SlideShare a Scribd company logo
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
1
ระบบการศึกษาของจีน
นางสาวฐิตาพร จบสัฌจร
ปู้ช่วยนักวิจัยเยี่ยมเยือน (Visiting Research Asistant)
สถาบันคลังปัฌฌาด้านยุทธศาสตร์ชาติ
อดีต ปัจจุบัน อนาคต
อ้างอิงรูปภาพ WWW.JYB.COM.CN
ระบบการศึกษาของจีน
อดีต ปัจจุบัน อนาคต
นางสาวฐิตาพร จบสัฌจร
นักศึกษาปริฌฌาโท คณะศึกษาศาสตร์นานาชาติ มหาวิทยาลัยซานตง
ปู้ช่วยนักวิจัยเยี่ยมเยือน (Visiting Research Asistant)
สถาบันคลังปัฌฌาด้านยุทธศาสตร์ชาติ
ระยะเวลา 1 เดือน วันที่ 21 ก.ค.-21 ส.ค.2559
ผู้อานวยการสถาบันคลังปัญญาฯ : ศ.ดร.เอนก เหล่าธรรมทัศน์
บรรณาธิการ : น.ส.ยุวดี คาดการณ์ไกล
สรุปและเรียบเรียง : น.ส.ฐิตาพร จบสัญจร
ปีที่พิมพ์ : สิงหาคม 2559
สานักพิมพ์ : มูลนิธิสร้างสรรค์ปัญญาสาธารณะ
เพิ่มเติมได้ที่ www.rsu-brain.com
ระบบการศึกษาจีน: อดีต ปัจจุบัน อนาคต
2
สาธารณรัฐประชาชนจีน( 中 国 人 民 共 和 国 )เป็นประเทศที่มีประวัติศาสตร์อัน
ยาวนานและเป็นแหล่งอารยธรรมอันเก่าแก่กว่า 5,000 ปี หากจะกล่าวถึงเรื่องการศึกษา ประเทศจีนถือได้
ว่าเป็นประเทศที่ให้ความสาคัญต่อระบบการศึกษานับตั้งแต่สมัยโบราณ มีแนวคิดขงจื่อโบราณ(古代
儒家思想)ที่เป็นระบบคุณธรรม ยึดถือความกตัญํูเป็นสาคัญและมีการคัดเลือกขุนนางเพื่อรับ
ราชการจากประชาชนในทุกระดับ ทาให้เกิดระบบการสอบคัดเลือกขุนนาง(科举制度)ส่วนใน
ยุคกลางเป็นช่วงเวลาของการปรับตัวของอารยธรรมจีนได้รับเอาพระพุทธศาสนาที่เป็นอิทธิพลจากต่างชาติ
ที่สาคัญเข้ามาผสมผสานกับอารยธรรมจีน ส่วนการศึกษาของประเทศจีนในยุคใหม่นั้นให้ความสาคัญต่อ
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี จนเกิดความร่วมมือและความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ มีผลทาให้การศึกษา
จีนเปลี่ยนแปลงและพัฒนาขึ้นกว่าเดิม
การศึกษาของประเทศจีนแบ่งออกเป็น 3 ยุค ดังนี้
1. การศึกษาในยุคโบราณ(Ancient Education :古代教育)
ระบบการศึกษาในยุคโบราณมีจุดเริ่มต้นตั้งแต่ช่วงปลายของยุคสังคมดั้งเดิม(原始社会后期)ซึ่ง
อยู่ในช่วงยุคระบบสังคมทาส(奴隶社会)จนถึงปลายของยุคสังคมนิยม(封建社会)แบ่งเป็น
ยุคย่อยๆ ได้ดังนี้
ราชวงศ์เซี่ย(夏)เมื่อราว 4,000 กว่าปีมาแล้วนั้น ได้ปรากฏไว้ว่าประชาชนในอดีตมีการได้รับ
การศึกษาซึ่งเป็นแบบพื้นบ้าน เรียนรู้ในเรื่องเกษตรกรรมเพื่อนาไปประกอบอาชีพ หนังสือเมิ่งจือ
《孟子》ไม่เพียงแต่บันทึกเหตุการณ์การศึกษาในสมัยโบราณเท่านั้น แต่ยังบันทึกสาระสาคัญและ
จุดมุ่งหมายของ การเรียนการสอนในขณะนั้นไว้อีกด้วย
สมัยราชวงศ์ซาง (商)ประมาณ 1570 – 1045 ปีก่อนคริสต์ศักราช เป็นช่วงเวลาที่จีนก่อตัวเป็น
รัฐและมีการวางรากฐานด้านการปกครอง เศรษฐกิจ และสังคม ในสมัยนี้มีการใช้ตัวอักษรจีนโบราณที่เขียน
ลงบนกระดองเต่า (甲骨文)
ราชวงศ์โจวตะวันตก(西周)ได้มีบันทึกเรื่องราวในยุคนั้น ว่าการจัดการศึกษาในราชสานักเน้น
สอนให้รู้เรื่องขนบธรรมเนียมประเพณีและการดนตรีเป็นหลัก รวมถึงการฝึกขี่ม้า ยิงธนู การเขียนอักษรและ
การคานวณ ทั้งหมดนี้เรียกว่าศิลปะหกแขนง (六艺)ซึ่งผู้ที่เข้ารับการศึกษาล้วนเป็นลูกหลานของชน
ชั้นสูง
ระบบการศึกษาจีน: อดีต ปัจจุบัน อนาคต
3
ระบบการศึกษาของจีน : อดีต ปัจจุบัน อนาคต
ยุคชุนชิว (春秋)ซึ่งอยู่ในสมัยปลายยุคสังคมทาส ขงจื่อได้ตั้งโรงเรียนสอนหนังสือและสอน
ศาสนาให้กับชาวบ้าน เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ โดยสานักวิชาที่สาคัญในยุคนี้มีอยู่ 4 สานักใหญ่ ได้แก่
สานักปรัชญาขงจื่อ(儒家)โม่วเจีย (ม่อจื่อ)(墨家)ลัทธิเต๋า(道家)และลัทธิกฎระเบียบนิยม(法家)
ซึ่งถือเป็นส่วนสาคัญของการศึกษาในยุคสังคมศักดินา
ยุคจ้านกั๋ว(战国)ตั้งแต่ยุคนี้เป็นต้นมาจะเป็นช่วงระบบสังคมศักดินา (封建社会)การศึกษา
ของจีนมีการเปลี่ยนแปลงและพัฒนาอย่างต่อเนื่อง รู้จักประดิษฐ์เครื่องมือเครื่องใช้ต่างๆ ช่วยในการทา
เกษตรกรรม รู้จักทาเครื่องปั้นดินเผาและการทอผ้าไหม การศึกษาในสมัยนี้จะมีการสอนโดยมีรูปแบบ
ถ่ายทอดความรู้ภายในบ้านหรือสานักต่างๆ เป็นการเรียนรู้ตามอัธยาศัย ถึงแม้ว่าการศึกษาจะมีการ
เปลี่ยนแปลงและพัฒนาอยู่ตลอดเวลา แต่พื้นฐานของระบบการศึกษาเดิมนั้นเปลี่ยนแปลงไม่มากนัก
ราชวงศ์ฮั่น(汉)ได้มีการริเริ่มระบบการสอบคัดเลือกบุคคลเข้ารับราชการในราชสานักโดย
รักษารูปแบบพื้นฐานปรัชญาของลัทธิขงจื๊อ ต่อมาแนวคิดนี้ได้กลายเป็นเนื้อหาหลักของการศึกษาในสังคม
ศักดินาและมีผลสืบต่อมาจนถึงยุคปัจจุบัน
ราชวงศ์สุย(隋)การศึกษามีวัตถุประสงค์หลักเพื่อ
สอบเข้ารับราชการ ประเทศจีนได้เริ่มต้นใช้ระบบการสอบที่มี
รูปแบบชัดเจนและมีมาตรฐานเพื่อคัดเลือกบุคคลเข้ารับ
ราชการ ผู้ถูกคัดเลือกคือบุคคลที่มีความรู้ความสามารถ
มีคุณสมบัติที่เหมาะสม ซึ่งแต่เดิมนอกจากลูกหลานของชน
ชั้นสูงแล้ว สามัญชนไม่มีสิทธิ์สมัครเข้าสอบคัดเลือก
ในยุคนี้ราชสานักจึงเปิดโอกาสให้สามัญชนมีสิทธิ์
ในการสมัครสอบเข้ารับคัดเลือกเป็นขุนนางมากขึ้น การสอบ
คัดเลือกเข้ารับราชการทาให้ผู้สอบได้มีโอกาสแสดงออกถึง
ความสามารถของตน การได้รับบรรจุเข้าเป็นขุนนางในราชสานักเป็นการยกระดับชีวิตความเป็นอยู่ให้ดีขึ้น
การศึกษาจึงเป็นเสมือนบันไดสู่ความสาเร็จในชีวิต แต่ระบบการสอบเข้ารับราชการนี้ถูกยกเลิกไปในสมัย
ปลายราชวงศ์ชิง(清) รวมระยะเวลากว่า 1,300 ปี
ราชวงศ์ถัง(唐)เป็นช่วงเวลาที่ประเทศจีนมีความเจริญรุ่งเรืองสูงสุด ส่วนในด้านการศึกษาเริ่มมี
การจัดตั้งวิทยาลัย(书院)ขึ้น และแพร่หลายเป็นพิเศษในราชวงศ์ซ่ง(宋)โดยความร่วมมือของภาครัฐ
และเอกชน วิทยาลัยที่ตั้งขึ้นนี้มีบรรยากาศการเรียนการสอนที่ดี นักเรียนให้ความสนใจและเข้าศึกษา
ระบบการศึกษาจีน: อดีต ปัจจุบัน อนาคต
รูปที่ 1 การสอบคัดเลือกบุคคลเข้ารับราชการในราชสานัก
ที่มา:http://guoxue.k618.cn/xxjy/
4
ที่วิทยาลัยอย่างมากมาย การจัดการเรียนการสอนของวิทยาลัยนามาซึ่งการพัฒนาด้านวิชาการและ
วิทยาการต่างๆ ซึ่งวิทยาลัยทั้งสี่ในสมัยราชวงศ์ซ่งยังคงมีชื่อเสียงมาจนถึงปัจจุบัน
ช่วงศตวรรษที่ 12 สมัยราชวงศ์ซ่งและราชวงศ์หยวน จีนได้คิดค้นสิ่งประดิษฐ์ใหม่ขึ้น เรียกว่า
สี่ยอดสิ่งประดิษฐ์(四大发明)ได้แก่ กระดาษ เทคโนโลยีการพิมพ์ เข็มทิศ ดินระเบิด ซึ่งแสดง
ถึงความก้าวหน้าของการศึกษาทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของจีน นอกจากนี้ จีนได้ติดต่อขยาย
การค้าขายกับประเทศตะวันตกและส่งสิ่งประดิษฐ์เหล่านี้ไปยังโลกตะวันตกด้วย
ถึงแม้ว่าในสมัยราชวงศ์ชิง(清)อานาจของจักรวรรดิจีนเริ่มเสื่อม แต่อารยธรรมจีนมิได้
เสื่อมถอยตาม เนื่องจากแนวคิดของนักปรัชญาจีน เช่น ขงจื่อ เล่าจื่อ ได้ขยายแนวคิดทางการศึกษา
และศาสนาไปสู่ประชาชนชาวจีน
2. การศึกษาในยุคสมัยใหม่(Modern Education:近现代教育)
ในปี 1840 หลังเกิดสงครามฝิ่น(鸦片战争)จักรวรรดิจีนเข้าสู่ยุคกึ่งอาณานิคมกึ่งสังคมศักดิ
นา(半封建半殖民地社会)ราชวงศ์จีนเริ่มเสื่อมลงและการศึกษาของจีนก็เริ่มซบเซา แต่ก็ยังมีความรู้
ในหลายศาสตร์วิชาที่ได้รับความสนใจจากชาวตะวันตกเป็นอย่างมาก เช่น ดาราศาสตร์ คณิตศาสตร์
ภูมิศาสตร์ รวมทั้งวิทยาศาสตร์การแพทย์ โดยเฉพาะการฝังเข็ม
ในช่วงศตวรรษที่ 19 รัฐบาลจีนได้จัดตั้งโรงเรียนสอนภาษาต่างประเทศ โรงเรียนการทหาร
โรงเรียนเทคนิคขึ้น ในเวลาเดียวกันยังได้ส่งเยาวชนไปศึกษาที่ตะวันตก เช่น อังกฤษ ฝรั่งเศส เป็นต้น
ปี 1911 ดร.ซุน ยัด เซน ได้ทาการปฏิวัติ
ล้มการปกครองระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ หลังจากราชวงศ์ชิงล่มสลาย ได้เปลี่ยนมาเป็นระบอบ
ประชาธิปไตย ปี 1949 เหมา เจ๋อ ตุง ได้ก่อตั้งพรรคคอมมิวนิสต์ และได้ทาการปฏิวัติเปลี่ยนแปลง
ระบอบการปกครองแบบใหม่ คือการปกครองตามแนวคอมมิวนิสต์
รัฐบาลจีนในยุคนี้ได้เร่งสะสางปัญหา เช่น ปัญหาความไม่เท่าเทียมในการได้รับการศึกษาและ
ปัญหาการดาเนินงานของรัฐที่ไม่ต่อเนื่อง การปฏิรูปการศึกษาของรัฐบาลในระยะแรกนั้นยังไม่มีการ
ระบบการศึกษาจีน: อดีต ปัจจุบัน อนาคต
รูปที่ 2 ดร.ซุน ยัดเซน
ที่มา:http://tupian.baike.com
รูปที่ 3 เหมา เจ๋อ ตุง
ที่มา:http://news.cctv.com/
毛
泽
东
5
เปลี่ยนแปลงอะไรมากนัก การศึกษาโดยทั่วไปก็ยังอาศัยพ่อแม่ พระสงฆ์ในลัทธิเต๋าเป็นผู้ให้ความรู้
เพื่อให้ประชาชนอยู่ร่วมกันอย่างสันติสุข การศึกษาสอนให้รู้จักขนบธรรมเนียมประเพณี การเคารพ
บรรพบุรุษ การอยู่ร่วมกันในสังคม ประธานาธิบดีเหมา เจ๋อ ตุง ได้พยายามใช้กลยุทธ์ทางการศึกษา
เพื่อพัฒนากรรมกรหรือผู้ใช้แรงงานเพื่อพัฒนาประเทศ
3.การศึกษาในยุคร่วมสมัย (Contemporary Education:当代教育)
นับแต่การก่อตั้งสาธารณรัฐประชาชนจีน รัฐบาลจีนได้ให้ความสาคัญอย่างมากต่ออุดมการณ์ทาง
การศึกษาของประเทศ โดยได้มีการจัดตั้งระบบการศึกษาใหม่ขึ้นเพื่อเพิ่มโอกาสให้ประชาชนในการได้รับ
การศึกษามากขึ้น รัฐบาลจีนให้ความคุ้มครองสิทธิขั้นพื้นฐานด้านการศึกษาของประชาชน และเร่ง
เดินหน้าพัฒนาปรับปรุงระบบการศึกษาแบบใหม่ โดยมุ่งยกระดับการศึกษาในโรงเรียนในทุกรูปแบบและ
ทุกระดับชั้นเพื่อให้เอื้อต่อการสืบทอดอุดมการณ์สังคมนิยมยุคใหม่อย่างต่อเนื่อง
ในช่วงปี 1953 -1957 พรรคคอมมิวนิสต์เป็นผู้ชี้นาทิศทางทางการศึกษาในช่วงนี้ได้เกิด
แผนพัฒนาประเทศขึ้นเป็นครั้งแรก เป็นผลให้เกิดการศึกษาในระดับประถมศึกษาและการศึกษาทางด้าน
วิชาชีพครู เพื่อเร่งขจัดความไม่รู้หนังสือ ตลอดจนฝึกคนเข้าทางาน ถือเป็นพัฒนาการของการเรียน
แบบผสมผสานการฝึกงาน เพื่อตอบสนองต่อความจาเป็นในการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ
รับมือกับสิ่งท้าทายจากวิทยาการและเทคโนโลยีของโลกที่เจริญรุดหน้าอย่างรวดเร็ว
ในช่วงการปฏิรูปการศึกษานี้มีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วเพราะการเมืองเข้ามามีบทบาทใน
การจัดการศึกษา มีการจัดการศึกษาในระดับพื้นฐาน กระจายไปสู่ทุกภูมิภาคของจีน ทาให้ประชาชน
ชาวจีนได้เล็งเห็นถึงความสาคัญของการศึกษามากขึ้น จุดมุ่งหมายของการปรับปรุงการศึกษาในระยะนี้ก็
เพื่อผสมผสานประเพณีและวัฒนธรรมกับเทคโนโลยีเข้าด้วยกัน ในปี 1962 ได้เกิดจุดเปลี่ยนแปลงทาง
ประวัติศาสตร์ของจีนคือการปฏิวัติวัฒนธรรม ทาให้การศึกษาได้รับการทบทวนใหม่
นับตั้งแต่จีนได้ทาการปฏิรูปและวางนโยบายทางการศึกษา การศึกษาของจีนก็ได้เกิดพัฒนา
รุดหน้าอย่างรวดเร็ว ช่วงทศวรรษ 1980 เป็นยุคทองของการปฏิรูปการศึกษา จีนได้วางยุทธศาสตร์
“การฟื้นฟูประเทศด้วยวิทยาการและการศึกษา” กาหนดให้การพัฒนาด้านการศึกษาเป็นยุทธศาสตร์
ที่สาคัญลาดับต้น การผลักดันการปฏิรูปและพัฒนาทางการศึกษาในยุคนี้ดาเนินไปอย่างต่อเนื่องบน
หลักการ “การศึกษาควรมุ่งสู่ความทันสมัย ก้าวทันความเป็นไปในโลกและอนาคต” พร้อมกันนั้น
จีนยังได้ดาเนินนโยบายที่กาหนดว่า “การศึกษาต้องสามารถรองรับต่อการขับเคลื่อนระบบสังคมนิยมยุค
ใหม่โดยผสมผสานกับแรงงานที่มีคุณภาพสูง
ระบบการศึกษาจีน: อดีต ปัจจุบัน อนาคต
6
นอกจากนี้ จีนยังมุ่งส่งเสริมการศึกษาที่ “มุ่งเน้นคุณภาพเป็นหัวใจสาคัญ” เพื่อบ่มเพาะคนรุ่น
ใหม่ที่มีจิตวิญญาณแห่งการสร้างสรรค์และเป็นนักปฏิบัติที่สามารถเผชิญกับความท้าทายใหม่ๆ ในอนาคต
ข้างหน้า
4. การศึกษาของจีนในปัจจุบัน(Education in the Present :教育现状)
ระบบการศึกษาของจีนในปัจจุบันเน้นไปที่การปลูกฝังความกตัญํูต่อบรรพบุรุษ การเห็นแก่
ประโยชน์ส่วนรวมและการพัฒนาตนเอง การพัฒนาประชาชนอย่างมีประสิทธิภาพเป็นส่วนหนึ่งของ
หลักสูตรตั้งแต่ระดับประถมศึกษาไปจนถึงระดับมหาวิทยาลัย ซึ่งมีกระทรวงศึกษาธิการจีนเป็นหน่วยงาน
หลักที่สาคัญที่สุดในการควบคุมดูแลระบบการศึกษา โดยรับผิดชอบในเรื่องของการบัญญัติกฎหมาย
กาหนดนโยบายและแผนงานด้านการศึกษา ดูแลและวางแผนการพัฒนาระบบการศึกษาจีน ปรับเปลี่ยน
นโยบายของหน่วยงานที่เกี่ยวข้องด้านการศึกษาให้เป็นแนวทางเดียวกันทั้งประเทศ
ระบบการบริหารการศึกษาของจีน แบ่งได้ดังนี้
1. การบริหารการศึกษาส่วนกลาง โดยสภาประชาชนแห่งชาติ มีหน้าที่กาหนดยุทธศาสตร์
นโยบาย และวางแผนเพื่อพัฒนาการศึกษาของประเทศ
2. การบริหารการศึกษาในส่วนภูมิภาค คือหน่วยงานส่วนภูมิภาค มณฑล จังหวัดและเทศบาล
หน่วยงานของส่วนภูมิภาคสามารถตัดสินใจด้วยตนเองได้ในบางเรื่องเช่น การแต่งตั้งคณะกรรมการ
การศึกษาในส่วนท้องถิ่น สามารถจัดการศึกษาในระดับประถมศึกษาในรูปแบบต่างๆ ได้ด้วยตนเอง ส่วน
ในระดับชั้นมัธยมศึกษา เจ้าหน้าที่ท้องถิ่นจะนานโยบาย ระบบและแผนของการจัดการศึกษาของส่วนกลาง
ไปปฏิบัติ รวมทั้งชี้แนะ ตรวจสอบและกากับดูแลงานการศึกษาของโรงเรียนและสถาบันการศึกษา
ในท้องถิ่นนั้นๆ
ระบบการศึกษาของจีน แบ่งออกเป็น 4 ระดับ คือ การศึกษาขั้นพื้นฐาน อาชีวศึกษา อุดมศึกษา
และการศึกษาผู้ใหญ่ มีรายละเอียด ดังนี้
1.การศึกษาขั้นพื้นฐาน ได้แก่ การศึกษาก่อนวัยเรียนหรืออนุบาล ประถมศึกษา มัธยมศึกษา
ตอนต้นและมัธยมศึกษาตอนปลาย
2.อาชีวศึกษา ได้แก่ การจัดการศึกษาทุกรูปแบบของโรงเรียนอาชีวศึกษา การให้การฝึกอบรมด้าน
อาชีพและเทคนิค การศึกษาด้านอาชีพจะรวมถึงการอบรมอาชีพขั้นต้นและการฝึกอบรมด้านเทคนิคก่อน
เข้าทางานแก่พนักงานของโรงงานอุตสาหกรรมหรือบริษัทด้วย
ระบบการศึกษาจีน: อดีต ปัจจุบัน อนาคต
7
3.อุดมศึกษา ได้แก่ การจัดการศึกษาให้ในระดับอุดมศึกษาทั้งหมด การศึกษาในมหาวิทยาลัย ชั้น
ปริญญาตรี ปริญญาโท และปริญญาเอก ซึ่งมีทั้งมหาวิทยาลัยระดับชาติและระดับมณฑล
4.การศึกษาผู้ใหญ่ ได้แก่ การจัดการศึกษาเพื่อให้ประชาชนอ่านออกเขียนได้ การจัดการศึกษาใน
ระดับนี้บ้างก็จัดในระบบของโรงเรียน บ้างก็ใช้รูปแบบการจัดการศึกษาแบบอื่นๆ กลุ่มเป้าหมายส่วนใหญ่จะ
เป็นประชาชนวัยผู้ใหญ่
การศึกษาก่อนวัยเรียน(学前教育)
หรือที่เรียกว่าระดับอนุบาลศึกษา เด็กที่เข้ารับ
การศึกษาจะมีอายุตั้งแต่ 3-5 ปี โรงเรียนในระดับชั้น
อนุบาลจัดตั้งขึ้นโดยเจ้าหน้าที่ท้องถิ่นหรือประชาชน
มีหลักการคือการดูแลเลี้ยงดูเด็กและให้การศึกษา
ประกอบกันไป เพื่อให้เด็กมีร่างกาย(体)ความรู้
(智)คุณธรรม(徳)ความงาม(美)ที่ครบ
สมบูรณ์ โดยการสอนจะไม่เน้นเนื้อหาทางวิชาการ
มากนัก แต่จะมุ่งเน้น ให้เด็กได้ฝึกทักษะการใช้
ชีวิตประจาวันกับสังคม การฝึกภาษา ศิลปะ และมีกิจกรรมเพื่อทาให้มีสุขภาพแข็งแรง เป็นต้น ผู้สอนใน
ระดับชั้นอนุบาลนั้น ไม่เพียงมีความรู้ความเข้าใจในเรื่องวัฒนธรรม จิตวิทยาของเด็ก หรือความรู้ในการสอน
เท่านั้น แต่ยังต้องผ่านการฝึกฝนในด้านศิลปะ เช่น การร้องเพลง การเต้น การรา งานฝีมือ การวาดภาพ
เป็นต้น ส่งผลให้เด็กมีการพัฒนาทางด้านความคิด สุขลักษณะ พัฒนาด้านร่างกายและจิตใจควบคู่กันไป
ชาวจีนโดยทั่วไปจะให้ความสนใจและส่งลูกเข้ารับการศึกษาในระดับนี้ ทั้งนี้เพื่อเป็นการเตรียมพร้อมให้ลูกใน
การเข้าศึกษาในระดับประถมศึกษาต่อไป
ซึ่งในปี 1986 รัฐบาลจีนได้ประกาศใช้กฎหมายการศึกษาภาคบังคับ《中华人民共和国义务教育
法》เรียกว่า “六三制” หมายถึงระดับประถมศึกษา 6 ปี และมัธยมศึกษาตอนต้น 3 ปี การศึกษาภาคบังคับ
ของจีน(义务教育)โรงเรียนที่จัดการศึกษาภาคบังคับมีทั้งของรัฐบาลและเอกชน โดยทั่วไปถ้าเรียนหนังสือ
ในโรงเรียนรัฐบาลค่าใช้จ่ายจะต่ากว่า เมื่อเทียบกับโรงเรียนเอกชน แต่โรงเรียนเอกชนมักจะมีอุปกรณ์การ
เรียนการสอน สิ่งแวดล้อมและคุณภาพของการศึกษาที่ดีกว่า
ระบบการศึกษาจีน: อดีต ปัจจุบัน อนาคต
รูปที่ 4 การศึกษาก่อนวัยเรียน
ที่มา:http://bbs.dezhoudaily.com/thread-903041-1-1.html
8
ระดับประถมศึกษา(初等教育)
นักเรียนมีอายุระหว่าง 6-12 ปี ระดับนี้เป็น
การศึกษาภาคบังคับ นักเรียนจะเริ่มเรียนวิชาภาษาจีน
คณิตศาสตร์พื้นฐาน จริยธรรม พลศึกษา ภาษาต่างประเทศ
และมีกิจกรรมพิเศษอื่นๆ
ระดับมัธยมศึกษา(中等教育)นักเรียนมีอายุระหว่าง 13-18 ปี แบ่งเป็นชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น
3 ปี และชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย 3 ปี ดังนี้
การศึกษาในระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น(初中阶段教育)
การจัดการศึกษาจะต้องมีส่วนประกอบทั้งทางด้านวิชาการและกิจกรรม นักเรียนจะได้เรียนทั้งวิชา
เคมี ชีววิทยา ฟิสิกส์ ประวัติศาสตร์ ภูมิศาสตร์ ภาษาต่างประเทศ ศิลปะ พลศึกษา และอบรมแนวอาชีพ
ระยะสั้น
ในปี 2007 พบว่ามีนักเรียนชาวจีนในชนบทหลายคนมีครอบครัวที่มีฐานะความเป็นอยู่อย่าง
ลาบาก ฐานะทางการเงินไม่ดีนัก ไม่เพียงพอที่จะส่งลูกเข้าศึกษาในโรงเรียน รัฐบาลจึงมีนโยบายให้ความ
ช่วยเหลือเรื่องค่าเล่าเรียน ค่าสมุดหนังสือ ค่าที่พัก รวมถึงค่าใช้จ่ายในชีวิตประจาวัน ต่อมาในปี 2010
นักเรียนในเขตชนบทของประเทศจีนได้รับการศึกษาภาคบังคับฟรี และในปี 2015 เด็กในประเทศจีนทั่วทุก
พื้นที่ ได้รับการศึกษาฟรีเป็นเวลา 9 ปี (ประถมศึกษา 6 ปี ถึงมัธยมศึกษาตอนต้น 3 ปี)
การศึกษาในระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย (高中阶段教育)
เมื่อเรียนจบการศึกษาภาคบังคับคือจบชั้นมัธยมต้น นักเรียนก็จะเข้าสู่การศึกษาชั้นมัธยมศึกษา
ตอนปลาย การศึกษาในระดับนี้ถือเป็นพื้นฐานที่สาคัญในการยกระดับการศึกษาของชาติ นักเรียนจะเริ่ม
เรียนวิชาเฉพาะ ที่ตรงกับความถนัดของแต่ละบุคคลโดยแบ่งออกเป็น 2 รูปแบบ คือ มัธยมปลายสาย
สามัญ(普通高中教学)และมัธยมอาชีวศึกษา(中等职业教育)
มัธยมปลายสายสามัญ(普通高中教学)
ระบบการศึกษาจีน: อดีต ปัจจุบัน อนาคต
รูปที่ 5 การเรียนของนักเรียนจีนระดับประถมศึกษา
ที่มา:http://www.jyb.cn/zgjyb/two/200711/t20071108_124188.html
9
จะแบ่งเป็นสายวิทยาศาสตร์และศิลปศาสตร์ ใช้เวลาเรียน ทั้งสิ้น 3 ปี ประกอบไปด้วยวิชาภาษา
และวัฒนธรรม คณิตศาสตร์ มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี ศิลปะ กีฬาและ
สุขภาพและกิจกรรมบูรณาการ รวม 8 กลุ่มสาระวิชา ซึ่งในแต่ละสาขาจะมีการออกแบบหลักสูตรและ
เกณฑ์การวัดและประเมินผลที่มีการเชื่อมโยงกันของหลักเหตุและผลในเนื้อหาของสาขาวิชานั้น
เนื่องจากเป็นระดับการศึกษานอกภาคบังคับ นักเรียนจึงต้องรับผิดชอบค่าเล่าเรียนเอง ในแต่ละท้องที่จะมี
ระดับค่าเล่าเรียนที่ต่างกันไป โรงเรียนมัธยมปลายในจีนส่วนใหญ่จะเป็นโรงเรียนของรัฐ ทั้งนี้ การเข้าเรียน
ในระดับมัธยมปลายในจีนจาเป็นต้องสอบเข้า โดยดูจากระดับคะแนนที่สอบได้ ซึ่งข้อสอบที่ใช้จะเป็น
ข้อสอบที่จัดทาโดยหน่วยงานการศึกษาส่วนภูมิภาค
มัธยมอาชีวศึกษาหรือมัธยมศึกษาพิเศษ(中
等职业教育)
จะใช้เวลาเรียน 2-4 ปี รวมถึงมีหลักสูตร
อบรมวิชาชีพระยะสั้น ซึ่งผู้เรียนในสายวิชาชีพนี้
จะเป็นนักเรียนที่จบการศึกษาภาคบังคับมาก่อน
การศึกษาในด้านวิชาชีพถือเป็นหัวใจสาคัญ
ของตลาดแรงงานและการขับเคลื่อนเศรษฐกิจ
ของประเทศจีน เนื้อหาที่ใช้สอนนั้นมีการ
สอดแทรกคุณธรรม จริยธรรม และมุ่งเน้นเพื่อการนาไปประกอบอาชีพในอนาคต ซึ่งภายหลังปี 1980 เป็น
ต้นมา การพัฒนาด้านอาชีวศึกษาของจีนเป็นไปอย่างรวดเร็ว ในปัจจุบันสถานการณ์การเติบโตของ
การศึกษาด้านอาชีพมีการเปลี่ยนแปลง นักศึกษาจานวนมากมีความต้องการศึกษาในสายอาชีพ ทั้ง
การศึกษาด้านเศรษฐกิจ การคลัง ด้านพลศึกษา และ
ด้านศิลปกรรมมีแนวโน้มที่สูงขึ้น ส่วนการศึกษาด้าน
วิทยาศาสตร์มีแนวโน้มลดลง
หลังจากนักเรียนจบชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย
นักเรียนจะต้องสอบเอ็นทรานซ์(高考)เพื่อเข้าศึกษา
ต่อในระดับอุดมศึกษา โดยมีกระทรวงศึกษาธิการส่วน
ทาหน้าที่กากับดูแลและอนุมัติในการรับนักศึกษา การ
สอบเข้าเรียนต่อในระดับอุดมศึกษาจะใช้รูปแบบการสอบ
“3+X” ซึ่ง “3” คือทุกคนที่เข้าสอบจะต้องทดสอบวิชา
รูปที่ 6 นักเรียนชั้นมัธยมปลายสายสามัญ
ที่มา:http://photo.gscn.com.cn/system/2013/06/03/
ระบบการศึกษาจีน: อดีต ปัจจุบัน อนาคต
รูปที่ 7 การศึกษาด้านอาชีพของนักเรียนอาชีวศึกษา
ที่มา:http://www.wenzhou.gov.cn/art/2012/2/21/
art_11814_206397.html
10
ความรู้ด้านภาษาจีน(语文) วิชาคณิตศาสตร์(数学)และวิชาภาษาต่างประเทศ(外语)ส่วน “X”
หมายถึง ทุกคนที่เข้าสอบสามารถเลือกสอบในสาขาต่างๆ ตามที่ตนถนัดและตามที่สาขาวิชาที่จะ
เลือกเรียนต่อได้กาหนดไว้ โดยมีให้เลือกสอบ 6 วิชา ได้แก่การเมือง(政治) ฟิสิกส์(物理)เคมี(化
学)ชีววิทยา(生物)ประวัติศาสตร์(历史)ภูมิศาสตร์(地理) นักเรียนที่สอบจะต้องระบุชื่อ
มหาวิทยาลัย คณะและสาขาที่ต้องการเรียน ซึ่งเกณฑ์การผ่านการคัดเลือกขึ้นอยู่กับผลคะแนนการ
สอบ หลังจากผ่านการคัดเลือกแล้วจึงมีการพิจารณาคุณสมบัติด้านพฤติกรรมทางสังคม คุณธรรมและ
จริยธรรมต่อไป
ระดับอุดมศึกษา(高等教育)
การเรียนในระดับอุดมศึกษาของจีนนั้นจะ
แบ่งเป็นการเรียนในมหาวิทยาลัย การเรียนในสถาบัน
ชั้นสูงเฉพาะทาง รวมทั้งโรงเรียนฝึกหัดครู สาหรับ
การเรียนในมหาวิทยาลัย ตั้งแต่ปี 1980 เป็นต้นมา
การเรียนมหาวิทยาลัยมีความเจริญก้าวหน้ามาก
โดยเฉพาะการเรียนที่เน้นการสร้างความรู้ใหม่ การ
วิจัยทดลองต่างๆ แต่ยังมีเด็กบางส่วนที่ขาดแคลนทุนทรัพย์ในการศึกษาต่อในระดับอุดมศึกษา และ
เพื่อไม่ให้เด็กเหล่านั้นสูญเสียโอกาสทางการศึกษา ทางรัฐบาลหรือมหาวิทยาลัยได้จัดให้มีความ
ช่วยเหลือ เช่น จัดสรรทุนการศึกษา ให้เงินกู้ยืมทางการศึกษา ทุนนักเรียนเรียนดีและขยัน ในบางราย
มีการให้การช่วยเหลือพิเศษ เช่น ให้ทุนเรียนฟรีจนจบระดับอุดมศึกษา
การเรียนในระดับอุดมศึกษาจะแบ่งออกเป็น 3 ระดับ คือ ระดับปริญญาตรี ในสาขาทางด้าน
สังคมศาสตร์และวิทยาศาสตร์จะใช้เวลาเรียน 4-5 ปี ส่วนนักศึกษาที่เรียนสาขาแพทยศาสตร์จะใช้
ระยะเวลา 6 ปี การศึกษาในระดับปริญญาโท จะมีการทาวิจัยหรือวิทยานิพนธ์(论文)ซึ่งเป็นการ
ค้นคว้าความรู้ใหม่ภายใต้คาแนะนาของอาจารย์ที่ปรึกษา(导师) ส่วนระดับปริญญาเอกส่วนมากจะ
ใช้เวลาเรียน 3-5 ปี ซึ่งจะเน้นการค้นหาความรู้ใหม่ๆ ที่สามารถนาไปพัฒนาประเทศได้
การจัดการเรียนการสอนในระดับอุดมศึกษาจะมีมหาวิทยาลัย คณะ และสาขาวิชาเป็น
ผู้ดาเนินการ ซึ่งสถาบันที่จะจัดการศึกษาจะต้องมีความพร้อมในสมรรถนะ 3 ด้าน ได้แก่ ด้านการเรียน
การสอน ด้านการวิจัยทางวิทยาศาสตร์ และด้านการให้บริการแก่สังคม จีนจัดให้มีแหล่งศึกษาและ
สถานศึกษาอยู่ทั่วทุกภูมิภาค เพื่อมุ่งผลิตคนให้มีความรู้ในระดับสูง และเน้นการฝึกวิชาชีพให้กับ
ประชาชน ประเทศจีนนั้นเล็งเห็นถึงการยกระดับมาตรฐานการศึกษาของประเทศไปสู่ความเป็นเลิศที่
ระบบการศึกษาจีน: อดีต ปัจจุบัน อนาคต
รูปที่ 8 จบการศึกษาระดับปริฌฌาตรี
ที่มา:www.news.cn
11
ทัดเทียมนานาอารยประเทศและนาความสามารถด้านต่างๆ ของนักศึกษาที่มีอยู่มาพัฒนาประเทศใน
อนาคต
5. การปฏิรูปการศึกษาของจีนในอนาคต (Chinese Future Education Reform)
หนังสือพิมพ์การศึกษาของจีนได้เผยแพร่งานวิจัยชิ้นหนึ่งที่วิเคราะห์และคาดการณ์ถึงรูปแบบของ
การศึกษาในอนาคตที่แสดงให้เห็นว่าจีนได้ทาการปฏิรูปอย่างต่อเนื่องด้านการศึกษา โดยงานวิจัยชิ้นนี้
เป็นของศาสตร์ตราจารย์โจว หง หนิง (周洪宁)ซึ่งดารงตาแหน่งสมาชิกสภาประชาชนแห่งชาติ
รองผู้ว่าการมณฑลหูเป่ย คณบดีสถาบันวิจัยฉางเจียง( 长 江 教 育 研 究 院 )และศาสตราจารย์ประจา
วิทยาลัยครูหัวจง(华中师范大学) ร่วมมือกับอาจารย์หวง ลี่ หมิง (黄立明)ซึ่งสรุปสิ่งที่เป็น
หัวใจสาคัญหรือเรียกได้ว่าเป็นทางออกของการปฏิรูปการศึกษาในอนาคต 10 ข้อ ที่กาลังเป็นที่จับตามอง
ในปี 2016 ได้แก่
1.การศึกษาเพื่อการพัฒนาแบบ New normal(教育发展新常态)ต้องการที่จะย้อนกลับมาสู่
แก่นแท้ของการศึกษา(回归教育的本质)เพื่อสร้างรากฐานให้เด็กได้เข้าใจชีวิต รู้ถึงความต้องการ
และสามารถวางรากฐานการประกอบอาชีพที่มั่นคงในอนาคตได้
2 .การปฏิรูปการศึกษาตามอัธยาศัย( 教 育 的 供 给 侧 改 革 )เป็นการยกระดับการศึกษาให้
หลากหลายและมีประสิทธิภาพสูงขึ้น มุ่งเน้นการให้อิสระในการเลือกรับการศึกษาที่ตรงกับความต้องการ
ของผู้เรียนและความต้องการของสังคมในอนาคต
3.นวัตกรรมการศึกษา( 创 新 教 育 )คือการนาเอาสิ่งใหม่ซึ่งอาจจะอยู่ในรูปของความคิดหรือ
นวัตกรรมมาใช้กับระบบการศึกษา เพื่อที่จะส่งเสริมให้การจัดการศึกษามีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น ซึ่งคาดว่า
ในปี 2020 การจัดการศึกษาทุกห้องเรียนของจีนจะต้องสมบูรณ์แบบ
4.ความร่วมมือกันทางการศึกษา( 协 调 教 育 )เป็นความต้องการจัดการศึกษาในอุดมคติของ
จีน โดยให้ทุกคนเข้าถึงการศึกษาได้แม้ในพื้นที่ที่ห่างไกลและมีความเสมอภาคด้านการศึกษา
5.การศึกษาสีเขียว(绿色教育) เป็นการพัฒนาความคิดหรือหนทางในการจัดการศึกษา ซึ่งมุ่ง
สร้างสิ่งแวดล้อมสีเขียวที่จะส่งเสริมการศึกษาให้มีคุณภาพ
6.การเปิ ดกว้างทางการศึกษา(开放教育)เป็นการจัดการศึกษาที่นาเอาจุดเด่นทางการศึกษา
ของต่างประเทศมาปรับใช้ให้เหมาะสมกับการศึกษาของจีน นอกจากนี้ จีนได้ส่งเสริมและพัฒนาการศึกษา
ภายในประเทศและสร้างบุคลากรที่มีคุณภาพให้ออกไปแสดงศักยภาพยังต่างประเทศ
7.การจัดระบบการศึกษาแบบถ้วนหน้า( 共 享 教 育 )เพื่อให้ทุกคนได้รับความเสมอภาคทาง
การศึกษาอย่างทั่วถึง แม้แต่คนเดียวก็ไม่อาจละเว้นได้
8.คุณภาพการศึกษา(教育质量)เป็นการประเมินค่าการศึกษาว่ามีคุณภาพตรงตามเกณฑ์หรือ
ระบบการศึกษาจีน: อดีต ปัจจุบัน อนาคต
12
ตามมาตรฐานที่กาหนดไว้ว่าประชาชนควรได้รับหรือไม่
9.การศึกษาผ่านทางอินเตอร์เน็ต(互联网+教育)เป็นการบูรณาการที่สาคัญ เป็นการเปิดโลก
ทัศน์ทางการศึกษาซึ่งทุกคนสามารถเรียนรู้ได้อย่างไม่จากัดและถึงแม้จะอยู่ห่างไกลจากครูผู้สอนแต่
นักเรียนสามารถเข้าไปหาความรู้ได้ทุกที่ทุกเวลา
10.กฎหมายการศึกษา( 教 育 法 治 ) เป็นการจัดการระบบการศึกษาให้มีความเป็นระเบียบ
โดยประสานความร่วมมือกับหลายฝ่ายเพื่อส่งเสริมการศึกษา ซึ่งกฎหมายการศึกษา ถือเป็นการสร้าง
ความเข้มแข็งให้การศึกษาของประเทศจีน
สรุป
จะเห็นได้ว่า ประเทศจีนให้ความสาคัญในด้านการศึกษามาตั้งแต่โบราณ ในสมัยก่อนการศึกษา
ถือเป็นเครื่องมือสาคัญในการยกระดับฐานะทางสังคมผ่านการสอบเข้ารับราชการในราชสานัก ต่อมาใน
ยุคสมัยใหม่ ได้รับอิทธิพลและความรู้มาจากตะวันตก มีการจัดตั้งโรงเรียนการทหาร และโรงเรียนสอน
ภาษา ในยุคนี้ แม้ศาสตร์ความรู้ของจีนจะซบเซาลง แต่บางศาสตร์ยังคงได้รับความสนใจจากตะวันตก
เช่น ดาราศาสตร์ และวิทยาศาสตร์การแพทย์ โดยเฉพาะการฝังเข็ม ส่วนในยุคร่วมสมัย เกิดแผนพัฒนา
ประเทศขึ้นเป็นครั้งแรก ทาให้การปฏิรูปและวางนโยบายการศึกษาพัฒนาไปอย่างรวดเร็ว เกิดการศึกษา
ในระดับพื้นฐานและกระจายการศึกษาไปทั่วทุกภูมิภาค
ในปัจจุบัน การศึกษาในประเทศจีนมีการดาเนินการจัดการศึกษาที่เป็นไปอย่างมีระบบและมีการ
พัฒนาไปอย่างต่อเนื่อง นับตั้งแต่ผู้นาจีนชุดปัจจุบันคือ ประธานาธิบดี สี จิ้นผิง (习近平) และ
นายกรัฐมนตรี หลี่ เค่อเฉียง (李克强)ได้ขึ้นมาดารงตาแหน่ง มีการเปลี่ยนแปลงนโยบายต่างๆ เพื่อนา
ประเทศจีนไปสู่การพัฒนา โดยหนึ่งในนโยบายหลักของรัฐบาลชุดนี้ คือการปฏิรูปการศึกษา ทั้งรัฐบาล
และทุกภาคส่วนร่วมมือกันเพื่อที่จะปฏิรูปการศึกษาของประเทศให้มีความก้าวหน้า แข็งแกร่ง และ
13
เรียบเรียง
1.หนังสือเรื่อง 中国概况A Survey of China
2.http://learning.sohu.com/20160314/n440421515.shtml

More Related Content

What's hot

การวิเคราะห์และประเมินคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรม
การวิเคราะห์และประเมินคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรมการวิเคราะห์และประเมินคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรม
การวิเคราะห์และประเมินคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรม
Watcharapol Wiboolyasarin
 
กิจกรรมสะเต็มศึกษา (สสวท.)
กิจกรรมสะเต็มศึกษา (สสวท.)กิจกรรมสะเต็มศึกษา (สสวท.)
กิจกรรมสะเต็มศึกษา (สสวท.)
kroofon fon
 
คู่มือการเขียนรายงาน การอ้างอิง การประกวดโครงงานวิทยาศาสตร์ สมาคมวิทยาศาสตร์ ...
คู่มือการเขียนรายงาน การอ้างอิง การประกวดโครงงานวิทยาศาสตร์ สมาคมวิทยาศาสตร์ ...คู่มือการเขียนรายงาน การอ้างอิง การประกวดโครงงานวิทยาศาสตร์ สมาคมวิทยาศาสตร์ ...
คู่มือการเขียนรายงาน การอ้างอิง การประกวดโครงงานวิทยาศาสตร์ สมาคมวิทยาศาสตร์ ...
Totsaporn Inthanin
 
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
Kobwit Piriyawat
 
รูปเล่มวิชาโครงงาน
รูปเล่มวิชาโครงงานรูปเล่มวิชาโครงงาน
รูปเล่มวิชาโครงงาน
AjBenny Pong
 
ตัวอย่าง ปกรายงาน
ตัวอย่าง ปกรายงานตัวอย่าง ปกรายงาน
ตัวอย่าง ปกรายงานSamorn Tara
 
พระรัตนตรัย
พระรัตนตรัยพระรัตนตรัย
พระรัตนตรัย
Thanawut Rattanadon
 
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องKittichai Pinlert
 
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5kessara61977
 
กิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศกิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศ
maerimwittayakom school
 
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
Thanawut Rattanadon
 
แบบฝึกทักษะเรื่อง การแต่งโคลงสี่สุภาพ ชุดที่ ๑๐ เรื่อง กลวิธีในการแต่งโคลง...
แบบฝึกทักษะเรื่อง  การแต่งโคลงสี่สุภาพ  ชุดที่ ๑๐  เรื่อง กลวิธีในการแต่งโคลง...แบบฝึกทักษะเรื่อง  การแต่งโคลงสี่สุภาพ  ชุดที่ ๑๐  เรื่อง กลวิธีในการแต่งโคลง...
แบบฝึกทักษะเรื่อง การแต่งโคลงสี่สุภาพ ชุดที่ ๑๐ เรื่อง กลวิธีในการแต่งโคลง...
Decha Sirigulwiriya
 
แบบทดสอบมัทนะพาธา
แบบทดสอบมัทนะพาธาแบบทดสอบมัทนะพาธา
แบบทดสอบมัทนะพาธาkrudow14
 
ถอดความบทประพันธ์เรื่อง โคลงสุภาษิตนฤทุมนาการ
ถอดความบทประพันธ์เรื่อง โคลงสุภาษิตนฤทุมนาการถอดความบทประพันธ์เรื่อง โคลงสุภาษิตนฤทุมนาการ
ถอดความบทประพันธ์เรื่อง โคลงสุภาษิตนฤทุมนาการsupaporn2516mw
 
ปรัชญาพิพัฒนาการนิยม
ปรัชญาพิพัฒนาการนิยมปรัชญาพิพัฒนาการนิยม
ปรัชญาพิพัฒนาการนิยม
Proud N. Boonrak
 
ปฏิทินปฏิบัติงาน ปีการศึกษา 2565
ปฏิทินปฏิบัติงาน ปีการศึกษา 2565ปฏิทินปฏิบัติงาน ปีการศึกษา 2565
ปฏิทินปฏิบัติงาน ปีการศึกษา 2565
MungMink2
 
กิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศกิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศ
ศุภกรณ์ วัฒนศรี
 
ที่มาและความสำคัญของโครงงาน
ที่มาและความสำคัญของโครงงานที่มาและความสำคัญของโครงงาน
ที่มาและความสำคัญของโครงงาน
Phongsak Kongkham
 
โครงงานวิชา Is2
โครงงานวิชา Is2โครงงานวิชา Is2
โครงงานวิชา Is2
LeoBlack1017
 

What's hot (20)

การวิเคราะห์และประเมินคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรม
การวิเคราะห์และประเมินคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรมการวิเคราะห์และประเมินคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรม
การวิเคราะห์และประเมินคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรม
 
กิจกรรมสะเต็มศึกษา (สสวท.)
กิจกรรมสะเต็มศึกษา (สสวท.)กิจกรรมสะเต็มศึกษา (สสวท.)
กิจกรรมสะเต็มศึกษา (สสวท.)
 
คู่มือการเขียนรายงาน การอ้างอิง การประกวดโครงงานวิทยาศาสตร์ สมาคมวิทยาศาสตร์ ...
คู่มือการเขียนรายงาน การอ้างอิง การประกวดโครงงานวิทยาศาสตร์ สมาคมวิทยาศาสตร์ ...คู่มือการเขียนรายงาน การอ้างอิง การประกวดโครงงานวิทยาศาสตร์ สมาคมวิทยาศาสตร์ ...
คู่มือการเขียนรายงาน การอ้างอิง การประกวดโครงงานวิทยาศาสตร์ สมาคมวิทยาศาสตร์ ...
 
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
 
รูปเล่มวิชาโครงงาน
รูปเล่มวิชาโครงงานรูปเล่มวิชาโครงงาน
รูปเล่มวิชาโครงงาน
 
ตัวอย่าง ปกรายงาน
ตัวอย่าง ปกรายงานตัวอย่าง ปกรายงาน
ตัวอย่าง ปกรายงาน
 
พระรัตนตรัย
พระรัตนตรัยพระรัตนตรัย
พระรัตนตรัย
 
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้องบทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5
 
กิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศกิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศ
 
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
 
แบบฝึกทักษะเรื่อง การแต่งโคลงสี่สุภาพ ชุดที่ ๑๐ เรื่อง กลวิธีในการแต่งโคลง...
แบบฝึกทักษะเรื่อง  การแต่งโคลงสี่สุภาพ  ชุดที่ ๑๐  เรื่อง กลวิธีในการแต่งโคลง...แบบฝึกทักษะเรื่อง  การแต่งโคลงสี่สุภาพ  ชุดที่ ๑๐  เรื่อง กลวิธีในการแต่งโคลง...
แบบฝึกทักษะเรื่อง การแต่งโคลงสี่สุภาพ ชุดที่ ๑๐ เรื่อง กลวิธีในการแต่งโคลง...
 
แบบทดสอบมัทนะพาธา
แบบทดสอบมัทนะพาธาแบบทดสอบมัทนะพาธา
แบบทดสอบมัทนะพาธา
 
ถอดความบทประพันธ์เรื่อง โคลงสุภาษิตนฤทุมนาการ
ถอดความบทประพันธ์เรื่อง โคลงสุภาษิตนฤทุมนาการถอดความบทประพันธ์เรื่อง โคลงสุภาษิตนฤทุมนาการ
ถอดความบทประพันธ์เรื่อง โคลงสุภาษิตนฤทุมนาการ
 
Ast.c2560.5t
Ast.c2560.5tAst.c2560.5t
Ast.c2560.5t
 
ปรัชญาพิพัฒนาการนิยม
ปรัชญาพิพัฒนาการนิยมปรัชญาพิพัฒนาการนิยม
ปรัชญาพิพัฒนาการนิยม
 
ปฏิทินปฏิบัติงาน ปีการศึกษา 2565
ปฏิทินปฏิบัติงาน ปีการศึกษา 2565ปฏิทินปฏิบัติงาน ปีการศึกษา 2565
ปฏิทินปฏิบัติงาน ปีการศึกษา 2565
 
กิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศกิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศ
 
ที่มาและความสำคัญของโครงงาน
ที่มาและความสำคัญของโครงงานที่มาและความสำคัญของโครงงาน
ที่มาและความสำคัญของโครงงาน
 
โครงงานวิชา Is2
โครงงานวิชา Is2โครงงานวิชา Is2
โครงงานวิชา Is2
 

Similar to ระบบการศึกษาจีน อดีต-ปัจจุบัน-อนาคต

04ประวัติชนชาติไทย
04ประวัติชนชาติไทย04ประวัติชนชาติไทย
04ประวัติชนชาติไทยJulPcc CR
 
อิทธิพลอารยธรรมตะวันออก
อิทธิพลอารยธรรมตะวันออกอิทธิพลอารยธรรมตะวันออก
อิทธิพลอารยธรรมตะวันออก
timtubtimmm
 
อธิบายสังคมเสียใหม่ให้พ้นไปจากกรอบคิดตะวันตก
อธิบายสังคมเสียใหม่ให้พ้นไปจากกรอบคิดตะวันตกอธิบายสังคมเสียใหม่ให้พ้นไปจากกรอบคิดตะวันตก
อธิบายสังคมเสียใหม่ให้พ้นไปจากกรอบคิดตะวันตก
Klangpanya
 
2.3 อิทธิพลอารยธรรมตะวันออก
2.3 อิทธิพลอารยธรรมตะวันออก2.3 อิทธิพลอารยธรรมตะวันออก
2.3 อิทธิพลอารยธรรมตะวันออกJitjaree Lertwilaiwittaya
 
งานนำเสนอ อารยธรรมจีน
งานนำเสนอ อารยธรรมจีนงานนำเสนอ อารยธรรมจีน
งานนำเสนอ อารยธรรมจีนSRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
thesis 1
thesis 1thesis 1
สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์
สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์
สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์pentanino
 
ถ้ำโม่เกาเมืองตุนหวง
ถ้ำโม่เกาเมืองตุนหวงถ้ำโม่เกาเมืองตุนหวง
ถ้ำโม่เกาเมืองตุนหวงSRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
The evolution of science curriculum in the United States (Thai Version) โดย ก...
The evolution of science curriculum in the United States (Thai Version) โดย ก...The evolution of science curriculum in the United States (Thai Version) โดย ก...
The evolution of science curriculum in the United States (Thai Version) โดย ก...
Kobwit Piriyawat
 
ประวัติ2
ประวัติ2ประวัติ2
ประวัติ2sangworn
 
นำเสนอประวัติการศึกษาของไทย
นำเสนอประวัติการศึกษาของไทยนำเสนอประวัติการศึกษาของไทย
นำเสนอประวัติการศึกษาของไทยhall999
 
นำเสนอประวัติการศึกษาของไทย
นำเสนอประวัติการศึกษาของไทยนำเสนอประวัติการศึกษาของไทย
นำเสนอประวัติการศึกษาของไทยhall999
 
บทที่ 1 วิธีการทางประวัติศาสตร์ และการแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
บทที่ 1 วิธีการทางประวัติศาสตร์  และการแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์บทที่ 1 วิธีการทางประวัติศาสตร์  และการแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
บทที่ 1 วิธีการทางประวัติศาสตร์ และการแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์krunumc
 
ศึกษาความเป็นมา วิธีการเผยแผ่ และอิทธพลขององค์กรพุทธฉือจี้
ศึกษาความเป็นมา วิธีการเผยแผ่ และอิทธพลขององค์กรพุทธฉือจี้ศึกษาความเป็นมา วิธีการเผยแผ่ และอิทธพลขององค์กรพุทธฉือจี้
ศึกษาความเป็นมา วิธีการเผยแผ่ และอิทธพลขององค์กรพุทธฉือจี้Anchalee BuddhaBucha
 

Similar to ระบบการศึกษาจีน อดีต-ปัจจุบัน-อนาคต (20)

สังคมศึกษา ต้น
สังคมศึกษา ต้นสังคมศึกษา ต้น
สังคมศึกษา ต้น
 
สังคมศึกษา
สังคมศึกษาสังคมศึกษา
สังคมศึกษา
 
อังกฤษ ต้น
อังกฤษ ต้นอังกฤษ ต้น
อังกฤษ ต้น
 
ประวัติศาสตร์ไทย 3
ประวัติศาสตร์ไทย 3ประวัติศาสตร์ไทย 3
ประวัติศาสตร์ไทย 3
 
04ประวัติชนชาติไทย
04ประวัติชนชาติไทย04ประวัติชนชาติไทย
04ประวัติชนชาติไทย
 
อารยธรรมจีน
อารยธรรมจีนอารยธรรมจีน
อารยธรรมจีน
 
อิทธิพลอารยธรรมตะวันออก
อิทธิพลอารยธรรมตะวันออกอิทธิพลอารยธรรมตะวันออก
อิทธิพลอารยธรรมตะวันออก
 
355
355355
355
 
อธิบายสังคมเสียใหม่ให้พ้นไปจากกรอบคิดตะวันตก
อธิบายสังคมเสียใหม่ให้พ้นไปจากกรอบคิดตะวันตกอธิบายสังคมเสียใหม่ให้พ้นไปจากกรอบคิดตะวันตก
อธิบายสังคมเสียใหม่ให้พ้นไปจากกรอบคิดตะวันตก
 
2.3 อิทธิพลอารยธรรมตะวันออก
2.3 อิทธิพลอารยธรรมตะวันออก2.3 อิทธิพลอารยธรรมตะวันออก
2.3 อิทธิพลอารยธรรมตะวันออก
 
งานนำเสนอ อารยธรรมจีน
งานนำเสนอ อารยธรรมจีนงานนำเสนอ อารยธรรมจีน
งานนำเสนอ อารยธรรมจีน
 
thesis 1
thesis 1thesis 1
thesis 1
 
สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์
สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์
สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์
 
ถ้ำโม่เกาเมืองตุนหวง
ถ้ำโม่เกาเมืองตุนหวงถ้ำโม่เกาเมืองตุนหวง
ถ้ำโม่เกาเมืองตุนหวง
 
The evolution of science curriculum in the United States (Thai Version) โดย ก...
The evolution of science curriculum in the United States (Thai Version) โดย ก...The evolution of science curriculum in the United States (Thai Version) โดย ก...
The evolution of science curriculum in the United States (Thai Version) โดย ก...
 
ประวัติ2
ประวัติ2ประวัติ2
ประวัติ2
 
นำเสนอประวัติการศึกษาของไทย
นำเสนอประวัติการศึกษาของไทยนำเสนอประวัติการศึกษาของไทย
นำเสนอประวัติการศึกษาของไทย
 
นำเสนอประวัติการศึกษาของไทย
นำเสนอประวัติการศึกษาของไทยนำเสนอประวัติการศึกษาของไทย
นำเสนอประวัติการศึกษาของไทย
 
บทที่ 1 วิธีการทางประวัติศาสตร์ และการแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
บทที่ 1 วิธีการทางประวัติศาสตร์  และการแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์บทที่ 1 วิธีการทางประวัติศาสตร์  และการแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
บทที่ 1 วิธีการทางประวัติศาสตร์ และการแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
 
ศึกษาความเป็นมา วิธีการเผยแผ่ และอิทธพลขององค์กรพุทธฉือจี้
ศึกษาความเป็นมา วิธีการเผยแผ่ และอิทธพลขององค์กรพุทธฉือจี้ศึกษาความเป็นมา วิธีการเผยแผ่ และอิทธพลขององค์กรพุทธฉือจี้
ศึกษาความเป็นมา วิธีการเผยแผ่ และอิทธพลขององค์กรพุทธฉือจี้
 

More from Klangpanya

ิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทย
ิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทยิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทย
ิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทย
Klangpanya
 
การปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภค
การปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภคการปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภค
การปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภค
Klangpanya
 
ประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทย
ประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทยประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทย
ประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทย
Klangpanya
 
กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท
กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท
กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท
Klangpanya
 
ยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีน
ยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีนยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีน
ยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีน
Klangpanya
 
‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China ...
‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China...‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China...
‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China ...
Klangpanya
 
World-changing and the Thai-Chinese Relations
World-changing and the Thai-Chinese RelationsWorld-changing and the Thai-Chinese Relations
World-changing and the Thai-Chinese Relations
Klangpanya
 
Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...
Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...
Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...
Klangpanya
 
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...
Klangpanya
 
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...
Klangpanya
 
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีน
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีนความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีน
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีน
Klangpanya
 
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...
Klangpanya
 
Trends in Social and Environmental Responsibility Presentation
Trends in Social and Environmental Responsibility PresentationTrends in Social and Environmental Responsibility Presentation
Trends in Social and Environmental Responsibility Presentation
Klangpanya
 
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...
Klangpanya
 
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...
Klangpanya
 
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีน
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีนPelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีน
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีน
Klangpanya
 
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...
Klangpanya
 
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...
Klangpanya
 
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdf
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdfppt อ.ชัยวัฒน์.pdf
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdf
Klangpanya
 
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf
Klangpanya
 

More from Klangpanya (20)

ิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทย
ิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทยิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทย
ิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทย
 
การปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภค
การปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภคการปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภค
การปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภค
 
ประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทย
ประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทยประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทย
ประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทย
 
กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท
กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท
กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท
 
ยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีน
ยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีนยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีน
ยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีน
 
‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China ...
‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China...‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China...
‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China ...
 
World-changing and the Thai-Chinese Relations
World-changing and the Thai-Chinese RelationsWorld-changing and the Thai-Chinese Relations
World-changing and the Thai-Chinese Relations
 
Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...
Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...
Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...
 
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...
 
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...
 
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีน
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีนความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีน
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีน
 
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...
 
Trends in Social and Environmental Responsibility Presentation
Trends in Social and Environmental Responsibility PresentationTrends in Social and Environmental Responsibility Presentation
Trends in Social and Environmental Responsibility Presentation
 
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...
 
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...
 
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีน
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีนPelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีน
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีน
 
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...
 
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...
 
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdf
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdfppt อ.ชัยวัฒน์.pdf
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdf
 
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf
 

Recently uploaded

1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
Prachyanun Nilsook
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdfงานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
atwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtxatwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtx
Bangkok, Thailand
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 

Recently uploaded (10)

1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdfงานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
 
atwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtxatwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtx
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
 

ระบบการศึกษาจีน อดีต-ปัจจุบัน-อนาคต

  • 1. วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต 1 ระบบการศึกษาของจีน นางสาวฐิตาพร จบสัฌจร ปู้ช่วยนักวิจัยเยี่ยมเยือน (Visiting Research Asistant) สถาบันคลังปัฌฌาด้านยุทธศาสตร์ชาติ อดีต ปัจจุบัน อนาคต อ้างอิงรูปภาพ WWW.JYB.COM.CN
  • 2. ระบบการศึกษาของจีน อดีต ปัจจุบัน อนาคต นางสาวฐิตาพร จบสัฌจร นักศึกษาปริฌฌาโท คณะศึกษาศาสตร์นานาชาติ มหาวิทยาลัยซานตง ปู้ช่วยนักวิจัยเยี่ยมเยือน (Visiting Research Asistant) สถาบันคลังปัฌฌาด้านยุทธศาสตร์ชาติ ระยะเวลา 1 เดือน วันที่ 21 ก.ค.-21 ส.ค.2559 ผู้อานวยการสถาบันคลังปัญญาฯ : ศ.ดร.เอนก เหล่าธรรมทัศน์ บรรณาธิการ : น.ส.ยุวดี คาดการณ์ไกล สรุปและเรียบเรียง : น.ส.ฐิตาพร จบสัญจร ปีที่พิมพ์ : สิงหาคม 2559 สานักพิมพ์ : มูลนิธิสร้างสรรค์ปัญญาสาธารณะ เพิ่มเติมได้ที่ www.rsu-brain.com ระบบการศึกษาจีน: อดีต ปัจจุบัน อนาคต 2
  • 3. สาธารณรัฐประชาชนจีน( 中 国 人 民 共 和 国 )เป็นประเทศที่มีประวัติศาสตร์อัน ยาวนานและเป็นแหล่งอารยธรรมอันเก่าแก่กว่า 5,000 ปี หากจะกล่าวถึงเรื่องการศึกษา ประเทศจีนถือได้ ว่าเป็นประเทศที่ให้ความสาคัญต่อระบบการศึกษานับตั้งแต่สมัยโบราณ มีแนวคิดขงจื่อโบราณ(古代 儒家思想)ที่เป็นระบบคุณธรรม ยึดถือความกตัญํูเป็นสาคัญและมีการคัดเลือกขุนนางเพื่อรับ ราชการจากประชาชนในทุกระดับ ทาให้เกิดระบบการสอบคัดเลือกขุนนาง(科举制度)ส่วนใน ยุคกลางเป็นช่วงเวลาของการปรับตัวของอารยธรรมจีนได้รับเอาพระพุทธศาสนาที่เป็นอิทธิพลจากต่างชาติ ที่สาคัญเข้ามาผสมผสานกับอารยธรรมจีน ส่วนการศึกษาของประเทศจีนในยุคใหม่นั้นให้ความสาคัญต่อ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี จนเกิดความร่วมมือและความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ มีผลทาให้การศึกษา จีนเปลี่ยนแปลงและพัฒนาขึ้นกว่าเดิม การศึกษาของประเทศจีนแบ่งออกเป็น 3 ยุค ดังนี้ 1. การศึกษาในยุคโบราณ(Ancient Education :古代教育) ระบบการศึกษาในยุคโบราณมีจุดเริ่มต้นตั้งแต่ช่วงปลายของยุคสังคมดั้งเดิม(原始社会后期)ซึ่ง อยู่ในช่วงยุคระบบสังคมทาส(奴隶社会)จนถึงปลายของยุคสังคมนิยม(封建社会)แบ่งเป็น ยุคย่อยๆ ได้ดังนี้ ราชวงศ์เซี่ย(夏)เมื่อราว 4,000 กว่าปีมาแล้วนั้น ได้ปรากฏไว้ว่าประชาชนในอดีตมีการได้รับ การศึกษาซึ่งเป็นแบบพื้นบ้าน เรียนรู้ในเรื่องเกษตรกรรมเพื่อนาไปประกอบอาชีพ หนังสือเมิ่งจือ 《孟子》ไม่เพียงแต่บันทึกเหตุการณ์การศึกษาในสมัยโบราณเท่านั้น แต่ยังบันทึกสาระสาคัญและ จุดมุ่งหมายของ การเรียนการสอนในขณะนั้นไว้อีกด้วย สมัยราชวงศ์ซาง (商)ประมาณ 1570 – 1045 ปีก่อนคริสต์ศักราช เป็นช่วงเวลาที่จีนก่อตัวเป็น รัฐและมีการวางรากฐานด้านการปกครอง เศรษฐกิจ และสังคม ในสมัยนี้มีการใช้ตัวอักษรจีนโบราณที่เขียน ลงบนกระดองเต่า (甲骨文) ราชวงศ์โจวตะวันตก(西周)ได้มีบันทึกเรื่องราวในยุคนั้น ว่าการจัดการศึกษาในราชสานักเน้น สอนให้รู้เรื่องขนบธรรมเนียมประเพณีและการดนตรีเป็นหลัก รวมถึงการฝึกขี่ม้า ยิงธนู การเขียนอักษรและ การคานวณ ทั้งหมดนี้เรียกว่าศิลปะหกแขนง (六艺)ซึ่งผู้ที่เข้ารับการศึกษาล้วนเป็นลูกหลานของชน ชั้นสูง ระบบการศึกษาจีน: อดีต ปัจจุบัน อนาคต 3 ระบบการศึกษาของจีน : อดีต ปัจจุบัน อนาคต
  • 4. ยุคชุนชิว (春秋)ซึ่งอยู่ในสมัยปลายยุคสังคมทาส ขงจื่อได้ตั้งโรงเรียนสอนหนังสือและสอน ศาสนาให้กับชาวบ้าน เพื่อให้ประชาชนมีความรู้ โดยสานักวิชาที่สาคัญในยุคนี้มีอยู่ 4 สานักใหญ่ ได้แก่ สานักปรัชญาขงจื่อ(儒家)โม่วเจีย (ม่อจื่อ)(墨家)ลัทธิเต๋า(道家)และลัทธิกฎระเบียบนิยม(法家) ซึ่งถือเป็นส่วนสาคัญของการศึกษาในยุคสังคมศักดินา ยุคจ้านกั๋ว(战国)ตั้งแต่ยุคนี้เป็นต้นมาจะเป็นช่วงระบบสังคมศักดินา (封建社会)การศึกษา ของจีนมีการเปลี่ยนแปลงและพัฒนาอย่างต่อเนื่อง รู้จักประดิษฐ์เครื่องมือเครื่องใช้ต่างๆ ช่วยในการทา เกษตรกรรม รู้จักทาเครื่องปั้นดินเผาและการทอผ้าไหม การศึกษาในสมัยนี้จะมีการสอนโดยมีรูปแบบ ถ่ายทอดความรู้ภายในบ้านหรือสานักต่างๆ เป็นการเรียนรู้ตามอัธยาศัย ถึงแม้ว่าการศึกษาจะมีการ เปลี่ยนแปลงและพัฒนาอยู่ตลอดเวลา แต่พื้นฐานของระบบการศึกษาเดิมนั้นเปลี่ยนแปลงไม่มากนัก ราชวงศ์ฮั่น(汉)ได้มีการริเริ่มระบบการสอบคัดเลือกบุคคลเข้ารับราชการในราชสานักโดย รักษารูปแบบพื้นฐานปรัชญาของลัทธิขงจื๊อ ต่อมาแนวคิดนี้ได้กลายเป็นเนื้อหาหลักของการศึกษาในสังคม ศักดินาและมีผลสืบต่อมาจนถึงยุคปัจจุบัน ราชวงศ์สุย(隋)การศึกษามีวัตถุประสงค์หลักเพื่อ สอบเข้ารับราชการ ประเทศจีนได้เริ่มต้นใช้ระบบการสอบที่มี รูปแบบชัดเจนและมีมาตรฐานเพื่อคัดเลือกบุคคลเข้ารับ ราชการ ผู้ถูกคัดเลือกคือบุคคลที่มีความรู้ความสามารถ มีคุณสมบัติที่เหมาะสม ซึ่งแต่เดิมนอกจากลูกหลานของชน ชั้นสูงแล้ว สามัญชนไม่มีสิทธิ์สมัครเข้าสอบคัดเลือก ในยุคนี้ราชสานักจึงเปิดโอกาสให้สามัญชนมีสิทธิ์ ในการสมัครสอบเข้ารับคัดเลือกเป็นขุนนางมากขึ้น การสอบ คัดเลือกเข้ารับราชการทาให้ผู้สอบได้มีโอกาสแสดงออกถึง ความสามารถของตน การได้รับบรรจุเข้าเป็นขุนนางในราชสานักเป็นการยกระดับชีวิตความเป็นอยู่ให้ดีขึ้น การศึกษาจึงเป็นเสมือนบันไดสู่ความสาเร็จในชีวิต แต่ระบบการสอบเข้ารับราชการนี้ถูกยกเลิกไปในสมัย ปลายราชวงศ์ชิง(清) รวมระยะเวลากว่า 1,300 ปี ราชวงศ์ถัง(唐)เป็นช่วงเวลาที่ประเทศจีนมีความเจริญรุ่งเรืองสูงสุด ส่วนในด้านการศึกษาเริ่มมี การจัดตั้งวิทยาลัย(书院)ขึ้น และแพร่หลายเป็นพิเศษในราชวงศ์ซ่ง(宋)โดยความร่วมมือของภาครัฐ และเอกชน วิทยาลัยที่ตั้งขึ้นนี้มีบรรยากาศการเรียนการสอนที่ดี นักเรียนให้ความสนใจและเข้าศึกษา ระบบการศึกษาจีน: อดีต ปัจจุบัน อนาคต รูปที่ 1 การสอบคัดเลือกบุคคลเข้ารับราชการในราชสานัก ที่มา:http://guoxue.k618.cn/xxjy/ 4
  • 5. ที่วิทยาลัยอย่างมากมาย การจัดการเรียนการสอนของวิทยาลัยนามาซึ่งการพัฒนาด้านวิชาการและ วิทยาการต่างๆ ซึ่งวิทยาลัยทั้งสี่ในสมัยราชวงศ์ซ่งยังคงมีชื่อเสียงมาจนถึงปัจจุบัน ช่วงศตวรรษที่ 12 สมัยราชวงศ์ซ่งและราชวงศ์หยวน จีนได้คิดค้นสิ่งประดิษฐ์ใหม่ขึ้น เรียกว่า สี่ยอดสิ่งประดิษฐ์(四大发明)ได้แก่ กระดาษ เทคโนโลยีการพิมพ์ เข็มทิศ ดินระเบิด ซึ่งแสดง ถึงความก้าวหน้าของการศึกษาทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของจีน นอกจากนี้ จีนได้ติดต่อขยาย การค้าขายกับประเทศตะวันตกและส่งสิ่งประดิษฐ์เหล่านี้ไปยังโลกตะวันตกด้วย ถึงแม้ว่าในสมัยราชวงศ์ชิง(清)อานาจของจักรวรรดิจีนเริ่มเสื่อม แต่อารยธรรมจีนมิได้ เสื่อมถอยตาม เนื่องจากแนวคิดของนักปรัชญาจีน เช่น ขงจื่อ เล่าจื่อ ได้ขยายแนวคิดทางการศึกษา และศาสนาไปสู่ประชาชนชาวจีน 2. การศึกษาในยุคสมัยใหม่(Modern Education:近现代教育) ในปี 1840 หลังเกิดสงครามฝิ่น(鸦片战争)จักรวรรดิจีนเข้าสู่ยุคกึ่งอาณานิคมกึ่งสังคมศักดิ นา(半封建半殖民地社会)ราชวงศ์จีนเริ่มเสื่อมลงและการศึกษาของจีนก็เริ่มซบเซา แต่ก็ยังมีความรู้ ในหลายศาสตร์วิชาที่ได้รับความสนใจจากชาวตะวันตกเป็นอย่างมาก เช่น ดาราศาสตร์ คณิตศาสตร์ ภูมิศาสตร์ รวมทั้งวิทยาศาสตร์การแพทย์ โดยเฉพาะการฝังเข็ม ในช่วงศตวรรษที่ 19 รัฐบาลจีนได้จัดตั้งโรงเรียนสอนภาษาต่างประเทศ โรงเรียนการทหาร โรงเรียนเทคนิคขึ้น ในเวลาเดียวกันยังได้ส่งเยาวชนไปศึกษาที่ตะวันตก เช่น อังกฤษ ฝรั่งเศส เป็นต้น ปี 1911 ดร.ซุน ยัด เซน ได้ทาการปฏิวัติ ล้มการปกครองระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ หลังจากราชวงศ์ชิงล่มสลาย ได้เปลี่ยนมาเป็นระบอบ ประชาธิปไตย ปี 1949 เหมา เจ๋อ ตุง ได้ก่อตั้งพรรคคอมมิวนิสต์ และได้ทาการปฏิวัติเปลี่ยนแปลง ระบอบการปกครองแบบใหม่ คือการปกครองตามแนวคอมมิวนิสต์ รัฐบาลจีนในยุคนี้ได้เร่งสะสางปัญหา เช่น ปัญหาความไม่เท่าเทียมในการได้รับการศึกษาและ ปัญหาการดาเนินงานของรัฐที่ไม่ต่อเนื่อง การปฏิรูปการศึกษาของรัฐบาลในระยะแรกนั้นยังไม่มีการ ระบบการศึกษาจีน: อดีต ปัจจุบัน อนาคต รูปที่ 2 ดร.ซุน ยัดเซน ที่มา:http://tupian.baike.com รูปที่ 3 เหมา เจ๋อ ตุง ที่มา:http://news.cctv.com/ 毛 泽 东 5
  • 6. เปลี่ยนแปลงอะไรมากนัก การศึกษาโดยทั่วไปก็ยังอาศัยพ่อแม่ พระสงฆ์ในลัทธิเต๋าเป็นผู้ให้ความรู้ เพื่อให้ประชาชนอยู่ร่วมกันอย่างสันติสุข การศึกษาสอนให้รู้จักขนบธรรมเนียมประเพณี การเคารพ บรรพบุรุษ การอยู่ร่วมกันในสังคม ประธานาธิบดีเหมา เจ๋อ ตุง ได้พยายามใช้กลยุทธ์ทางการศึกษา เพื่อพัฒนากรรมกรหรือผู้ใช้แรงงานเพื่อพัฒนาประเทศ 3.การศึกษาในยุคร่วมสมัย (Contemporary Education:当代教育) นับแต่การก่อตั้งสาธารณรัฐประชาชนจีน รัฐบาลจีนได้ให้ความสาคัญอย่างมากต่ออุดมการณ์ทาง การศึกษาของประเทศ โดยได้มีการจัดตั้งระบบการศึกษาใหม่ขึ้นเพื่อเพิ่มโอกาสให้ประชาชนในการได้รับ การศึกษามากขึ้น รัฐบาลจีนให้ความคุ้มครองสิทธิขั้นพื้นฐานด้านการศึกษาของประชาชน และเร่ง เดินหน้าพัฒนาปรับปรุงระบบการศึกษาแบบใหม่ โดยมุ่งยกระดับการศึกษาในโรงเรียนในทุกรูปแบบและ ทุกระดับชั้นเพื่อให้เอื้อต่อการสืบทอดอุดมการณ์สังคมนิยมยุคใหม่อย่างต่อเนื่อง ในช่วงปี 1953 -1957 พรรคคอมมิวนิสต์เป็นผู้ชี้นาทิศทางทางการศึกษาในช่วงนี้ได้เกิด แผนพัฒนาประเทศขึ้นเป็นครั้งแรก เป็นผลให้เกิดการศึกษาในระดับประถมศึกษาและการศึกษาทางด้าน วิชาชีพครู เพื่อเร่งขจัดความไม่รู้หนังสือ ตลอดจนฝึกคนเข้าทางาน ถือเป็นพัฒนาการของการเรียน แบบผสมผสานการฝึกงาน เพื่อตอบสนองต่อความจาเป็นในการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ รับมือกับสิ่งท้าทายจากวิทยาการและเทคโนโลยีของโลกที่เจริญรุดหน้าอย่างรวดเร็ว ในช่วงการปฏิรูปการศึกษานี้มีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วเพราะการเมืองเข้ามามีบทบาทใน การจัดการศึกษา มีการจัดการศึกษาในระดับพื้นฐาน กระจายไปสู่ทุกภูมิภาคของจีน ทาให้ประชาชน ชาวจีนได้เล็งเห็นถึงความสาคัญของการศึกษามากขึ้น จุดมุ่งหมายของการปรับปรุงการศึกษาในระยะนี้ก็ เพื่อผสมผสานประเพณีและวัฒนธรรมกับเทคโนโลยีเข้าด้วยกัน ในปี 1962 ได้เกิดจุดเปลี่ยนแปลงทาง ประวัติศาสตร์ของจีนคือการปฏิวัติวัฒนธรรม ทาให้การศึกษาได้รับการทบทวนใหม่ นับตั้งแต่จีนได้ทาการปฏิรูปและวางนโยบายทางการศึกษา การศึกษาของจีนก็ได้เกิดพัฒนา รุดหน้าอย่างรวดเร็ว ช่วงทศวรรษ 1980 เป็นยุคทองของการปฏิรูปการศึกษา จีนได้วางยุทธศาสตร์ “การฟื้นฟูประเทศด้วยวิทยาการและการศึกษา” กาหนดให้การพัฒนาด้านการศึกษาเป็นยุทธศาสตร์ ที่สาคัญลาดับต้น การผลักดันการปฏิรูปและพัฒนาทางการศึกษาในยุคนี้ดาเนินไปอย่างต่อเนื่องบน หลักการ “การศึกษาควรมุ่งสู่ความทันสมัย ก้าวทันความเป็นไปในโลกและอนาคต” พร้อมกันนั้น จีนยังได้ดาเนินนโยบายที่กาหนดว่า “การศึกษาต้องสามารถรองรับต่อการขับเคลื่อนระบบสังคมนิยมยุค ใหม่โดยผสมผสานกับแรงงานที่มีคุณภาพสูง ระบบการศึกษาจีน: อดีต ปัจจุบัน อนาคต 6
  • 7. นอกจากนี้ จีนยังมุ่งส่งเสริมการศึกษาที่ “มุ่งเน้นคุณภาพเป็นหัวใจสาคัญ” เพื่อบ่มเพาะคนรุ่น ใหม่ที่มีจิตวิญญาณแห่งการสร้างสรรค์และเป็นนักปฏิบัติที่สามารถเผชิญกับความท้าทายใหม่ๆ ในอนาคต ข้างหน้า 4. การศึกษาของจีนในปัจจุบัน(Education in the Present :教育现状) ระบบการศึกษาของจีนในปัจจุบันเน้นไปที่การปลูกฝังความกตัญํูต่อบรรพบุรุษ การเห็นแก่ ประโยชน์ส่วนรวมและการพัฒนาตนเอง การพัฒนาประชาชนอย่างมีประสิทธิภาพเป็นส่วนหนึ่งของ หลักสูตรตั้งแต่ระดับประถมศึกษาไปจนถึงระดับมหาวิทยาลัย ซึ่งมีกระทรวงศึกษาธิการจีนเป็นหน่วยงาน หลักที่สาคัญที่สุดในการควบคุมดูแลระบบการศึกษา โดยรับผิดชอบในเรื่องของการบัญญัติกฎหมาย กาหนดนโยบายและแผนงานด้านการศึกษา ดูแลและวางแผนการพัฒนาระบบการศึกษาจีน ปรับเปลี่ยน นโยบายของหน่วยงานที่เกี่ยวข้องด้านการศึกษาให้เป็นแนวทางเดียวกันทั้งประเทศ ระบบการบริหารการศึกษาของจีน แบ่งได้ดังนี้ 1. การบริหารการศึกษาส่วนกลาง โดยสภาประชาชนแห่งชาติ มีหน้าที่กาหนดยุทธศาสตร์ นโยบาย และวางแผนเพื่อพัฒนาการศึกษาของประเทศ 2. การบริหารการศึกษาในส่วนภูมิภาค คือหน่วยงานส่วนภูมิภาค มณฑล จังหวัดและเทศบาล หน่วยงานของส่วนภูมิภาคสามารถตัดสินใจด้วยตนเองได้ในบางเรื่องเช่น การแต่งตั้งคณะกรรมการ การศึกษาในส่วนท้องถิ่น สามารถจัดการศึกษาในระดับประถมศึกษาในรูปแบบต่างๆ ได้ด้วยตนเอง ส่วน ในระดับชั้นมัธยมศึกษา เจ้าหน้าที่ท้องถิ่นจะนานโยบาย ระบบและแผนของการจัดการศึกษาของส่วนกลาง ไปปฏิบัติ รวมทั้งชี้แนะ ตรวจสอบและกากับดูแลงานการศึกษาของโรงเรียนและสถาบันการศึกษา ในท้องถิ่นนั้นๆ ระบบการศึกษาของจีน แบ่งออกเป็น 4 ระดับ คือ การศึกษาขั้นพื้นฐาน อาชีวศึกษา อุดมศึกษา และการศึกษาผู้ใหญ่ มีรายละเอียด ดังนี้ 1.การศึกษาขั้นพื้นฐาน ได้แก่ การศึกษาก่อนวัยเรียนหรืออนุบาล ประถมศึกษา มัธยมศึกษา ตอนต้นและมัธยมศึกษาตอนปลาย 2.อาชีวศึกษา ได้แก่ การจัดการศึกษาทุกรูปแบบของโรงเรียนอาชีวศึกษา การให้การฝึกอบรมด้าน อาชีพและเทคนิค การศึกษาด้านอาชีพจะรวมถึงการอบรมอาชีพขั้นต้นและการฝึกอบรมด้านเทคนิคก่อน เข้าทางานแก่พนักงานของโรงงานอุตสาหกรรมหรือบริษัทด้วย ระบบการศึกษาจีน: อดีต ปัจจุบัน อนาคต 7
  • 8. 3.อุดมศึกษา ได้แก่ การจัดการศึกษาให้ในระดับอุดมศึกษาทั้งหมด การศึกษาในมหาวิทยาลัย ชั้น ปริญญาตรี ปริญญาโท และปริญญาเอก ซึ่งมีทั้งมหาวิทยาลัยระดับชาติและระดับมณฑล 4.การศึกษาผู้ใหญ่ ได้แก่ การจัดการศึกษาเพื่อให้ประชาชนอ่านออกเขียนได้ การจัดการศึกษาใน ระดับนี้บ้างก็จัดในระบบของโรงเรียน บ้างก็ใช้รูปแบบการจัดการศึกษาแบบอื่นๆ กลุ่มเป้าหมายส่วนใหญ่จะ เป็นประชาชนวัยผู้ใหญ่ การศึกษาก่อนวัยเรียน(学前教育) หรือที่เรียกว่าระดับอนุบาลศึกษา เด็กที่เข้ารับ การศึกษาจะมีอายุตั้งแต่ 3-5 ปี โรงเรียนในระดับชั้น อนุบาลจัดตั้งขึ้นโดยเจ้าหน้าที่ท้องถิ่นหรือประชาชน มีหลักการคือการดูแลเลี้ยงดูเด็กและให้การศึกษา ประกอบกันไป เพื่อให้เด็กมีร่างกาย(体)ความรู้ (智)คุณธรรม(徳)ความงาม(美)ที่ครบ สมบูรณ์ โดยการสอนจะไม่เน้นเนื้อหาทางวิชาการ มากนัก แต่จะมุ่งเน้น ให้เด็กได้ฝึกทักษะการใช้ ชีวิตประจาวันกับสังคม การฝึกภาษา ศิลปะ และมีกิจกรรมเพื่อทาให้มีสุขภาพแข็งแรง เป็นต้น ผู้สอนใน ระดับชั้นอนุบาลนั้น ไม่เพียงมีความรู้ความเข้าใจในเรื่องวัฒนธรรม จิตวิทยาของเด็ก หรือความรู้ในการสอน เท่านั้น แต่ยังต้องผ่านการฝึกฝนในด้านศิลปะ เช่น การร้องเพลง การเต้น การรา งานฝีมือ การวาดภาพ เป็นต้น ส่งผลให้เด็กมีการพัฒนาทางด้านความคิด สุขลักษณะ พัฒนาด้านร่างกายและจิตใจควบคู่กันไป ชาวจีนโดยทั่วไปจะให้ความสนใจและส่งลูกเข้ารับการศึกษาในระดับนี้ ทั้งนี้เพื่อเป็นการเตรียมพร้อมให้ลูกใน การเข้าศึกษาในระดับประถมศึกษาต่อไป ซึ่งในปี 1986 รัฐบาลจีนได้ประกาศใช้กฎหมายการศึกษาภาคบังคับ《中华人民共和国义务教育 法》เรียกว่า “六三制” หมายถึงระดับประถมศึกษา 6 ปี และมัธยมศึกษาตอนต้น 3 ปี การศึกษาภาคบังคับ ของจีน(义务教育)โรงเรียนที่จัดการศึกษาภาคบังคับมีทั้งของรัฐบาลและเอกชน โดยทั่วไปถ้าเรียนหนังสือ ในโรงเรียนรัฐบาลค่าใช้จ่ายจะต่ากว่า เมื่อเทียบกับโรงเรียนเอกชน แต่โรงเรียนเอกชนมักจะมีอุปกรณ์การ เรียนการสอน สิ่งแวดล้อมและคุณภาพของการศึกษาที่ดีกว่า ระบบการศึกษาจีน: อดีต ปัจจุบัน อนาคต รูปที่ 4 การศึกษาก่อนวัยเรียน ที่มา:http://bbs.dezhoudaily.com/thread-903041-1-1.html 8
  • 9. ระดับประถมศึกษา(初等教育) นักเรียนมีอายุระหว่าง 6-12 ปี ระดับนี้เป็น การศึกษาภาคบังคับ นักเรียนจะเริ่มเรียนวิชาภาษาจีน คณิตศาสตร์พื้นฐาน จริยธรรม พลศึกษา ภาษาต่างประเทศ และมีกิจกรรมพิเศษอื่นๆ ระดับมัธยมศึกษา(中等教育)นักเรียนมีอายุระหว่าง 13-18 ปี แบ่งเป็นชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น 3 ปี และชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย 3 ปี ดังนี้ การศึกษาในระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น(初中阶段教育) การจัดการศึกษาจะต้องมีส่วนประกอบทั้งทางด้านวิชาการและกิจกรรม นักเรียนจะได้เรียนทั้งวิชา เคมี ชีววิทยา ฟิสิกส์ ประวัติศาสตร์ ภูมิศาสตร์ ภาษาต่างประเทศ ศิลปะ พลศึกษา และอบรมแนวอาชีพ ระยะสั้น ในปี 2007 พบว่ามีนักเรียนชาวจีนในชนบทหลายคนมีครอบครัวที่มีฐานะความเป็นอยู่อย่าง ลาบาก ฐานะทางการเงินไม่ดีนัก ไม่เพียงพอที่จะส่งลูกเข้าศึกษาในโรงเรียน รัฐบาลจึงมีนโยบายให้ความ ช่วยเหลือเรื่องค่าเล่าเรียน ค่าสมุดหนังสือ ค่าที่พัก รวมถึงค่าใช้จ่ายในชีวิตประจาวัน ต่อมาในปี 2010 นักเรียนในเขตชนบทของประเทศจีนได้รับการศึกษาภาคบังคับฟรี และในปี 2015 เด็กในประเทศจีนทั่วทุก พื้นที่ ได้รับการศึกษาฟรีเป็นเวลา 9 ปี (ประถมศึกษา 6 ปี ถึงมัธยมศึกษาตอนต้น 3 ปี) การศึกษาในระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย (高中阶段教育) เมื่อเรียนจบการศึกษาภาคบังคับคือจบชั้นมัธยมต้น นักเรียนก็จะเข้าสู่การศึกษาชั้นมัธยมศึกษา ตอนปลาย การศึกษาในระดับนี้ถือเป็นพื้นฐานที่สาคัญในการยกระดับการศึกษาของชาติ นักเรียนจะเริ่ม เรียนวิชาเฉพาะ ที่ตรงกับความถนัดของแต่ละบุคคลโดยแบ่งออกเป็น 2 รูปแบบ คือ มัธยมปลายสาย สามัญ(普通高中教学)และมัธยมอาชีวศึกษา(中等职业教育) มัธยมปลายสายสามัญ(普通高中教学) ระบบการศึกษาจีน: อดีต ปัจจุบัน อนาคต รูปที่ 5 การเรียนของนักเรียนจีนระดับประถมศึกษา ที่มา:http://www.jyb.cn/zgjyb/two/200711/t20071108_124188.html 9
  • 10. จะแบ่งเป็นสายวิทยาศาสตร์และศิลปศาสตร์ ใช้เวลาเรียน ทั้งสิ้น 3 ปี ประกอบไปด้วยวิชาภาษา และวัฒนธรรม คณิตศาสตร์ มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี ศิลปะ กีฬาและ สุขภาพและกิจกรรมบูรณาการ รวม 8 กลุ่มสาระวิชา ซึ่งในแต่ละสาขาจะมีการออกแบบหลักสูตรและ เกณฑ์การวัดและประเมินผลที่มีการเชื่อมโยงกันของหลักเหตุและผลในเนื้อหาของสาขาวิชานั้น เนื่องจากเป็นระดับการศึกษานอกภาคบังคับ นักเรียนจึงต้องรับผิดชอบค่าเล่าเรียนเอง ในแต่ละท้องที่จะมี ระดับค่าเล่าเรียนที่ต่างกันไป โรงเรียนมัธยมปลายในจีนส่วนใหญ่จะเป็นโรงเรียนของรัฐ ทั้งนี้ การเข้าเรียน ในระดับมัธยมปลายในจีนจาเป็นต้องสอบเข้า โดยดูจากระดับคะแนนที่สอบได้ ซึ่งข้อสอบที่ใช้จะเป็น ข้อสอบที่จัดทาโดยหน่วยงานการศึกษาส่วนภูมิภาค มัธยมอาชีวศึกษาหรือมัธยมศึกษาพิเศษ(中 等职业教育) จะใช้เวลาเรียน 2-4 ปี รวมถึงมีหลักสูตร อบรมวิชาชีพระยะสั้น ซึ่งผู้เรียนในสายวิชาชีพนี้ จะเป็นนักเรียนที่จบการศึกษาภาคบังคับมาก่อน การศึกษาในด้านวิชาชีพถือเป็นหัวใจสาคัญ ของตลาดแรงงานและการขับเคลื่อนเศรษฐกิจ ของประเทศจีน เนื้อหาที่ใช้สอนนั้นมีการ สอดแทรกคุณธรรม จริยธรรม และมุ่งเน้นเพื่อการนาไปประกอบอาชีพในอนาคต ซึ่งภายหลังปี 1980 เป็น ต้นมา การพัฒนาด้านอาชีวศึกษาของจีนเป็นไปอย่างรวดเร็ว ในปัจจุบันสถานการณ์การเติบโตของ การศึกษาด้านอาชีพมีการเปลี่ยนแปลง นักศึกษาจานวนมากมีความต้องการศึกษาในสายอาชีพ ทั้ง การศึกษาด้านเศรษฐกิจ การคลัง ด้านพลศึกษา และ ด้านศิลปกรรมมีแนวโน้มที่สูงขึ้น ส่วนการศึกษาด้าน วิทยาศาสตร์มีแนวโน้มลดลง หลังจากนักเรียนจบชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย นักเรียนจะต้องสอบเอ็นทรานซ์(高考)เพื่อเข้าศึกษา ต่อในระดับอุดมศึกษา โดยมีกระทรวงศึกษาธิการส่วน ทาหน้าที่กากับดูแลและอนุมัติในการรับนักศึกษา การ สอบเข้าเรียนต่อในระดับอุดมศึกษาจะใช้รูปแบบการสอบ “3+X” ซึ่ง “3” คือทุกคนที่เข้าสอบจะต้องทดสอบวิชา รูปที่ 6 นักเรียนชั้นมัธยมปลายสายสามัญ ที่มา:http://photo.gscn.com.cn/system/2013/06/03/ ระบบการศึกษาจีน: อดีต ปัจจุบัน อนาคต รูปที่ 7 การศึกษาด้านอาชีพของนักเรียนอาชีวศึกษา ที่มา:http://www.wenzhou.gov.cn/art/2012/2/21/ art_11814_206397.html 10
  • 11. ความรู้ด้านภาษาจีน(语文) วิชาคณิตศาสตร์(数学)และวิชาภาษาต่างประเทศ(外语)ส่วน “X” หมายถึง ทุกคนที่เข้าสอบสามารถเลือกสอบในสาขาต่างๆ ตามที่ตนถนัดและตามที่สาขาวิชาที่จะ เลือกเรียนต่อได้กาหนดไว้ โดยมีให้เลือกสอบ 6 วิชา ได้แก่การเมือง(政治) ฟิสิกส์(物理)เคมี(化 学)ชีววิทยา(生物)ประวัติศาสตร์(历史)ภูมิศาสตร์(地理) นักเรียนที่สอบจะต้องระบุชื่อ มหาวิทยาลัย คณะและสาขาที่ต้องการเรียน ซึ่งเกณฑ์การผ่านการคัดเลือกขึ้นอยู่กับผลคะแนนการ สอบ หลังจากผ่านการคัดเลือกแล้วจึงมีการพิจารณาคุณสมบัติด้านพฤติกรรมทางสังคม คุณธรรมและ จริยธรรมต่อไป ระดับอุดมศึกษา(高等教育) การเรียนในระดับอุดมศึกษาของจีนนั้นจะ แบ่งเป็นการเรียนในมหาวิทยาลัย การเรียนในสถาบัน ชั้นสูงเฉพาะทาง รวมทั้งโรงเรียนฝึกหัดครู สาหรับ การเรียนในมหาวิทยาลัย ตั้งแต่ปี 1980 เป็นต้นมา การเรียนมหาวิทยาลัยมีความเจริญก้าวหน้ามาก โดยเฉพาะการเรียนที่เน้นการสร้างความรู้ใหม่ การ วิจัยทดลองต่างๆ แต่ยังมีเด็กบางส่วนที่ขาดแคลนทุนทรัพย์ในการศึกษาต่อในระดับอุดมศึกษา และ เพื่อไม่ให้เด็กเหล่านั้นสูญเสียโอกาสทางการศึกษา ทางรัฐบาลหรือมหาวิทยาลัยได้จัดให้มีความ ช่วยเหลือ เช่น จัดสรรทุนการศึกษา ให้เงินกู้ยืมทางการศึกษา ทุนนักเรียนเรียนดีและขยัน ในบางราย มีการให้การช่วยเหลือพิเศษ เช่น ให้ทุนเรียนฟรีจนจบระดับอุดมศึกษา การเรียนในระดับอุดมศึกษาจะแบ่งออกเป็น 3 ระดับ คือ ระดับปริญญาตรี ในสาขาทางด้าน สังคมศาสตร์และวิทยาศาสตร์จะใช้เวลาเรียน 4-5 ปี ส่วนนักศึกษาที่เรียนสาขาแพทยศาสตร์จะใช้ ระยะเวลา 6 ปี การศึกษาในระดับปริญญาโท จะมีการทาวิจัยหรือวิทยานิพนธ์(论文)ซึ่งเป็นการ ค้นคว้าความรู้ใหม่ภายใต้คาแนะนาของอาจารย์ที่ปรึกษา(导师) ส่วนระดับปริญญาเอกส่วนมากจะ ใช้เวลาเรียน 3-5 ปี ซึ่งจะเน้นการค้นหาความรู้ใหม่ๆ ที่สามารถนาไปพัฒนาประเทศได้ การจัดการเรียนการสอนในระดับอุดมศึกษาจะมีมหาวิทยาลัย คณะ และสาขาวิชาเป็น ผู้ดาเนินการ ซึ่งสถาบันที่จะจัดการศึกษาจะต้องมีความพร้อมในสมรรถนะ 3 ด้าน ได้แก่ ด้านการเรียน การสอน ด้านการวิจัยทางวิทยาศาสตร์ และด้านการให้บริการแก่สังคม จีนจัดให้มีแหล่งศึกษาและ สถานศึกษาอยู่ทั่วทุกภูมิภาค เพื่อมุ่งผลิตคนให้มีความรู้ในระดับสูง และเน้นการฝึกวิชาชีพให้กับ ประชาชน ประเทศจีนนั้นเล็งเห็นถึงการยกระดับมาตรฐานการศึกษาของประเทศไปสู่ความเป็นเลิศที่ ระบบการศึกษาจีน: อดีต ปัจจุบัน อนาคต รูปที่ 8 จบการศึกษาระดับปริฌฌาตรี ที่มา:www.news.cn 11
  • 12. ทัดเทียมนานาอารยประเทศและนาความสามารถด้านต่างๆ ของนักศึกษาที่มีอยู่มาพัฒนาประเทศใน อนาคต 5. การปฏิรูปการศึกษาของจีนในอนาคต (Chinese Future Education Reform) หนังสือพิมพ์การศึกษาของจีนได้เผยแพร่งานวิจัยชิ้นหนึ่งที่วิเคราะห์และคาดการณ์ถึงรูปแบบของ การศึกษาในอนาคตที่แสดงให้เห็นว่าจีนได้ทาการปฏิรูปอย่างต่อเนื่องด้านการศึกษา โดยงานวิจัยชิ้นนี้ เป็นของศาสตร์ตราจารย์โจว หง หนิง (周洪宁)ซึ่งดารงตาแหน่งสมาชิกสภาประชาชนแห่งชาติ รองผู้ว่าการมณฑลหูเป่ย คณบดีสถาบันวิจัยฉางเจียง( 长 江 教 育 研 究 院 )และศาสตราจารย์ประจา วิทยาลัยครูหัวจง(华中师范大学) ร่วมมือกับอาจารย์หวง ลี่ หมิง (黄立明)ซึ่งสรุปสิ่งที่เป็น หัวใจสาคัญหรือเรียกได้ว่าเป็นทางออกของการปฏิรูปการศึกษาในอนาคต 10 ข้อ ที่กาลังเป็นที่จับตามอง ในปี 2016 ได้แก่ 1.การศึกษาเพื่อการพัฒนาแบบ New normal(教育发展新常态)ต้องการที่จะย้อนกลับมาสู่ แก่นแท้ของการศึกษา(回归教育的本质)เพื่อสร้างรากฐานให้เด็กได้เข้าใจชีวิต รู้ถึงความต้องการ และสามารถวางรากฐานการประกอบอาชีพที่มั่นคงในอนาคตได้ 2 .การปฏิรูปการศึกษาตามอัธยาศัย( 教 育 的 供 给 侧 改 革 )เป็นการยกระดับการศึกษาให้ หลากหลายและมีประสิทธิภาพสูงขึ้น มุ่งเน้นการให้อิสระในการเลือกรับการศึกษาที่ตรงกับความต้องการ ของผู้เรียนและความต้องการของสังคมในอนาคต 3.นวัตกรรมการศึกษา( 创 新 教 育 )คือการนาเอาสิ่งใหม่ซึ่งอาจจะอยู่ในรูปของความคิดหรือ นวัตกรรมมาใช้กับระบบการศึกษา เพื่อที่จะส่งเสริมให้การจัดการศึกษามีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น ซึ่งคาดว่า ในปี 2020 การจัดการศึกษาทุกห้องเรียนของจีนจะต้องสมบูรณ์แบบ 4.ความร่วมมือกันทางการศึกษา( 协 调 教 育 )เป็นความต้องการจัดการศึกษาในอุดมคติของ จีน โดยให้ทุกคนเข้าถึงการศึกษาได้แม้ในพื้นที่ที่ห่างไกลและมีความเสมอภาคด้านการศึกษา 5.การศึกษาสีเขียว(绿色教育) เป็นการพัฒนาความคิดหรือหนทางในการจัดการศึกษา ซึ่งมุ่ง สร้างสิ่งแวดล้อมสีเขียวที่จะส่งเสริมการศึกษาให้มีคุณภาพ 6.การเปิ ดกว้างทางการศึกษา(开放教育)เป็นการจัดการศึกษาที่นาเอาจุดเด่นทางการศึกษา ของต่างประเทศมาปรับใช้ให้เหมาะสมกับการศึกษาของจีน นอกจากนี้ จีนได้ส่งเสริมและพัฒนาการศึกษา ภายในประเทศและสร้างบุคลากรที่มีคุณภาพให้ออกไปแสดงศักยภาพยังต่างประเทศ 7.การจัดระบบการศึกษาแบบถ้วนหน้า( 共 享 教 育 )เพื่อให้ทุกคนได้รับความเสมอภาคทาง การศึกษาอย่างทั่วถึง แม้แต่คนเดียวก็ไม่อาจละเว้นได้ 8.คุณภาพการศึกษา(教育质量)เป็นการประเมินค่าการศึกษาว่ามีคุณภาพตรงตามเกณฑ์หรือ ระบบการศึกษาจีน: อดีต ปัจจุบัน อนาคต 12
  • 13. ตามมาตรฐานที่กาหนดไว้ว่าประชาชนควรได้รับหรือไม่ 9.การศึกษาผ่านทางอินเตอร์เน็ต(互联网+教育)เป็นการบูรณาการที่สาคัญ เป็นการเปิดโลก ทัศน์ทางการศึกษาซึ่งทุกคนสามารถเรียนรู้ได้อย่างไม่จากัดและถึงแม้จะอยู่ห่างไกลจากครูผู้สอนแต่ นักเรียนสามารถเข้าไปหาความรู้ได้ทุกที่ทุกเวลา 10.กฎหมายการศึกษา( 教 育 法 治 ) เป็นการจัดการระบบการศึกษาให้มีความเป็นระเบียบ โดยประสานความร่วมมือกับหลายฝ่ายเพื่อส่งเสริมการศึกษา ซึ่งกฎหมายการศึกษา ถือเป็นการสร้าง ความเข้มแข็งให้การศึกษาของประเทศจีน สรุป จะเห็นได้ว่า ประเทศจีนให้ความสาคัญในด้านการศึกษามาตั้งแต่โบราณ ในสมัยก่อนการศึกษา ถือเป็นเครื่องมือสาคัญในการยกระดับฐานะทางสังคมผ่านการสอบเข้ารับราชการในราชสานัก ต่อมาใน ยุคสมัยใหม่ ได้รับอิทธิพลและความรู้มาจากตะวันตก มีการจัดตั้งโรงเรียนการทหาร และโรงเรียนสอน ภาษา ในยุคนี้ แม้ศาสตร์ความรู้ของจีนจะซบเซาลง แต่บางศาสตร์ยังคงได้รับความสนใจจากตะวันตก เช่น ดาราศาสตร์ และวิทยาศาสตร์การแพทย์ โดยเฉพาะการฝังเข็ม ส่วนในยุคร่วมสมัย เกิดแผนพัฒนา ประเทศขึ้นเป็นครั้งแรก ทาให้การปฏิรูปและวางนโยบายการศึกษาพัฒนาไปอย่างรวดเร็ว เกิดการศึกษา ในระดับพื้นฐานและกระจายการศึกษาไปทั่วทุกภูมิภาค ในปัจจุบัน การศึกษาในประเทศจีนมีการดาเนินการจัดการศึกษาที่เป็นไปอย่างมีระบบและมีการ พัฒนาไปอย่างต่อเนื่อง นับตั้งแต่ผู้นาจีนชุดปัจจุบันคือ ประธานาธิบดี สี จิ้นผิง (习近平) และ นายกรัฐมนตรี หลี่ เค่อเฉียง (李克强)ได้ขึ้นมาดารงตาแหน่ง มีการเปลี่ยนแปลงนโยบายต่างๆ เพื่อนา ประเทศจีนไปสู่การพัฒนา โดยหนึ่งในนโยบายหลักของรัฐบาลชุดนี้ คือการปฏิรูปการศึกษา ทั้งรัฐบาล และทุกภาคส่วนร่วมมือกันเพื่อที่จะปฏิรูปการศึกษาของประเทศให้มีความก้าวหน้า แข็งแกร่ง และ 13 เรียบเรียง 1.หนังสือเรื่อง 中国概况A Survey of China 2.http://learning.sohu.com/20160314/n440421515.shtml