SlideShare a Scribd company logo
1 of 6
Download to read offline
1
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
รหัสวิชา ง33201-33202 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 5- 6
ปีการศึกษา 2561
ชื่อโครงงาน โรคความเครียด
ชื่อผู้ทาโครงงาน
1นางสาว ภูษณิศา โค้วตระกูล เลขที่ 8 ชั้น ม.6 ห้อง 14
ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงานร่วม (ถ้ามี)
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2561
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
2
ใบงาน
การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
สมาชิกในกลุ่ม
1. นางสาว ภูษณิศา โค้วตระกูล เลขที่ 8
คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้
ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย)
โรคเครียด
ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ)
Acute Stress Disorder
ประเภทโครงงาน พัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา
ชื่อผู้ทาโครงงาน นางสาว ภูษณิศา โค้วตระกูล
ชื่อที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ชื่อที่ปรึกษาร่วม
ระยะเวลาดาเนินงาน 10 สัปดาห์
ที่มาและความสาคัญของโครงงาน (อธิบายถึงที่มา แนวคิด และเหตุผล ของการทาโครงงาน)
ปัจจุบันโรคความเครียดมักจะเกิดขึ้นได้กับทุกวัยและทุกเพศ และจะเกิดจากสภาวะจิตที่ไปในทางลบ และมี
ผลต่อร่างกายและสุขภาพของผู้ที่เกิดอาการนี้หลายประการโดยตรง และมักจะพบว่ามีการรักษาที่ยากหรือต้องฟื้นตัว
ทั้งทางร่างกายและจิตใจการรักษามีหลายวิธีทั้งรับประทานยา ปรึกษาแพทย์ และทาการบาบัดพฤติกรรม เหตุผลของ
การเกิดเรื่องเครียดในปัจจุบันวัยรุ่นมักจะเกิดจากการเครียดเรื่องเรียน เรื่องมหาลัย เรื่องแฟน หรือแม้กระทั่งเรื่องท้อง
ในวัยเรียนและหลายๆปัจจัยที่วัยรุ่นส่วนใหญ่มักจะเป็นกัน หรืออีกสาเหตุหนึ่งที่พบกันนั้นมีอยู่ 3 ประการได้แก่ ความ
เปลี่ยนแปลง ความไม่ได้อย่างใจอย่าง และต้องตัดสินใจในเรื่องที่ไม่พร้อม
วัตถุประสงค์ (สิ่งที่ต้องการในการทาโครงงาน ระบุเป็นข้อ)
-เพื่อต้องการศึกษาว่าโรคเหล่านี้เกิดได้จากปัจจัยใดบ้าง
-เพื่อต้องการที่จะเผยแพร่เรื่องโรคนี้ให้กับผู้ที่มีความสงสัยเข้าใจในเรื่องนี้
-เพื่อลดปัญหาไม่ให้เกิดความเครียดปละการวิตกกังวล
ขอบเขตโครงงาน (คุณลักษณะ ขอบเขต เงื่อนไขและข้อจากัดของการทาโครงงาน)
การเกิดความเครียด อาการ วิธีการรักษา การวินิฉัยโรคความเครียด สภาวะแทรกซ้อน การป้องกัน ซึ่งได้
อธิบายไว้พอสังเขป
3
หลักการและทฤษฎี (ความรู้ หลักการ หรือทฤษฎีที่สนับสนุนการทาโครงงาน)
ความเครียด
ความเครียด คือ ภาวะที่ต้องเผชิญแรงกดดันจากเหตุการณ์ร้ายแรง ซึ่งภาวะดังกล่าวเกี่ยวข้องกับการตอบสนองของ
ร่างกายและจิตใจ ผู้ที่ผ่านเหตุการณ์ซึ่งก่อให้เกิดความเครียด จะเกิดอาการเครียดประมาณหนึ่งเดือน หากเกิดอาการ
นานกว่านั้นจะกลายเป็นโรคเครียดหลังเกิดเหตุสะเทือนขวัญ
อาการ
-เห็นภาพเหตุการณ์ร้ายแรงซ้า ๆ ผู้ป่วยจะเห็นฝันร้าย หรือนึกถึงเหตุการณ์ร้ายแรงไม่ดีที่เคยเกิดขึ้นซ้า ๆ อยู่
เสมอ
-อารมณ์ขุ่นมัว อารมณ์หรือความรู้สึกของผู้ป่วยโรคเครียดมักแสดงออกมาในเชิงลบ ผู้ป่วยจะรู้สึกอารมณ์ไม่ดี
มีความทุกข์ ไม่ร่าเริงแจ่มใสหรือรู้สึกไม่มีความสุข
-มีพฤติกรรมแยกตัวออกมา ผู้ป่วยจะเกิดหลงลืมมึนงง ไม่มีสติหรือไม่รับรู้การมีอยู่ของตัวเอง หรือรู้สึกว่า
เวลาเดินช้าลง
-หลีกเลี่ยงสิ่งต่าง ๆ ผู้ป่วยจะหลีกเลี่ยงสิ่งที่ทาให้นึกถึงเหตุการณ์ที่ทาให้เกิดความเครียด ไม่ว่าจะเป็นผู้คน
สถานที่ สิ่งของ กิจกรรม หรือบทสนทนาที่เกี่ยวกับเรื่องนั้น ๆ
-ไวต่อสิ่งเร้า ผู้ป่วยจะนอนหลับยาก โมโหหรือก้าวร้าว ไม่มีสมาธิจดจ่อกับสิ่งใดสิ่งหนึ่งได้
วิธีการรักษา
โรคเครียดคือการรับมืออาการของโรคที่เกิดขึ้นเมื่อต้องเผชิญสถานการณ์ที่ทาให้เกิดความเครียด ผู้ป่วยควร
เข้าใจสาเหตุที่ทาให้เกิดอาการดังกล่าว และพูดคุยกับครอบครัวหรือเพื่อนเพื่อระบายความเครียดอย่างไรก็ตาม ผู้ป่วย
ที่เกิดอาการรุนแรงหรือเกิดความเครียดเรื้อรัง จาเป็นต้องเข้ารับการรักษากับแพทย์ผู้เชี่ยวชาญโดยตรง ซึ่งมี
รายละเอียด
การวินิจฉัยโรคเครียด
ผู้ที่ผ่านการเผชิญเหตุการณ์ร้ายแรง อาจเกิดอาการของโรคเครียดได้ อย่างไรก็ตาม ผู้ที่เกิดอาการดังกล่าวควรไปพบ
แพทย์ทั่วไปหรือแพทย์ผู้เชี่ยวชาญด้านสุขภาพจิต เพื่อรับการตรวจและวินิจฉัยสาเหตุ โดยแพทย์จะสอบถาม
รายละเอียดเกี่ยวกับเหตุการณ์ที่ได้พบหรือได้รับรู้ รวมทั้งสอบถามอาการต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นของผู้ป่วย ทั้งนี้ เมื่อได้รับ
การตรวจแล้ว แพทย์อาจวินิจฉัยหาสาเหตุของอาการป่วยว่า เกิดจากสาเหตุอื่นหรือไม่ เช่น การใช้สารเสพติด
ผลข้างเคียงจากการใช้ยาบางอย่าง ปัญหาสุขภาพอื่น ๆ หรือโรคทางจิตเวชอื่น ๆ หากอาการที่ผู้ป่วยเป็นไม่ได้เกิดจาก
สาเหตุอื่น ก็แสดงว่าอาการดังกล่าวอาจเกิดจากโรคเครียด
ภาวะแทรกซ้อน
ผู้ที่เกิดความเครียดเล็ก ๆ น้อย ๆ เป็นประจาควรดูแลตัวเอง โดยหากิจกรรมอย่างอื่นทายามว่าง เพื่อให้
ตนเองรู้สึกผ่อนคลาย ทั้งนี้ ผู้ที่เกิดความเครียดเรื้อรังเป็นเวลานาน อาจประสบปัญหาสุขภาพอื่น ๆ ตามมาได้
การป้องกัน
โรคเครียดเป็นปัญหาสุขภาพที่ป้องกันได้ยาก เนื่องจากสถานการณ์อันตรายอันเป็นสาเหตุของโรคเครียดนั้น
ควบคุมไม่ได้ อย่างไรก็ตาม ผู้ป่วยโรคเครียดดูแลตนเองและจัดการอาการของโรคไม่ให้แย่ลงได้ โดยปฏิบัติ
-หลังจากเผชิญสถานการณ์ร้ายแรง ต้องรีบเข้ารับการรักษาจากแพทย์ เพื่อช่วยลดโอกาสป่วยเป็นโรคเครียด
-ผู้ที่ประกอบอาชีพซึ่งเสี่ยงเผชิญสถานการณ์อันตราย เช่น ทหาร อาจต้องเข้ารับการฝึกซ้อมรับมือเหตุการณ์
อันตรายและปรึกษาจิตแพทย์ เพื่อเตรียมตัวรับมือกับเหตุการณ์ดังกล่าวและลดโอกาสเสี่ยงป่วยเป็นโรคเครียด
-ออกกาลังกายหรือทากิจกรรมที่เคลื่อนไหวร่างกายอย่างสม่าเสมอ
4
-ฝึกหายใจลึก ๆ ทาสมาธิ เล่นโยคะ หรือนวด เพื่อให้ร่างกายผ่อนคลาย รวมทั้งทาจิตใจให้แจ่มใส
-พบปะสังสรรค์กับเพื่อน หรือพูดคุยกับครอบครัว
-หางานอดิเรกทาในยามว่าง เช่น อ่านหนังสือ หรือฟังเพลง
-นอนหลับพักผ่อนให้เพียงพอ รวมทั้งรับประทานอาหารที่มีประโยชน์ให้ครบถ้วน
-หลีกเลี่ยงการสูบบุหรี่ รวมทั้งงดเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ เครื่องดื่มที่มีคาเฟอีน หรือใช้สารเสพติดอื่น ๆ
สาเหตุของความเครียด
1. สภาพแวดล้อมทั่วไป เช่น มลภาวะ ได้แก่ เสียงดังเกินไป จากเครื่องจักร เครื่องยนต์ อากาศเสียจากควัน
ท่อไอเสีย น้าเสีย ฝุ่น ละออง ยาฆ่าแมลง การอยู่กันอย่างเบียดเสียด ยัดเยียด เป็นต้น
2. สภาพเศรษฐกิจที่ไม่น่าพอใจ เช่น รายได้น้อยกว่ารายจ่าย
3. สภาพแวดล้อมทางสังคม เช่น การสอบแข่งขันเข้าเรียน
4. เข้าทางาน เลื่อนขั้น เลื่อนตาแหน่ง เป็นต้น
5. นิสัยใจการกิน-ดื่ม ที่ส่งเสริมความเครียด เช่น ผู้ที่ดื่มกาแฟบ่อยๆ สูบบุหรี่ ดื่มเหล้า ตลอดจนกินของกินที่
มีน้าตาลมากๆ
6. มีสัมพันธภาพกับคนอื่นๆ ที่ไม่ราบรื่น มักมีข้อขัดแย้ง ทะเลาะเบาะแว้งกับคนอื่นเป็นปกติวิสัย
7. ความรู้สึกตนเองต่าต้อยกว่าคนอื่น ต้องพยายามต่อสู้เอาชนะ
8. ต้องการมีอานาจเหนือผู้อื่น
วิธีลดความเครียด
วิธีแก้ไขที่ปลายเหตุ ได้แก่ การใช้ยา เช่น ยาหม่อง ยาดม ยาแก้ปวด ยาลดกรดในกระเพาะ ยากล่อม
ประสาท แต่วิธีการดังกล่าวไม่ได้แก้ไขความเครียดที่ต้นเหตุ อาจทาให้ความเครียดนั้นเกิดขึ้นได้อีก วิธีที่ดีที่สุดคือ
วิธีแก้ไขที่ต้นเหตุ ได้แก่
- แก้ไขเปลี่ยนแปลงวิถีชีวิตที่เอื้ออานวยให้เกิดความเครียด เช่น งานอดิเรกที่ชอบ ฝึกออกกาลังกาย บริหาร
ร่างกายแบบง่ายๆ เป็นต้น
- เปลี่ยนแปลงนิสัยและทัศนคติต่อการดาเนินชีวิต เช่น ลดการแข่งขัน ผ่อนปรน ลดความเข้มงวดในเรื่อง
ต่างๆ
- หาความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโภชนาการ เช่น รู้ว่าอาหาร เครื่องดื่มบางประเภท ช่วยส่งเสริมความเครียด
- สารวจและเปลี่ยนแปลงทัศนคติต่อตัวเองและผู้อื่น เช่น มองตัวเองในแง่ดี มองผู้อื่นในแง่ดี
- สารวจและปรับปรุง สัมพันธภาพต่อคนในครอบครัวและสังคมภายนอก
- ฝึกผ่อนคลายโดยตรง เช่น การฝึกหายใจให้ถูกวิธี การฝึกสมาธิ การออกกาลังกายแบบง่ายๆ การฝึกผ่อน
คลายกล้ามเนื้อ การนวด การสารวจ ท่านั่ง นอน ยืน เดิน การใช้จินตนาการ นึกภาพที่รื่นรมย์
5
วิธีดาเนินงาน
แนวทางการดาเนิน
1.กาหนดหัวข้อเรื่อง
2.สืบค้นข้อมูล
3.ดาเนินงานตามที่กาหนด
เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้
-แบบทดสอบความเครียด
-สมุดจดบันทึกความเครียด
งบประมาณ
-ไม่มี
ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน
ลาดั
บ
ที่
ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ
1 2 3 4 5 6 7 8 9
1
0
1
1
12
1
3
1
4
1
5
1
6
1
7
1 คิดหัวข้อโครงงาน 
2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล
3 จัดทาโครงร่างงาน
4 ปฏิบัติการสร้างโครงงาน
5 ปรับปรุงทดสอบ
6 การทาเอกสารรายงาน
7 ประเมินผลงาน
8 นาเสนอโครงงาน
ผลที่คาดว่าจะได้รับ (ผลลัพธ์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดการทาโครงงาน)
จะได้รับจากการผ่อนคลายความเครียด ไม่ว่าจะเป็นประสิทธิภาพการทางานที่ดีขึ้น หรือสุขภาพจิตที่ดี และ
สุขภาพร่างกายที่แข็งแรงอีกด้วย ดังนั้นถ้าหากการทางานหรือการเรียนทาให้คุณกาลังรู้สึกเคร่งเครียด ลองหยุดพัก
สักครู่แล้วผ่อนคลายดูนะคะ รับรองว่าความเครียดจะหมดไปอย่างแน่นอน
สถานที่ดาเนินการ
-โรงเรียน
กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง
-สุขศึกษา
แหล่งอ้างอิง (เอกสาร หรือแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ที่นามาใช้การทาโครงงาน)
 https://www.dmh.go.th/news/view.asp?id=672
6
 https://www.pharmacy.mahidol.ac.th/th/knowledge/article/47/%E0%B8%84%E0%B8
%A7%E0%B8%B2%E0%B8%A1%E0%B9%80%E0%B8%84%E0%B8%A3%E0%B8%B5
%E0%B8%A2%E0%B8%94-
%E0%B8%A7%E0%B8%B4%E0%B8%98%E0%B8%B5%E0%B9%81%E0%B8%81%E0%
B9%89%E0%B8%84%E0%B8%A7%E0%B8%B2%E0%B8%A1%E0%B9%80%E0%B8%8
4%E0%B8%A3%E0%B8%B5%E0%B8%A2%E0%B8%94/
 https://health.kapook.com/view98549.html
 https://www.honestdocs.co/stress-is-the-evil-disease-brings-allergies

More Related Content

What's hot

กิจกรรมที่ 5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่ 5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์กิจกรรมที่ 5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่ 5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์Korakrit Jindadang
 
กิจกรรมที่1 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่1 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์กิจกรรมที่1 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่1 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์barbeesati
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ปราณปริยา สุขเสริฐ
 
Computer project-2.pdf
Computer project-2.pdfComputer project-2.pdf
Computer project-2.pdfSuppamas
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ปราณปริยา สุขเสริฐ
 
2562 final-project 22
2562 final-project 222562 final-project 22
2562 final-project 22Napisa22
 
Ppt.งานนำเสนอ1จิตอาสาพัฒนาตนเองด้านการอ่าน
Ppt.งานนำเสนอ1จิตอาสาพัฒนาตนเองด้านการอ่านPpt.งานนำเสนอ1จิตอาสาพัฒนาตนเองด้านการอ่าน
Ppt.งานนำเสนอ1จิตอาสาพัฒนาตนเองด้านการอ่านAmonrat Ratcharak
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงานssuseraff7e6
 
แผนจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 1
แผนจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 1แผนจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 1
แผนจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 1tassanee chaicharoen
 
รายงาน การพัฒนาตนเอง
รายงาน การพัฒนาตนเองรายงาน การพัฒนาตนเอง
รายงาน การพัฒนาตนเองChainarong Maharak
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง การหลับพักผ่อนช่วยสร้างเสริมสุขภาพที่ดีได้
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง การหลับพักผ่อนช่วยสร้างเสริมสุขภาพที่ดีได้โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง การหลับพักผ่อนช่วยสร้างเสริมสุขภาพที่ดีได้
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง การหลับพักผ่อนช่วยสร้างเสริมสุขภาพที่ดีได้Phongsak Kongkham
 

What's hot (20)

W.111
W.111W.111
W.111
 
กิจกรรมที่ 5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่ 5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์กิจกรรมที่ 5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่ 5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
กิจกรรมที่1 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่1 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์กิจกรรมที่1 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่1 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
Com final
Com finalCom final
Com final
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
at1
at1at1
at1
 
W.11
W.11W.11
W.11
 
Computer project-2.pdf
Computer project-2.pdfComputer project-2.pdf
Computer project-2.pdf
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
W.1
W.1W.1
W.1
 
2562 final-project 22
2562 final-project 222562 final-project 22
2562 final-project 22
 
AT1
AT1AT1
AT1
 
Ppt.งานนำเสนอ1จิตอาสาพัฒนาตนเองด้านการอ่าน
Ppt.งานนำเสนอ1จิตอาสาพัฒนาตนเองด้านการอ่านPpt.งานนำเสนอ1จิตอาสาพัฒนาตนเองด้านการอ่าน
Ppt.งานนำเสนอ1จิตอาสาพัฒนาตนเองด้านการอ่าน
 
Ocd
OcdOcd
Ocd
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 
แผนจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 1
แผนจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 1แผนจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 1
แผนจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 1
 
รายงาน การพัฒนาตนเอง
รายงาน การพัฒนาตนเองรายงาน การพัฒนาตนเอง
รายงาน การพัฒนาตนเอง
 
2562 final-project
2562 final-project 2562 final-project
2562 final-project
 
2562 final-project
2562 final-project 2562 final-project
2562 final-project
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง การหลับพักผ่อนช่วยสร้างเสริมสุขภาพที่ดีได้
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง การหลับพักผ่อนช่วยสร้างเสริมสุขภาพที่ดีได้โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง การหลับพักผ่อนช่วยสร้างเสริมสุขภาพที่ดีได้
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง การหลับพักผ่อนช่วยสร้างเสริมสุขภาพที่ดีได้
 

Similar to Punisa

Philophobia
PhilophobiaPhilophobia
PhilophobiaSuppamas
 
การดูแลสุขภาพโดยการออกกำลังกาย
การดูแลสุขภาพโดยการออกกำลังกายการดูแลสุขภาพโดยการออกกำลังกาย
การดูแลสุขภาพโดยการออกกำลังกายPatitta Sitti
 
2562 final-project1-18-vasaraj
2562 final-project1-18-vasaraj2562 final-project1-18-vasaraj
2562 final-project1-18-vasarajKUMBELL
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์Daranpop Doungdetch
 
2562 final-project 612-33
2562 final-project 612-332562 final-project 612-33
2562 final-project 612-33Mai Lovelove
 
แผนการเรียนรู้เรื่อง เพศศึกษา
แผนการเรียนรู้เรื่อง เพศศึกษาแผนการเรียนรู้เรื่อง เพศศึกษา
แผนการเรียนรู้เรื่อง เพศศึกษาtassanee chaicharoen
 
Computer project-2.pdf
Computer project-2.pdfComputer project-2.pdf
Computer project-2.pdfSuppamas
 

Similar to Punisa (20)

Project
ProjectProject
Project
 
2561 project com
2561 project com2561 project com
2561 project com
 
Project2222
Project2222Project2222
Project2222
 
Ngan ku krongrang1
Ngan ku krongrang1Ngan ku krongrang1
Ngan ku krongrang1
 
Ngan ku krongrang1
Ngan ku krongrang1Ngan ku krongrang1
Ngan ku krongrang1
 
Philophobia
PhilophobiaPhilophobia
Philophobia
 
การดูแลสุขภาพโดยการออกกำลังกาย
การดูแลสุขภาพโดยการออกกำลังกายการดูแลสุขภาพโดยการออกกำลังกาย
การดูแลสุขภาพโดยการออกกำลังกาย
 
2562 final-project1-18-vasaraj
2562 final-project1-18-vasaraj2562 final-project1-18-vasaraj
2562 final-project1-18-vasaraj
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
2562 final-project 612-33
2562 final-project 612-332562 final-project 612-33
2562 final-project 612-33
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
 
Project com no.38 (1)
Project com no.38 (1)Project com no.38 (1)
Project com no.38 (1)
 
แผนการเรียนรู้เรื่อง เพศศึกษา
แผนการเรียนรู้เรื่อง เพศศึกษาแผนการเรียนรู้เรื่อง เพศศึกษา
แผนการเรียนรู้เรื่อง เพศศึกษา
 
Computer project-2.pdf
Computer project-2.pdfComputer project-2.pdf
Computer project-2.pdf
 
Great
GreatGreat
Great
 
Daniellll
DaniellllDaniellll
Daniellll
 
Daniellll
DaniellllDaniellll
Daniellll
 
2561 project -2
2561 project -22561 project -2
2561 project -2
 

Punisa

  • 1. 1 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ รหัสวิชา ง33201-33202 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 5- 6 ปีการศึกษา 2561 ชื่อโครงงาน โรคความเครียด ชื่อผู้ทาโครงงาน 1นางสาว ภูษณิศา โค้วตระกูล เลขที่ 8 ชั้น ม.6 ห้อง 14 ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงานร่วม (ถ้ามี) ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2561 โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
  • 2. 2 ใบงาน การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์ สมาชิกในกลุ่ม 1. นางสาว ภูษณิศา โค้วตระกูล เลขที่ 8 คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้ ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย) โรคเครียด ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ) Acute Stress Disorder ประเภทโครงงาน พัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา ชื่อผู้ทาโครงงาน นางสาว ภูษณิศา โค้วตระกูล ชื่อที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ชื่อที่ปรึกษาร่วม ระยะเวลาดาเนินงาน 10 สัปดาห์ ที่มาและความสาคัญของโครงงาน (อธิบายถึงที่มา แนวคิด และเหตุผล ของการทาโครงงาน) ปัจจุบันโรคความเครียดมักจะเกิดขึ้นได้กับทุกวัยและทุกเพศ และจะเกิดจากสภาวะจิตที่ไปในทางลบ และมี ผลต่อร่างกายและสุขภาพของผู้ที่เกิดอาการนี้หลายประการโดยตรง และมักจะพบว่ามีการรักษาที่ยากหรือต้องฟื้นตัว ทั้งทางร่างกายและจิตใจการรักษามีหลายวิธีทั้งรับประทานยา ปรึกษาแพทย์ และทาการบาบัดพฤติกรรม เหตุผลของ การเกิดเรื่องเครียดในปัจจุบันวัยรุ่นมักจะเกิดจากการเครียดเรื่องเรียน เรื่องมหาลัย เรื่องแฟน หรือแม้กระทั่งเรื่องท้อง ในวัยเรียนและหลายๆปัจจัยที่วัยรุ่นส่วนใหญ่มักจะเป็นกัน หรืออีกสาเหตุหนึ่งที่พบกันนั้นมีอยู่ 3 ประการได้แก่ ความ เปลี่ยนแปลง ความไม่ได้อย่างใจอย่าง และต้องตัดสินใจในเรื่องที่ไม่พร้อม วัตถุประสงค์ (สิ่งที่ต้องการในการทาโครงงาน ระบุเป็นข้อ) -เพื่อต้องการศึกษาว่าโรคเหล่านี้เกิดได้จากปัจจัยใดบ้าง -เพื่อต้องการที่จะเผยแพร่เรื่องโรคนี้ให้กับผู้ที่มีความสงสัยเข้าใจในเรื่องนี้ -เพื่อลดปัญหาไม่ให้เกิดความเครียดปละการวิตกกังวล ขอบเขตโครงงาน (คุณลักษณะ ขอบเขต เงื่อนไขและข้อจากัดของการทาโครงงาน) การเกิดความเครียด อาการ วิธีการรักษา การวินิฉัยโรคความเครียด สภาวะแทรกซ้อน การป้องกัน ซึ่งได้ อธิบายไว้พอสังเขป
  • 3. 3 หลักการและทฤษฎี (ความรู้ หลักการ หรือทฤษฎีที่สนับสนุนการทาโครงงาน) ความเครียด ความเครียด คือ ภาวะที่ต้องเผชิญแรงกดดันจากเหตุการณ์ร้ายแรง ซึ่งภาวะดังกล่าวเกี่ยวข้องกับการตอบสนองของ ร่างกายและจิตใจ ผู้ที่ผ่านเหตุการณ์ซึ่งก่อให้เกิดความเครียด จะเกิดอาการเครียดประมาณหนึ่งเดือน หากเกิดอาการ นานกว่านั้นจะกลายเป็นโรคเครียดหลังเกิดเหตุสะเทือนขวัญ อาการ -เห็นภาพเหตุการณ์ร้ายแรงซ้า ๆ ผู้ป่วยจะเห็นฝันร้าย หรือนึกถึงเหตุการณ์ร้ายแรงไม่ดีที่เคยเกิดขึ้นซ้า ๆ อยู่ เสมอ -อารมณ์ขุ่นมัว อารมณ์หรือความรู้สึกของผู้ป่วยโรคเครียดมักแสดงออกมาในเชิงลบ ผู้ป่วยจะรู้สึกอารมณ์ไม่ดี มีความทุกข์ ไม่ร่าเริงแจ่มใสหรือรู้สึกไม่มีความสุข -มีพฤติกรรมแยกตัวออกมา ผู้ป่วยจะเกิดหลงลืมมึนงง ไม่มีสติหรือไม่รับรู้การมีอยู่ของตัวเอง หรือรู้สึกว่า เวลาเดินช้าลง -หลีกเลี่ยงสิ่งต่าง ๆ ผู้ป่วยจะหลีกเลี่ยงสิ่งที่ทาให้นึกถึงเหตุการณ์ที่ทาให้เกิดความเครียด ไม่ว่าจะเป็นผู้คน สถานที่ สิ่งของ กิจกรรม หรือบทสนทนาที่เกี่ยวกับเรื่องนั้น ๆ -ไวต่อสิ่งเร้า ผู้ป่วยจะนอนหลับยาก โมโหหรือก้าวร้าว ไม่มีสมาธิจดจ่อกับสิ่งใดสิ่งหนึ่งได้ วิธีการรักษา โรคเครียดคือการรับมืออาการของโรคที่เกิดขึ้นเมื่อต้องเผชิญสถานการณ์ที่ทาให้เกิดความเครียด ผู้ป่วยควร เข้าใจสาเหตุที่ทาให้เกิดอาการดังกล่าว และพูดคุยกับครอบครัวหรือเพื่อนเพื่อระบายความเครียดอย่างไรก็ตาม ผู้ป่วย ที่เกิดอาการรุนแรงหรือเกิดความเครียดเรื้อรัง จาเป็นต้องเข้ารับการรักษากับแพทย์ผู้เชี่ยวชาญโดยตรง ซึ่งมี รายละเอียด การวินิจฉัยโรคเครียด ผู้ที่ผ่านการเผชิญเหตุการณ์ร้ายแรง อาจเกิดอาการของโรคเครียดได้ อย่างไรก็ตาม ผู้ที่เกิดอาการดังกล่าวควรไปพบ แพทย์ทั่วไปหรือแพทย์ผู้เชี่ยวชาญด้านสุขภาพจิต เพื่อรับการตรวจและวินิจฉัยสาเหตุ โดยแพทย์จะสอบถาม รายละเอียดเกี่ยวกับเหตุการณ์ที่ได้พบหรือได้รับรู้ รวมทั้งสอบถามอาการต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นของผู้ป่วย ทั้งนี้ เมื่อได้รับ การตรวจแล้ว แพทย์อาจวินิจฉัยหาสาเหตุของอาการป่วยว่า เกิดจากสาเหตุอื่นหรือไม่ เช่น การใช้สารเสพติด ผลข้างเคียงจากการใช้ยาบางอย่าง ปัญหาสุขภาพอื่น ๆ หรือโรคทางจิตเวชอื่น ๆ หากอาการที่ผู้ป่วยเป็นไม่ได้เกิดจาก สาเหตุอื่น ก็แสดงว่าอาการดังกล่าวอาจเกิดจากโรคเครียด ภาวะแทรกซ้อน ผู้ที่เกิดความเครียดเล็ก ๆ น้อย ๆ เป็นประจาควรดูแลตัวเอง โดยหากิจกรรมอย่างอื่นทายามว่าง เพื่อให้ ตนเองรู้สึกผ่อนคลาย ทั้งนี้ ผู้ที่เกิดความเครียดเรื้อรังเป็นเวลานาน อาจประสบปัญหาสุขภาพอื่น ๆ ตามมาได้ การป้องกัน โรคเครียดเป็นปัญหาสุขภาพที่ป้องกันได้ยาก เนื่องจากสถานการณ์อันตรายอันเป็นสาเหตุของโรคเครียดนั้น ควบคุมไม่ได้ อย่างไรก็ตาม ผู้ป่วยโรคเครียดดูแลตนเองและจัดการอาการของโรคไม่ให้แย่ลงได้ โดยปฏิบัติ -หลังจากเผชิญสถานการณ์ร้ายแรง ต้องรีบเข้ารับการรักษาจากแพทย์ เพื่อช่วยลดโอกาสป่วยเป็นโรคเครียด -ผู้ที่ประกอบอาชีพซึ่งเสี่ยงเผชิญสถานการณ์อันตราย เช่น ทหาร อาจต้องเข้ารับการฝึกซ้อมรับมือเหตุการณ์ อันตรายและปรึกษาจิตแพทย์ เพื่อเตรียมตัวรับมือกับเหตุการณ์ดังกล่าวและลดโอกาสเสี่ยงป่วยเป็นโรคเครียด -ออกกาลังกายหรือทากิจกรรมที่เคลื่อนไหวร่างกายอย่างสม่าเสมอ
  • 4. 4 -ฝึกหายใจลึก ๆ ทาสมาธิ เล่นโยคะ หรือนวด เพื่อให้ร่างกายผ่อนคลาย รวมทั้งทาจิตใจให้แจ่มใส -พบปะสังสรรค์กับเพื่อน หรือพูดคุยกับครอบครัว -หางานอดิเรกทาในยามว่าง เช่น อ่านหนังสือ หรือฟังเพลง -นอนหลับพักผ่อนให้เพียงพอ รวมทั้งรับประทานอาหารที่มีประโยชน์ให้ครบถ้วน -หลีกเลี่ยงการสูบบุหรี่ รวมทั้งงดเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ เครื่องดื่มที่มีคาเฟอีน หรือใช้สารเสพติดอื่น ๆ สาเหตุของความเครียด 1. สภาพแวดล้อมทั่วไป เช่น มลภาวะ ได้แก่ เสียงดังเกินไป จากเครื่องจักร เครื่องยนต์ อากาศเสียจากควัน ท่อไอเสีย น้าเสีย ฝุ่น ละออง ยาฆ่าแมลง การอยู่กันอย่างเบียดเสียด ยัดเยียด เป็นต้น 2. สภาพเศรษฐกิจที่ไม่น่าพอใจ เช่น รายได้น้อยกว่ารายจ่าย 3. สภาพแวดล้อมทางสังคม เช่น การสอบแข่งขันเข้าเรียน 4. เข้าทางาน เลื่อนขั้น เลื่อนตาแหน่ง เป็นต้น 5. นิสัยใจการกิน-ดื่ม ที่ส่งเสริมความเครียด เช่น ผู้ที่ดื่มกาแฟบ่อยๆ สูบบุหรี่ ดื่มเหล้า ตลอดจนกินของกินที่ มีน้าตาลมากๆ 6. มีสัมพันธภาพกับคนอื่นๆ ที่ไม่ราบรื่น มักมีข้อขัดแย้ง ทะเลาะเบาะแว้งกับคนอื่นเป็นปกติวิสัย 7. ความรู้สึกตนเองต่าต้อยกว่าคนอื่น ต้องพยายามต่อสู้เอาชนะ 8. ต้องการมีอานาจเหนือผู้อื่น วิธีลดความเครียด วิธีแก้ไขที่ปลายเหตุ ได้แก่ การใช้ยา เช่น ยาหม่อง ยาดม ยาแก้ปวด ยาลดกรดในกระเพาะ ยากล่อม ประสาท แต่วิธีการดังกล่าวไม่ได้แก้ไขความเครียดที่ต้นเหตุ อาจทาให้ความเครียดนั้นเกิดขึ้นได้อีก วิธีที่ดีที่สุดคือ วิธีแก้ไขที่ต้นเหตุ ได้แก่ - แก้ไขเปลี่ยนแปลงวิถีชีวิตที่เอื้ออานวยให้เกิดความเครียด เช่น งานอดิเรกที่ชอบ ฝึกออกกาลังกาย บริหาร ร่างกายแบบง่ายๆ เป็นต้น - เปลี่ยนแปลงนิสัยและทัศนคติต่อการดาเนินชีวิต เช่น ลดการแข่งขัน ผ่อนปรน ลดความเข้มงวดในเรื่อง ต่างๆ - หาความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับโภชนาการ เช่น รู้ว่าอาหาร เครื่องดื่มบางประเภท ช่วยส่งเสริมความเครียด - สารวจและเปลี่ยนแปลงทัศนคติต่อตัวเองและผู้อื่น เช่น มองตัวเองในแง่ดี มองผู้อื่นในแง่ดี - สารวจและปรับปรุง สัมพันธภาพต่อคนในครอบครัวและสังคมภายนอก - ฝึกผ่อนคลายโดยตรง เช่น การฝึกหายใจให้ถูกวิธี การฝึกสมาธิ การออกกาลังกายแบบง่ายๆ การฝึกผ่อน คลายกล้ามเนื้อ การนวด การสารวจ ท่านั่ง นอน ยืน เดิน การใช้จินตนาการ นึกภาพที่รื่นรมย์
  • 5. 5 วิธีดาเนินงาน แนวทางการดาเนิน 1.กาหนดหัวข้อเรื่อง 2.สืบค้นข้อมูล 3.ดาเนินงานตามที่กาหนด เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้ -แบบทดสอบความเครียด -สมุดจดบันทึกความเครียด งบประมาณ -ไม่มี ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน ลาดั บ ที่ ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 1 0 1 1 12 1 3 1 4 1 5 1 6 1 7 1 คิดหัวข้อโครงงาน  2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล 3 จัดทาโครงร่างงาน 4 ปฏิบัติการสร้างโครงงาน 5 ปรับปรุงทดสอบ 6 การทาเอกสารรายงาน 7 ประเมินผลงาน 8 นาเสนอโครงงาน ผลที่คาดว่าจะได้รับ (ผลลัพธ์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดการทาโครงงาน) จะได้รับจากการผ่อนคลายความเครียด ไม่ว่าจะเป็นประสิทธิภาพการทางานที่ดีขึ้น หรือสุขภาพจิตที่ดี และ สุขภาพร่างกายที่แข็งแรงอีกด้วย ดังนั้นถ้าหากการทางานหรือการเรียนทาให้คุณกาลังรู้สึกเคร่งเครียด ลองหยุดพัก สักครู่แล้วผ่อนคลายดูนะคะ รับรองว่าความเครียดจะหมดไปอย่างแน่นอน สถานที่ดาเนินการ -โรงเรียน กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง -สุขศึกษา แหล่งอ้างอิง (เอกสาร หรือแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ที่นามาใช้การทาโครงงาน)  https://www.dmh.go.th/news/view.asp?id=672