SlideShare a Scribd company logo
เรื่อง ประเพณีและวัฒนธรรมไทย
กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม
สาระศาสนา ศีลธรรมและจริยธรรม
โดย
นายชูชาญ จันที
โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์ กาญจนบุรี
ทอดกฐิน
ความเป็นมา กฐิน แปลว่า ไม้
สะดึง หรือไม้แบบตัดเย็บจีวร
เ ป็ น ผ้ า ที่ น า ม า ถ ว า ย
พระภิกษุสงฆ์ในพิธีทอดกฐิน
เริ่มนับตั้งแต่ออกพรรษา คือ
วันแรม 1 ค่า เดือน 11 ถึงกลาง
เดือน 12
การจองกฐิน
 เมื่อจะไปจองกฐิน ณ วัดใด พอเข้าพรรษาแล้ว พึงไปมนัสการสมภารเจ้าอาวาสวัดนั้น
กราบเรียนแก่ท่านว่าตนมีความประสงค์จะขอทอดกฐิน แล้วเขียนหนังสือปิดประกาศไว้
ณ วัดนั้น เพื่อให้รู้ทั่ว ๆ กัน การที่ต้องไปจองก่อนแต่เนิ่น ๆ ก็เพื่อให้ได้ทอดวัดที่ตน
ต้องการ หากมิเช่นนั้นอาจมีผู้อื่นไปจองก่อน นี้กล่าวสาหรับวัดราษฎร์ ซึ่งราษฎรมีสิทธิ
จองได้ทุกวัด แต่ถ้าวัดนั้นเป็นวัดหลวง อันมีธรรมเนียมว่าต้องได้รับกฐินหลวงแล้ว
ทายกนั้น ครั้นกราบเรียนเจ้าอาวาสท่านแล้ว ต้องทาหนังสือยื่นต่อกองสัมฆการี
กรมการศาสนา กระทรวงศึกษาธิการ ขอเป็นกฐินพระราชทาน ครั้นคาอนุญาตตกไป
ถึงแล้ว จึงจะจองได้
ขั้นเตรียมการ
 ครั้นจองกฐินเรียบร้อยแล้ว เมื่อออกพรรษาแล้ว จะทอดกฐินในวันใด ก็กาหนดให้
แน่นอน แล้วกราบเรียนให้เจ้าอาวาสวัดท่านทราบวันกาหนดนั้น ถ้าเป็นอย่างชนบท
สมภารเจ้าวัด ก็บอกติดต่อกับชาวบ้านว่าวันนั้นว่านี้เป็นวันทอดกฐิน ให้ร่วมแรงร่วมใจ
กันจัดหาอาหารไว้เลี้ยงพระ และเลี้ยงผู้มาในการทอดกฐิน
ครั้นกาหนดวันทอดกฐินแล้ว
 ก็เตรียมจัดหาเครื่องผ้ากฐิน คือไตรจีวร พร้อมทั้งเครื่องบริขารอื่น ๆ ตามแต่มีศรัทธา
มากน้อย (ถ้าจัดเต็มที่มักมี 3 ไตร คือ องค์ครอง 1 ไตร คู่สวดองค์ละ 1 ไตร)
วันงาน
 พิธีทอดกฐินเป็นบุญใหญ่ดังกล่าวมาแล้ว ดังนั้น โดยมากจึงจัดงานเป็น 2 วัน วันต้นตั้ง
องค์พระกฐินที่บ้านของเจ้าภาพก็ได้ จะไปตั้งที่วัดก็ได้ กลางคืนมีการมหรสพครึกครื้น
สนุกสนาน ญาติพี่น้องและมิตรสหายก็มักจะมาร่วมอนุโมทนา รุ่งขึ้นเป็นที่วัดทอด ถ้า
ไปทางบก ก็มีแห่ทางขบวนรถหรือเดินขบวนกันไป มีแตรวงหรืออื่น ๆ เป็นการ
ครึกครื้น ถ้าไปทางเรือก็มีแห่งทางขบวนเรือสนุกสนาน โดยมากมักแห่ไปตอนเช้า และ
เลี้ยงพระเพล การทอดกฐิน จะทอดในตอนเช้านั้นก็ได้ ทอดเพลแล้วก็ได้ สุดแล้วแต่
สะดวก การเลี้ยงพระ ถ้าเป็นอย่างในชนบท ชาวบ้านจัดภัตตาหารเลี้ยงด้วย เจ้าของ
งานกฐินก็จัดไปด้วย อาหารมากมายเหลือเฟือ แม้ข้อนี้ ก็สุดแต่กาละเทศะแห่งท้องถิ่น
ฉลองกฐิน
 ถ้าตั้งองค์กฐินในวัดที่จะทอดนั้น เช่น ในชนบทตอนเย็น ก็แห่งองค์ พระกฐินไปตั้งที่
วัด กลางคืนมีการฉลองรุ่งขึ้น เลี้ยงพระเช้าแล้ว ทอดกฐิน ถวายภัตตาหารเพล
การถวายผ้ากฐิน
 การถวายผ้ากฐินนั้น คือ เมื่อพระสงฆ์ประชุมพร้อมกันแล้ว เจ้าภาพ อุ้มผ้ากฐินนั่ง
หันหน้าตรงต่อพระประธาน ตั้งนะโม 3 จบ แล้วหันหน้ามาทางพระสงฆ์ กล่าวคาถวาย
ผ้ากฐิน 3 จบ ถ้าเป็นกฐินสามัคคีก็มักเอาด้วยสายสิญจน์โยงผ้ากฐิน เมื่อจับได้ทั่วถึงกัน
แล้วหัวหน้านาว่าคาถวาย ครั้นจบแล้ว พระสงฆ์รับว่า สาธุ เจ้าภาพก็ประเคนผ้าไตร
กฐิน แก่ภิกษุผู้เถระ ครั้นแล้วประเคนเครื่องบริขารอื่น ๆ เสร็จแล้ว พระสงฆ์ ก็ทา
พิธีมอบผ้าให้แก่ภิกษุรูปใดรูปหนึ่ง ซึ่งเป็นพระเถระ มีจีวรเก่า รู้ธรรมวินัย ครั้น
เสร็จแล้ว พระสงฆ์อนุโมทนา เจ้าภาพกรวดน้ารับพร ก็เป็นอันเสร็จพิธีการทอดกฐิน
เพียงนี้
พิธีกรานกฐิน
 พิธิกรานกฐินเป็นพิธีฝ่ายภิกษุสงฆ์โดยเฉพาะคือภิกษุผู้ได้รับมอบผ้ากฐินนั้นนาผ้ากฐิน
ไปทา เป็นไตรจีวรผืนใดผืนหนึ่ง เย็บ ย้อม แห้ง เรียบร้อยดีแล้ว เคาะระฆัง ประชุมกัน
ในโรงพระอุโบสถ ภิกษุผู้รับผ้ากฐิน ถอนผ้าเก่าอธิษฐานผ้าใหม่ที่ตนได้รับนั้นเข้าชุด
เป็นไตรจีวร เสร็จแล้ว ภิกษุรูปหนึ่ง ขึ้นสู่ธรรมาสน์แสดงพระธรรมเทศนา กล่าวคือ
เรื่องประวัติกฐินและอานิสงส์ครั้งแล้วภิกษุผู้รับผ้ากฐิน นั่งคุกเข่า ตั้งนะโม 3 จบ
แล้วเปล่งวาจาในท่ามกลางชุมนุมนั้น ตามลักษณะผ้า ที่กรานดังนี้
 ถ้าเป็นผ้าสังฆาฏิ เปล่งวาจากรานกฐินว่า "อิมายสงฺฆาฏิยา กฐิน อตฺถรามิ" แปลว่า
ข้าพเจ้ากรานกฐินด้วยผ้าสัมฆาฎินี้ (ในเวลาว่านั้นไม่ต้องว่าคาแปลนี้) 3 จบ
 ถ้าเป็นผ้าอุตตราสงค์เปล่งวาจากรานกฐินว่า "อิมินาอุตฺตราสงฺเคน กฐิน อตฺถรามิ"
แปลว่าจ้าพเจ้ากรานกฐิน ด้วยผ้าอุตตราสงค์นี้ 3 จบ
 ถ้าเป็นผ้าอันตรวาสก (สบง) เปล่งวาจากรานกฐินว่า "อิมินา อนฺตรวาสเกน กฐิน
อตฺถรามิ" แปลว่าข้าพเจ้ากรานกฐิน ด้วยผ้าอันครวาสกนี้ 3 จบ
ลาดับนั้น
 สงฆ์นั่งคุกเข่าพร้อมกันแล้วกรานพระ 3 หนเสร็จแล้ว ตั้งนโมพร้อมกัน 3 จบ แล้วท่าน
ผู้ได้รับผ้ากฐินหันหน้ามายังกลุ่มภิกษุสงษ์ กล่าว คาอนุโมทนาประกาศดังนี้
"อตฺถต อาวุโส สงฺฆสฺส กฐิน ธมฺมิโก กฐินตฺถาโร อนุโมทามิ" 3 จบ (แปลว่า
อาวุโส! กฐินสงฆ์กราบแล้ว การกรานกฐินเป็นธรรม ข้าพเจ้าขออนุโมทนา)
คาว่า อาวุโส นั้น ถ้ามีภิกษุอื่นซึ่งมีพรรษามากกว่าภิกษุผู้ครองกฐินแม้เพียงรูป
เดียวก็ตาม ให้เปลี่ยนเป็น ภนฺเต
ต่อนั้น สงฆ์ทั้งปวงรับว่า สาธุ พร้อมกันแล้วให้ภิกษุทั้งปวง อนุโมทนาเรียงองค์กันไปทีละ
รูป ๆ ว่า "อตฺถต ภนฺเต สงฺฆสฺส กฐินฺ ธมฺมิโก กฐินตฺถาโร อนุโมทามิ" 3 จบสงฆ์ทั้งปวง
รับว่า สาธุ ทาดังนี้ จนหมดภิกษุผู้ประชุมอนุโมทนา
(ถ้าผู้อนุโมทนา มีพรรษษแก่กว่าสงฆ์ทั่งปวง ให้เปลี่ยนคาว่า ภนฺเต เป็น อาวุโส)
ในการว่าคาอนุโมทนานี้พึงนั่งคุกเข่าประนมมือเสร้จแล้วจึงนั่งพับเพียงลง
เมื่อเสร็จแล้ว ให้นั่งพร้อมกันคุกเข่าประนมมือ หันหน้าตรงต่อพระพุทธปฏิมา ว่าพร้อมกัน
อีก 3 จบ แต่ให้เปลี่ยนคาว่า อนุโมทามิ เป็น อนุโมทาม เป็นอันเสร็จไปชั้นหนึ่ง
ต่อแต่นั้นกราบพระ 3 หน นั่งพับเพียบ สวดปาฐะและคาถาเนื่องด้วยกรานกฐิน จบแล้วก็
เป็นเสร็จพิธีการกรานกฐินอานิสงส์กฐินสาหรับพระ
ในพระวินัย ระบุอานิสงส์กฐินไว้ 5 คือ
 1. เข้าบ้านได้โดยมิต้องบอกลาภิกษุด้วยกัน
 2. เอาไตรจีวรไปโดยไม่ครบสารับได้
 3. ฉันอาหารเป็นคณะโภชน์ได้
 4. เก็บจีวรไว้ได้ตามปรารถนา
 5. ลาภที่เกิดขึ้นเป็นของเธอผู้จาพรรษาในวัดนั้น
คาถวายผ้ากฐินอย่างมหานิกาย
 อิม สปริวาร กฐินจีวรทุสฺส สงฺฆสฺส โอโณชยาม (ว่า 3 หน) แปลว่า "ข้าพเจ้าทั้งหลาย
ขอน้อมถวายผ้ากฐินจีวรกับทั้งบริวารนี้ แด่พระสงฆ์"
คาถวายผ้ากฐิน อย่างธรรมยุตติกนิกาย
 อิม ภนฺเต สปริวาร กฐินนทุสฺส สงฺฆสฺส โอโณชยาม สาธุ โน ภนฺเต สงฺโฆ อิม สปริวาร
กฐินทุสฺส ปฏิคฺคณฺหาตุ ปฏิคฺคเหตฺวา จ อิมินา ทุสฺเสน กฐิน อตฺถรตุ อมฺหาก ทีฆรตฺต หิ
ตาย สุขาย
แปลว่า "ข้าแต่พระสงฆ์ผู้เจริญ ข้าพเจ้าทั้งหลายขอน้อมถวายผ้ากฐิน พร้อมทั้งบริวารนี้
ของข้าพเจ้าทั้งหลาย และครั้นรับแล้วขอจงกรานกฐินด้วยผ้านเพื่อประโยชน์และ
ความสุข แก่ข้าพเจ้าทั้งหลาย สิ้นกาลนาน

More Related Content

What's hot

อัตราส่วนและร้อยละ
อัตราส่วนและร้อยละอัตราส่วนและร้อยละ
อัตราส่วนและร้อยละ
8752584
 
การวิเคราะห์วรรณคดี "รำพึงในป่าช้า"
การวิเคราะห์วรรณคดี "รำพึงในป่าช้า"การวิเคราะห์วรรณคดี "รำพึงในป่าช้า"
การวิเคราะห์วรรณคดี "รำพึงในป่าช้า"พัน พัน
 
การเกิดลม
การเกิดลมการเกิดลม
การเกิดลมdnavaroj
 
ศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลามศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลามพัน พัน
 
หลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือ
หลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือหลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือ
หลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือwatdang
 
แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน
แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียนแบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน
แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน
Kruthai Kidsdee
 
สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์Sudarat Makon
 
คำกริยา
คำกริยาคำกริยา
คำกริยา
Nanthida Chattong
 
เคาะสัญญาณ
เคาะสัญญาณเคาะสัญญาณ
เคาะสัญญาณAui Ounjai
 
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้
DuangdenSandee
 
ตัวอย่างโครงงานชนะเลิศ
ตัวอย่างโครงงานชนะเลิศตัวอย่างโครงงานชนะเลิศ
ตัวอย่างโครงงานชนะเลิศsariya25
 
การวิเคราะห์และประเมินคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรม
การวิเคราะห์และประเมินคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรมการวิเคราะห์และประเมินคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรม
การวิเคราะห์และประเมินคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรม
Watcharapol Wiboolyasarin
 
แบบทดสอบ ประวัติศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบ ประวัติศาสตร์ ม.3แบบทดสอบ ประวัติศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบ ประวัติศาสตร์ ม.3teerachon
 
Casestudy การศึกษารายกรณี
Casestudy การศึกษารายกรณีCasestudy การศึกษารายกรณี
Casestudy การศึกษารายกรณี
rewat Chitthaing
 
คำศัพท์พื้นฐานชั้น ป.5
คำศัพท์พื้นฐานชั้น ป.5คำศัพท์พื้นฐานชั้น ป.5
คำศัพท์พื้นฐานชั้น ป.5
โรงเรียน บ้านสุไหงโก-ลก
 
คำบุพบท
คำบุพบทคำบุพบท
คำบุพบท
Nanthida Chattong
 

What's hot (20)

ลิลิตตะเลงพ่าย (สอน Ppt)[1]
ลิลิตตะเลงพ่าย (สอน Ppt)[1]ลิลิตตะเลงพ่าย (สอน Ppt)[1]
ลิลิตตะเลงพ่าย (สอน Ppt)[1]
 
1 ธรรมชาติและพลังของภาษาไทย(5-34)
1 ธรรมชาติและพลังของภาษาไทย(5-34)1 ธรรมชาติและพลังของภาษาไทย(5-34)
1 ธรรมชาติและพลังของภาษาไทย(5-34)
 
อัตราส่วนและร้อยละ
อัตราส่วนและร้อยละอัตราส่วนและร้อยละ
อัตราส่วนและร้อยละ
 
การวิเคราะห์วรรณคดี "รำพึงในป่าช้า"
การวิเคราะห์วรรณคดี "รำพึงในป่าช้า"การวิเคราะห์วรรณคดี "รำพึงในป่าช้า"
การวิเคราะห์วรรณคดี "รำพึงในป่าช้า"
 
การเกิดลม
การเกิดลมการเกิดลม
การเกิดลม
 
9 การกรอกแบบฟอร์ม(263-287)
9 การกรอกแบบฟอร์ม(263-287)9 การกรอกแบบฟอร์ม(263-287)
9 การกรอกแบบฟอร์ม(263-287)
 
ศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลามศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลาม
 
หลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือ
หลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือหลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือ
หลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือ
 
แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน
แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียนแบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน
แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน
 
สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์
 
คำกริยา
คำกริยาคำกริยา
คำกริยา
 
เคาะสัญญาณ
เคาะสัญญาณเคาะสัญญาณ
เคาะสัญญาณ
 
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้
การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้
 
ตัวอย่างโครงงานชนะเลิศ
ตัวอย่างโครงงานชนะเลิศตัวอย่างโครงงานชนะเลิศ
ตัวอย่างโครงงานชนะเลิศ
 
การวิเคราะห์และประเมินคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรม
การวิเคราะห์และประเมินคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรมการวิเคราะห์และประเมินคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรม
การวิเคราะห์และประเมินคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรม
 
แบบทดสอบ ประวัติศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบ ประวัติศาสตร์ ม.3แบบทดสอบ ประวัติศาสตร์ ม.3
แบบทดสอบ ประวัติศาสตร์ ม.3
 
Casestudy การศึกษารายกรณี
Casestudy การศึกษารายกรณีCasestudy การศึกษารายกรณี
Casestudy การศึกษารายกรณี
 
แบบฝึกหัด
แบบฝึกหัดแบบฝึกหัด
แบบฝึกหัด
 
คำศัพท์พื้นฐานชั้น ป.5
คำศัพท์พื้นฐานชั้น ป.5คำศัพท์พื้นฐานชั้น ป.5
คำศัพท์พื้นฐานชั้น ป.5
 
คำบุพบท
คำบุพบทคำบุพบท
คำบุพบท
 

Viewers also liked

ศาสนาและการดำรงชีวิต
ศาสนาและการดำรงชีวิตศาสนาและการดำรงชีวิต
ศาสนาและการดำรงชีวิต
พัน พัน
 
การค้าระหว่างประเทศ
การค้าระหว่างประเทศการค้าระหว่างประเทศ
การค้าระหว่างประเทศ
พัน พัน
 
การสร้างสรรค์ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์
การสร้างสรรค์ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์การสร้างสรรค์ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์
การสร้างสรรค์ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์
พัน พัน
 
ใบงาน.1
ใบงาน.1ใบงาน.1
ใบงาน.1tonsocial
 
ใบความรู้ที่ 6 เรื่อง ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์
ใบความรู้ที่ 6 เรื่อง ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์ใบความรู้ที่ 6 เรื่อง ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์
ใบความรู้ที่ 6 เรื่อง ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์Princess Chulabhon's College Chonburi
 
หลักการและสาระสำคัญของ สิทธิมนุษยชน
หลักการและสาระสำคัญของ สิทธิมนุษยชนหลักการและสาระสำคัญของ สิทธิมนุษยชน
หลักการและสาระสำคัญของ สิทธิมนุษยชน
พัน พัน
 
การออมและการลงทุน ม.2
การออมและการลงทุน ม.2การออมและการลงทุน ม.2
การออมและการลงทุน ม.2
พัน พัน
 

Viewers also liked (7)

ศาสนาและการดำรงชีวิต
ศาสนาและการดำรงชีวิตศาสนาและการดำรงชีวิต
ศาสนาและการดำรงชีวิต
 
การค้าระหว่างประเทศ
การค้าระหว่างประเทศการค้าระหว่างประเทศ
การค้าระหว่างประเทศ
 
การสร้างสรรค์ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์
การสร้างสรรค์ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์การสร้างสรรค์ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์
การสร้างสรรค์ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์
 
ใบงาน.1
ใบงาน.1ใบงาน.1
ใบงาน.1
 
ใบความรู้ที่ 6 เรื่อง ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์
ใบความรู้ที่ 6 เรื่อง ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์ใบความรู้ที่ 6 เรื่อง ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์
ใบความรู้ที่ 6 เรื่อง ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์
 
หลักการและสาระสำคัญของ สิทธิมนุษยชน
หลักการและสาระสำคัญของ สิทธิมนุษยชนหลักการและสาระสำคัญของ สิทธิมนุษยชน
หลักการและสาระสำคัญของ สิทธิมนุษยชน
 
การออมและการลงทุน ม.2
การออมและการลงทุน ม.2การออมและการลงทุน ม.2
การออมและการลงทุน ม.2
 

Similar to ประเพณีและวัฒนธรรมไทย

วิจารณ์การศึกษาไทย
วิจารณ์การศึกษาไทยวิจารณ์การศึกษาไทย
วิจารณ์การศึกษาไทยTongsamut vorasan
 
เกณฑ์การรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนา
เกณฑ์การรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนาเกณฑ์การรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนา
เกณฑ์การรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนาTongsamut vorasan
 
Saeng Dhamma Vol. 36 No. 434 June 2011
Saeng Dhamma Vol. 36 No. 434 June 2011 Saeng Dhamma Vol. 36 No. 434 June 2011
Saeng Dhamma Vol. 36 No. 434 June 2011
Wat Thai Washington, D.C.
 
เกณฑ์การรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนา
เกณฑ์การรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนาเกณฑ์การรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนา
เกณฑ์การรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนาTongsamut vorasan
 
1 บทนำ - 9 มนต์ เพื่อความก้าวหน้า โดย ท่าน ว. วชิรเมธี
1 บทนำ - 9 มนต์ เพื่อความก้าวหน้า โดย ท่าน ว. วชิรเมธี1 บทนำ - 9 มนต์ เพื่อความก้าวหน้า โดย ท่าน ว. วชิรเมธี
1 บทนำ - 9 มนต์ เพื่อความก้าวหน้า โดย ท่าน ว. วชิรเมธี
Panuwat Beforetwo
 
Saeng Dhamma Vol. 37 No. 436 August 2011
Saeng Dhamma Vol. 37 No. 436 August 2011 Saeng Dhamma Vol. 37 No. 436 August 2011
Saeng Dhamma Vol. 37 No. 436 August 2011
Wat Thai Washington, D.C.
 
ศาสนาซิกส์
ศาสนาซิกส์ศาสนาซิกส์
ศาสนาคริสต์
ศาสนาคริสต์ศาสนาคริสต์
ศาสนาคริสต์
นายวินิตย์ ศรีทวี
 
คุณธรรม จริยธรรม และสิ่งควรรู้
คุณธรรม จริยธรรม และสิ่งควรรู้คุณธรรม จริยธรรม และสิ่งควรรู้
คุณธรรม จริยธรรม และสิ่งควรรู้
Theeraphisith Candasaro
 
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาในญี่ปุ่น
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาในญี่ปุ่นการเผยแผ่พระพุทธศาสนาในญี่ปุ่น
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาในญี่ปุ่น
sumanan vanict
 
ท่องแดนพระพุทธศาสนา ที่ศรีลังกา(ส่วนหน้า)
ท่องแดนพระพุทธศาสนา ที่ศรีลังกา(ส่วนหน้า)ท่องแดนพระพุทธศาสนา ที่ศรีลังกา(ส่วนหน้า)
ท่องแดนพระพุทธศาสนา ที่ศรีลังกา(ส่วนหน้า)หนุ่มน้อย ดาร์จีลิ่ง
 
๒๐ มหาปรินิพพานสูตร มจร ตอนที่ ๖.pdf
๒๐ มหาปรินิพพานสูตร มจร ตอนที่ ๖.pdf๒๐ มหาปรินิพพานสูตร มจร ตอนที่ ๖.pdf
๒๐ มหาปรินิพพานสูตร มจร ตอนที่ ๖.pdf
maruay songtanin
 
Seangdhamma Vol. 37 No. 439 November 2011
Seangdhamma Vol. 37 No. 439 November 2011Seangdhamma Vol. 37 No. 439 November 2011
Seangdhamma Vol. 37 No. 439 November 2011
Wat Thai Washington, D.C.
 
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดูศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดูJani Kp
 
พุทธศาสนาหลังพุทธกาล
พุทธศาสนาหลังพุทธกาลพุทธศาสนาหลังพุทธกาล
พุทธศาสนาหลังพุทธกาลYota Bhikkhu
 
แผ่นพับ พระธาตุดอยอ่างกุ้ง
แผ่นพับ พระธาตุดอยอ่างกุ้งแผ่นพับ พระธาตุดอยอ่างกุ้ง
แผ่นพับ พระธาตุดอยอ่างกุ้ง
อบต. เหล่าโพนค้อ
 

Similar to ประเพณีและวัฒนธรรมไทย (20)

200789830 katin
200789830 katin200789830 katin
200789830 katin
 
วันเข้าพรรษา
วันเข้าพรรษาวันเข้าพรรษา
วันเข้าพรรษา
 
วิจารณ์การศึกษาไทย
วิจารณ์การศึกษาไทยวิจารณ์การศึกษาไทย
วิจารณ์การศึกษาไทย
 
เกณฑ์การรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนา
เกณฑ์การรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนาเกณฑ์การรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนา
เกณฑ์การรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนา
 
Saeng Dhamma Vol. 36 No. 434 June 2011
Saeng Dhamma Vol. 36 No. 434 June 2011 Saeng Dhamma Vol. 36 No. 434 June 2011
Saeng Dhamma Vol. 36 No. 434 June 2011
 
เกณฑ์การรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนา
เกณฑ์การรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนาเกณฑ์การรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนา
เกณฑ์การรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนา
 
1 บทนำ - 9 มนต์ เพื่อความก้าวหน้า โดย ท่าน ว. วชิรเมธี
1 บทนำ - 9 มนต์ เพื่อความก้าวหน้า โดย ท่าน ว. วชิรเมธี1 บทนำ - 9 มนต์ เพื่อความก้าวหน้า โดย ท่าน ว. วชิรเมธี
1 บทนำ - 9 มนต์ เพื่อความก้าวหน้า โดย ท่าน ว. วชิรเมธี
 
Saeng Dhamma Vol. 37 No. 436 August 2011
Saeng Dhamma Vol. 37 No. 436 August 2011 Saeng Dhamma Vol. 37 No. 436 August 2011
Saeng Dhamma Vol. 37 No. 436 August 2011
 
ศาสนาซิกส์
ศาสนาซิกส์ศาสนาซิกส์
ศาสนาซิกส์
 
ศาสนาคริสต์
ศาสนาคริสต์ศาสนาคริสต์
ศาสนาคริสต์
 
คุณธรรม จริยธรรม และสิ่งควรรู้
คุณธรรม จริยธรรม และสิ่งควรรู้คุณธรรม จริยธรรม และสิ่งควรรู้
คุณธรรม จริยธรรม และสิ่งควรรู้
 
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาในญี่ปุ่น
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาในญี่ปุ่นการเผยแผ่พระพุทธศาสนาในญี่ปุ่น
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาในญี่ปุ่น
 
ฮินดู
ฮินดูฮินดู
ฮินดู
 
ท่องแดนพระพุทธศาสนา ที่ศรีลังกา(ส่วนหน้า)
ท่องแดนพระพุทธศาสนา ที่ศรีลังกา(ส่วนหน้า)ท่องแดนพระพุทธศาสนา ที่ศรีลังกา(ส่วนหน้า)
ท่องแดนพระพุทธศาสนา ที่ศรีลังกา(ส่วนหน้า)
 
๒๐ มหาปรินิพพานสูตร มจร ตอนที่ ๖.pdf
๒๐ มหาปรินิพพานสูตร มจร ตอนที่ ๖.pdf๒๐ มหาปรินิพพานสูตร มจร ตอนที่ ๖.pdf
๒๐ มหาปรินิพพานสูตร มจร ตอนที่ ๖.pdf
 
Seangdhamma Vol. 37 No. 439 November 2011
Seangdhamma Vol. 37 No. 439 November 2011Seangdhamma Vol. 37 No. 439 November 2011
Seangdhamma Vol. 37 No. 439 November 2011
 
วั
วัวั
วั
 
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดูศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
 
พุทธศาสนาหลังพุทธกาล
พุทธศาสนาหลังพุทธกาลพุทธศาสนาหลังพุทธกาล
พุทธศาสนาหลังพุทธกาล
 
แผ่นพับ พระธาตุดอยอ่างกุ้ง
แผ่นพับ พระธาตุดอยอ่างกุ้งแผ่นพับ พระธาตุดอยอ่างกุ้ง
แผ่นพับ พระธาตุดอยอ่างกุ้ง
 

More from พัน พัน

เรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการเรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการ
พัน พัน
 
เรื่องภาษาซี
เรื่องภาษาซีเรื่องภาษาซี
เรื่องภาษาซี
พัน พัน
 
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
พัน พัน
 
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษรการเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
พัน พัน
 
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
พัน พัน
 
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
พัน พัน
 
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
พัน พัน
 
การทำงานของคอมพิวเตอร์
การทำงานของคอมพิวเตอร์การทำงานของคอมพิวเตอร์
การทำงานของคอมพิวเตอร์
พัน พัน
 
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัยระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
พัน พัน
 
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศเรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
พัน พัน
 
ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์
พัน พัน
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้นเครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
พัน พัน
 
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้นเรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
พัน พัน
 
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
พัน พัน
 
เรื่องคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์เรื่องคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์
พัน พัน
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
พัน พัน
 
การปริ้น
การปริ้นการปริ้น
การปริ้น
พัน พัน
 
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
พัน พัน
 
ยาเสพติด
ยาเสพติดยาเสพติด
ยาเสพติด
พัน พัน
 

More from พัน พัน (20)

เรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการเรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการ
 
เรื่องภาษาซี
เรื่องภาษาซีเรื่องภาษาซี
เรื่องภาษาซี
 
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
 
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษรการเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
 
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
 
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
 
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
 
การทำงานของคอมพิวเตอร์
การทำงานของคอมพิวเตอร์การทำงานของคอมพิวเตอร์
การทำงานของคอมพิวเตอร์
 
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัยระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
 
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศเรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้นเครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้นเรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
 
เรื่องคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์เรื่องคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
การปริ้น
การปริ้นการปริ้น
การปริ้น
 
Office
OfficeOffice
Office
 
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
 
ยาเสพติด
ยาเสพติดยาเสพติด
ยาเสพติด
 

ประเพณีและวัฒนธรรมไทย

  • 1. เรื่อง ประเพณีและวัฒนธรรมไทย กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม สาระศาสนา ศีลธรรมและจริยธรรม โดย นายชูชาญ จันที โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์ กาญจนบุรี
  • 2. ทอดกฐิน ความเป็นมา กฐิน แปลว่า ไม้ สะดึง หรือไม้แบบตัดเย็บจีวร เ ป็ น ผ้ า ที่ น า ม า ถ ว า ย พระภิกษุสงฆ์ในพิธีทอดกฐิน เริ่มนับตั้งแต่ออกพรรษา คือ วันแรม 1 ค่า เดือน 11 ถึงกลาง เดือน 12
  • 3. การจองกฐิน  เมื่อจะไปจองกฐิน ณ วัดใด พอเข้าพรรษาแล้ว พึงไปมนัสการสมภารเจ้าอาวาสวัดนั้น กราบเรียนแก่ท่านว่าตนมีความประสงค์จะขอทอดกฐิน แล้วเขียนหนังสือปิดประกาศไว้ ณ วัดนั้น เพื่อให้รู้ทั่ว ๆ กัน การที่ต้องไปจองก่อนแต่เนิ่น ๆ ก็เพื่อให้ได้ทอดวัดที่ตน ต้องการ หากมิเช่นนั้นอาจมีผู้อื่นไปจองก่อน นี้กล่าวสาหรับวัดราษฎร์ ซึ่งราษฎรมีสิทธิ จองได้ทุกวัด แต่ถ้าวัดนั้นเป็นวัดหลวง อันมีธรรมเนียมว่าต้องได้รับกฐินหลวงแล้ว ทายกนั้น ครั้นกราบเรียนเจ้าอาวาสท่านแล้ว ต้องทาหนังสือยื่นต่อกองสัมฆการี กรมการศาสนา กระทรวงศึกษาธิการ ขอเป็นกฐินพระราชทาน ครั้นคาอนุญาตตกไป ถึงแล้ว จึงจะจองได้
  • 4. ขั้นเตรียมการ  ครั้นจองกฐินเรียบร้อยแล้ว เมื่อออกพรรษาแล้ว จะทอดกฐินในวันใด ก็กาหนดให้ แน่นอน แล้วกราบเรียนให้เจ้าอาวาสวัดท่านทราบวันกาหนดนั้น ถ้าเป็นอย่างชนบท สมภารเจ้าวัด ก็บอกติดต่อกับชาวบ้านว่าวันนั้นว่านี้เป็นวันทอดกฐิน ให้ร่วมแรงร่วมใจ กันจัดหาอาหารไว้เลี้ยงพระ และเลี้ยงผู้มาในการทอดกฐิน
  • 5. ครั้นกาหนดวันทอดกฐินแล้ว  ก็เตรียมจัดหาเครื่องผ้ากฐิน คือไตรจีวร พร้อมทั้งเครื่องบริขารอื่น ๆ ตามแต่มีศรัทธา มากน้อย (ถ้าจัดเต็มที่มักมี 3 ไตร คือ องค์ครอง 1 ไตร คู่สวดองค์ละ 1 ไตร)
  • 6. วันงาน  พิธีทอดกฐินเป็นบุญใหญ่ดังกล่าวมาแล้ว ดังนั้น โดยมากจึงจัดงานเป็น 2 วัน วันต้นตั้ง องค์พระกฐินที่บ้านของเจ้าภาพก็ได้ จะไปตั้งที่วัดก็ได้ กลางคืนมีการมหรสพครึกครื้น สนุกสนาน ญาติพี่น้องและมิตรสหายก็มักจะมาร่วมอนุโมทนา รุ่งขึ้นเป็นที่วัดทอด ถ้า ไปทางบก ก็มีแห่ทางขบวนรถหรือเดินขบวนกันไป มีแตรวงหรืออื่น ๆ เป็นการ ครึกครื้น ถ้าไปทางเรือก็มีแห่งทางขบวนเรือสนุกสนาน โดยมากมักแห่ไปตอนเช้า และ เลี้ยงพระเพล การทอดกฐิน จะทอดในตอนเช้านั้นก็ได้ ทอดเพลแล้วก็ได้ สุดแล้วแต่ สะดวก การเลี้ยงพระ ถ้าเป็นอย่างในชนบท ชาวบ้านจัดภัตตาหารเลี้ยงด้วย เจ้าของ งานกฐินก็จัดไปด้วย อาหารมากมายเหลือเฟือ แม้ข้อนี้ ก็สุดแต่กาละเทศะแห่งท้องถิ่น
  • 7. ฉลองกฐิน  ถ้าตั้งองค์กฐินในวัดที่จะทอดนั้น เช่น ในชนบทตอนเย็น ก็แห่งองค์ พระกฐินไปตั้งที่ วัด กลางคืนมีการฉลองรุ่งขึ้น เลี้ยงพระเช้าแล้ว ทอดกฐิน ถวายภัตตาหารเพล
  • 8. การถวายผ้ากฐิน  การถวายผ้ากฐินนั้น คือ เมื่อพระสงฆ์ประชุมพร้อมกันแล้ว เจ้าภาพ อุ้มผ้ากฐินนั่ง หันหน้าตรงต่อพระประธาน ตั้งนะโม 3 จบ แล้วหันหน้ามาทางพระสงฆ์ กล่าวคาถวาย ผ้ากฐิน 3 จบ ถ้าเป็นกฐินสามัคคีก็มักเอาด้วยสายสิญจน์โยงผ้ากฐิน เมื่อจับได้ทั่วถึงกัน แล้วหัวหน้านาว่าคาถวาย ครั้นจบแล้ว พระสงฆ์รับว่า สาธุ เจ้าภาพก็ประเคนผ้าไตร กฐิน แก่ภิกษุผู้เถระ ครั้นแล้วประเคนเครื่องบริขารอื่น ๆ เสร็จแล้ว พระสงฆ์ ก็ทา พิธีมอบผ้าให้แก่ภิกษุรูปใดรูปหนึ่ง ซึ่งเป็นพระเถระ มีจีวรเก่า รู้ธรรมวินัย ครั้น เสร็จแล้ว พระสงฆ์อนุโมทนา เจ้าภาพกรวดน้ารับพร ก็เป็นอันเสร็จพิธีการทอดกฐิน เพียงนี้
  • 9. พิธีกรานกฐิน  พิธิกรานกฐินเป็นพิธีฝ่ายภิกษุสงฆ์โดยเฉพาะคือภิกษุผู้ได้รับมอบผ้ากฐินนั้นนาผ้ากฐิน ไปทา เป็นไตรจีวรผืนใดผืนหนึ่ง เย็บ ย้อม แห้ง เรียบร้อยดีแล้ว เคาะระฆัง ประชุมกัน ในโรงพระอุโบสถ ภิกษุผู้รับผ้ากฐิน ถอนผ้าเก่าอธิษฐานผ้าใหม่ที่ตนได้รับนั้นเข้าชุด เป็นไตรจีวร เสร็จแล้ว ภิกษุรูปหนึ่ง ขึ้นสู่ธรรมาสน์แสดงพระธรรมเทศนา กล่าวคือ เรื่องประวัติกฐินและอานิสงส์ครั้งแล้วภิกษุผู้รับผ้ากฐิน นั่งคุกเข่า ตั้งนะโม 3 จบ แล้วเปล่งวาจาในท่ามกลางชุมนุมนั้น ตามลักษณะผ้า ที่กรานดังนี้
  • 10.  ถ้าเป็นผ้าสังฆาฏิ เปล่งวาจากรานกฐินว่า "อิมายสงฺฆาฏิยา กฐิน อตฺถรามิ" แปลว่า ข้าพเจ้ากรานกฐินด้วยผ้าสัมฆาฎินี้ (ในเวลาว่านั้นไม่ต้องว่าคาแปลนี้) 3 จบ  ถ้าเป็นผ้าอุตตราสงค์เปล่งวาจากรานกฐินว่า "อิมินาอุตฺตราสงฺเคน กฐิน อตฺถรามิ" แปลว่าจ้าพเจ้ากรานกฐิน ด้วยผ้าอุตตราสงค์นี้ 3 จบ  ถ้าเป็นผ้าอันตรวาสก (สบง) เปล่งวาจากรานกฐินว่า "อิมินา อนฺตรวาสเกน กฐิน อตฺถรามิ" แปลว่าข้าพเจ้ากรานกฐิน ด้วยผ้าอันครวาสกนี้ 3 จบ
  • 11. ลาดับนั้น  สงฆ์นั่งคุกเข่าพร้อมกันแล้วกรานพระ 3 หนเสร็จแล้ว ตั้งนโมพร้อมกัน 3 จบ แล้วท่าน ผู้ได้รับผ้ากฐินหันหน้ามายังกลุ่มภิกษุสงษ์ กล่าว คาอนุโมทนาประกาศดังนี้ "อตฺถต อาวุโส สงฺฆสฺส กฐิน ธมฺมิโก กฐินตฺถาโร อนุโมทามิ" 3 จบ (แปลว่า อาวุโส! กฐินสงฆ์กราบแล้ว การกรานกฐินเป็นธรรม ข้าพเจ้าขออนุโมทนา) คาว่า อาวุโส นั้น ถ้ามีภิกษุอื่นซึ่งมีพรรษามากกว่าภิกษุผู้ครองกฐินแม้เพียงรูป เดียวก็ตาม ให้เปลี่ยนเป็น ภนฺเต
  • 12. ต่อนั้น สงฆ์ทั้งปวงรับว่า สาธุ พร้อมกันแล้วให้ภิกษุทั้งปวง อนุโมทนาเรียงองค์กันไปทีละ รูป ๆ ว่า "อตฺถต ภนฺเต สงฺฆสฺส กฐินฺ ธมฺมิโก กฐินตฺถาโร อนุโมทามิ" 3 จบสงฆ์ทั้งปวง รับว่า สาธุ ทาดังนี้ จนหมดภิกษุผู้ประชุมอนุโมทนา (ถ้าผู้อนุโมทนา มีพรรษษแก่กว่าสงฆ์ทั่งปวง ให้เปลี่ยนคาว่า ภนฺเต เป็น อาวุโส) ในการว่าคาอนุโมทนานี้พึงนั่งคุกเข่าประนมมือเสร้จแล้วจึงนั่งพับเพียงลง เมื่อเสร็จแล้ว ให้นั่งพร้อมกันคุกเข่าประนมมือ หันหน้าตรงต่อพระพุทธปฏิมา ว่าพร้อมกัน อีก 3 จบ แต่ให้เปลี่ยนคาว่า อนุโมทามิ เป็น อนุโมทาม เป็นอันเสร็จไปชั้นหนึ่ง ต่อแต่นั้นกราบพระ 3 หน นั่งพับเพียบ สวดปาฐะและคาถาเนื่องด้วยกรานกฐิน จบแล้วก็ เป็นเสร็จพิธีการกรานกฐินอานิสงส์กฐินสาหรับพระ
  • 13. ในพระวินัย ระบุอานิสงส์กฐินไว้ 5 คือ  1. เข้าบ้านได้โดยมิต้องบอกลาภิกษุด้วยกัน  2. เอาไตรจีวรไปโดยไม่ครบสารับได้  3. ฉันอาหารเป็นคณะโภชน์ได้  4. เก็บจีวรไว้ได้ตามปรารถนา  5. ลาภที่เกิดขึ้นเป็นของเธอผู้จาพรรษาในวัดนั้น
  • 14. คาถวายผ้ากฐินอย่างมหานิกาย  อิม สปริวาร กฐินจีวรทุสฺส สงฺฆสฺส โอโณชยาม (ว่า 3 หน) แปลว่า "ข้าพเจ้าทั้งหลาย ขอน้อมถวายผ้ากฐินจีวรกับทั้งบริวารนี้ แด่พระสงฆ์"
  • 15. คาถวายผ้ากฐิน อย่างธรรมยุตติกนิกาย  อิม ภนฺเต สปริวาร กฐินนทุสฺส สงฺฆสฺส โอโณชยาม สาธุ โน ภนฺเต สงฺโฆ อิม สปริวาร กฐินทุสฺส ปฏิคฺคณฺหาตุ ปฏิคฺคเหตฺวา จ อิมินา ทุสฺเสน กฐิน อตฺถรตุ อมฺหาก ทีฆรตฺต หิ ตาย สุขาย แปลว่า "ข้าแต่พระสงฆ์ผู้เจริญ ข้าพเจ้าทั้งหลายขอน้อมถวายผ้ากฐิน พร้อมทั้งบริวารนี้ ของข้าพเจ้าทั้งหลาย และครั้นรับแล้วขอจงกรานกฐินด้วยผ้านเพื่อประโยชน์และ ความสุข แก่ข้าพเจ้าทั้งหลาย สิ้นกาลนาน