอม 1แผนย่อเทอม 1
แผนย่อเทอม 1krunimsocial
 

Similar to ประวัติศาสตร์ (7)

แผนที16
แผนที16แผนที16
แผนที16
 
Is2ขั้นตอนการเขียรายงาน
Is2ขั้นตอนการเขียรายงานIs2ขั้นตอนการเขียรายงาน
Is2ขั้นตอนการเขียรายงาน
 
บทที่ 5 ประวัติความเป็นมาการจัดการศึกาปฐมวัยในประเทศไทย 55
บทที่ 5 ประวัติความเป็นมาการจัดการศึกาปฐมวัยในประเทศไทย 55บทที่ 5 ประวัติความเป็นมาการจัดการศึกาปฐมวัยในประเทศไทย 55
บทที่ 5 ประวัติความเป็นมาการจัดการศึกาปฐมวัยในประเทศไทย 55
 
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 6 การแพร่
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 6 การแพร่แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 6 การแพร่
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 6 การแพร่
 
สารานุกรม (Encyclopedias)
สารานุกรม  (Encyclopedias)สารานุกรม  (Encyclopedias)
สารานุกรม (Encyclopedias)
 
แผนย่อเทอม 1
แผนย่อเทอม 1แผนย่อเทอม 1
แผนย่อเทอม 1
 
แผนย่อเทอม 1
แผนย่อเทอม 1แผนย่อเทอม 1
แผนย่อเทอม 1
 

ประวัติศาสตร์

  • 1. ******************************************************************************* มาตรฐาน ส 4.1 เข้าใจความหมาย ความสาคัญของเวลา และยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ สามารถใช้วิธีการทางประวัติศาสตร์มาวิเคราะห์เหตุการณ์ต่าง ๆ อย่างเป็น ระบบ ตัวชี้วัด มาตรฐาน ส 4.1 ป.6 / 1 อธิบายความสาคัญของวิธีการทางประวัติศาสตร์ในการศึกษา เรื่องราวทางประวัติศาสตร์อย่างง่าย ๆ สาระสาคัญ การศึกษาเรื่องการใช้ช่วงเวลาต่างๆ และเหตุการณ์สาคัญในประวัติศาสตร์ไทย ทาให้เกิด ความรู้ความเข้าใจเรื่องราวและพัฒนาการของประวัติศาสตร์ไทยได้มากยิ่งขึ้น จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. อธิบายรูปแบบการบอกเวลา การใช้คาบอกช่วงเวลา และยกตัวอย่างการใช้ได้ 2. บอกเล่าเรื่องราวในประวัติศาสตร์ไทยได้ 3. ลาดับเหตุการณ์ที่สาคัญในประวัติศาสตร์ไทยตามช่วงเวลาได้ 3. บอกความสาคัญและประโยชน์ของการใช้ช่วงเวลาบอกเล่าเรื่องราวในประวัติศาสตร์ไทย คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 1. มีความรับผิดชอบ 2 .ให้ความร่วมมือและช่วยเหลือผู้อื่นได้ 3. มีความสนใจใฝ่เรียนรู้ 4. นาความรู้ที่ได้มาประยุกต์ใช้ได้ 5. มีความขยันประหยัดและอดทน แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ 1 กลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ชั้นประถามศึกษาปีที่ 6 สาระประวัติศาสตร์ หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เวลากับประวัติศาสตร์ เวลา ชั่วโมง เรื่อง เหตุการณ์และคาบอกเวลา เวลา 1 ชั่วโมง
  • 2. สาระการเรียนรู้ 1. การใช้ช่วงเวลาบอกเล่าเรื่องราวในประวัติศาสตร์ไทย 2. เหตุการณ์สาคัญในประวัติศาสตร์ไทย กระบวนการจัดการเรียนรู้ 1. ครูทบทวนความหมายและความสาคัญของการศึกษาประวัติศาสตร์ โดยให้นักเรียน ช่วยกันตอบคาถาม 2. ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายและสรุปเกี่ยวกับความหมายสาคัญของการศึกษา ประวัติศาสตร์ และความเกี่ยวข้องของเวลากับการศึกษาประวัติศาสตร์ 3. ครูให้นักเรียนศึกษาการใช้ช่วงเวลาบอกเล่าเรื่องราวในประวัติศาสตร์ ตามหัวข้อต่างๆ 4. ครูให้นักเรียนค้นคว้าหนังสือที่เกี่ยวกับประวัติศาสตร์ไทยในห้องสมุด แล้วหาคาบอก ช่วงเวลา ประเภทต่างๆ จากหนังสือนั้น นามาบันทึกข้อมูลตามหัวข้อที่กาหนดให้ 5. ครูยกตัวอย่างเรื่องราวในประวัติศาสตร์เหตุการณ์หนึ่ง ให้นักเรียนช่วยกันคิดว่าอยู่ใน ช่วงเวลา ใดบ้าง โดยใช้รูปแบบการบอกเวลาหลายๆ รูปแบบ เช่น ตรงกับสมัยของ พระมหากษัตริย์ พระองค์ใด รัฐบาลใด ตรงกับวันทางจันทรคติหรือสุริยคติใด และตรงกับ ช่วงเวลาพุทธศตวรรษ คริสต์ศตวรรษ หรือทศวรรษใด เป็นต้น 6. ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายและสรุปถึงแนวทางการศึกษาเหตุการณ์ โดยใช้คาบอก ช่วงเวลา ต่างๆ 7. ครูให้นักเรียนยกตัวอย่างการใช้คาบอกช่วงเวลาประเภทต่างๆ โดยให้ยกสถานการณ์ขึ้น ประกอบด้วยตนเอง แล้วออกมานาเสนอผลงานที่หน้าชั้น สื่อและแหล่งการเรียนรู้ 1. ใบความรู้ 2. ใบงาน การวัดผลและประเมินผล 1. สังเกตความตั้งใจในการเรียน 2. ความกระตือรือร้นในการตอบคาถามของนักเรียน 3. ตรวจแบบทดสอบและใบงานของนักเรียน
  • 3. กิจกรรมเสนอแนะ ……………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………….… ………………………..……………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………..…… ข้อเสนอแนะของหัวหน้าสถานศึกษา หรือผู้ที่ได้รับมอบหมาย ( ตรวจ / นิเทศ / เสนอแนะ / รับรอง ) ……………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………….………………………… ………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………..………………… ลงชื่อ……………………………………..…….. (………………………………………….) ตาแหน่ง………………………………………….. วันที่ ……. เดือน………………..พ.ศ…………
  • 4. บันทึกผลหลังกระบวนการเรียนรู้ ผลการเรียนรู้ ……………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………….…………………… ……………………………………………………………………………………….……………… ปัญหา / อุปสรรค ……………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………..…………… ข้อเสนอแนะ / แนวทางแก้ไข ……………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………… ( ลงชื่อ ) ……………………………..ผู้สอน ( …………………………….) ตาแหน่ง……………………………………. …………/…………./………………
  • 5. ใบความรู้ที่ 1 การศึกษาประวัติศาสตร์คือ การศึกษาเรื่องราวของมนุษย์ที่เกิดขึ้นในอดีตซึ่งเรื่องราว เหตุการณ์ต่างๆที่เกิดขึ้น อาจส่งผลและมีความสาคัญต่อปัจจุบันการศึกษาประวัติศาสตร์จึงเกี่ยวข้อง กับเวลา เพราะเมื่อกล่าวถึงเรื่องราวต่างๆทั้งในอดีตและปัจจุบัน และที่จะเกิดขึ้นในอนาคต เราอาจ กล่าวถึงช่วงเวลาที่เกิดเหตุการณ์นั้นๆซึ่งช่วงเวลาทาให้เรารู้ว่า เหตุการณ์ใดเกิดขึ้นก่อนและหลัง จึง เห็นได้ว่า เวลา มีความสาคัญ และจาเป็นต่อการศึกษาประวัติศาสตร์เป็นอย่างมาก การใช้ช่วงเวลาบอกเลาเรื่องราวในประวัติศาสตร์ไทย เวลาเป็นเครื่องหมายที่สาคัญ และมีความสาคัญเกี่ยวข้องกับเหตุการณ์ต่างๆในประวัติศาสตร์ โดยตรงการใช้คาบอช่วงเวลาในการเล่าเรื่องราวทางประวัติศาสตร์มีหลายแบบ ดังนี้ รูปแบบการบอกเวลา คาบอกช่วงเวลา บอกอย่างละเอียด วันเดือน ปี (วันที่ 6 เมษายน พ.ศ.2325) บอกอย่างกว้างๆ พุทธศตวรรษ คริสต์ศตวรรษ ทษวรรษ บอกเป็นศักราช พุทธศักราช คริสต์ต์ศักราช บอกเป็นสมัย สมัยหิน สมัยโลหะ สมัยประวัติศาสตร์ บอกตามราชธานี สมัยสุโขทัย สมัยอยุธย สมัยธนบุรี สมัยรัตนโกสินทร์ บอกตามสมัยพระมหากษัตริย์ สมัยสมเด็จพระนเรศวร(พ.ศ.2133-2148) สมัยสมเด็จพระเจ้าตากสิน(พ.ศ.2310-2325) ‡‡‡‡‡‡‡‡‡‡‡‡‡‡‡‡‡‡‡‡‡‡‡‡
  • 6. ใบงานที่ 1 คาชี้แจง : ค้นคว้าหนังสือที่เกี่ยวกับประวัติศาสตร์ไทยในห้องสมุดแล้วหาคาตอบบอกช่วงเวลา ประเภทต่างๆ หนังสือ ชื่อ......................................................................................................................................... คาที่พบ................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................ หนังสือ ชื่อ......................................................................................................................................... คาที่พบ................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................ หนังสือ ชื่อ......................................................................................................................................... คาที่พบ................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................
  • 7. ใบงานที่ 2 คาชี้แจง : ยกตัวอย่างการใช้คาบอกช่วงเวลาประเภทต่างๆ โดยให้ยกสถานการณ์ขึ้นประกอบด้วย ตนเอง 1. ........................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................. 2. ........................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................. 3. ........................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................. 4. ........................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................. 5. ........................................................................................................................................................ .............................................................................................................................................................
  • 8. แบบสังเกตพฤติกรรมการเรียนรู้รายบุคคลกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ฯ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 หน่วยที่ 1 ช่วงเวลากับประวัติศาสตร์ ประอบแผนที่ 1 เหตุการณ์และคาบอกเวลา เลข ที่ ชื่อ – สกุล ด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์ รวมคะแนนด้านคุณลักษณะฯ ด้านผลงาน รวม ผ่าน/ไม่ผ่าน มีความรับผิดชอบ ให้ความร่วมมือและช่วยผู้อื่นได้ ทางานร่วมกับผู้อื่นได้ มีความสนใจใฝ่เรียนรู้ มีความขยันประยัดและอดทน การทาแบบทดสอบก่อนเรียน การทาแบบฝึกกิจกรรมชุดที่ 2 2 2 2 2 10 10 10 30 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 ความหมายระดับคุณภาพ 2 หมายถึง ดี เกณฑ์ระดับคะแนน 25 – 30 = 2 1 หมายถึง พอใช้ 18 – 24 = 1 0 หมายถึง ปรับปรุง 0 - 17 = 0 เกณฑ์การผ่าน ได้คะแนน 1 ขึ้นไป ลงชื่อ...........................................ผู้ประเมิน ( .............................................. )
  • 9. ******************************************************************************* มาตรฐาน ส 4.1 เข้าใจความหมาย ความสาคัญของเวลา และยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ สามารถใช้วิธีการทางประวัติศาสตร์มาวิเคราะห์เหตุการณ์ต่าง ๆ อย่างเป็น ระบบ ตัวชี้วัด มาตรฐาน ส 4.1 ป.6 / 2 นาเสนอข้อมูลจากหลักฐานที่หลากหลายในการทาความเข้าใจ เรื่องราวสาคัญในอดีต สาระสาคัญ การศึกษาเรื่องการใช้ช่วงเวลาต่างๆ และเหตุการณ์สาคัญในประวัติศาสตร์ไทย ทาให้เกิด ความรู้ความเข้าใจเรื่องราวและพัฒนาการของประวัติศาสตร์ไทยได้มากยิ่งขึ้น จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. อธิบายรูปแบบการบอกเวลา การใช้คาบอกช่วงเวลา และยกตัวอย่างการใช้ได้ 4. บอกเล่าเรื่องราวในประวัติศาสตร์ไทยได้ 5. ลาดับเหตุการณ์ที่สาคัญในประวัติศาสตร์ไทยตามช่วงเวลาได้ 3. บอกความสาคัญและประโยชน์ของการใช้ช่วงเวลาบอกเล่าเรื่องราวในประวัติศาสตร์ไทย คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 1. มีความรับผิดชอบ 2 .ให้ความร่วมมือและช่วยเหลือผู้อื่นได้ 3. มีความสนใจใฝ่เรียนรู้ 4. นาความรู้ที่ได้มาประยุกต์ใช้ได้ 5. มีความขยันประหยัดและอดทน แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ 2 กลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ชั้นประถามศึกษาปีที่ 6 สาระประวัติศาสตร์ หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เวลากับประวัติศาสตร์ เวลา ชั่วโมง เรื่อง เหตุการณ์ในประวัติศาสตร์ไทย เวลา 1 ชั่วโมง
  • 10. สาระการเรียนรู้ 3. การใช้ช่วงเวลาบอกเล่าเรื่องราวในประวัติศาสตร์ไทย 4. เหตุการณ์สาคัญในประวัติศาสตร์ไทย กระบวนการจัดการเรียนรู้ 1. ครูยกตัวอย่างเหตุการณ์สาคัญในประวัติศาสตร์ที่เกิดขึ้นในช่วงเวลาต่างๆ กัน มาให้ นักเรียนเปรียบเทียบว่า เหตุการณ์ใดเกิดขึ้นก่อน - หลัง 2. ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายถึงประโยชน์ของการลาดับเหตุการณ์ ในการศึกษา เรื่องราวในประวัติศาสตร์ไทย ได้อย่างมีเหตุผลและจดจาเหตุการณ์ก่อน - หลังได้ถูกต้อง 3. ครูให้นักเรียนช่วยกันยกตัวอย่างเรื่องราวในประวัติศาสตร์สมัยใดสมัยหนึ่ง หรือ เหตุการณ์สาคัญที่สนใจ จากนั้นช่วยกันลาดับ เหตุการณ์เพื่อนาเป็นแนวทางในการปฏิบัติ 4. ครูให้นักเรียนแบ่งกลุ่ม ให้แต่ละกลุ่มสืบค้นเรื่องราวต่างๆ ในประวัติศาสตร์ที่สนใจ 1 เรื่อง แล้วร่วมกันสรุป โดยเรียงลาดับเหตุการณ์ตามลาดับช่วงเวลาให้ถูกต้อง จากนั้นส่งตัวแทน ออกมารายงานที่หน้าชั้น สื่อและแหล่งการเรียนรู้ 3. ใบความรู้ 4. ใบงาน การวัดผลและประเมินผล 1. สังเกตความตั้งใจในการเรียน 2. ความกระตือรือร้นในการตอบคาถามของนักเรียน 3. ตรวจแบบทดสอบและใบงานของนักเรียน
  • 11. กิจกรรมเสนอแนะ ……………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………….… ………………………..……………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………..…… ข้อเสนอแนะของหัวหน้าสถานศึกษา หรือผู้ที่ได้รับมอบหมาย ( ตรวจ / นิเทศ / เสนอแนะ / รับรอง ) ……………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………….………………………… ………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………..………………… ลงชื่อ……………………………………..…….. (………………………………………….) ตาแหน่ง………………………………………….. วันที่ ……. เดือน………………..พ.ศ…………
  • 12. บันทึกผลหลังกระบวนการเรียนรู้ ผลการเรียนรู้ ……………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………….…………………… ……………………………………………………………………………………….……………… ปัญหา / อุปสรรค ……………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………..…………… ข้อเสนอแนะ / แนวทางแก้ไข ……………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………… ( ลงชื่อ ) ……………………………..ผู้สอน ( …………………………….) ตาแหน่ง……………………………………. …………/…………./………………
  • 13. ใบความรู้ที่ 1 การใช้คาบอกช่วงเวลาในประวัติศาสตร์ไทย ช่วงเวลา ตัวอย่างการใช้ ศตวรรษ หมายถึง พระบรมราชวงศ์จักรี เป็นนาม รอบ100ปี หรือเวลนานชั่ว100ปี ราชวงศ์พระมหากษัตริย์ไทยในสมัย รัตนโกสินทร์ โดยมีพระบาทสมเด็จ พระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชเป็น พระปฐมกษัตริย์ พุทธศตวรรษ หมายถึง ภายหลังที่ท่านเอซิไซได้นาเอาเซนจาก รอบ100ปี นับตั้งแต่วันที่ จีนมาเผยแผ่เมื่อพุทธศตวรรษที่12 ได้ พระพุทธเจ้าปรินิพาน ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางวัฒน ธรรมของชาวญี่ปุ่นทั้งทางด้านวัตถุ และทางด้านจิตใจหลายประการ คริสต์ศตวรรษ หมายถึง การก่อตั้งอาณาจักรไทย ตามหลักฐาน รอบ100ปี นับตั้งแต่วัน การปรากฏของตัวของกลุ่มชนที่ได้พูด สมภพของพระเยซู ภาษาไทย ปรากฏอยู่ในจารึกของเขมร ทศวรรษ หมายถึง รอบ10ปี ในปีดังกล่าวได้ทรงยกเลิกทาสให้ทาส ให้ทาสทุกคนเป็นไท ความห่วงใยต่อ พสกนิกรยังเห็นได้จากการเสด็จไป ประพาสต้นในช่วงปลายทศวรรษ2440
  • 14. ใบงานที่ 1 คาชี้แจง : แบ่งกลุ่มให้แต่ละกลุ่มสืบค้นเรื่องราวต่างๆ ในประวัติศาสตร์ที่สนใจ 1 เรื่อง แล้ว ร่วมกันสรุปโดยให้เรียงลาดับเหตุการณ์ตามลาดับช่วงเวลาให้ถูกต้อง จากนั้นส่งตัวแทนรายงาน หน้าชั้น ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................
  • 15. ใบงานที่ 2 คาชี้แจง : ให้นักเรียนกาหนดหัวข้อที่สนใจศึกษาและบอกประเภทของหลักฐานที่จะนามาใช้ศึกษา ค้นคว้า หัวข้อนั้น ………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………….. …………………………………………………………………………………………..
  • 16. ใบงานที่ 3 คาชี้แจง : ให้นักเรียนร่วมกันอภิปรายว่า การค้นคว้าข้อมูลทางประวัติศาสตร์ได้จากหลักฐาน อะไรบ้าง …………………………………… …………………………………… …………………………………… …………………………………… …………………………………… …………………………………… …………………………………… …………………………………… …………………………………… …………………………………… …………………………………… …………………………………… …………………………………… …………………………………… …………………………………… …………………………………… …………………………………… ……………………………………
  • 17. แบบทดสอบก่อน - หลังเรียน 1. คาบอกช่วงเวลาในข้อใด กินระยะเวลานานที่สุด ก. ศตวรรษ ข. ปี ค. ทศวรรษ ง. เดือน 2. “วันที่ 14 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2545 เป็นรูปแบบการบอกเวลาประเภทใด ก. แบบจันทรคติ ข. แบบสุริยคติ ค. บอกอย่างกว้างๆ ง. บอกเป็นศักราช 3. “ชวด ฉลู ขาล เถาะ” ปีใดเป็นปีต่อไป ก. มะเส็ง ข. มะโรง ค. มะเมีย ง. มะแม 4. เมืองใดเป็นเมืองหลวงของไทย ก. สุโขทัย ข. อยุธยา ค. ธนบุรี ง. กรุงเทพฯ 5. “สมัยนายชวน หลีกภัย” เป็นรูปแบบการบอกเวลาลักษณะใด ก. บอกตามรัชกาล ข. บอกตามราชวงศ์ ค. บอกอย่างละเอียด ง. บอกตามสมัยของรัฐบาล
  • 18. 6. ข้อใดไม่ใช่ปะโยชน์ของการลาดับเหตุการณ์ ก. ทาให้เข้าใจง่าย ข. ทาให้ไม่สับสนเรื่องราว ค. ทาให้ผู้คนยกย่อง ง. ทาให้เรื่องราวชัดเจน 7. ไตรภูมิพระร่วง แต่งขึ้นในสมัยใด ก. พ่อขุนรามคาแหงมหาราช ข. พญาลิไทย ค. พญาเลอไทย ง. พ่อขุนบานเมือง 8. สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช ทรงกระทาวีรกรรมสาคัญใด ก. กู้เอกราช ข. ตรากฎหมาย ค. เลิกทาส ง. ปฏิรูปบ้านเมือง 9. ข้อใด ไม่สัมพันธ์กัน ก. สมัยสุโขทัย - พ่อขุนรามคาแหง ข. สมัยอยุธยา - พระเจ้าอู่ทอง ค. สมัยธนบุรี - สมเด็จพระเจ้าตากสิน ง. สมัยรัตนโกสินทร์ - พญาลิไทย 10. คณะราษฎร คือใคร ก. ผู้ปฏิวัติการปกครอง ข. ราษฎรทั่วไป ค. ชาวนา ง. เชื้อพระวงศ์
  • 19. แบบสังเกตพฤติกรรมการเรียนรู้รายบุคคลกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ฯ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 หน่วยที่ 1 ช่วงเวลากับประวัติศาสตร์ ประอบแผนที่ 2 เหตุการณ์ในประวัติศาสตร์ไทย เลข ที่ ชื่อ – สกุล ด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์ รวมคะแนนด้านคุณลักษณะฯ ด้านผลงาน รวม ผ่าน/ไม่ผ่าน มีความรับผิดชอบ ให้ความร่วมมือและช่วยผู้อื่นได้ ทางานร่วมกับผู้อื่นได้ มีความสนใจใฝ่เรียนรู้ มีความขยันประยัดและอดทน การทาแบบฝึกกิจกรรมชุดที่ การทาแบบฝึกกิจกรรมชุดที่ 2 2 2 2 2 10 10 10 30 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 ความหมายระดับคุณภาพ 2 หมายถึง ดี เกณฑ์ระดับคะแนน 25 – 30 = 2 1 หมายถึง พอใช้ 18 – 24 = 1 0 หมายถึง ปรับปรุง 0 - 17 = 0 เกณฑ์การผ่าน ได้คะแนน 1 ขึ้นไป ลงชื่อ...........................................ผู้ประเมิน ( .............................................. )
  • 20. ******************************************************************************* มาตรฐาน ส 4.1 เข้าใจความหมาย ความสาคัญของเวลา และยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ สามารถใช้วิธีการทางประวัติศาสตร์มาวิเคราะห์เหตุการณ์ต่าง ๆ อย่างเป็น ระบบ ตัวชี้วัด มาตรฐาน ส 4.1 ป.6 / 2 นาเสนอข้อมูลจากหลักฐานที่หลากหลายในการทาความเข้าใจ เรื่องราวสาคัญในอดีต สาระสาคัญ การศึกษาวิธีการทางประวัติศาสตร์ และหลักฐานทางประวัติศาสตร์ประเภทต่างๆ ทาให้มี ความรู้ ความเข้าใจกระบวนการหาความรู้ทางด้านประวัติศาสตร์ และสามารถตรวจสอบความ ถูกต้องของข้อมูลได้อย่างถูกวิธีตามหลักวิชาการ จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. อธิบายรูปแบบการบอกเวลา การใช้คาบอกช่วงเวลา และยกตัวอย่างการใช้ได้ 6. บอกเล่าเรื่องราวในประวัติศาสตร์ไทยได้ 7. ลาดับเหตุการณ์ที่สาคัญในประวัติศาสตร์ไทยตามช่วงเวลาได้ 3. บอกความสาคัญและประโยชน์ของการใช้ช่วงเวลาบอกเล่าเรื่องราวในประวัติศาสตร์ไทย คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 1. มีความรับผิดชอบ 2 .ให้ความร่วมมือและช่วยเหลือผู้อื่นได้ 3. มีความสนใจใฝ่เรียนรู้ 4. นาความรู้ที่ได้มาประยุกต์ใช้ได้ 5. ประหยัดและอยู่อย่างพอเพียง แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ 3 กลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ชั้นประถามศึกษาปีที่ 6 สาระประวัติศาสตร์ หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เวลากับประวัติศาสตร์ เวลา ชั่วโมง เรื่อง คาบอกเวลาช่วงต่างๆ เวลา 1 ชั่วโมง
  • 21. สาระการเรียนรู้ 5. การใช้ช่วงเวลาบอกเล่าเรื่องราวในประวัติศาสตร์ไทย 6. เหตุการณ์สาคัญในประวัติศาสตร์ไทย กระบวนการจัดการเรียนรู้ 1. ครูให้นักเรียนตอบคาถามเกี่ยวกับเรื่องต่างๆ ของประเทศไทย และให้บอกแหล่งข้อมูล ว่าได้ความรู้นั้นมาอย่างไร 2. ครูให้นักเรียนแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับเรื่องราวต่างๆ ที่เพื่อนเล่าให้ฟัง ว่าน่าเชื่อถือ หรือไม่ เพราะอะไร แล้วร่วมกันอภิปรายในหัวข้อ การศึกษาเรื่องราวเกี่ยวกับประวัติศาสตร์ ควรใช้ วิธีการใด เพื่อให้ได้ข้อมูลที่ถูกต้อง ตรงตามข้อเท็จจริงมากที่สุด 3. ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายและสรุปถึงวิธีการหาความรู้เกี่ยวกับประเทศของเรา โดย ใช้วิธีการทางประวัติศาสตร์ 4. ครูให้นักเรียนแบ่งกลุ่ม รวมกันวางแผนเพื่อหาความรู้เกี่ยวกับประเทศของเรา แล้ว บันทึกผล แล้วส่งตัวแทนออกมานาเสนอผลงานที่หน้าชั้น 5. ครูให้นักเรียนสืบค้นข้อมูลทางประวัติศาสตร์ในห้องสมุด แล้วเลือกหัวข้อทาง ประวัติศาสตร์ที่ สนใจ พร้อมบอกชื่อหนังสือที่คนคว้าและเขียนสรุปเกี่ยวกับเรื่องนี้ให้ชัดเจน แล้วผลัดกัน นาเสนอผลงานที่หน้าชั้น สื่อและแหล่งการเรียนรู้ 5. ใบความรู้ 6. ใบงาน การวัดผลและประเมินผล 1. สังเกตความตั้งใจในการเรียน 2. ความกระตือรือร้นในการตอบคาถามของนักเรียน 3. ตรวจแบบทดสอบและใบงานของนักเรียน
  • 22. กิจกรรมเสนอแนะ ……………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………….… ………………………..……………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………..…… ข้อเสนอแนะของหัวหน้าสถานศึกษา หรือผู้ที่ได้รับมอบหมาย ( ตรวจ / นิเทศ / เสนอแนะ / รับรอง ) ……………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………….………………………… ………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………..………………… ลงชื่อ……………………………………..…….. (………………………………………….) ตาแหน่ง………………………………………….. วันที่ ……. เดือน………………..พ.ศ…………
  • 23. บันทึกผลหลังกระบวนการเรียนรู้ ผลการเรียนรู้ ……………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………….…………………… ……………………………………………………………………………………….……………… ปัญหา / อุปสรรค ……………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………..…………… ข้อเสนอแนะ / แนวทางแก้ไข ……………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………… ( ลงชื่อ ) ……………………………..ผู้สอน ( …………………………….) ตาแหน่ง……………………………………. …………/…………./………………
  • 24. ใบความรู้ที่ 1 การใช้คาบอกช่วงเวลาในงานเขียนด้านประวัติศาสตร์อื่น มีหลายรูปแบบดังตัวอย่างที่กล่าว ไว้ข้างต้น ทั้งนี้แล้วแต่ความเหมาะสม หรือความประสงค์ของผู้เขียนว่าจะใช้แบบใด จึงจะเหมาะกับ เหตุการณ์เรื่องราว ที่จะสื่อความหมายให้ผู้อ่านได้อ่านมากที่สุด เหตุการณ์สาคัญในประวัติศาสตร์ไทย การลาดับเหตุการณ์ในการศึกษาเรื่องราวในประวัติศาสตร์ไทย จะช่วยให้ผู้ศึกษาเกิดความ เข้าใจ และสามารถวิเคราะห์เรื่องราวที่เกิดขึ้นได้อย่างมีเหตุผล ทาให้ไม่สบสนในการลาดับความคิด อีกทั้งสามารถจดจาเหตุการณ์สาคัญตามลาดับถูกต้อง ลาดับเหตุการณ์สาคัญในประวัติศาสตร์ไทย ช่วงเวลา เหตุการณ์ พุทธศตวรรษ18-21 สมัยสุโขทัย(พ.ศ.1792-206) พ.ศ.1826 -พ่อขุนรามคาแหงมหาราชทรง ประดิษฐ์ลายสือไทย พ.ศ.1888 -พระมหาธรรมราชาที่1(ลิไทย)ทรง พระราชนิพนธ์ไตรภูมิพระร่วง ซึ่งเป็นวรรณคดีทางพระพุทธศาสนา
  • 25. พุทธศตวรรษที่19-24 สมัยอยุทธยา(พ.ศ.1893-2310) พ.ศ.1893 -สมเด็จพระรามาธิบดี1(พระเจ้าอู่ทอง) สถาปนากรุงศรีอยุธยาในบริเวณลุ่ม แม่น้าเจ้าพระยา พ.ศ.1902 -พระมหาธรรมราชาที่1 ทรงโปรด เกล้าฯให้ส่งคนไปนิมนต์พระลังกา พ.ศ.1921-1931 -สุโขทัยตกเป็นมืองขึ้นของกรุงศรี อยุธยา พ.ศ.1996 -กรุงศรีอยุธยาตีได้นครธมราชธานี ของขอมได้ข้าราชการ พราหมณ์ เจ้านาย ท้ายพระยา ผู้ชานาญต่างๆ จึงเป็นเหตุผลที่ทาให้มีการปฏิรูป พ.ศ.2006 -สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ แห่งกรุงศรีอยุธยาเสด็จไปปกครอง เมืองพิษณุโลก ถือเป็นการสิ้นสุดของ อาณาจักรสุโขทัย พ.ศ.2056 - ชาวโปรตุเกส เป็นชาวตะวันตก ชาติแรกที่เข้ามาถึงกรุงศรีอยุธยา พ.ศ.2106 -พระเจ้าบุเรงนองแม่ทัพพม่าทรงยก ทัพมาไทยใช้ปืนใหญ่สร้างความเสีย หายในพระนครอย่างมาก
  • 26. พ.ศ.2111 -สมด็จพระมหาจักรพรรดิสวรรคต พ.ศ.2112 -เสียกรุงศรีอยุธยาครั้งที่1 พ.ศ.2127 -สมเด็จพระนเรศวรมหาราชประกาศ อิสรภาพจากพม่า พ.ศ.2135 -สมเด็จพระนารายณ์มหาราชทรงทา ยุทธหัตถีกับพระมหาอุปราชพม่า พ.ศ.2227-2230 -สมัยสมเด็จพระนารายณ์ทรงมีการ เชื่อมสัมพันธ์กับฝรั่งเศส พ.ศ.2228 -คณะทูตฝรั่งเศสนาโดย เชอร์วาเลีย เดอร์โชมอง เข้าสเฝ้าพระนารายณ์ พ.ศ2228-2230 -ออกพระวิสุทธิสนทร(ปาน)ได้เป็น ราชทูตไปเจริญสัมพันธ์ไมตรีกับ ฝรั่งเศส พ.ศ.2310 -เสียกรุงศรีอยุธยาครั้งที่2 มีแต่เรื่องน่ารู้ทั้งนั้นเลย จะจายังไงไหวเนี๊ยะ แต่ยังไงก็ต้องจาให้ได้ก็มันน่าสนใจจริง ๆ
  • 27. ใบงานที่ 1 คาชี้แจง : ให้แบ่งกลุ่ม ร่วมกันวางแผนเพื่อหาความรู้เกี่ยวกับประเทศของเราโดยกาหนดหัวข้อหรือ ประเด็นที่ต้องการศึกษาตามความสนใจ บันทึกข้อมูล และนาเสนอผลงานที่หน้าชั้น การศึกษาเรื่อง.................................. 1. จุดประสงค์ของการศึกษา ........................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................ 2. วิธีรวบรวมข้อมูล............................................................................................................................ ........................................................................................................................................................ 3. วิธีการตรวจสอบข้อมูล................................................................................................................... ........................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................ 4. วิธีการตีความและจัดระบบข้อมูล................................................................................................... ........................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................ 5. วิธีการนาเสนอข้อมูล...................................................................................................................... ........................................................................................................................................................ ........................................................................................................................................................
  • 28. ใบงานที่ 2 คาชี้แจง : สืบค้นข้อมูลทางประวัติศาสตร์ในห้องสมุด แล้วเลือกหัวข้อทางประวัติศาสตร์ไทยที่ สนใจ พร้อมบอกชื่อหนังสือที่ค้นคว้าและเขียนสรุปเกี่ยวกับเรื่องนี้ให้ชัดเจน หัวข้อที่สนใจ....................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................. รายชื่อหนังสือที่ค้นคว้า....................................................................................................................... 1. ........................................................................................................................................................ 2. ........................................................................................................................................................ 3. ........................................................................................................................................................ ความรู้ที่ได้รับ...................................................................................................................................... ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................
  • 29. แบบสังเกตพฤติกรรมการเรียนรู้รายบุคคลกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ฯ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 หน่วยที่ 1 ช่วงเวลากับประวัติศาสตร์ ประอบแผนที่ 3 คาบอกเวลาช่วงต่างๆ เลข ที่ ชื่อ – สกุล ด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์ รวมคะแนนด้านคุณลักษณะฯ ด้านผลงาน รวม ผ่าน/ไม่ผ่าน มีความรับผิดชอบ ให้ความร่วมมือและช่วยผู้อื่นได้ มีความสนใจใฝ่เรียนรู้ นาความรู้มาประยุกต์ใช้ ประหยัดและอยู่อย่างพอเพียง การทาแบบฝึกกิจกรรมชุดที่ การทาแบบฝึกกิจกรรมชุดที่ 2 2 2 2 2 10 10 10 30 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 ความหมายระดับคุณภาพ 2 หมายถึง ดี เกณฑ์ระดับคะแนน 25 – 30 = 2 1 หมายถึง พอใช้ 18 – 24 = 1 0 หมายถึง ปรับปรุง 0 - 17 = 0 เกณฑ์การผ่าน ได้คะแนน 1 ขึ้นไป ลงชื่อ...........................................ผู้ประเมิน ( .............................................. )
  • 30. ******************************************************************************* มาตรฐาน ส 4.1 เข้าใจความหมาย ความสาคัญของเวลา และยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ สามารถใช้วิธีการทางประวัติศาสตร์มาวิเคราะห์เหตุการณ์ต่าง ๆ อย่างเป็น ระบบ ตัวชี้วัด มาตรฐาน ส 4.1 ป.6 / 2 นาเสนอข้อมูลจากหลักฐานที่หลากหลายในการทาความเข้าใจ เรื่องราวสาคัญในอดีต สาระสาคัญ การศึกษาวิธีการทางประวัติศาสตร์ และหลักฐานทางประวัติศาสตร์ประเภทต่างๆ ทาให้มี ความรู้ ความเข้าใจกระบวนการหาความรู้ทางด้านประวัติศาสตร์ และสามารถตรวจสอบความ ถูกต้องของข้อมูลได้อย่างถูกวิธีตามหลักวิชาการ จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. อธิบายและยกตัวอย่างวิธีการหาความรู้เกี่ยวกับประเทศของเราได้ 2. อธิบายและยกตัวอย่างหลักฐานทางประวัติศาสตร์ประเภทต่าง ๆ ได้ 3. ใช้วิธีการทางประวัติศาสตร์ในการศึกษาความเป็นมาของประเทศได้ คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 1. มีความรับผิดชอบ 2 .ให้ความร่วมมือและช่วยเหลือผู้อื่นได้ 3. มีความสนใจใฝ่เรียนรู้ 4. นาความรู้ที่ได้มาประยุกต์ใช้ได้ 5. ประหยัดและอยู่อย่างพอเพียง แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ 4 กลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ชั้นประถามศึกษาปีที่ 6 สาระประวัติศาสตร์ หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เวลากับประวัติศาสตร์ เวลา ชั่วโมง เรื่อง หลักฐานทางประวัติศาสตร์ เวลา 1 ชั่วโมง
  • 31. สาระการเรียนรู้ 1. วิธีการหาความรู้เกี่ยวกับประเทศของเรา 2. หลักฐานทางประวัติศาสตร์เกี่ยวกับประเทศของเรา 3. วิธีการประวัติศาสตร์กับการศึกษาความเป็นมาของประเทศ กระบวนการจัดการเรียนรู้ 1. ครูให้นักเรียนตอบคาถามเกี่ยวกับเรื่องราวต่างๆ ของประเทศไทย และให้บอกแหล่ง ของข้อมูลว่ามาได้อย่างไร 2. ครูให้นักเรียนแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับเรื่องราวต่าง ๆ ที่เพื่อน ๆ เล่าให้ฟัง แล้วร่วม กันอภิปรายว่า การศึกษาเรื่องราวเกี่ยวกับประวัติศาสตร์ ควรใช้วิธีการใดในการศึกษา เพื่อให้ได้ ข้อมูลที่ถูกต้อง 3. ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปถึงวิธีการหาความรู้เกี่ยวกับประเทศของเรา โดยใช้วิธีการทาง ประวัติศาสตร์ แล้วจัดทาเป็นผลงานนาเสนอหน้าชั้นเรียน สื่อและแหล่งการเรียนรู้ 7. ใบความรู้ 8. ใบงาน การวัดผลและประเมินผล 1. สังเกตความตั้งใจในการเรียน 2. ความกระตือรือร้นในการตอบคาถามของนักเรียน 3. ตรวจแบบทดสอบและใบงานของนักเรียน
  • 32. กิจกรรมเสนอแนะ ……………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………….… ………………………..……………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………..…… ข้อเสนอแนะของหัวหน้าสถานศึกษา หรือผู้ที่ได้รับมอบหมาย ( ตรวจ / นิเทศ / เสนอแนะ / รับรอง ) ……………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………….………………………… ………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………..………………… ลงชื่อ……………………………………..…….. (………………………………………….) ตาแหน่ง………………………………………….. วันที่ ……. เดือน………………..พ.ศ…………
  • 33. บันทึกผลหลังกระบวนการเรียนรู้ ผลการเรียนรู้ ……………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………….…………………… ……………………………………………………………………………………….……………… ปัญหา / อุปสรรค ……………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………..…………… ข้อเสนอแนะ / แนวทางแก้ไข ……………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………… ( ลงชื่อ ) ……………………………..ผู้สอน ( …………………………….) ตาแหน่ง……………………………………. …………/…………./………………
  • 34. ใบความรู้ที่ 1 วิธีการหาความรู้เกี่ยวกับประเทศของเรา 1.1 การกาหนดหัวข้อหรือประเด็นที่ต้องการศึกษา คือ การกาหนดหัวข้อหรือประเด็นที่ สนใจต้องการที่จะศึกษาค้นคว้าให้ชัดเจนและควบคุม เพื่อที่จะวางแผนในการเก็บรวบรวมข้อมูล อย่างถูกต้องและสมบรูณ์ในขั้นต่อไป เช่น การศึกษาเรื่องการกู้ชาติของสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช เรื่องการปฏิวัติของคณะราษฎร เป็นต้น 1.2 การรวบรวมข้อมูล เป็นการรวบรวมรายละเอียดและหลักฐานของเรื่องราวที่เกี่ยวข้องกับ หัวข้อหรือประเด็นที่จะศึกษา โดยศึกษาค้นคว้าจากหลักฐานชั้นรองก่อน เช่น หนังสือที่มีผู้เรียบเรียง ตีความไว้ จากอินเทอร์เนต จากแถบบันทึกเสียง หรือแผ่นบันทึก เป็นต้น ต่อจากนั้นจึงศึกษาเพิ่มเติม จากหลักฐานชั้นต้น เช่นตานาน สมุดบันทึก พงศาวดาร จารึก ภาพถ่าย เป็นต้น การศึกษาประวัติศาสตร์ สามารถหาข้อมูลด้วยวิธีการต่างๆประกอบกัน เช่น 1.การสัมภาษณ์ 2.การใช้แบบสอบถาม 3.การใช้แบบประเมิน 4.การสืบค้นข้อมูลในท้องถิ่น 5.การศึกษาเครื่องใช้และสิ่งของต่างๆ 6.การบันทึกภาพและเสียง โฮโฮ้… เรื่องนี้น่าสนใจจังเลย ต้องตั้งใจอ่านซะแล้ว..
  • 35. 1.3 การตรวจสอบข้อมูล เป็นการตรวจสอบความถูกต้อง พื่อหาความน่าเชื่อถือของข้อมูลเช่น พิจารณาว่าใครเป็นคนบอกเล่า ใครเป็นคนเขียน หรือใครเป็นคนทาขึ้น มีความเชี่ยวชาญ หรือมี ความรู้เฉพาะทางหรือไม่เพียงใด 1.4 การตีความข้อมูลและจัดระบบข้อมูล คือการนาข้อมูลที่รวบรวมและตรวจสอบอย่าง ถูกต้องชัดเจนแล้ว มาใช้ประโยชน์ต่อไป โดยพิจารณาอย่างละเอียดถี่ถ้วนและวิเคราะห์ว่า เราจะรับ ความรู้ใดบ้างจากข้อมูลดังกล่าว แล้วนาข้อมูลนั้นมาแยกประเภท จัดหมวดหมู่ เรียงลาดับตาม เหตุการณ์เวลาเพื่อประโชน์ในการนาไปใช้ศึกษาหรืออ้างอิงต่อไป 1.5 การนาเสนอข้อมูล เป็นการนาเสนอ ข้อมูลที่ได้จากหลักฐานอ้างอิงที่เชื่อถือได้แล้วนามา เสนออย่างเป็นกลางโดยการเขียนรายงาน การบรรยายในที่ประชุม การเขียนเรียงความ เป็นต้น เพื่อน ๆ เข้าใจไหมครับ หากไม่เข้าใจ ถามคุณครูนะครับ จะได้สอบผ่าน.. หมูน้อยเข้าใจแล้ว
  • 36. ใบงานที่ 1 คาชี้แจง : ให้แบ่งกลุ่ม วางแผนเพื่อหาความรู้เกี่ยวกับประเทศของเรา โดยกาหนดหัวข้อตามความ สนใจ บันทึกผลข้อมูล และนาเสนอหน้าชั้นเรียน การศึกษา เรื่อง ………………………………….. 1. จุดประสงค์ของการศึกษา …………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………… 2. วิธีการรวบรวมข้อมูล …………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………… 3. วิธีการตรวจสอบข้อมูล …………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………… 4. วิธีการตีความและจัดระบบข้อมูล …………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………… 5. วิธีการนาเสนอข้อมูล …………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………
  • 37. แบบสังเกตพฤติกรรมการเรียนรู้รายบุคคลกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ฯ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 หน่วยที่ 1 ช่วงเวลากับประวัติศาสตร์ ประอบแผนที่ 4 หลักฐานทางประวัติศาสตร์ เลข ที่ ชื่อ – สกุล ด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์ รวมคะแนนด้านคุณลักษณะฯ ด้านผลงาน รวม ผ่าน/ไม่ผ่าน มีความรับผิดชอบ ให้ความร่วมมือและช่วยผู้อื่นได้ มีความสนใจใฝ่เรียนรู้ นาความรู้มาประยุกต์ใช้ ประหยัดและอยู่อย่างพอเพียง การทาแบบฝึกกิจกรรมชุดที่ การทาแบบฝึกกิจกรรมชุดที่ 2 2 2 2 2 10 10 10 30 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 ความหมายระดับคุณภาพ 2 หมายถึง ดี เกณฑ์ระดับคะแนน 25 – 30 = 2 1 หมายถึง พอใช้ 18 – 24 = 1 0 หมายถึง ปรับปรุง 0 - 17 = 0 เกณฑ์การผ่าน ได้คะแนน 1 ขึ้นไป ลงชื่อ...........................................ผู้ประเมิน ( .............................................. )
  • 38. ******************************************************************************* มาตรฐาน ส 4.1 เข้าใจความหมาย ความสาคัญของเวลา และยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ สามารถใช้วิธีการทางประวัติศาสตร์มาวิเคราะห์เหตุการณ์ต่าง ๆ อย่างเป็น ระบบ ตัวชี้วัด มาตรฐาน ส 4.1 ป.6 / 2 นาเสนอข้อมูลจากหลักฐานที่หลากหลายในการทาความเข้าใจ เรื่องราวสาคัญในอดีต สาระสาคัญ การศึกษาวิธีการทางประวัติศาสตร์ และหลักฐานทางประวัติศาสตร์ประเภทต่างๆ ทาให้มี ความรู้ ความเข้าใจกระบวนการหาความรู้ทางด้านประวัติศาสตร์ และสามารถตรวจสอบความ ถูกต้องของข้อมูลได้อย่างถูกวิธีตามหลักวิชาการ จุดประสงค์การเรียนรู้ 4. อธิบายและยกตัวอย่างวิธีการหาความรู้เกี่ยวกับประเทศของเราได้ 5. อธิบายและยกตัวอย่างหลักฐานทางประวัติศาสตร์ประเภทต่าง ๆ ได้ 6. ใช้วิธีการทางประวัติศาสตร์ในการศึกษาความเป็นมาของประเทศได้ คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 1. มีความรับผิดชอบ 2 .ให้ความร่วมมือและช่วยเหลือผู้อื่นได้ 3. มีความสนใจใฝ่เรียนรู้ 4. นาความรู้ที่ได้มาประยุกต์ใช้ได้ 5. ประหยัดและอยู่อย่างพอเพียง แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ 5 กลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ชั้นประถามศึกษาปีที่ 6 สาระประวัติศาสตร์ หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เวลากับประวัติศาสตร์ เวลา ชั่วโมง เรื่อง หลักฐานทางประวัติศาสตร์ เวลา 1 ชั่วโมง
  • 39. สาระการเรียนรู้ 4. วิธีการหาความรู้เกี่ยวกับประเทศของเรา 5. หลักฐานทางประวัติศาสตร์เกี่ยวกับประเทศของเรา 6. วิธีการประวัติศาสตร์กับการศึกษาความเป็นมาของประเทศ กระบวนการจัดการเรียนรู้ 1. ครูยกตัวอย่างตานาน จารึก หรือพงศาวดาร มาให้นักเรียนพิจารณาว่า ได้เรียนรู้ อะไรบ้างจาก ด้านบน จารึก หรือพงศาวดารต่างๆ และจะนามาใช้ประโยชน์เพื่อการศึกษา เกี่ยวกับประเทศ ของเราได้อย่างไร 2. ครูให้นักเรียนเปรียบเทียบความเหมือนความแตกต่างของตานาน จารึก และพงศาวดาร แล้ว เขียนสรุปเป็นลักษณะเฉพาะของแต่ละอย่าง และยกตัวอย่างประกอบ จากนั้นให้นักเรียนแบ่ง ประเภทของหลักฐานทางประวัติศาสตร์เกี่ยวกับความเป็นมาของประเทศไทย แล้วร่วมกัน อภิปรายและสรุปว่า แบ่งเป็นประเภทใหญ่ๆ ได้ 2 ประเภท คือ หลักฐานที่เป็นลายลักษณ์ อักษร และหลักฐานที่ไม่เป็นลายลักษณ์อักษร 3. ครูให้นักเรียน 3-4 คน ออกมานาเสนอหน้าชั้นเรียน สื่อและแหล่งการเรียนรู้ 9. ใบความรู้ 10. ใบงาน การวัดผลและประเมินผล 1. สังเกตความตั้งใจในการเรียน 2. ความกระตือรือร้นในการตอบคาถามของนักเรียน 3. ตรวจแบบทดสอบและใบงานของนักเรียน
  • 40. กิจกรรมเสนอแนะ ……………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………….… ………………………..……………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………..…… ข้อเสนอแนะของหัวหน้าสถานศึกษา หรือผู้ที่ได้รับมอบหมาย ( ตรวจ / นิเทศ / เสนอแนะ / รับรอง ) ……………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………….………………………… ………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………..………………… ลงชื่อ……………………………………..…….. (………………………………………….) ตาแหน่ง………………………………………….. วันที่ ……. เดือน………………..พ.ศ…………
  • 41. บันทึกผลหลังกระบวนการเรียนรู้ ผลการเรียนรู้ ……………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………….…………………… ……………………………………………………………………………………….……………… ปัญหา / อุปสรรค ……………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………..…………… ข้อเสนอแนะ / แนวทางแก้ไข ……………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………… ( ลงชื่อ ) ……………………………..ผู้สอน ( …………………………….) ตาแหน่ง……………………………………. …………/…………./………………
  • 42. ใบความรู้ที่ 1 หลักฐานทางประวัติศาสตร์ในการศึกษาเกี่ยวกับประเทศของเรา หลักฐานทางประวัติศาสตร์เกี่ยวกับความเป็นมาของประเทศไทยมีหลายประเภท สามารถ แบ่งเป็นประเภทใหญ่ ได้2 ประเภท 2.1 หลักฐานที่เป็นลายลักษณ์อักษร 1) ตานาน เป็นเรื่องเล่าต่อๆกันมา และมีการจดบันทึกวันในภายหลัง เช่น เรื่องเกี่ยวกับความ เชื่อถือทางศาสนาต่างๆ ความเป็นมาของสถานที่ต่างๆ ซึ่งมักมีเรื่องของปาฎิหาริย์ เรื่องราวของพวก กฎแห่งกรรม และคติเตือนใจ เรื่องราวในตานานมักจะสะท้อนความคิด ความเชื่อ วิถีชีวิต ของชาวบ้าน มากกว่าเหตุผลจากข้อเท็จจริง ดังนั้นการใช้ข้อมูลจาก ตานาน จึงต้องมีความรอบคอบระมัดระวัง ควรพิจารณาประกอบกับ หลักฐานอื่น 2) จารึก เป็นหลักฐานที่เขียนกัน เพื่อเล่าถึงเรื่องราว หรือ เหตุการ์ต่างๆ ที่เกิดขึ้นในบ้านเมือง เช่นประวัติบุคคลสาคัญ วิถีชีวิตของชาวเมืองวิธีการปกครอง และความเจริญรุ่งเรืองในสมัยนั้นๆ เป็นต้น ตัวอย่างจารึก เช่น ศิลาจารึกวัดป่าม่วง เป็นต้น
  • 43. 3) พงศาวดาร เป็นการบันทึกเรื่องราวของ เหตุการณ์เกี่ยวกับประเทศชาติ หรือพระมหากษัตริย์ผู้เป็น ประมุขของประเทศนั้น มักแสดงให้เห็นถึงบุญาบารมี ความ เก่งกล้าสามารถเป็นพิเศษของกษัตริย์ในสมัยนั้นๆ และ เขียนขึ้นโดยการควบคุมจากราชสานัก โดยส่วนมากจะ กล่าวถึงที่ด้านที่ดี ที่เป็นประโยชน์ หรือยกย่องสรรเสริญ ความเจริญรุ่งเรืองของประเทศชาติ และคุณธรรมความดี ของพระมหากษัตริย์ 4) เอกสารราชการ เป็นเอกสารที่เกี่ยวกับเรื่องราว ต่าง ๆในด้านการบริหาร การปกครอง บ้านเมืองของหน่วย ราชการในสมัยต่างๆ เช่น พระราชบัญญัติ รายงานการ ประชุม นโยบาย ประกาศ ข้อมูลทางสถิติ ต่างๆ เป็นต้น 2.2 หลักฐานที่ไม่เป็นลายลักษณ์อักษร ได้แก่ หลักฐานประเภทโบราณสถาน โบราณวัตถุ สิ่งของเครื่องใช้ ภาพถ่าย ภาพวาด ศิลปะต่างๆ เป็นต้น ในการศึกษาประวัติศาสตร์ความเป็นมาของประเทศไทย ผู้ศึกษาสามารถศึกษาหลักฐานทาง ประวัติศาสตร์ประเภทต่างๆ ได้ตามความเหมาะสม และสามารถนาหลักฐานมาประกอบการ วิเคราะห์ข้อเท็จจริง ในการอภิปราย หรืออธิบายเหตุการณ์ต่างๆได้ โดยอาจใช้หลักฐานชั้นต้น หลักฐานชั้นรอง หลักฐานที่ไม่เป็นลายลักษณ์อักษรประกอบนั้น การศึกษาประวัติศาสตร์ของท้องถิ่น อาจศึกษาจากเอกสารทางราชการ โบราณสถาน บา รณวัตถุ ภาพวาด ศิลปะ ต่างๆ ที่เกิดจากภูมิปัญญาชาวบ้าน และตานานพื้นบ้านในท้องถิ่นนั้น ประกอบกัน
  • 44. ใบความรู้ที่ 2 แหล่งข้อมูลที่ใช้ศึกษาค้นคว้าโดยทั่วไป เช่น 1) ห้องสมุดต่างๆ 2) วัดต่างๆ เช่น วัดมะขามเฒ่า จังหวัดชัยนาท ซึ้งภายในพระอุโบสถมีภาพเขียนฝีพระหัตถ์ ของกรมหลวงชุมพรเขตอุดมศักดิ์ และมีตานานเล่าเกี่ยวกับนายมะขามเฒ่า แหล่งข้อมูลทางราชการ 1) สานักหอสมุดแห่งชาติ กรุงเทพมหานคร 2) กรมศิลปากร 3) สานักหอจดหมายเหตุแห่งชาติ 4) พิพิธภัณฑ์สถานทางราชการและเอกชนทั้งในกรุงเทพมหานครและต่างจังหวัด เช่น พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ ที่กรุงเทพฯ พิพิธภัณฑ์เครื่องปั้นดินเผา ของชาวไทยเชื้อสายมอญที่จังหวัด กาญจนบุรี เป็นต้น