SlideShare a Scribd company logo
ใบความรู้ ระดับ ม.6
                                 เรื่อง ศาสนาฮินดู




ศาสนาฮินดู

      ไศวนิกาย นับถือพระอิศวรหรือพระศิวะ ความเชื่อว่า ไม่มีเทพองค์ใดยิ่งใหญ่
เท่าพระศิวะ และเนื่องจากพระองค์เป็นเทพที่ดุร้าย จึงเป็นที่ยาเกรงของคนทั่วไป
      ไวษณพนิกาย นับถือพระวิษณุ เกิดขึ้นเพราะความตกต่าของศาสนาพราหมณ์
และความไม่มั่นคงทางสังคม ปฏิเสธพิธีกรรมบางอย่าง ซึ่งแต่ละอย่างนั้นล้วนลด
บทบาทของพราหมณ์ลงทั้งสิ้น
      ศักตินิกาย คือนิกายที่บูชาเทพเจ้าผู้หญิง บูชาพลังแห่งความเป็นแม่หรือ
อิตถีพละ เป็นการบูชาพระชายาของพระเป็นเจ้า
      วรรณะกษัตริย์ คือ กษัตริย์หรือนักรบ
      วรรณะพราหมณ์ คือ ผู้ทาพิธีกรรม
      วรรณะแพศย์          คือ ผู้ประกอบพาณิชกรรม เกษตรกรรม
      วรรณะศูทร           คือ กรรมกร
      วรรณะจัณฑาล คือ บุคคลที่แต่งงานข้ามวรรณะบุตรที่เกิดมาจะอยู่ใน
วรรณะจัณฑาล
หลักธรรมสาคัญของศาสนาพราหมณ์ – ฮินดู มีอยู่ 3 ข้อ
        อาศรม หมายถึง ขั้นตอนการดาเนินชีวิตของชาวฮินดู
        ปรมาตมัน หมายถึง สิ่งที่ยิ่งใหญ่ อันเป็นที่รวมของทุกสิ่งทุกอย่างในสากล
โลก ได้แก่ “พรหม”
        โมกษะ ถือว่าเป็นหลักความดีสูงสุด ดังคาสอนที่ว่า “ผู้ใดรู้แจ้งในอาตมันของ
ตนว่าเป็นหลักอาตมันของโลกพรหมแล้ว ผู้นั้นย่อมพ้นจากลังสาระการเวียนว่าย
ตาย เกิด และจะไม่ปฏิสนธิอีก”
        วันสาคัญ
              ทีปาวลี หรือทีวาลี
        ตรงกับวันแรม ๑๕ ค่าเดือน ๑๑ เป็นเทศกาลที่เฉลิมฉลองการกลับมาเมือง
อโยธยาของพระราม หลังจากที่ปราบ ทศกัณฑ์แล้ว ในวันนี้ทุกบ้านเรือนจะจุด
ประทีปสว่างไสว มีการจุดประทัดเล่นกันอย่างสนุกสนาน
              นวราตรี
        จัด ๒ ช่วง ใน ๑ ปี คือช่วงที่ ๑ มีในวันขึ้น ๑ ค่าเดือน ๕ ถึงขึ้น ๙ ค่า เดือน ๕
ช่วงที่ ๒ มีในวันขึ้น ๑ ค่าเดือน ๑๑ ถึงขึ้น ๙ ค่า เดือน ๑๑ชาวพราหมณ์-ฮินดูจะถือ
ศีลกินเจชาวพราหมณ์-ฮินดู เชื่อว่า “นวราตรี” เป็นช่วงเวลาแห่งการเติมพลังทั้งกาย
และใจเพื่อที่จะใช้ชีวิตอย่างมีคุณค่าต่อไป
              ศรีกฤษณะชนมาอัฏฐมี
        ตรงกับวันแรม ๘ ค่า เดือน ๙เป็นการฉลองวันประสูติของพระกฤษณะอย่าง
มโหฬารในวันนี้ ชาวพราหมณ์-ฮินดู ที่เคร่งครัด จะอดอาหารตั้งแต่เช้า-เที่ยงคืน
เพื่อเป็นการแสดงความรักความศรัทธา ในพระองค์
ศิวะราตรี
        ตรงกับวันแรม ๑๔ ค่าเดือน ๓ ศิวะราตรี คือ ราตรีแห่งพระศิวะ หรือราตรี
อันยิ่งใหญ่แห่งพระศิวะ เป็นสัญลักษณ์ของการอภิเษกสมรสของพระศิวะและนาง
ปารวตี เชื่อกันว่าผู้ที่บูชาพระศิวะแล้วจะได้คชีวิตที่ดีและมีความสุขความเจริญใน
                                             ู่
ชีวิต

คัมภีร์พระเวท หรือ วรรณคดีพระเวท มี 4 เวท คือ"
       1. ฤคเวท จัดว่าเป็นคัมภีร์ทางศาสนาที่เก่าที่สุดในโลกรวบรวมเอาบทสวดแด่
เทพยดาต่างๆ เข้าไว้เมื่อประมาณศตวรรษที่ 8 ก่อนคริสตกาลจึงมีการจดบันทึก
ฤคเวทลงเป็นลายลักษณ์อักษร คัมภีร์ฤคเวทนี้ถือว่าเป็นคัมภีร์ของพวกนักบวชอย่าง
แท้จริงเพราะ นอกจากจะเป็นผู้แต่งขึ้นแล้วก็ยังเป็นผู้ใช้ในการประกอบพิธีกรรม
สังเวยเทพยดาอีกด้วย
       2.สามเวท แต่งขึ้นเพื่อรวบรวมบทสวดที่เลือกมาจากฤคเวท เพื่อประโยชน์ใน
การสวดเท่านั้น จึงไม่ได้ให้ความรู้เกี่ยวกับพวกอารยันนอกเหนือไปจากที่ฤคเวทได้
ให้ไว้




       3. อาถรรพเวท รวบรวมขึ้นหลังฤคเวท บรรจุเรื่องราวของ การสาป-การเสก
การท่องมนตร์ที่ เป็นคาประพันธ์ นอกจากนี้ยังมีเรื่องของความเชื่อผีสางเทวดาแบบ
ง่ายๆ และ เรื่องไสยศาสตร์ ที่ไม่ลึกซึ้งเหมือนอย่างเรื่องราวที่ปรากฏในฤคเวท จึง
เหมาะสาหรับคนที่มีระดับวัฒนธรรมต่ากว่าคนที่เชื่อในฤคเวท เข้าใจว่า อาถรรพเวท
สะท้อนให้เห็นถึงความเชื่อของประชาชนส่วนใหญ่ จึงมีร่องรอยของวัฒนธรรมที่
ไม่ใช่อารยันผสมผสานอยู่อย่างมาก
       4.ยัชุรเวท คัมภีร์นี้รวบรวมมนตร์ที่นักบวชประเภทหนึ่ง ต้องท่องในการ
ประกอบพิธีกรรม ซึ่งประพันธ์ไว้เป็นทั้งร้อยกรองและร้อยแก้ว เพราะ มีอยู่ด้วยกัน
หลายฉบับ "ฉบับดา" คือตัวมนตร์กับคาอธิบายอย่างสังเขปในการประกอบพิธี ส่วน
"ฉบับขาว" เป็นการอธิบายอย่างละเอียดถึงเนื้อหาแห่งพิธีกรรม




        สัญลักษณ์ของศาสนาพราหมณ์-ฮินดู คือ อักษรเทวนาครี อ่านว่า “โอม”
ซึ่งย่อมาจากอักษร อะ อุ และ ม หมายถึงเทพยิ่งใหญ่ทั้งสาม
                อักษร “อะ” แทนพระวิษณุ
                อักษร “อุ” แทนพระศิวะ
                อักษร “ม” แทนพระพรหม
        สัญลักษณ์ดังกล่าวนี้บางครั้งเรียกว่า “สวัสติหรือสวัสติกะ”

More Related Content

What's hot

สไลด์ หลักคำสอนอขงศาสนาต่างๆ ป.4+464+dltvsocp4+55t2soc p04 f25-1page
สไลด์  หลักคำสอนอขงศาสนาต่างๆ ป.4+464+dltvsocp4+55t2soc p04 f25-1pageสไลด์  หลักคำสอนอขงศาสนาต่างๆ ป.4+464+dltvsocp4+55t2soc p04 f25-1page
สไลด์ หลักคำสอนอขงศาสนาต่างๆ ป.4+464+dltvsocp4+55t2soc p04 f25-1page
Prachoom Rangkasikorn
 
ความหมายและประเภทของศาสนา
ความหมายและประเภทของศาสนาความหมายและประเภทของศาสนา
ความหมายและประเภทของศาสนา
นายวินิตย์ ศรีทวี
 
ศาสนาสากล
ศาสนาสากลศาสนาสากล
ศาสนาสากล
ThanaponSuwan
 
บทที่ 1 ศาสนาคืออะไร
บทที่ 1 ศาสนาคืออะไรบทที่ 1 ศาสนาคืออะไร
บทที่ 1 ศาสนาคืออะไร
Padvee Academy
 
กลางภาค ส43101 ม.6
กลางภาค ส43101 ม.6กลางภาค ส43101 ม.6
กลางภาค ส43101 ม.6thnaporn999
 
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดูศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดูJani Kp
 
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดูศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดูJani Kp
 
ใบความรู้ศาสนาคริสต์
ใบความรู้ศาสนาคริสต์ใบความรู้ศาสนาคริสต์
ใบความรู้ศาสนาคริสต์
Proud N. Boonrak
 
ศาสนาซิกข์
ศาสนาซิกข์ศาสนาซิกข์
ศาสนาซิกข์thnaporn999
 
ศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลามศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลามพัน พัน
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนา
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนาความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนา
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนา
Padvee Academy
 
ศาสนาซิกข์
ศาสนาซิกข์ศาสนาซิกข์
ศาสนาซิกข์
Padvee Academy
 
พระพุทธศาสนา
พระพุทธศาสนาพระพุทธศาสนา
พระพุทธศาสนา
Padvee Academy
 
ศาสนาพราหมณ์
ศาสนาพราหมณ์ศาสนาพราหมณ์
ศาสนาพราหมณ์
นายวินิตย์ ศรีทวี
 
ความรู้เรื่องศาสนาแผ่นพับ
ความรู้เรื่องศาสนาแผ่นพับความรู้เรื่องศาสนาแผ่นพับ
ความรู้เรื่องศาสนาแผ่นพับ
niralai
 
ศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลามศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลามthnaporn999
 
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดูศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
Padvee Academy
 
ศาสนาคริสต์
ศาสนาคริสต์ศาสนาคริสต์
ศาสนาคริสต์thnaporn999
 
ติวศาสนา55
ติวศาสนา55ติวศาสนา55
ติวศาสนา55Kwandjit Boonmak
 
ศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลามศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลาม
นายวินิตย์ ศรีทวี
 

What's hot (20)

สไลด์ หลักคำสอนอขงศาสนาต่างๆ ป.4+464+dltvsocp4+55t2soc p04 f25-1page
สไลด์  หลักคำสอนอขงศาสนาต่างๆ ป.4+464+dltvsocp4+55t2soc p04 f25-1pageสไลด์  หลักคำสอนอขงศาสนาต่างๆ ป.4+464+dltvsocp4+55t2soc p04 f25-1page
สไลด์ หลักคำสอนอขงศาสนาต่างๆ ป.4+464+dltvsocp4+55t2soc p04 f25-1page
 
ความหมายและประเภทของศาสนา
ความหมายและประเภทของศาสนาความหมายและประเภทของศาสนา
ความหมายและประเภทของศาสนา
 
ศาสนาสากล
ศาสนาสากลศาสนาสากล
ศาสนาสากล
 
บทที่ 1 ศาสนาคืออะไร
บทที่ 1 ศาสนาคืออะไรบทที่ 1 ศาสนาคืออะไร
บทที่ 1 ศาสนาคืออะไร
 
กลางภาค ส43101 ม.6
กลางภาค ส43101 ม.6กลางภาค ส43101 ม.6
กลางภาค ส43101 ม.6
 
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดูศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
 
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดูศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
 
ใบความรู้ศาสนาคริสต์
ใบความรู้ศาสนาคริสต์ใบความรู้ศาสนาคริสต์
ใบความรู้ศาสนาคริสต์
 
ศาสนาซิกข์
ศาสนาซิกข์ศาสนาซิกข์
ศาสนาซิกข์
 
ศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลามศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลาม
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนา
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนาความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนา
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนา
 
ศาสนาซิกข์
ศาสนาซิกข์ศาสนาซิกข์
ศาสนาซิกข์
 
พระพุทธศาสนา
พระพุทธศาสนาพระพุทธศาสนา
พระพุทธศาสนา
 
ศาสนาพราหมณ์
ศาสนาพราหมณ์ศาสนาพราหมณ์
ศาสนาพราหมณ์
 
ความรู้เรื่องศาสนาแผ่นพับ
ความรู้เรื่องศาสนาแผ่นพับความรู้เรื่องศาสนาแผ่นพับ
ความรู้เรื่องศาสนาแผ่นพับ
 
ศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลามศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลาม
 
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดูศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
 
ศาสนาคริสต์
ศาสนาคริสต์ศาสนาคริสต์
ศาสนาคริสต์
 
ติวศาสนา55
ติวศาสนา55ติวศาสนา55
ติวศาสนา55
 
ศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลามศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลาม
 

Similar to ฮินดู

เวสสันดรวิเคราะห์
เวสสันดรวิเคราะห์เวสสันดรวิเคราะห์
เวสสันดรวิเคราะห์Tongsamut vorasan
 
03ศาสนาเชน...ใหม่ 007
03ศาสนาเชน...ใหม่ 00703ศาสนาเชน...ใหม่ 007
03ศาสนาเชน...ใหม่ 007Dream'Es W.c.
 
ครูพัชราภรณ์ เหมือนรุ่ง
ครูพัชราภรณ์    เหมือนรุ่งครูพัชราภรณ์    เหมือนรุ่ง
ครูพัชราภรณ์ เหมือนรุ่ง
พัน พัน
 
วันอาสาฬหบูชา
วันอาสาฬหบูชาวันอาสาฬหบูชา
วันอาสาฬหบูชา
utumporn charoensuk
 
Wansamkarn tippaya
Wansamkarn tippayaWansamkarn tippaya
Wansamkarn tippayatippaya6563
 
ศาสนาพราหมณ์
ศาสนาพราหมณ์ศาสนาพราหมณ์
ศาสนาพราหมณ์
sorrachat keawjam
 
วิจารณ์การศึกษาไทย
วิจารณ์การศึกษาไทยวิจารณ์การศึกษาไทย
วิจารณ์การศึกษาไทยTongsamut vorasan
 
มนุษย์กับการสร้างสรรค์
มนุษย์กับการสร้างสรรค์มนุษย์กับการสร้างสรรค์
มนุษย์กับการสร้างสรรค์
กรูรู้ กรูไม่รู้อะไรจะดีกว่า
 
Buddha1
Buddha1Buddha1
โพธิยาลัย เดือน มกราคม 2555
โพธิยาลัย เดือน มกราคม 2555โพธิยาลัย เดือน มกราคม 2555
โพธิยาลัย เดือน มกราคม 2555
Panda Jing
 
พระธาตุชเวดากอง
พระธาตุชเวดากองพระธาตุชเวดากอง
พระธาตุชเวดากองThammasat University
 
เชิญร่วมงานสาธยายพระไตรปิฎก วัดมเหยงคณ์ วันที่ 5 เดือน 5 2555
เชิญร่วมงานสาธยายพระไตรปิฎก วัดมเหยงคณ์ วันที่ 5 เดือน 5 2555เชิญร่วมงานสาธยายพระไตรปิฎก วัดมเหยงคณ์ วันที่ 5 เดือน 5 2555
เชิญร่วมงานสาธยายพระไตรปิฎก วัดมเหยงคณ์ วันที่ 5 เดือน 5 2555
Carzanova
 
พุทธศาสนามหายานในไทย
พุทธศาสนามหายานในไทยพุทธศาสนามหายานในไทย
พุทธศาสนามหายานในไทย
Padvee Academy
 
ธรรมราชาและเทวราชาในวรรณคดีลิลิตตะเลงพ่าย
ธรรมราชาและเทวราชาในวรรณคดีลิลิตตะเลงพ่ายธรรมราชาและเทวราชาในวรรณคดีลิลิตตะเลงพ่าย
ธรรมราชาและเทวราชาในวรรณคดีลิลิตตะเลงพ่ายChinnakorn Pawannay
 
อาณาจักรตามพรลิงค์
อาณาจักรตามพรลิงค์อาณาจักรตามพรลิงค์
อาณาจักรตามพรลิงค์sangworn
 
ติวศาสนา55
ติวศาสนา55ติวศาสนา55
ติวศาสนา55
Kwandjit Boonmak
 
เกณฑ์การรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนา
เกณฑ์การรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนาเกณฑ์การรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนา
เกณฑ์การรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนาTongsamut vorasan
 

Similar to ฮินดู (20)

งานสังคม
งานสังคมงานสังคม
งานสังคม
 
เวสสันดรวิเคราะห์
เวสสันดรวิเคราะห์เวสสันดรวิเคราะห์
เวสสันดรวิเคราะห์
 
03ศาสนาเชน...ใหม่ 007
03ศาสนาเชน...ใหม่ 00703ศาสนาเชน...ใหม่ 007
03ศาสนาเชน...ใหม่ 007
 
ครูพัชราภรณ์ เหมือนรุ่ง
ครูพัชราภรณ์    เหมือนรุ่งครูพัชราภรณ์    เหมือนรุ่ง
ครูพัชราภรณ์ เหมือนรุ่ง
 
วันอาสาฬหบูชา
วันอาสาฬหบูชาวันอาสาฬหบูชา
วันอาสาฬหบูชา
 
Wansamkarn tippaya
Wansamkarn tippayaWansamkarn tippaya
Wansamkarn tippaya
 
ศาสนาพราหมณ์
ศาสนาพราหมณ์ศาสนาพราหมณ์
ศาสนาพราหมณ์
 
Chapter2
Chapter2Chapter2
Chapter2
 
วิจารณ์การศึกษาไทย
วิจารณ์การศึกษาไทยวิจารณ์การศึกษาไทย
วิจารณ์การศึกษาไทย
 
มนุษย์กับการสร้างสรรค์
มนุษย์กับการสร้างสรรค์มนุษย์กับการสร้างสรรค์
มนุษย์กับการสร้างสรรค์
 
Buddha1
Buddha1Buddha1
Buddha1
 
Buddha1
Buddha1Buddha1
Buddha1
 
โพธิยาลัย เดือน มกราคม 2555
โพธิยาลัย เดือน มกราคม 2555โพธิยาลัย เดือน มกราคม 2555
โพธิยาลัย เดือน มกราคม 2555
 
พระธาตุชเวดากอง
พระธาตุชเวดากองพระธาตุชเวดากอง
พระธาตุชเวดากอง
 
เชิญร่วมงานสาธยายพระไตรปิฎก วัดมเหยงคณ์ วันที่ 5 เดือน 5 2555
เชิญร่วมงานสาธยายพระไตรปิฎก วัดมเหยงคณ์ วันที่ 5 เดือน 5 2555เชิญร่วมงานสาธยายพระไตรปิฎก วัดมเหยงคณ์ วันที่ 5 เดือน 5 2555
เชิญร่วมงานสาธยายพระไตรปิฎก วัดมเหยงคณ์ วันที่ 5 เดือน 5 2555
 
พุทธศาสนามหายานในไทย
พุทธศาสนามหายานในไทยพุทธศาสนามหายานในไทย
พุทธศาสนามหายานในไทย
 
ธรรมราชาและเทวราชาในวรรณคดีลิลิตตะเลงพ่าย
ธรรมราชาและเทวราชาในวรรณคดีลิลิตตะเลงพ่ายธรรมราชาและเทวราชาในวรรณคดีลิลิตตะเลงพ่าย
ธรรมราชาและเทวราชาในวรรณคดีลิลิตตะเลงพ่าย
 
อาณาจักรตามพรลิงค์
อาณาจักรตามพรลิงค์อาณาจักรตามพรลิงค์
อาณาจักรตามพรลิงค์
 
ติวศาสนา55
ติวศาสนา55ติวศาสนา55
ติวศาสนา55
 
เกณฑ์การรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนา
เกณฑ์การรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนาเกณฑ์การรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนา
เกณฑ์การรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนา
 

More from thnaporn999

รัฐเดี่ยว รัฐรวม
รัฐเดี่ยว รัฐรวมรัฐเดี่ยว รัฐรวม
รัฐเดี่ยว รัฐรวมthnaporn999
 
บริษัท
บริษัทบริษัท
บริษัทthnaporn999
 
ชุด ห้างหุ้นส่วน
ชุด ห้างหุ้นส่วนชุด ห้างหุ้นส่วน
ชุด ห้างหุ้นส่วนthnaporn999
 
ชุด สหกรณ์
ชุด สหกรณ์ชุด สหกรณ์
ชุด สหกรณ์thnaporn999
 
ธุรกิจย่อย
ธุรกิจย่อยธุรกิจย่อย
ธุรกิจย่อยthnaporn999
 
การค้าระหว่างประเทศ
การค้าระหว่างประเทศการค้าระหว่างประเทศ
การค้าระหว่างประเทศthnaporn999
 
ชุด เจ้าของเดียว
ชุด เจ้าของเดียวชุด เจ้าของเดียว
ชุด เจ้าของเดียวthnaporn999
 
สาระเศรษฐศาสตร์
สาระเศรษฐศาสตร์สาระเศรษฐศาสตร์
สาระเศรษฐศาสตร์thnaporn999
 
ชุดสัมปทาน
ชุดสัมปทานชุดสัมปทาน
ชุดสัมปทานthnaporn999
 
ชุดกองทุนหมู่บ้าน
ชุดกองทุนหมู่บ้านชุดกองทุนหมู่บ้าน
ชุดกองทุนหมู่บ้านthnaporn999
 
ชุด รัฐวิสาหกิจ
ชุด รัฐวิสาหกิจชุด รัฐวิสาหกิจ
ชุด รัฐวิสาหกิจthnaporn999
 
ชุด บรรษัทข้ามชาติ
ชุด บรรษัทข้ามชาติชุด บรรษัทข้ามชาติ
ชุด บรรษัทข้ามชาติthnaporn999
 
ความร้เกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์
ความร้เกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์ความร้เกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์
ความร้เกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์thnaporn999
 
กฏหมายและความสัมพันธ์คู่กรณี
กฏหมายและความสัมพันธ์คู่กรณีกฏหมายและความสัมพันธ์คู่กรณี
กฏหมายและความสัมพันธ์คู่กรณีthnaporn999
 
อุปสงค์ อุปทาน
อุปสงค์ อุปทานอุปสงค์ อุปทาน
อุปสงค์ อุปทานthnaporn999
 
สหประชาชาติ
สหประชาชาติสหประชาชาติ
สหประชาชาติthnaporn999
 
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลย
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลยใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลย
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลยthnaporn999
 
ใบกิจกรรมที่ 1.กฎหมายไทย doc
ใบกิจกรรมที่ 1.กฎหมายไทย docใบกิจกรรมที่ 1.กฎหมายไทย doc
ใบกิจกรรมที่ 1.กฎหมายไทย docthnaporn999
 
ใบกิจกรรมกลุ่ม ระดับ ม พร้อมเฉลย
ใบกิจกรรมกลุ่ม  ระดับ  ม พร้อมเฉลยใบกิจกรรมกลุ่ม  ระดับ  ม พร้อมเฉลย
ใบกิจกรรมกลุ่ม ระดับ ม พร้อมเฉลยthnaporn999
 
เอกสารประกอบการเรียน เศรษฐกิจ1ฯ
เอกสารประกอบการเรียน เศรษฐกิจ1ฯเอกสารประกอบการเรียน เศรษฐกิจ1ฯ
เอกสารประกอบการเรียน เศรษฐกิจ1ฯthnaporn999
 

More from thnaporn999 (20)

รัฐเดี่ยว รัฐรวม
รัฐเดี่ยว รัฐรวมรัฐเดี่ยว รัฐรวม
รัฐเดี่ยว รัฐรวม
 
บริษัท
บริษัทบริษัท
บริษัท
 
ชุด ห้างหุ้นส่วน
ชุด ห้างหุ้นส่วนชุด ห้างหุ้นส่วน
ชุด ห้างหุ้นส่วน
 
ชุด สหกรณ์
ชุด สหกรณ์ชุด สหกรณ์
ชุด สหกรณ์
 
ธุรกิจย่อย
ธุรกิจย่อยธุรกิจย่อย
ธุรกิจย่อย
 
การค้าระหว่างประเทศ
การค้าระหว่างประเทศการค้าระหว่างประเทศ
การค้าระหว่างประเทศ
 
ชุด เจ้าของเดียว
ชุด เจ้าของเดียวชุด เจ้าของเดียว
ชุด เจ้าของเดียว
 
สาระเศรษฐศาสตร์
สาระเศรษฐศาสตร์สาระเศรษฐศาสตร์
สาระเศรษฐศาสตร์
 
ชุดสัมปทาน
ชุดสัมปทานชุดสัมปทาน
ชุดสัมปทาน
 
ชุดกองทุนหมู่บ้าน
ชุดกองทุนหมู่บ้านชุดกองทุนหมู่บ้าน
ชุดกองทุนหมู่บ้าน
 
ชุด รัฐวิสาหกิจ
ชุด รัฐวิสาหกิจชุด รัฐวิสาหกิจ
ชุด รัฐวิสาหกิจ
 
ชุด บรรษัทข้ามชาติ
ชุด บรรษัทข้ามชาติชุด บรรษัทข้ามชาติ
ชุด บรรษัทข้ามชาติ
 
ความร้เกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์
ความร้เกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์ความร้เกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์
ความร้เกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์
 
กฏหมายและความสัมพันธ์คู่กรณี
กฏหมายและความสัมพันธ์คู่กรณีกฏหมายและความสัมพันธ์คู่กรณี
กฏหมายและความสัมพันธ์คู่กรณี
 
อุปสงค์ อุปทาน
อุปสงค์ อุปทานอุปสงค์ อุปทาน
อุปสงค์ อุปทาน
 
สหประชาชาติ
สหประชาชาติสหประชาชาติ
สหประชาชาติ
 
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลย
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลยใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลย
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลย
 
ใบกิจกรรมที่ 1.กฎหมายไทย doc
ใบกิจกรรมที่ 1.กฎหมายไทย docใบกิจกรรมที่ 1.กฎหมายไทย doc
ใบกิจกรรมที่ 1.กฎหมายไทย doc
 
ใบกิจกรรมกลุ่ม ระดับ ม พร้อมเฉลย
ใบกิจกรรมกลุ่ม  ระดับ  ม พร้อมเฉลยใบกิจกรรมกลุ่ม  ระดับ  ม พร้อมเฉลย
ใบกิจกรรมกลุ่ม ระดับ ม พร้อมเฉลย
 
เอกสารประกอบการเรียน เศรษฐกิจ1ฯ
เอกสารประกอบการเรียน เศรษฐกิจ1ฯเอกสารประกอบการเรียน เศรษฐกิจ1ฯ
เอกสารประกอบการเรียน เศรษฐกิจ1ฯ
 

ฮินดู

  • 1. ใบความรู้ ระดับ ม.6 เรื่อง ศาสนาฮินดู ศาสนาฮินดู ไศวนิกาย นับถือพระอิศวรหรือพระศิวะ ความเชื่อว่า ไม่มีเทพองค์ใดยิ่งใหญ่ เท่าพระศิวะ และเนื่องจากพระองค์เป็นเทพที่ดุร้าย จึงเป็นที่ยาเกรงของคนทั่วไป ไวษณพนิกาย นับถือพระวิษณุ เกิดขึ้นเพราะความตกต่าของศาสนาพราหมณ์ และความไม่มั่นคงทางสังคม ปฏิเสธพิธีกรรมบางอย่าง ซึ่งแต่ละอย่างนั้นล้วนลด บทบาทของพราหมณ์ลงทั้งสิ้น ศักตินิกาย คือนิกายที่บูชาเทพเจ้าผู้หญิง บูชาพลังแห่งความเป็นแม่หรือ อิตถีพละ เป็นการบูชาพระชายาของพระเป็นเจ้า วรรณะกษัตริย์ คือ กษัตริย์หรือนักรบ วรรณะพราหมณ์ คือ ผู้ทาพิธีกรรม วรรณะแพศย์ คือ ผู้ประกอบพาณิชกรรม เกษตรกรรม วรรณะศูทร คือ กรรมกร วรรณะจัณฑาล คือ บุคคลที่แต่งงานข้ามวรรณะบุตรที่เกิดมาจะอยู่ใน วรรณะจัณฑาล
  • 2. หลักธรรมสาคัญของศาสนาพราหมณ์ – ฮินดู มีอยู่ 3 ข้อ อาศรม หมายถึง ขั้นตอนการดาเนินชีวิตของชาวฮินดู ปรมาตมัน หมายถึง สิ่งที่ยิ่งใหญ่ อันเป็นที่รวมของทุกสิ่งทุกอย่างในสากล โลก ได้แก่ “พรหม” โมกษะ ถือว่าเป็นหลักความดีสูงสุด ดังคาสอนที่ว่า “ผู้ใดรู้แจ้งในอาตมันของ ตนว่าเป็นหลักอาตมันของโลกพรหมแล้ว ผู้นั้นย่อมพ้นจากลังสาระการเวียนว่าย ตาย เกิด และจะไม่ปฏิสนธิอีก” วันสาคัญ ทีปาวลี หรือทีวาลี ตรงกับวันแรม ๑๕ ค่าเดือน ๑๑ เป็นเทศกาลที่เฉลิมฉลองการกลับมาเมือง อโยธยาของพระราม หลังจากที่ปราบ ทศกัณฑ์แล้ว ในวันนี้ทุกบ้านเรือนจะจุด ประทีปสว่างไสว มีการจุดประทัดเล่นกันอย่างสนุกสนาน นวราตรี จัด ๒ ช่วง ใน ๑ ปี คือช่วงที่ ๑ มีในวันขึ้น ๑ ค่าเดือน ๕ ถึงขึ้น ๙ ค่า เดือน ๕ ช่วงที่ ๒ มีในวันขึ้น ๑ ค่าเดือน ๑๑ ถึงขึ้น ๙ ค่า เดือน ๑๑ชาวพราหมณ์-ฮินดูจะถือ ศีลกินเจชาวพราหมณ์-ฮินดู เชื่อว่า “นวราตรี” เป็นช่วงเวลาแห่งการเติมพลังทั้งกาย และใจเพื่อที่จะใช้ชีวิตอย่างมีคุณค่าต่อไป ศรีกฤษณะชนมาอัฏฐมี ตรงกับวันแรม ๘ ค่า เดือน ๙เป็นการฉลองวันประสูติของพระกฤษณะอย่าง มโหฬารในวันนี้ ชาวพราหมณ์-ฮินดู ที่เคร่งครัด จะอดอาหารตั้งแต่เช้า-เที่ยงคืน เพื่อเป็นการแสดงความรักความศรัทธา ในพระองค์
  • 3. ศิวะราตรี ตรงกับวันแรม ๑๔ ค่าเดือน ๓ ศิวะราตรี คือ ราตรีแห่งพระศิวะ หรือราตรี อันยิ่งใหญ่แห่งพระศิวะ เป็นสัญลักษณ์ของการอภิเษกสมรสของพระศิวะและนาง ปารวตี เชื่อกันว่าผู้ที่บูชาพระศิวะแล้วจะได้คชีวิตที่ดีและมีความสุขความเจริญใน ู่ ชีวิต คัมภีร์พระเวท หรือ วรรณคดีพระเวท มี 4 เวท คือ" 1. ฤคเวท จัดว่าเป็นคัมภีร์ทางศาสนาที่เก่าที่สุดในโลกรวบรวมเอาบทสวดแด่ เทพยดาต่างๆ เข้าไว้เมื่อประมาณศตวรรษที่ 8 ก่อนคริสตกาลจึงมีการจดบันทึก ฤคเวทลงเป็นลายลักษณ์อักษร คัมภีร์ฤคเวทนี้ถือว่าเป็นคัมภีร์ของพวกนักบวชอย่าง แท้จริงเพราะ นอกจากจะเป็นผู้แต่งขึ้นแล้วก็ยังเป็นผู้ใช้ในการประกอบพิธีกรรม สังเวยเทพยดาอีกด้วย 2.สามเวท แต่งขึ้นเพื่อรวบรวมบทสวดที่เลือกมาจากฤคเวท เพื่อประโยชน์ใน การสวดเท่านั้น จึงไม่ได้ให้ความรู้เกี่ยวกับพวกอารยันนอกเหนือไปจากที่ฤคเวทได้ ให้ไว้ 3. อาถรรพเวท รวบรวมขึ้นหลังฤคเวท บรรจุเรื่องราวของ การสาป-การเสก การท่องมนตร์ที่ เป็นคาประพันธ์ นอกจากนี้ยังมีเรื่องของความเชื่อผีสางเทวดาแบบ ง่ายๆ และ เรื่องไสยศาสตร์ ที่ไม่ลึกซึ้งเหมือนอย่างเรื่องราวที่ปรากฏในฤคเวท จึง เหมาะสาหรับคนที่มีระดับวัฒนธรรมต่ากว่าคนที่เชื่อในฤคเวท เข้าใจว่า อาถรรพเวท
  • 4. สะท้อนให้เห็นถึงความเชื่อของประชาชนส่วนใหญ่ จึงมีร่องรอยของวัฒนธรรมที่ ไม่ใช่อารยันผสมผสานอยู่อย่างมาก 4.ยัชุรเวท คัมภีร์นี้รวบรวมมนตร์ที่นักบวชประเภทหนึ่ง ต้องท่องในการ ประกอบพิธีกรรม ซึ่งประพันธ์ไว้เป็นทั้งร้อยกรองและร้อยแก้ว เพราะ มีอยู่ด้วยกัน หลายฉบับ "ฉบับดา" คือตัวมนตร์กับคาอธิบายอย่างสังเขปในการประกอบพิธี ส่วน "ฉบับขาว" เป็นการอธิบายอย่างละเอียดถึงเนื้อหาแห่งพิธีกรรม สัญลักษณ์ของศาสนาพราหมณ์-ฮินดู คือ อักษรเทวนาครี อ่านว่า “โอม” ซึ่งย่อมาจากอักษร อะ อุ และ ม หมายถึงเทพยิ่งใหญ่ทั้งสาม อักษร “อะ” แทนพระวิษณุ อักษร “อุ” แทนพระศิวะ อักษร “ม” แทนพระพรหม สัญลักษณ์ดังกล่าวนี้บางครั้งเรียกว่า “สวัสติหรือสวัสติกะ”