SlideShare a Scribd company logo
1 of 39
Download to read offline
การจัดการศึกษาของจีน
1.   นางขวัญตา วงศ์ไชยรัตนกุล     รหัสนิสิต   55010582007
2.   นายนที ทองธีรภาพ             รหัสนิสิต   55010582027
3.   นางสุคนธา ดิษฐสุนนท์         รหัสนิสิต   55010582094
4.   นางรจนา ประสมพล              รหัสนิสิต   55010582065
5.   นางภควัต โอวาท               รหัสนิสิต   55010582059
         เอกสารการนาเสนอรายวิชา ภาวะผู้นาทางการศึกษา
           ภาควิชาการบริหารการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์
                    มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
ข้อมูลพื้นฐานของสาธารณรัฐประชาชนจีน
ที่ตั้ง : ด้านตะวันออกของทวีปเอเชีย มีพรมแดนติดกับประเทศต่างๆ 15 ประเทศ
พื้นที่ : 9.6 ล้านตารางกิโลเมตร ใหญ่เป็นอันดับที่ 4 ของโลก
เขตการปกครอง : แบ่งออกเป็น 23 มณฑล (รวมไต้หวัน) 5 เขตการปกครองตนเอง
(มองโกเลีย หนิงเซี่ย ซินเจียง กวางสี และทิเบต) 4 มหานครที่ขึ้นต่อส่วนกลาง (ปักกิ่ง
เซี่ยงไฮ้ เทียนจิน และฉงชิ่ง) และ 2 การปกครองพิเศษ (ฮ่องกง และ มาเก๊า)
เมืองหลวง : กรุงปักกิ่ง (Beijing)
ภูมิประเทศ : ทางตะวันตกส่วนใหญ่เป็นเทือกเขา ทะเลทราย และที่ราบสูง และค่อยๆ
ลาดลงทางทิศตะวันออก
ประชากร : 1,353,650,000 คน (ข้อมูลวันที่ 27 กันยายน 2555)
ชนชาติ : มีชนชาติต่างรวมกัน 56 ชนชาติ โดยเป็นชาว “ฮัน” ร้อยละ 93.3
                                                        ่
ศาสนา : ลัทธิขงจื้อ ศาสนาพุทธ ลัทธิเต๋า ศาสนาอิสลาม ศาสนาคริสต์
ข้อมูลพื้นฐานของสาธารณรัฐประชาชนจีน
รูปแบบการปกครอง : สังคมนิยมแบบจีน (คอมมิวนิสต์)
วันชาติ : 1 ตุลาคม (ภายหลังพรรคคอมมิวนิสต์มีชัยชนะต่อพรรคก๊กมินตั๋ง)
ประธานาธิปดี : นายหู จินเท่า (Hu jintao)
                       ่
นายกรัฐมนตรี : นายเวิน เจียเป่า (Wen Jiabao)
GDP : ประมาณ 6,422,276 ล้านดอลลาสหรัฐฯ (อันดับสองของโลก) ปี 2553
GDP Growth : 9.2 % (ปี 2554)
ทุนสารองเงินตราระหว่างประเทศ : 3,197,000 ล้านดอลลาสหรัฐฯ (2554)
สกุลเงิน : หยวน(Yuan) 1 หยวน ประมาณ 5 บาทไทย
สมาชิก WTO : ปี พ.ศ. 2544
สถาปนาความสัมพันธ์ไทยจีน : (1 กรกฎาคม 2518)
ธงชาติจีน




นายหู จิ่นเท่า (Hu jintao)               นายเวิน เจียเป่า (Wen Jiabao)
พัฒนาการด้านการศึกษาของจีน
                 (Education Development)

 จีนมีอารยธรรมเก่าแก่กว่า 5,000 ปี
 ในอดีตประชาชนได้รับการศึกษาแบบพื้นบ้าน (Indigenous Education)
ได้แก่ การอบรมประกอบอาชีพเกษตรกรรม
 การศึกษาของจีนเริ่มกันอย่างชัดเจนสมัยราชวงศ์ซง เมือ 3,000 ปีเศษ ทา
                                                         ่ ่
ให้คนจีนรู้จักใช้เงินและเหล็ก เครื่องมือต่างๆ เครื่องปั้นดินเผา ทอผ้า
 การศึกษาสมัยนี้ยังเป็นแบบอัธยาศัย มีการถ่ายทอดความรู้ ภายในบ้าน
หรือสานักต่างๆ
 สมัยซ้องและหยวน จีนได้ขยายการค้ามากขึ้นกับตะวันตก จีนประดิษฐ์สิ่ง
ใหม่ๆ เช่น กระดาษ การพิมพ์ เข็มทิศ ดินระเบิด ไปยังโลกตะวันตก
พัฒนาการด้านการศึกษาของจีน
                 (Education Development)

 มีอารยธรรมนักปราชญาจีน เล่าจื้อ (Lao Zi) และขงจื้อ (Confucius)
ขยายแนวทางศาสนาและการศึกษาไปสู่คนจีน
 ครั้นถึงสมัยราชวงศ์หมิงและชิง วิชาดาราศาสตร์ คณิตศาสตร์ ภูมิศาสตร์
วิทยาศาสตร์การแพทย์ ได้รับการสนใจจากชาวตะวันตกเป็นส่วนมาก
โดยเฉพาะ การฝังเข็ม
 การศึกษาจีนซบเซาเป็นอย่างมาก เมื่อเกิดส่งครามฝิ่น ปี 1840
 ราชวงศ์ชงล่มสลายเมื่อปี 1911 โดยคณะปฏิวัติของ ดร.ซุน ยัดเซน
            ิ
 ต่อมา ปี 1921 เหมา เจอ ตุง ก่อตั้งพรรคคอมมิวนิสต์ เปลี่ยนแปลงการ
ปกครองแบบใหม่ ทาให้จีนต้องเร่งพัฒนานโยบายด้านการศึกษาอย่างรวดเร็ว
เหมา เจอ ตุง   ดร.ซุน ยัดเซน
พัฒนาการด้านการศึกษาของจีนยุคคอมมิวนิสต์
             แบ่งออกเป็น 4 ระยะ
ระยะที่ 1 การศึกษาของจีนยังอาศัย พ่อแม่ พระสงค์ เป็นผู้ให้ความรู้ อยู่ใน
บริบทของลัทธิเต๋า อยู่กันอย่างสันติสุข เรียนโดยวิธีท่องจา
ระยะที่ 2 (ค.ศ. 1953-1957) เกิดการประถมศึกษาครั้งแรก และการศึกษา
ด้านวิชาชีพครู พรรคคอมมิวนิสต์เป็นผูกาหนดทิศทางการศึกษา
                                      ้
ระยะที่ 3 (1958 – 1960) การเมืองเข้ามามีบทบาทโดยตรงกับการจัด
การศึกษา การศึกษาระดับพื้นฐาน กระจายไปทุกภูมิภาคของจีน เกิดปฏิวัติ
วัฒนธรรรมจีนขึ้น
ระยะที่ 4 (ค.ศ. 1980) จีนปฏิรูปการศึกษาตาม หลักคาสอนของขงจื้อ ที่เป็น
ระบบคุณธรรม ความกตัญญู ถือเป็นยุคทองของการปฏิรูปการศึกษาเรื่อยมา
ถึงปัจจุบัน
ระบบการศึกษาของจีน
       (CHINA'S EDUCATIONAL SYSTEM)
       ปัจจุบันนี้จนมีระบบการศึกษาที่สมบูรณ์แบบ
                   ี
สถาบันการศึกษามี ระดับอนุบาล ประถมศึกษา มัธยมศึกษา
มหาวิทยาลัยและบัณฑิตวิทยาลัย กฎหมายการศึกษาแห่ง
สาธารณรัฐประชาชนจีน กาหนดว่า รัฐบาลรับผิดชอบการศึกษา
ภาคบังคับ 9 ปี นั่นคือ ตั้งแต่ระดับประถมศึกษาจนถึงมัธยมศึกษา
ตอนต้น โดยรัฐบาลกลางและรัฐบาลท้องถิ่นจัดสรรงบประมาณ
เพื่อสนับสนุนการศึกษาให้สามารถพัฒนาขึ้นไป ในทุกระดับทุก
ประเภท
ระบบการศึกษาของจีน
       (CHINA'S EDUCATIONAL SYSTEM)
      รัฐบาลจีนได้กาหนดนโยบาย "การพัฒนาประเทศด้วย
วิทยาศาสตร์ และการศึกษา" มุ่งปฏิรูประบบการศึกษาในแนว
ลึก โดยการจัดการศึกษาแบบให้เปล่า 9 ปี สนับสนุนให้
หน่วยงานของรัฐในทุกระดับ เพิ่มการลงทุนทางด้านการศึกษา
และส่งเสริมให้ประชาชนทุกสาขาอาชีพมีส่วนร่วมในการ
บริหารจัดการการศึกษาในทุกช่องทางและทุกวิถีทาง การศึกษา
ของจีนยึดมั่นในหลักการ " การพัฒนาสู่ความทันสมัยเปิดสู่โลก
และอนาคต" และยังใช้หลักการดังกล่าวนาไปสู่การปฏิรูป และ
การสร้างการศึกษาให้ก้าวหน้าต่อไป
หน่วยงานกากับดูแลการศึกษาของจีน




 กระทรวงศึกษาธิการ ( Ministry of Education - MOE ) กากับดูแล
 คณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ ( State Education Commission -
SEC ) เป็นผู้วางแผนการศึกษาตามนโยบายรัฐ และควบคุมคุณภาพการศึกษา
การจัดการศึกษาในระดับต่างๆ ของจีน

        1.ระดับอนุบาล (Pre-School Education) เป็นการศึกษา
สาหรับเด็กที่มีอายุระหว่าง 3-5 ปี มีระยะเวลาศึกษาประมาณ 3 ปี
        2.ระดับประถมศึกษา (Primary Education) เป็น
การศึกษาสาหรับนักเรียนที่ มีอายุระหว่าง 6-11 ปี มีระยะเวลา
ศึกษา 6 ปี โรงเรียนที่เปิดสอนในระดับนี้ส่วนใหญ่ เป็นของรัฐบาล
ท้องถิ่นระดับต่าง ๆ (Local Educational Authorities)
3. ระดับมัธยมศึกษา (Secondary Education) เป็นการศึกษาของ
เด็กที่มีอายุระหว่าง 11-17 ปี ใช้เวลาศึกษาในระดับ 6 ปี การศึกษา
ระดับมัธยมแบ่งออกเป็น 3 ประเภท คือ
         3.1 มัธยมศึกษาทั่วไป (General Middle School) แบ่ง
ออกเป็น 2 ตอน ๆ ละ 3 ปี ดังนี้
         - มัธยมศึกษาตอนต้น (Junior Middle School)
         - มัธยมศึกษาตอนปลาย (Senior Middle School)
         3.2 มัธยมอาชีวศึกษา (Vocational School Education)
         3.3 มั ธยมวิ ช าชี พ พิเ ศษ (Secondary    Professional
Education)
โรงเรียนที่เปิดสอนในระดับมัธยมศึกษา ส่วนใหญ่
จะเป็ น ของรั ฐ บาลท้ อ งถิ่ น โดยนั ก เรี ย นที่ จ บชั้ น
มัธยมศึกษาตอนต้น ส่วนใหญ่จะสมัครเข้าศึกษาต่อไป
ชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย ส่วนที่เหลือจะเข้าศึกษาใน
โรงเรียนมัธยมอาชีวศึกษา และโรงเรียนมัธยมวิชาชีพ
ตามลาดับ
การศึกษาระดับประถมศึกษา (6 ปี) ระดับมัธยมศึกษา
ตอนต้นและมัธยมตอนปลาย (6 ปี)
    รัฐบาลจีนให้ความสาคัญกับการศึกษาขั้นพื้นฐานเป็น
อย่างมาก หลังการประกาศใช้กฎหมายการศึกษาประเทศ
จีน ในปี ค.ศ. 1986 เป็นต้นมา พื้นที่ส่วนใหญ่ในประเทศ
จีนมีโรงเรียนประถมอยู่ทั่วไป และในเมืองใหญ่หรือเมืองที่
มีเศรษฐกิจค่อนข้างเจริญ จะมีโรงเรียนในระดับมัธยม
การศึกษาระดับประถมศึกษา
      เริ่มเมื่ออายุ 6 ปี เด็กที่เข้าเรียนตามเกณฑ์อายุ ไม่ต้อง
จ่ า ยค่ า เล่ า เรี ย น เพี ย งแต่ จ่ า ยค่ า หนั ง สื อ บางส่ ว น และ
ค่าใช้จ่ายอื่นๆ รวมแล้วไม่กี่ร้อยหยวน เป็นการศึกษาภาค
บังคับ โรงเรี ยนประถมจะเป็นโรงเรียนของรัฐ โดยจัดให้
นักเรียนเข้าเรียนในโรงเรียนใกล้บ้าน รัฐบาลจีนพัฒนาให้
ประชาชนทั่วประเทศได้รับโอกาสทางการศึกษาอย่างเท่า
เทียมกัน และสร้างศูนย์กลางการศึกษาในพื้นที่เขตชนบท
การศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนต้น
      มีระยะเวลา 3 ปี
      วิ ช า ที่ เ รี ย น ไ ด้ แ ก่ ภ า ษ า จี น ค ณิ ต ศ า ส ต ร์
ภาษาต่างประเทศ ฟิสิกส์ เคมี จริยธรรม สารสนเทศ และอื่นๆ
      โรงเรี ย นมั ธ ยมต้ น ในจี น ส่ ว นใหญ่ จั ด ตั้ ง โดยรั ฐ บาล
หลังจากจบการศึกษาระดับประถมศึกษาแล้วต้องสอบเข้าเพื่อ
ศึ ก ษาต่ อ ในระดั บ มั ธ ยมต้ น โดยโรงเรี ย นที่ จ ะศึ ก ษาต่ อ จะ
กาหนดจากที่อยู่และความต้องการโดยส่วนตัวของนักเรียนเอง
ขณะเดียวกัน ในพื้นที่ชนบทก็จะมีศูนย์กลางการศึกษาให้เด็ก
ได้เข้าเรียน
การศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย
       แบ่งออกเป็นมัธยมปลายทั่วไป มัธยมปลายด้านวิชาชีพ
และอาชีวศึกษา ใช้เวลา 3 ปี เป็นระดับการศึกษาที่ไม่บังคับ
ดังนั้นนักเรียนจะต้องรับผิดชอบ ค่าเล่าเรียนเองประมาณปีละ
ไม่กี่พันหยวน
       วิ ช า ที่ เ รี ย น ไ ด้ แ ก่ ภ า ษ า จี น ค ณิ ต ศ า ส ต ร์
ภาษาต่างประเทศ ฟิสิกส์ เคมี ชีววิทยา สารสนเทศและอื่นๆ
       โรงเรียนส่วนใหญ่เป็นของรัฐ การเข้าเรียนต้องสอบเข้า
โดยดูจากระดับคะแนนที่สอบได้ ซึ่งข้อสอบที่ใช้จัดทาโดยส่วน
การศึกษาภูมิภาค
การศึกษาระดับต่าง ๆ ของจีน
    4.ระดับ อุดมศึกษา (Higher         Education)
สถาบันการศึกษาที่สอนระดับอุดมศึกษาประกอบด้วย
มหาวิทยาลัย (Universities) สถาบัน (Institutes)
และวิทยาลัย (Short-Cycle universities) การศึกษา
ระดับอุดมศึกษาของจีนมีคุณภาพดีทั้งการเรียนการสอน
และการวิจัย ผลสาเร็จในการวิจัยด้านวิทยาศาสตร์
การศึกษาระดับอุดมศึกษา
     การศึกษาระดับสูงของจีนมีประวัติศาสตร์ยาวนาน
กว่ า ร้ อ ยปี ปั จ จุ บั น มหาวิ ท ยาลั ย ในจี น มี จ านวน
ประมาณ 3,000 แห่ง โดย 2 ใน 3 เป็นมหาวิทยาลัย
ของรัฐ และ 1 ใน 3 เป็นมหาวิทยาลัยเอกชน
     การเข้ าศึ กษาในมหาวิ ทยาลั ย ของจี นจ าเป็น ต้อ ง
ผ่านการสอบเข้าศึกษา โดยดูจากระดับคะแนนในการ
สอบ ข้ อ สอบที่ ใ ช้ ก าหนดโดยส่ ว นการศึ ก ษาภู มิ ภ าค
และส่ ว นการศึ ก ษาภู มิ ภ าคจะเป็ น ผู้ ก าหนดเกณฑ์
คะแนนด้วย
การศึกษาระดับอุดมศึกษา
    ส ถ า บั น ก า ร ศึ ก ษ า ร ะ ดั บ สู ง ข อ ง จี น ไ ด้ แ ก่
มหาวิ ท ยาลั ย สถาบั น และสถาบั น เฉพาะทาง
มหาวิทยาลัยของจีนแบ่งเป็นมหาวิทยาลัยระดับมณฑล
ระดับเขตปกครองตนเอง และระดับมหานครในสังกัด
กระทรวงศึ กษาธิการ สถาบันการศึกษาระดับสูงของ
ท้องถิ่นและมหาวิทยาลัยเอกชน มหาวิทยาลัยจีนและ
ส ถ า บั น ที่ ตั้ ง เ ป็ น ขึ้ น เ ป็ น เ อ ก เ ท ศ จั ด ว่ า เ ป็ น
สถาบันการศึกษาระดับสูง
ปริญญาบัตรของจีน
      ระดับปริญญาบัณฑิต (ปริญญาตรี) (4 – 5 ปี) ผู้ที่สามารถจบ
การศึกษาตามหลักสูตรที่กาหนดไว้และสารนิพนธ์ที่เขียนนันผ่านเกณฑ์
                                                    ้
ถือว่าได้ปริญญาบัตรระดับปริญญาบัณฑิต
      ระดับมหาบัณฑิต (2 – 3 ปี) ผู้ที่สามารถจบการศึกษาตาม
หลักสูตรที่กาหนดไว้ สอบผ่านวิทยานิพนธ์ และมีคะแนนในระดับที่
สอบผ่าน ถือว่าได้ปริญญาบัตรระดับมหาบัณฑิต
      ระดับดุษฎีบัณฑิต (3 – 4 ปี) ผู้ที่สามารถจบการศึกษาตาม
หลักสูตรที่กาหนดไว้ สอบผ่านวิทยานิพนธ์ และมีคะแนนในระดับที่
สอบผ่าน ถือว่าได้ปริญญาบัตรระดับดุษฎีบัณฑิต
5. การศึกษาผู้ใหญ่
     การศึกษาประเภทต่างๆ ที่จัดขึ้นสาหรับผู้ใหญ่ และ
ผู้ไม่รู้หนังสือ หรือการศึกษาอื่นที่มีรูปแบบใกล้เคียงกัน
ปี ค.ศ. 1999 มี ส ถานศึ ก ษาระดั บ อุ ด มศึ ก ษาส าหรั บ
การศึ ก ษาผู้ ใ หญ่ จานวน 871 แห่ง และยั ง มีอี ก 800
กว่าแห่งที่เปิดการศึกษาทางไปรษณีย์ และการศึกษา
ภาคค่า เป้าหมายหลักของการศึกษาผู้ใหญ่ส่วนใหญ่
คือประชาชนในภาคเกษตรกรรม
โครงสร้างระบบการศึกษาจีน
      ระบบการศึกษาของจีนวางแผนโดยรัฐบาลกลาง โดยมี
กระทรวงศึ ก ษาการควบคุ ม ดู แ ลระบบการศึ ก ษา ก าหนด
ทิ ศ ทาง ออกกฎหมาย รั บ ผิ ด ชอบโดยตรงในเรื่ อ งของการ
บัญญัติกฎหมาย กาหนดนโยบาย และแผนงานด้านการศึกษา
ดูแลและวางแผนการพัฒนาระบบการศึกษาจีน ปรับเปลี่ยน
นโยบายของหน่ ว ยงานที่ เ กี่ ย วข้ อ งด้ า นการศึ ก ษาให้ เ ป็ น
แนวทางเดี ย วกั น ทั้ ง ประเทศเพื่ อ ให้ ก ารพั ฒ นาระบบศึ ก ษา
เดินหน้าไปอย่างไม่สะดุด
โครงสร้างระบบการศึกษาจีน
       ระดั บ นโยบายของรั ฐ ทางการศึ ก ษา การศึ ก ษาไทยมี
หลายมาตรฐาน แต่จีนใช้มาตรฐานเดียว “คาว่าเรียนฟรี 9 ปี
ของจีน คือฟรีจริง ๆ” อุปกรณ์การเรียนก็ไม่ต่างกัน แม้จะ
อยู่ ใ นพื้ น ที่ ห่ า งไกลแค่ ไ หน เพราะจี น ถื อ ว่ า นั ก ศึ ก ษาคื อ
พลเมืองของรัฐ “ปัญหาตาราปลอม อุปกรณ์ไม่ได้มาตรฐาน
ไม่ค่อยมีปรากฏในสถานศึกษาของรัฐในจีน ”                          ที่สาคัญ
“เงินเดือนของครูจะสูง” ถ้าเทียบกับครูไทย
โครงสร้างระบบการศึกษาจีน
      ในส่วนของค่าเล่าเรียน รัฐบาลจะเป็นผู้ออกค่าเล่า
เรี ย นในระดั บ การศึ ก ษาภาคบั ง คั บ 9 ปี ได้ แ ก่ ระดั บ
ประถมศึกษา 6 ปี และมัธยมศึกษาตอนต้น 3 ปี
      นอกจากความช่วยเหลือดังกล่าวข้างต้นแล้ว รัฐบาล
จีนยังริเริ่มโครงการให้นักเรียนทางานหารายได้ในโรงเรียน
เพื่อลดภาระค่าใช้จ่ายของนักเรียนลง
ป ร ะ เ ท ศ จี น ส า ม า ร ถ จั ด ก า ร ศึ ก ษ า ไ ด้ ทั่ ว ถึ ง
ครอบคลุม เป็นผู้นาทางด้านจัดการศึกษา โดยให้แต่ละ
มณฑลเป็นผู้รับผิดชอบ โดยมีเมือง จังหวัด รับผิดชอบ
ลดหลั่นกันไป
      โดยรั ฐ บาลกลางเป็ น ผู้ อ อกค่ า ใช้ จ่ า ยในการจั ด
การศึกษาภาคบังคับทุกคน ตามทะเบียนบ้านเป็นหลัก
ผู้เรียนมีทะเบียนบ้านอยู่เขตบริการหรือบริเวณพื้นที่ใด
ต้องเข้าเรียนในโรงเรียนนั้นเป็นหลัก ถ้าไม่ต้องการเรียน
ในโรงเรียนนั้นจะออกค่าใช้จ่ายเอง
จุดเด่นการศึกษาประเทศจีน
     สาหรับชั้นเรียนที่ไม่ใช่การศึกษาภาคบังคับ (ม.ปลาย)
จะต้องมีการแข่งขันกันเข้าเรียนในโรงเรียนที่ดีมีคุณภาพ โดย
ใช้วิธีการสอบเป็นหลัก ไม่ใช้วิธีอื่น(จับฉลาก)
     จีนได้วางยุทธศาสตร์ “การฟื้นฟูประเทศด้วยวิทยาการ
และการศึกษา” โดยกาหนดให้การพัฒนาด้านการศึกษาเป็น
ยุทธศาสตร์อันดับต้นเพื่อการขับเคลื่อนระบบสังคมนิยมยุค
ใหม่ การผลั ก ดั น การปฏิ รู ป และพั ฒ นาทางการศึ ก ษาได้
ดาเนินไปอย่างต่อเนื่องบนหลักการที่ว่า “การศึกษาควรมุ่งสู่
ความทันสมัย ก้าวทันความเป็นไปในโลกและอนาคต”
จุดเด่นการศึกษาประเทศจีน
     จี น ด าเนิ น นโยบายที่ ก าหนดว่ า “การศึ ก ษาต้ อ ง
สามารถรองรับต่อการขับเคลื่อนระบบสังคมนิยมยุค
ใหม่โดยผสมผสานกับแรงงานที่มีผลิตภาพสูงทั้งนี้เพื่อ
สานต่ อ เจตนารมณ์ ข องผู้ ก่ อ ตั้ ง และสื บ ทอดแนว
ทางการพัฒนาตามอุดมการณ์สังคมนิยม ทั้งด้านจิต
วิ ญ ญาณ แนวความคิ ด กายภาพและสุ น ทรี ย ภาพ
อย่างสมบูรณ์”
จุดเด่นการศึกษาประเทศจีน
     จี น มุ่ ง ส่ ง เสริ ม การศึ ก ษาที่ “มุ่ ง เน้ น คุ ณ ภาพเป็ น
หัวใจสาคัญ” เพื่อบ่มเพาะคนรุ่นใหม่ที่มีจิตวิญญาณ
แห่ ง การสร้ า งสรรค์ แ ละเป็ น นั ก ปฏิ บั ติ เ พื่ อ สามารถ
เผชิญหน้ากับความท้าทายใหม่ๆ ในอนาคตข้างหน้า
     ก า ร จั ด ก า ร ศึ ก ษ า จ ะ จั ด ก า ร ศึ ก ษ า เ ต็ ม วั น
เช่นเดียวกับประเทศไทย แต่ช่วงพักกลางวันผู้เรียนก็จะ
กลับไปรับประทานอาหารกลางวันที่บ้าน โรงเรียนไม่มี
การบริการเรื่องอาหาร
การเปรียบเทียบการศึกษาขั้นพื้นฐานของประเทศจีนและไทย
                 ประเทศจีน                                       ประเทศไทย
แบ่งการศึกษาออกเป็น 4 ระดับใหญ่                     หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน ได้แบ่งออกเป็น
-การศึกษาก่อนวันเรียน อายุระหว่าง 3-6 ปี            -การศึกษาก่อนวัยเรียน อายุระหว่าง 3 – 6 ปี
1. การศึกษาขั้นพื้นฐาน                              1. การศึกษาขั้นพื้นฐาน
1.1 ประถมศึกษา คือ grade 1-6 อายุระหว่าง 6-12 ปี    1.1 ช่วงชั้นที่ 1 ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 – 6
1.2 มัธยมศึกษาตอนต้น คือ grade 7-9 อายุระหว่าง      1.2 ช่วงชั้นที่ 2 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 – 3
    12 – 15                                         1.3 ช่วงชั้นที่ 3 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 – 6
1.3 มัธยมศึกษาตอนปลาย คือ grade 10-12 อายุ          2. อาชีวศึกษา
    ระหว่าง 15 - 18 ปี                              2.1 ประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.)
2. การอาชีวศึกษา เป็นหลักสูตร 2 – 3 ปี จะเรียนต่อ   2.2 ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.)
    ได้เมื่อจบการศึกษาจากมัธยมศึกษาตอนต้น           3. อุดมศึกษา
3. อุดมศึกษา เป็นการศึกษาในระดับมหาวิทยาลัย         3.1 ปริญญาตรี หลักสูตร 4 ปี
    หลักสูตร 4 ปี และเปิดสอนระดับปริญญาโท และ       3.2 ปริญญาโท
    ปริญญาเอก                                       3.3 ปริญญาเอก
4. การศึกษานอกโรงเรียน                              *การศึกษาภาคบังคับกาหนดไว้ 9 ปี
* การศึกษาภาคบังคับกาหนดไว้ 9 ปี
ประเทศจีน                                   ประเทศไทย
ได้กาหนดสาระการเรียนรู้ตามหลักสูตร ซึ่ง           กาหนดสาระการเรียนรู้ตามหลักสูตร ซึ่ง
ประกอบด้วยองค์ความรู้ และคุณลักษะหรือ        ประกอบด้วยองค์ความเรียน
ค่านิยม คุณธรรม จริยธรรมของผู้เรียน เป็น 6   รู้ทักษะหรือกระบวนการการเรียนรู้ และ
กลุ่มวิชาดังนี้                              คุณลักษณะหรือค่านิยม คุณธรรม จริยธรรมของ
1. วิชาภาษาและวรรณคดี                        ผู้เรียนเป็น 8 กลุ่ม ดังนี้
2. คณิตศาสตร์                                1. ภาษาไทย
3. วิทยาศาสตร์                               2. คณิตศาสตร์
4. ภาษาต่างประเทศ                            3. วิทยาศาสตร์
5. วิชาความประพฤติและคุณธรรม                 4. สังคมศึกษา ศาสตร์และวัฒนธรรม
6. วิชาดนตรีและพลศึกษา                       5. สุขศึกษาและพลศึกษา
                                             6. ศิลปะ
                                             7. การงานพื้นฐานอาชีพและเทคโนโลยี
                                             8. ภาษาต่างประเทศ
                                                และมี 2 กิจกรรมพัฒนาผู้
                                                     - กิจกรรมแนะแนว
                                                     - กิจกรรมนักเรียน
ประเทศจีน                                        ประเทศไทย
   การประเมินผลการศึกษาของประเทศจีนนัน   ้            การวัดผลประเมินผลของหลักสูตรการศึกษาขั้น
1. ในชั้นประถมศึกษาตอนต้น เนื่องจากยังคงอยู่     พื้นฐานมีอยู่ 3 ระดับ
ในช่วงการศึกษาภาคบังคับ การจบการศึกษาจาก         1. การวัดผลประเมินผลระดับชั้นเรียน คือ มุ่งหา
โรงเรียนประถมศึกษา เข้าสู่ชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น   คาตอบว่าผู้เรียนมีความก้าวหน้าทั้งด้านความรู้
จึงไม่ต้องผ่านการสอบ                             ทักษะกระบวนการ และค่านิยมอันพึงประสงค์ อัน
2. การจบการศึกษาชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นสู่          เนื่องมาจากการจัดการเรียนการสอน
การศึกษาชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย ต้องสอบผ่าน        2. การวัดผลประเมินผลระดับสถานศึกษา เพื่อ
การสอบโดยใช้หน่วยงานศึกษาธิการในท้องที่          ตรวจสอบความก้าวหน้าด้านการเรียนรู้ เป็นราย
ต่างๆ ออกข้อสอบอย่างเป็นเอกภาพ ทั้งกาหนด         ชั้นปี และช่วงชั้นเพราะสถานศึกษาจะนาไปหา
คะแนนผ่านด้วย                                    แนวทางในการปรับปรุงพัฒนาการเรียนการสอน
3. การศึกษาต่อหรือเข้าเรียนหนังสือใน             3. การวัดผลประเมินผลระดับชาติ คือสถานศึกษา
สถาบันอุดมศึกษานั้นจะต้องผ่านการสอบ โดยใช้       ต้องจัดให้ผู้เรียนทุกคนทีเรียนปีสุดท้ายของแต่ละ
หน่วยงานศึกษาธิการในท้องที่ต่างๆ ออกข้อสอบ       ช่วงชั้นเข้ารับการประเมินคุณภาพระดับชาติ ใน
อย่างเป็นเอกภาพ ทั้งกาหนดคะแนนผ่านด้วย           กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่สาคัญได้แก่ ภาษาไทย
                                                 คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ สังคม ศาสนาและ
                                                 วัฒนธรรม ภาษาอังกฤษและกลุ่มสาระอื่นๆ
การวัดผลประเมินผล
        การประเมินการศึกษาของประเทศจีนนั้น เนื่องจากระดับประถม
ศึกษายังอยู่ในภาคบังคับเมื่อจบการศึกษาจะต้องเรียนต่อในระดับมัธยมศึกษา
ตอนต้น จึงยังไม่มีการทดสอบหรือประเมินผล แต่จะไปสอบตอนที่จะเข้าใน
ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย โดยจะมีหน่วยงานศึกษาธิการในท้องถิ่นมาออก
ข้อสอบอย่างเป็นเอกภาพ และจะสาคัญที่สุดที่สอบเข้าระดับสูง เช่น
มหาวิทยาลัย ส่วนการประเมินผลของไทยจะมีอยู่ 3 ระดับ จะมีการ
ประเมินผลระดับชั้นเรียน ระดับสถานศึกษา และระดับชาติ จะเห็นว่าการ
ประเมินการศึกษาของประเทศไทย จะละเอียดกว่า แต่ประเทศไทยจะเน้น
การทดสอบวัดความรู้สาหรับประเทศจีนจะเน้นการเกิดความเข้าใจ และ
สามารถนามาใช้ได้จริง
ขอบคุณสาหรับการรับชม




             .......Good luck
แหล่งอ้างอิงข้อมูล
http://th.wikipedia.org
http://202.143.150.2/~bstmk/kn_Dream/07.htm
http://gotoknow.org/blog/yuenyong/166005
http://sinothai.youth.cn/jyzd/zg/200709/t20070924_594162.htm
http://www.chinese-academy.com/chinese_edu.htm
http://www.bot.or.th

More Related Content

What's hot

วิธีการทางประวัติศาสตร์ ม.3
วิธีการทางประวัติศาสตร์ ม.3 วิธีการทางประวัติศาสตร์ ม.3
วิธีการทางประวัติศาสตร์ ม.3 sudchaleom
 
รวมเล่มแผนการสอน ฟิสิกส์2
รวมเล่มแผนการสอน ฟิสิกส์2รวมเล่มแผนการสอน ฟิสิกส์2
รวมเล่มแผนการสอน ฟิสิกส์2Wijitta DevilTeacher
 
Casestudy การศึกษารายกรณี
Casestudy การศึกษารายกรณีCasestudy การศึกษารายกรณี
Casestudy การศึกษารายกรณีrewat Chitthaing
 
แผนการสอนวิชาภาษาจีน ม.1
แผนการสอนวิชาภาษาจีน ม.1แผนการสอนวิชาภาษาจีน ม.1
แผนการสอนวิชาภาษาจีน ม.1Teacher Sophonnawit
 
ศาสนาเชน
ศาสนาเชนศาสนาเชน
ศาสนาเชนPadvee Academy
 
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1KruKaiNui
 
ทักษะการอ่าน
ทักษะการอ่านทักษะการอ่าน
ทักษะการอ่าน0872191189
 
ดาวโหลดเอกสารเลือกตั้งประธานนักเรียน
ดาวโหลดเอกสารเลือกตั้งประธานนักเรียนดาวโหลดเอกสารเลือกตั้งประธานนักเรียน
ดาวโหลดเอกสารเลือกตั้งประธานนักเรียนwaranyuati
 
Learning force p5
Learning force p5Learning force p5
Learning force p5Ornrutai
 
1 แบบฝึกทักษะการคิดวิเคราะห์วิชาฟิสกส์ เรื่อง ความหนาแน่น
1 แบบฝึกทักษะการคิดวิเคราะห์วิชาฟิสกส์ เรื่อง ความหนาแน่น1 แบบฝึกทักษะการคิดวิเคราะห์วิชาฟิสกส์ เรื่อง ความหนาแน่น
1 แบบฝึกทักษะการคิดวิเคราะห์วิชาฟิสกส์ เรื่อง ความหนาแน่นKruNistha Akkho
 
การศึกษารายกรณี ครูธัญญา ซื่อตรง
การศึกษารายกรณี ครูธัญญา ซื่อตรงการศึกษารายกรณี ครูธัญญา ซื่อตรง
การศึกษารายกรณี ครูธัญญา ซื่อตรงKru Tew Suetrong
 
อจท. พระพุทธศาสนา ม.3
อจท. พระพุทธศาสนา ม.3อจท. พระพุทธศาสนา ม.3
อจท. พระพุทธศาสนา ม.3O'Orh ChatmaNee
 
ตัวอย่าง ปกรายงาน
ตัวอย่าง ปกรายงานตัวอย่าง ปกรายงาน
ตัวอย่าง ปกรายงานSamorn Tara
 
ประวัติศาสตร์ รัตนโกสินทร์ ประถมศึกษาปีที่6
ประวัติศาสตร์ รัตนโกสินทร์ ประถมศึกษาปีที่6ประวัติศาสตร์ รัตนโกสินทร์ ประถมศึกษาปีที่6
ประวัติศาสตร์ รัตนโกสินทร์ ประถมศึกษาปีที่6ARM ARM
 
Testแนวการออกข้อสอบวัดการคิดระดับสังเคราะห์
  Testแนวการออกข้อสอบวัดการคิดระดับสังเคราะห์  Testแนวการออกข้อสอบวัดการคิดระดับสังเคราะห์
Testแนวการออกข้อสอบวัดการคิดระดับสังเคราะห์Nonsawan Exschool
 

What's hot (20)

วิธีการทางประวัติศาสตร์ ม.3
วิธีการทางประวัติศาสตร์ ม.3 วิธีการทางประวัติศาสตร์ ม.3
วิธีการทางประวัติศาสตร์ ม.3
 
ปก
ปกปก
ปก
 
รวมเล่มแผนการสอน ฟิสิกส์2
รวมเล่มแผนการสอน ฟิสิกส์2รวมเล่มแผนการสอน ฟิสิกส์2
รวมเล่มแผนการสอน ฟิสิกส์2
 
6.ชุด 3 การแพร่
6.ชุด 3 การแพร่6.ชุด 3 การแพร่
6.ชุด 3 การแพร่
 
Casestudy การศึกษารายกรณี
Casestudy การศึกษารายกรณีCasestudy การศึกษารายกรณี
Casestudy การศึกษารายกรณี
 
แผนการสอนวิชาภาษาจีน ม.1
แผนการสอนวิชาภาษาจีน ม.1แผนการสอนวิชาภาษาจีน ม.1
แผนการสอนวิชาภาษาจีน ม.1
 
ศาสนาเชน
ศาสนาเชนศาสนาเชน
ศาสนาเชน
 
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
 
ทักษะการอ่าน
ทักษะการอ่านทักษะการอ่าน
ทักษะการอ่าน
 
ดาวโหลดเอกสารเลือกตั้งประธานนักเรียน
ดาวโหลดเอกสารเลือกตั้งประธานนักเรียนดาวโหลดเอกสารเลือกตั้งประธานนักเรียน
ดาวโหลดเอกสารเลือกตั้งประธานนักเรียน
 
หน่วย 2
หน่วย 2หน่วย 2
หน่วย 2
 
Learning force p5
Learning force p5Learning force p5
Learning force p5
 
Ast.c2560.5t
Ast.c2560.5tAst.c2560.5t
Ast.c2560.5t
 
1 แบบฝึกทักษะการคิดวิเคราะห์วิชาฟิสกส์ เรื่อง ความหนาแน่น
1 แบบฝึกทักษะการคิดวิเคราะห์วิชาฟิสกส์ เรื่อง ความหนาแน่น1 แบบฝึกทักษะการคิดวิเคราะห์วิชาฟิสกส์ เรื่อง ความหนาแน่น
1 แบบฝึกทักษะการคิดวิเคราะห์วิชาฟิสกส์ เรื่อง ความหนาแน่น
 
การศึกษารายกรณี ครูธัญญา ซื่อตรง
การศึกษารายกรณี ครูธัญญา ซื่อตรงการศึกษารายกรณี ครูธัญญา ซื่อตรง
การศึกษารายกรณี ครูธัญญา ซื่อตรง
 
อจท. พระพุทธศาสนา ม.3
อจท. พระพุทธศาสนา ม.3อจท. พระพุทธศาสนา ม.3
อจท. พระพุทธศาสนา ม.3
 
ตัวอย่าง ปกรายงาน
ตัวอย่าง ปกรายงานตัวอย่าง ปกรายงาน
ตัวอย่าง ปกรายงาน
 
ประวัติศาสตร์ รัตนโกสินทร์ ประถมศึกษาปีที่6
ประวัติศาสตร์ รัตนโกสินทร์ ประถมศึกษาปีที่6ประวัติศาสตร์ รัตนโกสินทร์ ประถมศึกษาปีที่6
ประวัติศาสตร์ รัตนโกสินทร์ ประถมศึกษาปีที่6
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้
 
Testแนวการออกข้อสอบวัดการคิดระดับสังเคราะห์
  Testแนวการออกข้อสอบวัดการคิดระดับสังเคราะห์  Testแนวการออกข้อสอบวัดการคิดระดับสังเคราะห์
Testแนวการออกข้อสอบวัดการคิดระดับสังเคราะห์
 

Viewers also liked

หลักสูตรคณิตศาสตร์ของประเทศจีน
หลักสูตรคณิตศาสตร์ของประเทศจีนหลักสูตรคณิตศาสตร์ของประเทศจีน
หลักสูตรคณิตศาสตร์ของประเทศจีนInmylove Nupad
 
บทที่ 4 การจัดการศึกษาปฐมวัยในเอเชีย 55
บทที่ 4 การจัดการศึกษาปฐมวัยในเอเชีย 55บทที่ 4 การจัดการศึกษาปฐมวัยในเอเชีย 55
บทที่ 4 การจัดการศึกษาปฐมวัยในเอเชีย 55Decode Ac
 
รายงานการศึกษาดูงาน ณ ประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน
รายงานการศึกษาดูงาน ณ ประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีนรายงานการศึกษาดูงาน ณ ประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน
รายงานการศึกษาดูงาน ณ ประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีนManoonpong Srivirat
 
การศึกษาเปรียบเทียบประเทศอินโดนีเซีย
การศึกษาเปรียบเทียบประเทศอินโดนีเซียการศึกษาเปรียบเทียบประเทศอินโดนีเซีย
การศึกษาเปรียบเทียบประเทศอินโดนีเซียkrupanisara
 
กลยุทธ์ในการแก้ปัญหา
กลยุทธ์ในการแก้ปัญหา กลยุทธ์ในการแก้ปัญหา
กลยุทธ์ในการแก้ปัญหา Inmylove Nupad
 
ทฤษฎีลิเคอร์ท
ทฤษฎีลิเคอร์ททฤษฎีลิเคอร์ท
ทฤษฎีลิเคอร์ทBonba Jung
 
บทที่ 5 ประวัติความเป็นมาการจัดการศึกาปฐมวัยในประเทศไทย 55
บทที่ 5 ประวัติความเป็นมาการจัดการศึกาปฐมวัยในประเทศไทย 55บทที่ 5 ประวัติความเป็นมาการจัดการศึกาปฐมวัยในประเทศไทย 55
บทที่ 5 ประวัติความเป็นมาการจัดการศึกาปฐมวัยในประเทศไทย 55Decode Ac
 
การบวก การลบ
การบวก การลบการบวก การลบ
การบวก การลบwimonratjai
 
บทที่ 6 การจัดการศึกษาปฐมวัยในปัจจุบัน 55
บทที่ 6 การจัดการศึกษาปฐมวัยในปัจจุบัน 55บทที่ 6 การจัดการศึกษาปฐมวัยในปัจจุบัน 55
บทที่ 6 การจัดการศึกษาปฐมวัยในปัจจุบัน 55Decode Ac
 
บทที่ 3 การจัดการศึกษาปฐมวัยในยุโรปและอเมริกา 55
บทที่ 3 การจัดการศึกษาปฐมวัยในยุโรปและอเมริกา 55บทที่ 3 การจัดการศึกษาปฐมวัยในยุโรปและอเมริกา 55
บทที่ 3 การจัดการศึกษาปฐมวัยในยุโรปและอเมริกา 55Decode Ac
 
บทที่ 7 พัฒนาการเด็ก และความต้องการของเด็ก 55
บทที่ 7 พัฒนาการเด็ก และความต้องการของเด็ก 55บทที่ 7 พัฒนาการเด็ก และความต้องการของเด็ก 55
บทที่ 7 พัฒนาการเด็ก และความต้องการของเด็ก 55Decode Ac
 
เปรียบเทียบการศึกษาไทย ญี่ปุ่น
เปรียบเทียบการศึกษาไทย ญี่ปุ่นเปรียบเทียบการศึกษาไทย ญี่ปุ่น
เปรียบเทียบการศึกษาไทย ญี่ปุ่นKingkarn Saowalak
 

Viewers also liked (13)

หลักสูตรคณิตศาสตร์ของประเทศจีน
หลักสูตรคณิตศาสตร์ของประเทศจีนหลักสูตรคณิตศาสตร์ของประเทศจีน
หลักสูตรคณิตศาสตร์ของประเทศจีน
 
บทที่ 4 การจัดการศึกษาปฐมวัยในเอเชีย 55
บทที่ 4 การจัดการศึกษาปฐมวัยในเอเชีย 55บทที่ 4 การจัดการศึกษาปฐมวัยในเอเชีย 55
บทที่ 4 การจัดการศึกษาปฐมวัยในเอเชีย 55
 
รายงานการศึกษาดูงาน ณ ประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน
รายงานการศึกษาดูงาน ณ ประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีนรายงานการศึกษาดูงาน ณ ประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน
รายงานการศึกษาดูงาน ณ ประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน
 
การศึกษาเปรียบเทียบประเทศอินโดนีเซีย
การศึกษาเปรียบเทียบประเทศอินโดนีเซียการศึกษาเปรียบเทียบประเทศอินโดนีเซีย
การศึกษาเปรียบเทียบประเทศอินโดนีเซีย
 
กลยุทธ์ในการแก้ปัญหา
กลยุทธ์ในการแก้ปัญหา กลยุทธ์ในการแก้ปัญหา
กลยุทธ์ในการแก้ปัญหา
 
China
China China
China
 
ทฤษฎีลิเคอร์ท
ทฤษฎีลิเคอร์ททฤษฎีลิเคอร์ท
ทฤษฎีลิเคอร์ท
 
บทที่ 5 ประวัติความเป็นมาการจัดการศึกาปฐมวัยในประเทศไทย 55
บทที่ 5 ประวัติความเป็นมาการจัดการศึกาปฐมวัยในประเทศไทย 55บทที่ 5 ประวัติความเป็นมาการจัดการศึกาปฐมวัยในประเทศไทย 55
บทที่ 5 ประวัติความเป็นมาการจัดการศึกาปฐมวัยในประเทศไทย 55
 
การบวก การลบ
การบวก การลบการบวก การลบ
การบวก การลบ
 
บทที่ 6 การจัดการศึกษาปฐมวัยในปัจจุบัน 55
บทที่ 6 การจัดการศึกษาปฐมวัยในปัจจุบัน 55บทที่ 6 การจัดการศึกษาปฐมวัยในปัจจุบัน 55
บทที่ 6 การจัดการศึกษาปฐมวัยในปัจจุบัน 55
 
บทที่ 3 การจัดการศึกษาปฐมวัยในยุโรปและอเมริกา 55
บทที่ 3 การจัดการศึกษาปฐมวัยในยุโรปและอเมริกา 55บทที่ 3 การจัดการศึกษาปฐมวัยในยุโรปและอเมริกา 55
บทที่ 3 การจัดการศึกษาปฐมวัยในยุโรปและอเมริกา 55
 
บทที่ 7 พัฒนาการเด็ก และความต้องการของเด็ก 55
บทที่ 7 พัฒนาการเด็ก และความต้องการของเด็ก 55บทที่ 7 พัฒนาการเด็ก และความต้องการของเด็ก 55
บทที่ 7 พัฒนาการเด็ก และความต้องการของเด็ก 55
 
เปรียบเทียบการศึกษาไทย ญี่ปุ่น
เปรียบเทียบการศึกษาไทย ญี่ปุ่นเปรียบเทียบการศึกษาไทย ญี่ปุ่น
เปรียบเทียบการศึกษาไทย ญี่ปุ่น
 

Similar to การจัดการศึกษาของจีน

นำเสนอ เกาหลี
นำเสนอ เกาหลีนำเสนอ เกาหลี
นำเสนอ เกาหลีKingkarn Saowalak
 
แฟ้มสะสมผลงานดีเด่นระดับปริญญาเอก นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
แฟ้มสะสมผลงานดีเด่นระดับปริญญาเอก นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์แฟ้มสะสมผลงานดีเด่นระดับปริญญาเอก นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์
แฟ้มสะสมผลงานดีเด่นระดับปริญญาเอก นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์Kobwit Piriyawat
 
สังคมศึกษา ม.ปลาย สค31001
สังคมศึกษา ม.ปลาย สค31001สังคมศึกษา ม.ปลาย สค31001
สังคมศึกษา ม.ปลาย สค31001Thidarat Termphon
 
โครงงานEducation inter
โครงงานEducation interโครงงานEducation inter
โครงงานEducation interพัน พัน
 
Cheet5 curriculam
Cheet5 curriculamCheet5 curriculam
Cheet5 curriculamZTu Zii ICe
 
ปัญหาและความท้าทายของระบบการศึกษาไทย
ปัญหาและความท้าทายของระบบการศึกษาไทย ปัญหาและความท้าทายของระบบการศึกษาไทย
ปัญหาและความท้าทายของระบบการศึกษาไทย Phichai Na Bhuket
 
ICT to Enhance Non-formal Education in Multicultural Society
ICT to Enhance Non-formal Education in Multicultural SocietyICT to Enhance Non-formal Education in Multicultural Society
ICT to Enhance Non-formal Education in Multicultural SocietyNikma Hj
 
Original edu 1
Original edu 1Original edu 1
Original edu 1pui003
 
แนวทางการดำเนินงานโรงเรียนมาตรฐานสากล2
แนวทางการดำเนินงานโรงเรียนมาตรฐานสากล2แนวทางการดำเนินงานโรงเรียนมาตรฐานสากล2
แนวทางการดำเนินงานโรงเรียนมาตรฐานสากล2krupornpana55
 
พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542
พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542
พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542Suwanan Nonsrikham
 
สันติธานี
สันติธานีสันติธานี
สันติธานีTaraya Srivilas
 
บทเรียนจากแนวทางการพัฒนาประเทศของจีนเทียบกับตะวันตก
บทเรียนจากแนวทางการพัฒนาประเทศของจีนเทียบกับตะวันตกบทเรียนจากแนวทางการพัฒนาประเทศของจีนเทียบกับตะวันตก
บทเรียนจากแนวทางการพัฒนาประเทศของจีนเทียบกับตะวันตกKlangpanya
 
สรุปสาระสำคัญเกี่ยวกับ พรบ
สรุปสาระสำคัญเกี่ยวกับ พรบสรุปสาระสำคัญเกี่ยวกับ พรบ
สรุปสาระสำคัญเกี่ยวกับ พรบtunyapisit
 
06 mini thesis-การศีกษาพฤติกรรมการใช้เฟสบุค
06 mini thesis-การศีกษาพฤติกรรมการใช้เฟสบุค06 mini thesis-การศีกษาพฤติกรรมการใช้เฟสบุค
06 mini thesis-การศีกษาพฤติกรรมการใช้เฟสบุคKruBeeKa
 
ถอดเทปสันติธานี 1
ถอดเทปสันติธานี 1ถอดเทปสันติธานี 1
ถอดเทปสันติธานี 1Taraya Srivilas
 
แนวข้อสอบ ความรู้ทั่วไป และมาตรฐานวิชาชีพ
แนวข้อสอบ ความรู้ทั่วไป และมาตรฐานวิชาชีพแนวข้อสอบ ความรู้ทั่วไป และมาตรฐานวิชาชีพ
แนวข้อสอบ ความรู้ทั่วไป และมาตรฐานวิชาชีพปกรณ์กฤช ออนไลน์
 
รายวิชา พัฒนา22
รายวิชา พัฒนา22รายวิชา พัฒนา22
รายวิชา พัฒนา22teerawut123
 

Similar to การจัดการศึกษาของจีน (20)

นำเสนอ เกาหลี
นำเสนอ เกาหลีนำเสนอ เกาหลี
นำเสนอ เกาหลี
 
3 23-6-53
3 23-6-533 23-6-53
3 23-6-53
 
แฟ้มสะสมผลงานดีเด่นระดับปริญญาเอก นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
แฟ้มสะสมผลงานดีเด่นระดับปริญญาเอก นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์แฟ้มสะสมผลงานดีเด่นระดับปริญญาเอก นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์
แฟ้มสะสมผลงานดีเด่นระดับปริญญาเอก นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
 
สังคมศึกษา ม.ปลาย สค31001
สังคมศึกษา ม.ปลาย สค31001สังคมศึกษา ม.ปลาย สค31001
สังคมศึกษา ม.ปลาย สค31001
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
โครงงานEducation inter
โครงงานEducation interโครงงานEducation inter
โครงงานEducation inter
 
Cheet5 curriculam
Cheet5 curriculamCheet5 curriculam
Cheet5 curriculam
 
ปัญหาและความท้าทายของระบบการศึกษาไทย
ปัญหาและความท้าทายของระบบการศึกษาไทย ปัญหาและความท้าทายของระบบการศึกษาไทย
ปัญหาและความท้าทายของระบบการศึกษาไทย
 
ICT to Enhance Non-formal Education in Multicultural Society
ICT to Enhance Non-formal Education in Multicultural SocietyICT to Enhance Non-formal Education in Multicultural Society
ICT to Enhance Non-formal Education in Multicultural Society
 
Original edu 1
Original edu 1Original edu 1
Original edu 1
 
แนวทางการดำเนินงานโรงเรียนมาตรฐานสากล2
แนวทางการดำเนินงานโรงเรียนมาตรฐานสากล2แนวทางการดำเนินงานโรงเรียนมาตรฐานสากล2
แนวทางการดำเนินงานโรงเรียนมาตรฐานสากล2
 
พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542
พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542
พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542
 
สันติธานี
สันติธานีสันติธานี
สันติธานี
 
บทเรียนจากแนวทางการพัฒนาประเทศของจีนเทียบกับตะวันตก
บทเรียนจากแนวทางการพัฒนาประเทศของจีนเทียบกับตะวันตกบทเรียนจากแนวทางการพัฒนาประเทศของจีนเทียบกับตะวันตก
บทเรียนจากแนวทางการพัฒนาประเทศของจีนเทียบกับตะวันตก
 
สรุปสาระสำคัญเกี่ยวกับ พรบ
สรุปสาระสำคัญเกี่ยวกับ พรบสรุปสาระสำคัญเกี่ยวกับ พรบ
สรุปสาระสำคัญเกี่ยวกับ พรบ
 
พรบ. 2545
พรบ. 2545พรบ. 2545
พรบ. 2545
 
06 mini thesis-การศีกษาพฤติกรรมการใช้เฟสบุค
06 mini thesis-การศีกษาพฤติกรรมการใช้เฟสบุค06 mini thesis-การศีกษาพฤติกรรมการใช้เฟสบุค
06 mini thesis-การศีกษาพฤติกรรมการใช้เฟสบุค
 
ถอดเทปสันติธานี 1
ถอดเทปสันติธานี 1ถอดเทปสันติธานี 1
ถอดเทปสันติธานี 1
 
แนวข้อสอบ ความรู้ทั่วไป และมาตรฐานวิชาชีพ
แนวข้อสอบ ความรู้ทั่วไป และมาตรฐานวิชาชีพแนวข้อสอบ ความรู้ทั่วไป และมาตรฐานวิชาชีพ
แนวข้อสอบ ความรู้ทั่วไป และมาตรฐานวิชาชีพ
 
รายวิชา พัฒนา22
รายวิชา พัฒนา22รายวิชา พัฒนา22
รายวิชา พัฒนา22
 

การจัดการศึกษาของจีน

  • 2. 1. นางขวัญตา วงศ์ไชยรัตนกุล รหัสนิสิต 55010582007 2. นายนที ทองธีรภาพ รหัสนิสิต 55010582027 3. นางสุคนธา ดิษฐสุนนท์ รหัสนิสิต 55010582094 4. นางรจนา ประสมพล รหัสนิสิต 55010582065 5. นางภควัต โอวาท รหัสนิสิต 55010582059 เอกสารการนาเสนอรายวิชา ภาวะผู้นาทางการศึกษา ภาควิชาการบริหารการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
  • 3.
  • 4. ข้อมูลพื้นฐานของสาธารณรัฐประชาชนจีน ที่ตั้ง : ด้านตะวันออกของทวีปเอเชีย มีพรมแดนติดกับประเทศต่างๆ 15 ประเทศ พื้นที่ : 9.6 ล้านตารางกิโลเมตร ใหญ่เป็นอันดับที่ 4 ของโลก เขตการปกครอง : แบ่งออกเป็น 23 มณฑล (รวมไต้หวัน) 5 เขตการปกครองตนเอง (มองโกเลีย หนิงเซี่ย ซินเจียง กวางสี และทิเบต) 4 มหานครที่ขึ้นต่อส่วนกลาง (ปักกิ่ง เซี่ยงไฮ้ เทียนจิน และฉงชิ่ง) และ 2 การปกครองพิเศษ (ฮ่องกง และ มาเก๊า) เมืองหลวง : กรุงปักกิ่ง (Beijing) ภูมิประเทศ : ทางตะวันตกส่วนใหญ่เป็นเทือกเขา ทะเลทราย และที่ราบสูง และค่อยๆ ลาดลงทางทิศตะวันออก ประชากร : 1,353,650,000 คน (ข้อมูลวันที่ 27 กันยายน 2555) ชนชาติ : มีชนชาติต่างรวมกัน 56 ชนชาติ โดยเป็นชาว “ฮัน” ร้อยละ 93.3 ่ ศาสนา : ลัทธิขงจื้อ ศาสนาพุทธ ลัทธิเต๋า ศาสนาอิสลาม ศาสนาคริสต์
  • 5. ข้อมูลพื้นฐานของสาธารณรัฐประชาชนจีน รูปแบบการปกครอง : สังคมนิยมแบบจีน (คอมมิวนิสต์) วันชาติ : 1 ตุลาคม (ภายหลังพรรคคอมมิวนิสต์มีชัยชนะต่อพรรคก๊กมินตั๋ง) ประธานาธิปดี : นายหู จินเท่า (Hu jintao) ่ นายกรัฐมนตรี : นายเวิน เจียเป่า (Wen Jiabao) GDP : ประมาณ 6,422,276 ล้านดอลลาสหรัฐฯ (อันดับสองของโลก) ปี 2553 GDP Growth : 9.2 % (ปี 2554) ทุนสารองเงินตราระหว่างประเทศ : 3,197,000 ล้านดอลลาสหรัฐฯ (2554) สกุลเงิน : หยวน(Yuan) 1 หยวน ประมาณ 5 บาทไทย สมาชิก WTO : ปี พ.ศ. 2544 สถาปนาความสัมพันธ์ไทยจีน : (1 กรกฎาคม 2518)
  • 6.
  • 7. ธงชาติจีน นายหู จิ่นเท่า (Hu jintao) นายเวิน เจียเป่า (Wen Jiabao)
  • 8. พัฒนาการด้านการศึกษาของจีน (Education Development)  จีนมีอารยธรรมเก่าแก่กว่า 5,000 ปี  ในอดีตประชาชนได้รับการศึกษาแบบพื้นบ้าน (Indigenous Education) ได้แก่ การอบรมประกอบอาชีพเกษตรกรรม  การศึกษาของจีนเริ่มกันอย่างชัดเจนสมัยราชวงศ์ซง เมือ 3,000 ปีเศษ ทา ่ ่ ให้คนจีนรู้จักใช้เงินและเหล็ก เครื่องมือต่างๆ เครื่องปั้นดินเผา ทอผ้า  การศึกษาสมัยนี้ยังเป็นแบบอัธยาศัย มีการถ่ายทอดความรู้ ภายในบ้าน หรือสานักต่างๆ  สมัยซ้องและหยวน จีนได้ขยายการค้ามากขึ้นกับตะวันตก จีนประดิษฐ์สิ่ง ใหม่ๆ เช่น กระดาษ การพิมพ์ เข็มทิศ ดินระเบิด ไปยังโลกตะวันตก
  • 9. พัฒนาการด้านการศึกษาของจีน (Education Development)  มีอารยธรรมนักปราชญาจีน เล่าจื้อ (Lao Zi) และขงจื้อ (Confucius) ขยายแนวทางศาสนาและการศึกษาไปสู่คนจีน  ครั้นถึงสมัยราชวงศ์หมิงและชิง วิชาดาราศาสตร์ คณิตศาสตร์ ภูมิศาสตร์ วิทยาศาสตร์การแพทย์ ได้รับการสนใจจากชาวตะวันตกเป็นส่วนมาก โดยเฉพาะ การฝังเข็ม  การศึกษาจีนซบเซาเป็นอย่างมาก เมื่อเกิดส่งครามฝิ่น ปี 1840  ราชวงศ์ชงล่มสลายเมื่อปี 1911 โดยคณะปฏิวัติของ ดร.ซุน ยัดเซน ิ  ต่อมา ปี 1921 เหมา เจอ ตุง ก่อตั้งพรรคคอมมิวนิสต์ เปลี่ยนแปลงการ ปกครองแบบใหม่ ทาให้จีนต้องเร่งพัฒนานโยบายด้านการศึกษาอย่างรวดเร็ว
  • 10. เหมา เจอ ตุง ดร.ซุน ยัดเซน
  • 11. พัฒนาการด้านการศึกษาของจีนยุคคอมมิวนิสต์ แบ่งออกเป็น 4 ระยะ ระยะที่ 1 การศึกษาของจีนยังอาศัย พ่อแม่ พระสงค์ เป็นผู้ให้ความรู้ อยู่ใน บริบทของลัทธิเต๋า อยู่กันอย่างสันติสุข เรียนโดยวิธีท่องจา ระยะที่ 2 (ค.ศ. 1953-1957) เกิดการประถมศึกษาครั้งแรก และการศึกษา ด้านวิชาชีพครู พรรคคอมมิวนิสต์เป็นผูกาหนดทิศทางการศึกษา ้ ระยะที่ 3 (1958 – 1960) การเมืองเข้ามามีบทบาทโดยตรงกับการจัด การศึกษา การศึกษาระดับพื้นฐาน กระจายไปทุกภูมิภาคของจีน เกิดปฏิวัติ วัฒนธรรรมจีนขึ้น ระยะที่ 4 (ค.ศ. 1980) จีนปฏิรูปการศึกษาตาม หลักคาสอนของขงจื้อ ที่เป็น ระบบคุณธรรม ความกตัญญู ถือเป็นยุคทองของการปฏิรูปการศึกษาเรื่อยมา ถึงปัจจุบัน
  • 12. ระบบการศึกษาของจีน (CHINA'S EDUCATIONAL SYSTEM) ปัจจุบันนี้จนมีระบบการศึกษาที่สมบูรณ์แบบ ี สถาบันการศึกษามี ระดับอนุบาล ประถมศึกษา มัธยมศึกษา มหาวิทยาลัยและบัณฑิตวิทยาลัย กฎหมายการศึกษาแห่ง สาธารณรัฐประชาชนจีน กาหนดว่า รัฐบาลรับผิดชอบการศึกษา ภาคบังคับ 9 ปี นั่นคือ ตั้งแต่ระดับประถมศึกษาจนถึงมัธยมศึกษา ตอนต้น โดยรัฐบาลกลางและรัฐบาลท้องถิ่นจัดสรรงบประมาณ เพื่อสนับสนุนการศึกษาให้สามารถพัฒนาขึ้นไป ในทุกระดับทุก ประเภท
  • 13. ระบบการศึกษาของจีน (CHINA'S EDUCATIONAL SYSTEM) รัฐบาลจีนได้กาหนดนโยบาย "การพัฒนาประเทศด้วย วิทยาศาสตร์ และการศึกษา" มุ่งปฏิรูประบบการศึกษาในแนว ลึก โดยการจัดการศึกษาแบบให้เปล่า 9 ปี สนับสนุนให้ หน่วยงานของรัฐในทุกระดับ เพิ่มการลงทุนทางด้านการศึกษา และส่งเสริมให้ประชาชนทุกสาขาอาชีพมีส่วนร่วมในการ บริหารจัดการการศึกษาในทุกช่องทางและทุกวิถีทาง การศึกษา ของจีนยึดมั่นในหลักการ " การพัฒนาสู่ความทันสมัยเปิดสู่โลก และอนาคต" และยังใช้หลักการดังกล่าวนาไปสู่การปฏิรูป และ การสร้างการศึกษาให้ก้าวหน้าต่อไป
  • 14. หน่วยงานกากับดูแลการศึกษาของจีน  กระทรวงศึกษาธิการ ( Ministry of Education - MOE ) กากับดูแล  คณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ ( State Education Commission - SEC ) เป็นผู้วางแผนการศึกษาตามนโยบายรัฐ และควบคุมคุณภาพการศึกษา
  • 15. การจัดการศึกษาในระดับต่างๆ ของจีน 1.ระดับอนุบาล (Pre-School Education) เป็นการศึกษา สาหรับเด็กที่มีอายุระหว่าง 3-5 ปี มีระยะเวลาศึกษาประมาณ 3 ปี 2.ระดับประถมศึกษา (Primary Education) เป็น การศึกษาสาหรับนักเรียนที่ มีอายุระหว่าง 6-11 ปี มีระยะเวลา ศึกษา 6 ปี โรงเรียนที่เปิดสอนในระดับนี้ส่วนใหญ่ เป็นของรัฐบาล ท้องถิ่นระดับต่าง ๆ (Local Educational Authorities)
  • 16. 3. ระดับมัธยมศึกษา (Secondary Education) เป็นการศึกษาของ เด็กที่มีอายุระหว่าง 11-17 ปี ใช้เวลาศึกษาในระดับ 6 ปี การศึกษา ระดับมัธยมแบ่งออกเป็น 3 ประเภท คือ 3.1 มัธยมศึกษาทั่วไป (General Middle School) แบ่ง ออกเป็น 2 ตอน ๆ ละ 3 ปี ดังนี้ - มัธยมศึกษาตอนต้น (Junior Middle School) - มัธยมศึกษาตอนปลาย (Senior Middle School) 3.2 มัธยมอาชีวศึกษา (Vocational School Education) 3.3 มั ธยมวิ ช าชี พ พิเ ศษ (Secondary Professional Education)
  • 17. โรงเรียนที่เปิดสอนในระดับมัธยมศึกษา ส่วนใหญ่ จะเป็ น ของรั ฐ บาลท้ อ งถิ่ น โดยนั ก เรี ย นที่ จ บชั้ น มัธยมศึกษาตอนต้น ส่วนใหญ่จะสมัครเข้าศึกษาต่อไป ชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย ส่วนที่เหลือจะเข้าศึกษาใน โรงเรียนมัธยมอาชีวศึกษา และโรงเรียนมัธยมวิชาชีพ ตามลาดับ
  • 18. การศึกษาระดับประถมศึกษา (6 ปี) ระดับมัธยมศึกษา ตอนต้นและมัธยมตอนปลาย (6 ปี) รัฐบาลจีนให้ความสาคัญกับการศึกษาขั้นพื้นฐานเป็น อย่างมาก หลังการประกาศใช้กฎหมายการศึกษาประเทศ จีน ในปี ค.ศ. 1986 เป็นต้นมา พื้นที่ส่วนใหญ่ในประเทศ จีนมีโรงเรียนประถมอยู่ทั่วไป และในเมืองใหญ่หรือเมืองที่ มีเศรษฐกิจค่อนข้างเจริญ จะมีโรงเรียนในระดับมัธยม
  • 19. การศึกษาระดับประถมศึกษา เริ่มเมื่ออายุ 6 ปี เด็กที่เข้าเรียนตามเกณฑ์อายุ ไม่ต้อง จ่ า ยค่ า เล่ า เรี ย น เพี ย งแต่ จ่ า ยค่ า หนั ง สื อ บางส่ ว น และ ค่าใช้จ่ายอื่นๆ รวมแล้วไม่กี่ร้อยหยวน เป็นการศึกษาภาค บังคับ โรงเรี ยนประถมจะเป็นโรงเรียนของรัฐ โดยจัดให้ นักเรียนเข้าเรียนในโรงเรียนใกล้บ้าน รัฐบาลจีนพัฒนาให้ ประชาชนทั่วประเทศได้รับโอกาสทางการศึกษาอย่างเท่า เทียมกัน และสร้างศูนย์กลางการศึกษาในพื้นที่เขตชนบท
  • 20. การศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนต้น มีระยะเวลา 3 ปี วิ ช า ที่ เ รี ย น ไ ด้ แ ก่ ภ า ษ า จี น ค ณิ ต ศ า ส ต ร์ ภาษาต่างประเทศ ฟิสิกส์ เคมี จริยธรรม สารสนเทศ และอื่นๆ โรงเรี ย นมั ธ ยมต้ น ในจี น ส่ ว นใหญ่ จั ด ตั้ ง โดยรั ฐ บาล หลังจากจบการศึกษาระดับประถมศึกษาแล้วต้องสอบเข้าเพื่อ ศึ ก ษาต่ อ ในระดั บ มั ธ ยมต้ น โดยโรงเรี ย นที่ จ ะศึ ก ษาต่ อ จะ กาหนดจากที่อยู่และความต้องการโดยส่วนตัวของนักเรียนเอง ขณะเดียวกัน ในพื้นที่ชนบทก็จะมีศูนย์กลางการศึกษาให้เด็ก ได้เข้าเรียน
  • 21. การศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย แบ่งออกเป็นมัธยมปลายทั่วไป มัธยมปลายด้านวิชาชีพ และอาชีวศึกษา ใช้เวลา 3 ปี เป็นระดับการศึกษาที่ไม่บังคับ ดังนั้นนักเรียนจะต้องรับผิดชอบ ค่าเล่าเรียนเองประมาณปีละ ไม่กี่พันหยวน วิ ช า ที่ เ รี ย น ไ ด้ แ ก่ ภ า ษ า จี น ค ณิ ต ศ า ส ต ร์ ภาษาต่างประเทศ ฟิสิกส์ เคมี ชีววิทยา สารสนเทศและอื่นๆ โรงเรียนส่วนใหญ่เป็นของรัฐ การเข้าเรียนต้องสอบเข้า โดยดูจากระดับคะแนนที่สอบได้ ซึ่งข้อสอบที่ใช้จัดทาโดยส่วน การศึกษาภูมิภาค
  • 22. การศึกษาระดับต่าง ๆ ของจีน 4.ระดับ อุดมศึกษา (Higher Education) สถาบันการศึกษาที่สอนระดับอุดมศึกษาประกอบด้วย มหาวิทยาลัย (Universities) สถาบัน (Institutes) และวิทยาลัย (Short-Cycle universities) การศึกษา ระดับอุดมศึกษาของจีนมีคุณภาพดีทั้งการเรียนการสอน และการวิจัย ผลสาเร็จในการวิจัยด้านวิทยาศาสตร์
  • 23. การศึกษาระดับอุดมศึกษา การศึกษาระดับสูงของจีนมีประวัติศาสตร์ยาวนาน กว่ า ร้ อ ยปี ปั จ จุ บั น มหาวิ ท ยาลั ย ในจี น มี จ านวน ประมาณ 3,000 แห่ง โดย 2 ใน 3 เป็นมหาวิทยาลัย ของรัฐ และ 1 ใน 3 เป็นมหาวิทยาลัยเอกชน การเข้ าศึ กษาในมหาวิ ทยาลั ย ของจี นจ าเป็น ต้อ ง ผ่านการสอบเข้าศึกษา โดยดูจากระดับคะแนนในการ สอบ ข้ อ สอบที่ ใ ช้ ก าหนดโดยส่ ว นการศึ ก ษาภู มิ ภ าค และส่ ว นการศึ ก ษาภู มิ ภ าคจะเป็ น ผู้ ก าหนดเกณฑ์ คะแนนด้วย
  • 24. การศึกษาระดับอุดมศึกษา ส ถ า บั น ก า ร ศึ ก ษ า ร ะ ดั บ สู ง ข อ ง จี น ไ ด้ แ ก่ มหาวิ ท ยาลั ย สถาบั น และสถาบั น เฉพาะทาง มหาวิทยาลัยของจีนแบ่งเป็นมหาวิทยาลัยระดับมณฑล ระดับเขตปกครองตนเอง และระดับมหานครในสังกัด กระทรวงศึ กษาธิการ สถาบันการศึกษาระดับสูงของ ท้องถิ่นและมหาวิทยาลัยเอกชน มหาวิทยาลัยจีนและ ส ถ า บั น ที่ ตั้ ง เ ป็ น ขึ้ น เ ป็ น เ อ ก เ ท ศ จั ด ว่ า เ ป็ น สถาบันการศึกษาระดับสูง
  • 25. ปริญญาบัตรของจีน ระดับปริญญาบัณฑิต (ปริญญาตรี) (4 – 5 ปี) ผู้ที่สามารถจบ การศึกษาตามหลักสูตรที่กาหนดไว้และสารนิพนธ์ที่เขียนนันผ่านเกณฑ์ ้ ถือว่าได้ปริญญาบัตรระดับปริญญาบัณฑิต ระดับมหาบัณฑิต (2 – 3 ปี) ผู้ที่สามารถจบการศึกษาตาม หลักสูตรที่กาหนดไว้ สอบผ่านวิทยานิพนธ์ และมีคะแนนในระดับที่ สอบผ่าน ถือว่าได้ปริญญาบัตรระดับมหาบัณฑิต ระดับดุษฎีบัณฑิต (3 – 4 ปี) ผู้ที่สามารถจบการศึกษาตาม หลักสูตรที่กาหนดไว้ สอบผ่านวิทยานิพนธ์ และมีคะแนนในระดับที่ สอบผ่าน ถือว่าได้ปริญญาบัตรระดับดุษฎีบัณฑิต
  • 26. 5. การศึกษาผู้ใหญ่ การศึกษาประเภทต่างๆ ที่จัดขึ้นสาหรับผู้ใหญ่ และ ผู้ไม่รู้หนังสือ หรือการศึกษาอื่นที่มีรูปแบบใกล้เคียงกัน ปี ค.ศ. 1999 มี ส ถานศึ ก ษาระดั บ อุ ด มศึ ก ษาส าหรั บ การศึ ก ษาผู้ ใ หญ่ จานวน 871 แห่ง และยั ง มีอี ก 800 กว่าแห่งที่เปิดการศึกษาทางไปรษณีย์ และการศึกษา ภาคค่า เป้าหมายหลักของการศึกษาผู้ใหญ่ส่วนใหญ่ คือประชาชนในภาคเกษตรกรรม
  • 27. โครงสร้างระบบการศึกษาจีน ระบบการศึกษาของจีนวางแผนโดยรัฐบาลกลาง โดยมี กระทรวงศึ ก ษาการควบคุ ม ดู แ ลระบบการศึ ก ษา ก าหนด ทิ ศ ทาง ออกกฎหมาย รั บ ผิ ด ชอบโดยตรงในเรื่ อ งของการ บัญญัติกฎหมาย กาหนดนโยบาย และแผนงานด้านการศึกษา ดูแลและวางแผนการพัฒนาระบบการศึกษาจีน ปรับเปลี่ยน นโยบายของหน่ ว ยงานที่ เ กี่ ย วข้ อ งด้ า นการศึ ก ษาให้ เ ป็ น แนวทางเดี ย วกั น ทั้ ง ประเทศเพื่ อ ให้ ก ารพั ฒ นาระบบศึ ก ษา เดินหน้าไปอย่างไม่สะดุด
  • 28. โครงสร้างระบบการศึกษาจีน ระดั บ นโยบายของรั ฐ ทางการศึ ก ษา การศึ ก ษาไทยมี หลายมาตรฐาน แต่จีนใช้มาตรฐานเดียว “คาว่าเรียนฟรี 9 ปี ของจีน คือฟรีจริง ๆ” อุปกรณ์การเรียนก็ไม่ต่างกัน แม้จะ อยู่ ใ นพื้ น ที่ ห่ า งไกลแค่ ไ หน เพราะจี น ถื อ ว่ า นั ก ศึ ก ษาคื อ พลเมืองของรัฐ “ปัญหาตาราปลอม อุปกรณ์ไม่ได้มาตรฐาน ไม่ค่อยมีปรากฏในสถานศึกษาของรัฐในจีน ” ที่สาคัญ “เงินเดือนของครูจะสูง” ถ้าเทียบกับครูไทย
  • 29. โครงสร้างระบบการศึกษาจีน ในส่วนของค่าเล่าเรียน รัฐบาลจะเป็นผู้ออกค่าเล่า เรี ย นในระดั บ การศึ ก ษาภาคบั ง คั บ 9 ปี ได้ แ ก่ ระดั บ ประถมศึกษา 6 ปี และมัธยมศึกษาตอนต้น 3 ปี นอกจากความช่วยเหลือดังกล่าวข้างต้นแล้ว รัฐบาล จีนยังริเริ่มโครงการให้นักเรียนทางานหารายได้ในโรงเรียน เพื่อลดภาระค่าใช้จ่ายของนักเรียนลง
  • 30. ป ร ะ เ ท ศ จี น ส า ม า ร ถ จั ด ก า ร ศึ ก ษ า ไ ด้ ทั่ ว ถึ ง ครอบคลุม เป็นผู้นาทางด้านจัดการศึกษา โดยให้แต่ละ มณฑลเป็นผู้รับผิดชอบ โดยมีเมือง จังหวัด รับผิดชอบ ลดหลั่นกันไป โดยรั ฐ บาลกลางเป็ น ผู้ อ อกค่ า ใช้ จ่ า ยในการจั ด การศึกษาภาคบังคับทุกคน ตามทะเบียนบ้านเป็นหลัก ผู้เรียนมีทะเบียนบ้านอยู่เขตบริการหรือบริเวณพื้นที่ใด ต้องเข้าเรียนในโรงเรียนนั้นเป็นหลัก ถ้าไม่ต้องการเรียน ในโรงเรียนนั้นจะออกค่าใช้จ่ายเอง
  • 31. จุดเด่นการศึกษาประเทศจีน สาหรับชั้นเรียนที่ไม่ใช่การศึกษาภาคบังคับ (ม.ปลาย) จะต้องมีการแข่งขันกันเข้าเรียนในโรงเรียนที่ดีมีคุณภาพ โดย ใช้วิธีการสอบเป็นหลัก ไม่ใช้วิธีอื่น(จับฉลาก) จีนได้วางยุทธศาสตร์ “การฟื้นฟูประเทศด้วยวิทยาการ และการศึกษา” โดยกาหนดให้การพัฒนาด้านการศึกษาเป็น ยุทธศาสตร์อันดับต้นเพื่อการขับเคลื่อนระบบสังคมนิยมยุค ใหม่ การผลั ก ดั น การปฏิ รู ป และพั ฒ นาทางการศึ ก ษาได้ ดาเนินไปอย่างต่อเนื่องบนหลักการที่ว่า “การศึกษาควรมุ่งสู่ ความทันสมัย ก้าวทันความเป็นไปในโลกและอนาคต”
  • 32. จุดเด่นการศึกษาประเทศจีน จี น ด าเนิ น นโยบายที่ ก าหนดว่ า “การศึ ก ษาต้ อ ง สามารถรองรับต่อการขับเคลื่อนระบบสังคมนิยมยุค ใหม่โดยผสมผสานกับแรงงานที่มีผลิตภาพสูงทั้งนี้เพื่อ สานต่ อ เจตนารมณ์ ข องผู้ ก่ อ ตั้ ง และสื บ ทอดแนว ทางการพัฒนาตามอุดมการณ์สังคมนิยม ทั้งด้านจิต วิ ญ ญาณ แนวความคิ ด กายภาพและสุ น ทรี ย ภาพ อย่างสมบูรณ์”
  • 33. จุดเด่นการศึกษาประเทศจีน จี น มุ่ ง ส่ ง เสริ ม การศึ ก ษาที่ “มุ่ ง เน้ น คุ ณ ภาพเป็ น หัวใจสาคัญ” เพื่อบ่มเพาะคนรุ่นใหม่ที่มีจิตวิญญาณ แห่ ง การสร้ า งสรรค์ แ ละเป็ น นั ก ปฏิ บั ติ เ พื่ อ สามารถ เผชิญหน้ากับความท้าทายใหม่ๆ ในอนาคตข้างหน้า ก า ร จั ด ก า ร ศึ ก ษ า จ ะ จั ด ก า ร ศึ ก ษ า เ ต็ ม วั น เช่นเดียวกับประเทศไทย แต่ช่วงพักกลางวันผู้เรียนก็จะ กลับไปรับประทานอาหารกลางวันที่บ้าน โรงเรียนไม่มี การบริการเรื่องอาหาร
  • 34. การเปรียบเทียบการศึกษาขั้นพื้นฐานของประเทศจีนและไทย ประเทศจีน ประเทศไทย แบ่งการศึกษาออกเป็น 4 ระดับใหญ่ หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน ได้แบ่งออกเป็น -การศึกษาก่อนวันเรียน อายุระหว่าง 3-6 ปี -การศึกษาก่อนวัยเรียน อายุระหว่าง 3 – 6 ปี 1. การศึกษาขั้นพื้นฐาน 1. การศึกษาขั้นพื้นฐาน 1.1 ประถมศึกษา คือ grade 1-6 อายุระหว่าง 6-12 ปี 1.1 ช่วงชั้นที่ 1 ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 – 6 1.2 มัธยมศึกษาตอนต้น คือ grade 7-9 อายุระหว่าง 1.2 ช่วงชั้นที่ 2 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 – 3 12 – 15 1.3 ช่วงชั้นที่ 3 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 – 6 1.3 มัธยมศึกษาตอนปลาย คือ grade 10-12 อายุ 2. อาชีวศึกษา ระหว่าง 15 - 18 ปี 2.1 ประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) 2. การอาชีวศึกษา เป็นหลักสูตร 2 – 3 ปี จะเรียนต่อ 2.2 ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) ได้เมื่อจบการศึกษาจากมัธยมศึกษาตอนต้น 3. อุดมศึกษา 3. อุดมศึกษา เป็นการศึกษาในระดับมหาวิทยาลัย 3.1 ปริญญาตรี หลักสูตร 4 ปี หลักสูตร 4 ปี และเปิดสอนระดับปริญญาโท และ 3.2 ปริญญาโท ปริญญาเอก 3.3 ปริญญาเอก 4. การศึกษานอกโรงเรียน *การศึกษาภาคบังคับกาหนดไว้ 9 ปี * การศึกษาภาคบังคับกาหนดไว้ 9 ปี
  • 35. ประเทศจีน ประเทศไทย ได้กาหนดสาระการเรียนรู้ตามหลักสูตร ซึ่ง กาหนดสาระการเรียนรู้ตามหลักสูตร ซึ่ง ประกอบด้วยองค์ความรู้ และคุณลักษะหรือ ประกอบด้วยองค์ความเรียน ค่านิยม คุณธรรม จริยธรรมของผู้เรียน เป็น 6 รู้ทักษะหรือกระบวนการการเรียนรู้ และ กลุ่มวิชาดังนี้ คุณลักษณะหรือค่านิยม คุณธรรม จริยธรรมของ 1. วิชาภาษาและวรรณคดี ผู้เรียนเป็น 8 กลุ่ม ดังนี้ 2. คณิตศาสตร์ 1. ภาษาไทย 3. วิทยาศาสตร์ 2. คณิตศาสตร์ 4. ภาษาต่างประเทศ 3. วิทยาศาสตร์ 5. วิชาความประพฤติและคุณธรรม 4. สังคมศึกษา ศาสตร์และวัฒนธรรม 6. วิชาดนตรีและพลศึกษา 5. สุขศึกษาและพลศึกษา 6. ศิลปะ 7. การงานพื้นฐานอาชีพและเทคโนโลยี 8. ภาษาต่างประเทศ และมี 2 กิจกรรมพัฒนาผู้ - กิจกรรมแนะแนว - กิจกรรมนักเรียน
  • 36. ประเทศจีน ประเทศไทย การประเมินผลการศึกษาของประเทศจีนนัน ้ การวัดผลประเมินผลของหลักสูตรการศึกษาขั้น 1. ในชั้นประถมศึกษาตอนต้น เนื่องจากยังคงอยู่ พื้นฐานมีอยู่ 3 ระดับ ในช่วงการศึกษาภาคบังคับ การจบการศึกษาจาก 1. การวัดผลประเมินผลระดับชั้นเรียน คือ มุ่งหา โรงเรียนประถมศึกษา เข้าสู่ชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น คาตอบว่าผู้เรียนมีความก้าวหน้าทั้งด้านความรู้ จึงไม่ต้องผ่านการสอบ ทักษะกระบวนการ และค่านิยมอันพึงประสงค์ อัน 2. การจบการศึกษาชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นสู่ เนื่องมาจากการจัดการเรียนการสอน การศึกษาชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย ต้องสอบผ่าน 2. การวัดผลประเมินผลระดับสถานศึกษา เพื่อ การสอบโดยใช้หน่วยงานศึกษาธิการในท้องที่ ตรวจสอบความก้าวหน้าด้านการเรียนรู้ เป็นราย ต่างๆ ออกข้อสอบอย่างเป็นเอกภาพ ทั้งกาหนด ชั้นปี และช่วงชั้นเพราะสถานศึกษาจะนาไปหา คะแนนผ่านด้วย แนวทางในการปรับปรุงพัฒนาการเรียนการสอน 3. การศึกษาต่อหรือเข้าเรียนหนังสือใน 3. การวัดผลประเมินผลระดับชาติ คือสถานศึกษา สถาบันอุดมศึกษานั้นจะต้องผ่านการสอบ โดยใช้ ต้องจัดให้ผู้เรียนทุกคนทีเรียนปีสุดท้ายของแต่ละ หน่วยงานศึกษาธิการในท้องที่ต่างๆ ออกข้อสอบ ช่วงชั้นเข้ารับการประเมินคุณภาพระดับชาติ ใน อย่างเป็นเอกภาพ ทั้งกาหนดคะแนนผ่านด้วย กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่สาคัญได้แก่ ภาษาไทย คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ สังคม ศาสนาและ วัฒนธรรม ภาษาอังกฤษและกลุ่มสาระอื่นๆ
  • 37. การวัดผลประเมินผล การประเมินการศึกษาของประเทศจีนนั้น เนื่องจากระดับประถม ศึกษายังอยู่ในภาคบังคับเมื่อจบการศึกษาจะต้องเรียนต่อในระดับมัธยมศึกษา ตอนต้น จึงยังไม่มีการทดสอบหรือประเมินผล แต่จะไปสอบตอนที่จะเข้าใน ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย โดยจะมีหน่วยงานศึกษาธิการในท้องถิ่นมาออก ข้อสอบอย่างเป็นเอกภาพ และจะสาคัญที่สุดที่สอบเข้าระดับสูง เช่น มหาวิทยาลัย ส่วนการประเมินผลของไทยจะมีอยู่ 3 ระดับ จะมีการ ประเมินผลระดับชั้นเรียน ระดับสถานศึกษา และระดับชาติ จะเห็นว่าการ ประเมินการศึกษาของประเทศไทย จะละเอียดกว่า แต่ประเทศไทยจะเน้น การทดสอบวัดความรู้สาหรับประเทศจีนจะเน้นการเกิดความเข้าใจ และ สามารถนามาใช้ได้จริง