SlideShare a Scribd company logo
1 of 10
คูมือการเรียน
                       ่
          รายวิชา ภาษาไทย รหัสวิชา ท๓๑๑๐๑
          เวลาเรียน ๒ ชัวโมง / สัปดาห์
                        ่                                  ๔๐ ชัวโมง
                                                                ่
/ ภาคการศึกษา
          จำานวน ๑ หน่วยกิต                                  ครูผู้สอน
ครูศรีรัตน์ เอกปัชชา

คำาอธิบายรายวิชา
        (๑.๑) ฝึกทักษะการอ่านออกเสียงบทร้อยแก้วและร้อยกรอง ให้ถูกต้อง
ไพเราะ เหมาะสมกับเรื่องที่อ่าน (๑.๒) ตีความ แปลความและขยายความ
เรื่องที่อาน (๑.๓) วิเคราะห์และ วิจารณ์ เรื่องที่อ่านในทุกๆ ด้านอย่างมี
           ่
เหตุผล (๑.๖) ตอบคำาถามจากการอ่านงานเขียนประเภทต่างๆ ภายในเวลาที่
กำาหนด
        (๕.๑) วิเคราะห์ วิจารณ์ วรรณคดีและวรรณกรรม ตามหลักการวิจารณ์
เบื้องต้น (๕.๒) วิเคราะห์ลักษณะเด่นของวรรณคดีเชื่อมโยงกับการเรียนรูทาง  ้
ประวัติศาสตร์และวิถีชีวิตของสังคมในอดีต (๕.๓) วิเคราะห์และประเมิน
คุณค่าด้านวรรณศิลป์ของวรรณคดีและวรรณกรรมในฐานะที่เป็นมรดกทาง
วัฒนธรรมของชาติ (๕.๔) สังเคราะห์ข้อคิดจากวรรณคดีและวรรณกรรมเพื่อ
นำาไปประยุกต์ใช้ในชีวิตจริง จากวรรณคดีเรื่อง นมัสการมาตาปิตุคุณและ
นมัสการอาจาริยคุณ อิเหนา ตอนศึกกะหมังกุหนิง นิทานเวตาลเรื่องที่ ๑๐
(๕.๖) ท่องจำาและบอกคุณค่าบทอาขยานที่กำาหนดและนำาไปใช้อ้างอิง
        (๕.๕) รวบรวมวรรณกรรมพื้นบ้านในท้องถิ่นและอธิบายภูมิปัญญาทาง
ภาษาประเภทนิทานและตำานาน
        (๒.๑) เขียนสื่อสารในรูปแบบต่างๆ ได้ตรงตามวัตถุประสงค์ โดยใช้
ภาษาเรียบเรียงถูกต้อง มีข้อมูลและสาระสำาคัญชัดเจน (๒.๒) เขียนเรียง
ความเกี่ยวกับโลกส่วนตัว (๒.๓) เขียนย่อความจากสื่อที่มรูปแบบและเนื้อหา
                                                          ี
หลากหลาย (๒.๗) บันทึกการศึกษาค้นคว้าเพื่อนำาไปพัฒนาตนเองอย่าง
สมำ่าเสมอ
        (๓.๑) สรุปแนวคิดและแสดงความคิดเห็น จากเรื่องที่ฟังและดู (๓.๔) มี
วิจารณญาณในการเลือกเรื่องทีฟังและดู (๓.๕) พูดในโอกาสต่างๆ พูด
                                 ่
ระหว่างบุคคล ด้วยภาษาถูกต้องเหมาะสม (๔.๖) อธิบายและวิเคราะห์หลัก
การสร้างคำาในภาษาไทย (๔.๔) แต่งบทร้อยกรอง กาพย์ชนิดต่างๆ
        (๓.๙) มีมารยาทในการอ่าน (๓.๖) การดู การฟัง การพูด (๑.๙) การ
อ่าน และ (๒.๘) การเขียน
     ตัวชี้วัด
     ๑. อ่านอย่างมีวิจารณญาณและมีประสิทธิภาพ
2

  2. ตีความ แปลความ และขยายความเรื่องที่อ่านอย่างลึกซึ้ง วิเคราะห์
      วิจารณ์ประเมินค่าเรื่องที่อ่าน
  3. เลือกอ่านหนังสือ และสื่อสารสนเทศเพื่อประโยชน์ในการพัฒนา
      อารมณ์ คุณธรรม การเรียน เพื่อเป็นพื้นฐานในการประกอบอาชีพ
  4. ท่องจำาบทร้อยกรองทีไพเราะ และมีคุณค่า นำาไปใช้ในการกล่าวอ้า
                              ่
      งอิงทังการพูดและการเขียน
            ้
  5. เขียนเชิงวิชาการ เขียนอธิบาย ชี้แจง แสดงทัศนะ เขียนบันเทิงคดี
      และสารคดีเชิงสร้างสรรค์
  6. ตั้งประเด็นหัวข้อการเขียนได้ตามจุดประสงค์ เรียบเรียงรายงานโดยมี
      การอ้างอิงข้อมูลสารสนเทศอย่างถูกต้อง
  7. แต่งกาพย์ได้ไพเราะ โดยใช้ถ้อยคำาที่มีคุณค่าทางความคิดและ
      แสดงออกทางอารมณ์อย่างเหมาะสม
  8. นำาความรูทักษะการสื่อสารมาใช้ประโยชน์ในชีวิตประจำาวันได้เหมาะสม
               ้
  9. พูดในโอกาสต่างๆ ทังที่เป็นทางการและไม่เป็นทางการ
                            ้
  10.ใช้ภาษาในการพัฒนาการเรียน การทำางานและการประกอบอาชีพ
      สร้างสรรค์งานเชิงวิชาการและใช้อย่างสร้างสรรค์
  11.เข้าใจการเปลียนแปลงของภาษา รวมทั้งอิทธิพลของภาษาถินและ
                    ่                                         ่
      ภาษาต่างประเทศที่มีต่อภาษาไทย และการสร้างคำา การใช้คำาให้
      เหมาะสม
  ๑๒. เข้าใจปัจจัยแวดล้อมทีมีส่วนทำาให้เกิดวรรณคดีและวรรณกรรม
                                ่
  ประวัติวรรณคดีและวรรณคดีสมัยสุโขทัย และใช้หลักการวิจารณ์วรรณคดี
  เบื้องต้น พิจารณาเรื่องที่อ่านและนำาไปใช้ในชีวิตประจำาวัน
  ๑๓. ศึกษารวบรวมวรรณกรรมพื้นบ้าน ศึกษาความหมายของภาษาถิ่น
  สำานวนสุภาษิต ที่มในวรรณกรรมพื้นบ้าน และวิเคราะห์คุณค่าทางภาษา
                      ี
  และสังคม

  เกณฑ์การวัดและการประเมินผล
  ระหว่างภาค ๖๐ คะแนน กลางภาค ๒๐ คะแนน            ปลายภาค ๒๐
  คะแนน รวม ๑๐๐ คะแนน
คะแนนระหว่างภาคประกอบด้วยคะแนนย่อย ดังนี้
    ๑. หนังสือนอกเวลา            ๒   เรื่อง งานรายบุคคล ๑๐
คะแนน
    ๒. วารสาร                    ๑   เล่ม งานกลุ่ม ๑๐ คะแนน
    ๔. ทักษะด้านต่างๆ การพูด , อาขยาน,สอบย่อย ฯลฯ งานรายบุคคล
    ๒๕ คะแนน
    ๕. บันทึกประจำาวัน                      งานรายบุคคล ๕
คะแนน
3

    ๖.   คุณลักษณะอันพึงประสงค์รายวิชา             รายบุคคล ๑๐
คะแนน

เกณฑ์การตัดสินผลการเรียน
         ๐ -    ๔๙           ได้เกรด               ๐
        ๕๐ -    ๕๔           ได้เกรด               ๑
        ๕๕ -    ๕๙           ได้เกรด               ๑.๕
        ๖๐ -    ๖๔           ได้เกรด               ๒
        ๖๕ -    ๖๙           ได้เกรด               ๒.๕
        ๗๐ -    ๗๔           ได้เกรด               ๓
        ๗๕ -    ๗๙           ได้เกรด               ๓.๕
        ๘๐ -    ๑๐๐          ได้เกรด               ๔




รายชื่อหนังสืออ่านนอกเวลา ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย
กลุ่มที่ ๑
     ๑. กองทัพธรรม                       สุชีพ ปุญญานุภาพ
     ๒. วาสิฏฐี ภาคพื้นดิน               เสถียรโกเศศ และ นาคะ
ประทีป
     ๓. เกิดเป็นหมอ                      นายแพทย์วรวิทย์ วิสิษฐ์
กิจการ
     ๔. ข้างหลังภาพ                      ศรีบูรพา
     ๕. จดหมายจากเมืองไทย                      โบตั๋น
     ๖. ชีวิตบ้านป่า                     ประสิทธ์ มุสิกเกษม
     ๗. เชิงผาหิมพานต์                   สุชีพ ปุญญนุภาพ
     ๘. ใต้ร่มกาสาวพัสตร์                สุชีโวภิกขุ
     ๙. ทุงมหาราช
           ่                             เรียมเอง
     ๑๐. ปุลากง                          โสภาค สุวรรณ
     ๑๑. ผีเสื้อกับดอกไม้                นิพพาน
     ๑๒. ผู้ดี                           ดอกไม้สด
     ๑๓. ผู้ใหญ่ลีกับนางมา               กาญจนา นาคนันท์
     ๑๔. พระจันทร์เสี้ยว                 นายแพทย์วิทร แสงสิงแก้ว
                                                      ู
แปล
     ๑๕. ร่มธรรม                         วศิน อินทสระ
     ๑๖. ล่องไพร เล่ม ๑                  น้อย อินทนนท์
4

        ๑๗. ละครแห่งชีวิต                  หม่อมเจ้าอากาศดำาเกิง รพี
พัฒน์
     ๑๘. ลูกอีสาน                        คำาพูน บุญทวี
     ๑๙. แสงโสม                          ลมุล รัตตากร แปล
     ๒๐. อยู่กับก๋ง                      หยก บูรพา
     ๒๑. อุดมการณ์บนเส้นขนาน             อรุณมนัย
     ๒๒. บุษบกใบไม้                  กฤษณา อโศกสิน
     ๒๓. รัตนโกสินทร์เล่ม ๑-๒            ว. วินิจฉัยกุล
     ๒๔. เจ้าน้อยฟอนเติลรอย              แก้วคำาทิพย์ ไชย แปล
     ๒๕. นิทานการเงิน                    ยังชิน แก้วชัยเจริญกิจ
     ๒๖. มิตรภาพต่างสายพันธุ์            ม.ล. ปริญญากร วรวรรณ
     ๒๗. แว้งที่รัก                      ชบาบาน
     ๒๘. สองแขนที่กอดโลก                        วินทร์ เลียววาริณ
     ๒๙. เสาหินแห่งกาลเวลา                      ม.ร.ว.คึกฤทธิ์ ปราโมช
และคนอื่นๆ
     ๓๐. หน้าต่างบานแรก                  กฤษณา อโศกสิน
     ๓๑. หนังสือรางวัลซีไรต์ทุกปี
กลุ่มที่ ๒
     1. จดหมายเหตุการณ์เดินทางสู่ประเทศสยามสันต์ ท. โกมุท แปล
         ของบาทหลวงตาชาร์ด เล่ม ๓-๕
     ๒. ชีวประวัติของข้าพเจ้า (มหาตมะ คานธี) กรุณา กุศลาศัย แปล
     ๓. ชีวิตของฉัน ลูกกระทิง            นายแพทย์บุญส่ง เลขะกุล
     ๔. ชีวิตทีรุ่งเรืองขึ้นมาจากทาส
               ่                                หลวงสมานวนกิจ แปล
และเรียบเรียง
     ๕. ตามเสด็จปากีสถาน                        หม่อมเจ้าวิภาวดีรังสิต
     ๖. วิญญาณแห่งนักปกครอง              พระยาสุนทรพิพิธ
     ๗. อัตชีวประวัติของพระยาอนุมานราชธน              พระยา
อนุมานราชธน
     ๘. เวลาเป็นของมีค่า                 สมเด็จพระพี่นางเธอเจ้าฟ้า
กัลยาณิวัฒนา
     ๙. เกิดวังปารุสก์ เล่ม ๑                   พระเจ้าวรวงศ์เธอ
พระองค์เจ้าจุลจักรพงษ์
     ๑๐. ทัวร์อินเดียออกเนปาล            วัฒนะ จูฑะวิภาค
     ๑๑. ประวัติบุคคลสำาคัญ                     สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์
เธอ
                                     กรมพระยาดำารงราชานุภาพ
     ๑๒. มองพม่า แลลาว ชำาเลืองจีน                    ขจัดภัย บุรุษพัฒน์
5

      ๑๓. หกรอบแห่งชีวิต เล่ม ๑              คุณหญิงดิฐการภักดี
      ๑๔. พ่อ: พระยาอนุมานราชธน              สมศรี สุกุมลนันทน์
      ๑๕. ฉากญี่ปุ่น                   ม.ร.ว. คึกฤทธิ์ ปราโมช
      ๑๖. ชีวิตทนง                     ภาณุมาศ ภูมถาวร
                                                     ิ

กลุ่มที่ ๓
     ๑. นิราศเกาหลี                    พล.ร.ท. จวบ หงสกุล
     ๒. ประชุมโวหารของสุนทรภู่         สมาคมภาษาและหนังสือแห่ง
ประเทศไทย
                                  ในพระบรมราชูปถัมภ์ รวบรวม
      ๓. สาวิตรี                  พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่
หัว
      ๔. ลิลิตภควตี                    วันเพ็ญ เซ็นตระกูล
      ๕. ลิลิตอิหร่านราชธรรม                 มนตรี ตราโมท
      ๖. เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จ         ท่านผู้หญิงสมโรจน์ สวัส
ดิกุล ณ อยุธยา
         พระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช
      ๗. เพื่อนแก้ว คำากาพย์                  ศิวกานต์ ปทุมสูติ
      ๘. ก็พอใจอยากจะรักให้นักหนา              ศักดิ์สิริ มีสมสืบ
      ๙. คำาหยาด                       เนาวรัตน์ พงษ์ไพบูลย์
      ๑๐.นักฝันข้างถนน                 วารี วายุ
      ๑๑.ใบไม้ที่หายไป                 จิระนันท์ พิตรปรีชา
      ๑๒.ม้าก้านกล้วย                  ไพวรินทร์ ขาวงาม
      ๑๓. รังไว้รักอุ่น                ศุ บุญเลี้ยง
      ๑๔. ไม่รู้เลยว่ารัก              เนาวรัตน์ พงษ์ไพบูลย์
      ๑๕. เรไร ไลลา                    ศักดิ์สิริ มีสมสืบ

เลือกอ่านภาคการศึกษาละ ๒ เรื่อง โดยบังคับเลือกกลุ่มที่ ๑ ๑
เล่ม กลุ่มที่ ๒-๓ ๑ เล่ม
รวม ๒ เล่ม ทำาเป็นรายงานเป็นรูปเล่มให้สมบูรณ์ ตามรูปแบบการ
ทำารายงาน ดังนี้
     1. ปกหน้า
     2. ใบรองปกหน้า
     3. ปกใน
     4. คำานำา
     5. สารบัญ
     6. เนื้อเรื่อง
6

     7. บรรณานุกรม
     8. ใบรองปกหลัง
     9. ปกหลัง
     เนื้อเรื่อง มีส่วนประกอบดังนี้
           1. ประวัติผู้แต่ง
           2. เนื้อเรื่องย่อ
           3. วิเคราะห์ตัวละคร (บอกว่ามีใครบ้าง,มีนิสยเป็นอย่างไร) ถ้า
                                                        ั
               เรื่องนั้นมีตัวละคร
           4. ฉากของเรื่องเกิดที่ใด สภาพสังคมเป็นอย่างไร
           5. สำานวนภาษาทีใช้มีความดีเด่นอย่างไร
                                ่
           6. ลอกข้อความทีประทับใจ หรือตอนที่ประทับใจ ๑๐ ข้อความ
                                  ่
               หรือ ๑๐ ย่อหน้า
               บอกเหตุผลที่ชอบ ทีประทับใจ
                                    ่
           7. ระบุแนวคิดของเรื่องว่าเรื่องที่อ่านนันมีแนวคิดหลักและแนวคิด
                                                   ้
               ย่อยอะไรบ้าง
           8. ระบุข้อคิดที่เป็นประโยชน์

บันทึกประจำาวันมีกำาหนดส่ง วันศุกร์ที่ ๑๗ สิงหาคม ๒๕๕๕
หนังสือนอกเวลามีกำาหนดส่ง วันศุกร์ที่ ๒๔ สิงหาคม ๒๕๕๕
การทำารายงานหนังสือนอกเวลาให้ใช้เขียนด้วยลายมือตนเอง ห้าม
พิมพ์ ยกเว้นหน้าปก และ ปกในพิมพ์ได้
ข้อสำาคัญ กรุณาอ่านหนังสือนอกเวลาด้วยตัวเอง



การทำาวารสาร (กำาหนดส่ง วันศุกร์ที่ ๓๑ สิงหาคม ๒๕๕๕)
      ๑. คัดเลือกกลุ่ม กลุ่มละ ๕ คน
      ๒. วางแผนการจัดทำารูปเล่ม กำาหนดจำานวนหน้า
      3. วางโครงเรี่อง ลำาดับเรื่อง
      ๔. ลงมือเขียน (เรื่องที่เป็นประโยชน์ , ความรูที่ได้ในบทเรียน , ประวัติ
                                                   ้
นักเขียน,เกมฝึกสมอง,
          บทกลอนที่แต่งเอง ฯลฯ)
      ๕. พิมพ์
      ๖. ออกแบบปก
      เนื้อเรื่องใดที่คัดลอกของผู้อื่นมาต้องเขียนอ้างอิงให้ถูกต้อง

ข้อสำาคัญ การเขียนตัวเลขให้เขียนเลขไทย และงานทุกชิ้นถ้าเกิน
กำาหนดแล้วไม่รับตรวจ
7




   งานที่นักเรียนจะต้องทำาลงสมุด รายวิชาภาษาไทย
            (ท๓๑๑๐๑) ชันมัธยมศึกษาปีที่ ๔
                        ้
         งานที่สงไม่ตรงตามกำาหนดไม่รับตรวจ
                ่
                         ก่อนกลางภาค
     จากหนังสือหลักภาษาและการใช้ภาษาเพื่อการสื่อสาร (เล่มสีม่วง)
      งานชิ้นที่ ๑ ส่งวันที่ ๓๑ พฤษภาคม – ๑ มิถุนายน ๒๕๕๕
กิจกรรมเพื่อการเรียนรู้
หน้า ๕ ทำาทั้ง ๔ ข้อ            หน้า ๖ ทำาทั้ง ๒ ข้อ  หน้า ๑๖ ทำา
ข้อ ๕      หน้า ๒๒ ทำาข้อ ๑

             งานชิ้นที่ ๒ ส่งวันที่ ๗-๘ มิถุนายน ๒๕๕๕
กิจกรรมเพื่อการเรียนรู้
หน้า ๓๘ ข้อ ๘        หน้า ๔๗ – ๔๙ ทำาทุกข้อ     หน้า ๕๒ ข้อ ๒ ข้อ
๕       หน้า ๕๗ ทำาทัง ๒ ข้อ
                        ้
8


         งานชิ้นที่ ๓ ส่งวันที่ ๒๘ – ๒๙ มิถุนายน ๒๕๕๕
กิจกรรมเพื่อการเรียนรู้
หน้า ๖๐ ข้อ ๑ ข้อ ๒ (เลือกมาข้อละ ๕ คำา)    หน้า ๗๑ ข้อ ๑ ข้อ ๒
(เลือกมาข้อละ ๕ คำา)
หน้า ๗๓ ข้อ ๑ (เลือกมา ๕ ข้อ)      หน้า ๗๕ ข้อ ๑ (เลือกมา ๕ ตัว)
ข้อ ๒           หน้า ๗๙ ข้อ ๑ ข้อ ๒ ข้อ ๓

              งานชิ้นที่ ๔ ส่งวันที่ ๑๒ – ๑๓ กรกฎาคม ๒๕๕๕
กิจกรรมเพื่อการเรียนรู้
หน้า ๘๘ ข้อ ๑ – ๕
อ่านหน้า ๑๑๒ - ๑๑๘ สัก ๑ – ๒ จบ จากนั้นให้นักเรียนทำากิจกรรมต่อ
ไปนี้
   - สรุปเรื่อง พระบรมราโชวาท และ ผลพลอยได้จากการออกพรรษา
      มาพอสังเขป

  -   เขียนข้อคิดที่ได้จากการอ่านทัง ๒ เรื่องเป็นข้อๆ
                                   ้

  -   เขียนข้อบกพร่องของตนเองเป็นข้อๆ

  -   เขียนข้อที่นักเรียนควรปรับปรุงตนเองเป็นข้อๆ

หน้า ๑๑๙ ทำาข้อ ๑ ใน ๙ ข้อย่อย
      --------------------------สอบกลางภาค -------------------------




                            หลังกลางภาค
จากหนังสือวรรณคดีวิจักษ์ (เล่มสีฟา)   ้
               งานชิ้นที่ ๕ ส่งวันที่ ๙ – ๑๐ สิงหาคม ๒๕๕๕
อ่านบทนำาการอ่านวรรณคดี หน้า ๒ – ๘ แล้วตอบคำาถามต่อไปนี้
   1) นักเรียนมีจุดมุ่งหมายในการอ่านวรรณคดีในด้านใดบ้าง เพราะเหตุใด

      (อธิบายและยกเหตุผลประกอบเป็นข้อๆ จำานวนไม่ตำ่ากว่า ๗ ข้อ ความ
      ยาวทังหมดไม่ตำ่ากว่า ๑๕ บรรทัด)
             ้

  2) คำาประพันธ์แบ่งได้เป็น ๒ ประเภท คือ ร้อยแก้วและร้อยกรอง
     นักเรียนจงอธิบายคำาว่า “ร้อยแก้ว” และ “ร้อยกรอง” มาอย่าง
9

     ละเอียด และยกตัวอย่างชื่อเรื่องงานประพันธ์ทั้ง ๒ ประเภท ประเภท
     ละ ๕ เรื่อง

3) หม่อมหลวงบุญเหลือ เทพยสุวรรณ มีข้อแนะนำาในการอ่านวรรณคดี
   อย่างไร

4) นักเรียนจงอธิบายคำาว่า “การวิจักษ์วรรณคดี” และ “การวิจารณ์
   วรรณคดี” มาอย่างละเอียด

5)   นักเรียนมีวิธีการอ่านหนังสือให้ได้และอ่านให้เป็นอย่างไร (อธิบายและ
     ยกเหตุผลประกอบเป็นข้อๆ

     ความยาวทั้งหมดไม่ตำ่ากว่า ๑๐ บรรทัด)

         งานชิ้นที่ ๖ ส่งวันที่ ๑๖ – ๑๗ สิงหาคม ๒๕๕๕
1)   คัดบทนมัสการมาตาปิตุคุณและบทนมัสการอาจริยคุณ ตัวบรรจงเต็ม
     บรรทัด ๑ จบ พร้อมทั้งถอดความเป็นร้อยแก้วอย่างละเอียดและสละ
     สลวย ( หน้า ๑๔ – ๑๕)

2)   คัดคำาอธิบายศัพท์และข้อความหน้า ๑๖ ตัวบรรจงครึ่งบรรทัด

3)   ทำาแบบฝึกหัดข้อ ๒-๔ หน้า ๑๗ ช่วงวิเคราะห์เนือหา
                                                 ้     ข้อ ๑ หน้า ๑๗
     ช่วงพิจารณาภาษาการประพันธ์

4)   จับคู่ทำาแบบฝึกหัดหน้า ๑๘ ข้อ ๑ ลงกระดาษ A 4

          งานชิ้นที่ ๗ ส่งวันที่ ๓๐ – ๓๑ สิงหาคม ๒๕๕๕
1)   อ่านบทวิเคราะห์เรื่อง อิเหนา แล้วเขียนเรื่องย่อมาพอเข้าใจพร้อม
     เขียนผังมโนภาพ (mind mapping) แสดงเนื้อหาตามลำาดับขั้น
     ตกแต่งให้สวยงามตามศักยภาพของนักเรียน

2)   คัดบทละครเรื่อง อิเหนา ในหน้าที่ตรงกับตนเองที่จะต้องรายงานหน้า
     ชั้น ตัวบรรจงเต็มบรรทัด ๑ จบ พร้อมทังถอดความด้วยถ้อยคำา
                                             ้
     ของนักเรียนเอง     และอธิบายความหมายคำาศัพท์ยากในหน้านั้น ๆ
     ด้วย

      ( เลขที่ ๑ ตรงกับหน้า ๓๐ เลขที่ ๒ ตรงกับหน้า ๓๑ ..............)

3)   คัดบทอาขยานในหน้า ๕๓ บทชมดง ตัวบรรจงเต็มบรรทัด ๑ จบ
     พร้อมถอดความ
10

4)   คัดคำาอธิบายศัพท์และข้อความหน้า ๗๑ – ๗๓ ตัวบรรจงครึ่ง
     บรรทัด (ห้ามคัดข้ามคำา)

5) ทำาแบบฝึกหัดหน้า ๗๔ ช่วงวิเคราะห์เนื้อหาทั้ง ๔ ข้อ


         งานชิ้นที่ ๘ ส่งวันที่ ๖ – ๗ กันยายน ๒๕๕๕
1) วาดภาพเวตาลมา ๑ ภาพ พร้อมเขียนคำาพรรณนาลักษณะของเวตาล
   ใต้ภาพ (หน้า ๗๗)

2)   เขียนสรุปความเป็นมาของนิทานเวตาลมา ๑๕ – ๒๐ บรรทัด (หน้า
     ๗๗ – ๗๘)

3)   เขียนแสดงภูมิรู้เกี่ยวกับ “พระวิกรมาทิตย์” มาอย่างละเอียด ประมาณ
     ๑๐ บรรทัด

4)   เขียนแสดงภูมิรู้เกี่ยวกับ “เวตาล” มาอย่างละเอียด ประมาณ ๑๐
     บรรทัด

5)   อ่านนิทานเวตาลเรื่องที่ ๑๐ หน้า ๘๕ – ๘๘ สัก ๑- ๒ จบ แล้ว
     เขียนเนื้อเรื่องย่อให้ได้ใจความครบถ้วน ประมาณ ๒๐-๒๕ บรรทัด
     พร้อมทั้งเขียนผังมโนภาพ (Mind Mapping) แสดงลำาดับเรื่องให้
     เข้าใจ

6)   คัดคำาอธิบายศัพท์และข้อความ หน้า ๘๙ ตัวบรรจงครึ่งบรรทัด

7)   ทำาแบบฝึกหัดหน้า ๙๐ – ๙๑ ช่วงวิเคราะห์เนื้อหา และพิจารณา
     ภาษาการประพันธ์ ทุกข้อ


     ---------------สอบปลายภาควรรณคดีทั้ง ๓ เรื่อง -----------------

More Related Content

What's hot

แพท ๖
แพท ๖แพท ๖
แพท ๖snitcher
 
F181f8bc05d73b92ff42aede8584d1a8
F181f8bc05d73b92ff42aede8584d1a8F181f8bc05d73b92ff42aede8584d1a8
F181f8bc05d73b92ff42aede8584d1a8SomAo
 
ข้อสอบ O-NET ภาษาไทย
ข้อสอบ O-NET ภาษาไทยข้อสอบ O-NET ภาษาไทย
ข้อสอบ O-NET ภาษาไทยMmÕEa Meennie
 
การเรียงหนังสือบนชั้นเนื้อหา
การเรียงหนังสือบนชั้นเนื้อหาการเรียงหนังสือบนชั้นเนื้อหา
การเรียงหนังสือบนชั้นเนื้อหาkrujee
 
สังคมศึกษาฯ วิทยาศาสตร์
สังคมศึกษาฯ  วิทยาศาสตร์สังคมศึกษาฯ  วิทยาศาสตร์
สังคมศึกษาฯ วิทยาศาสตร์Nirut Uthatip
 
วรรณคดีสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
วรรณคดีสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้นวรรณคดีสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
วรรณคดีสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้นParn Parai
 
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรีถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรีWarodom Techasrisutee
 
O net ป6 52 สอบ53
O net ป6 52 สอบ53O net ป6 52 สอบ53
O net ป6 52 สอบ53Kruwanlapa
 
กัณฑ์มัทรี
กัณฑ์มัทรีกัณฑ์มัทรี
กัณฑ์มัทรีMilky' __
 
หนังสืออ้างอิง...
หนังสืออ้างอิง...หนังสืออ้างอิง...
หนังสืออ้างอิง...krujee
 
ประวัติวรรณคดี สมัยรัตนโกสินทร์
ประวัติวรรณคดี สมัยรัตนโกสินทร์ ประวัติวรรณคดี สมัยรัตนโกสินทร์
ประวัติวรรณคดี สมัยรัตนโกสินทร์ vanichar
 
การงานอาชีพฯ ศิลปะ
การงานอาชีพฯ  ศิลปะการงานอาชีพฯ  ศิลปะ
การงานอาชีพฯ ศิลปะNirut Uthatip
 
จัดหมู่หนังสือเนื้อหา
จัดหมู่หนังสือเนื้อหาจัดหมู่หนังสือเนื้อหา
จัดหมู่หนังสือเนื้อหาkrujee
 
นิราศพระบาท1 52
นิราศพระบาท1 52นิราศพระบาท1 52
นิราศพระบาท1 52panneem
 

What's hot (17)

แพท ๖
แพท ๖แพท ๖
แพท ๖
 
F181f8bc05d73b92ff42aede8584d1a8
F181f8bc05d73b92ff42aede8584d1a8F181f8bc05d73b92ff42aede8584d1a8
F181f8bc05d73b92ff42aede8584d1a8
 
ข้อสอบ O-NET ภาษาไทย
ข้อสอบ O-NET ภาษาไทยข้อสอบ O-NET ภาษาไทย
ข้อสอบ O-NET ภาษาไทย
 
การเรียงหนังสือบนชั้นเนื้อหา
การเรียงหนังสือบนชั้นเนื้อหาการเรียงหนังสือบนชั้นเนื้อหา
การเรียงหนังสือบนชั้นเนื้อหา
 
สังคมศึกษาฯ วิทยาศาสตร์
สังคมศึกษาฯ  วิทยาศาสตร์สังคมศึกษาฯ  วิทยาศาสตร์
สังคมศึกษาฯ วิทยาศาสตร์
 
วรรณคดีสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
วรรณคดีสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้นวรรณคดีสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
วรรณคดีสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
 
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรีถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
 
O net ป6 52 สอบ53
O net ป6 52 สอบ53O net ป6 52 สอบ53
O net ป6 52 สอบ53
 
การอ่านวรรณคดี ม.๕[1]
การอ่านวรรณคดี ม.๕[1]การอ่านวรรณคดี ม.๕[1]
การอ่านวรรณคดี ม.๕[1]
 
กัณฑ์มัทรี
กัณฑ์มัทรีกัณฑ์มัทรี
กัณฑ์มัทรี
 
Thai a net
Thai a netThai a net
Thai a net
 
หนังสืออ้างอิง...
หนังสืออ้างอิง...หนังสืออ้างอิง...
หนังสืออ้างอิง...
 
ประวัติวรรณคดี สมัยรัตนโกสินทร์
ประวัติวรรณคดี สมัยรัตนโกสินทร์ ประวัติวรรณคดี สมัยรัตนโกสินทร์
ประวัติวรรณคดี สมัยรัตนโกสินทร์
 
book531
book531book531
book531
 
การงานอาชีพฯ ศิลปะ
การงานอาชีพฯ  ศิลปะการงานอาชีพฯ  ศิลปะ
การงานอาชีพฯ ศิลปะ
 
จัดหมู่หนังสือเนื้อหา
จัดหมู่หนังสือเนื้อหาจัดหมู่หนังสือเนื้อหา
จัดหมู่หนังสือเนื้อหา
 
นิราศพระบาท1 52
นิราศพระบาท1 52นิราศพระบาท1 52
นิราศพระบาท1 52
 

Viewers also liked

9789740331797
97897403317979789740331797
9789740331797CUPress
 
งานวิจัยเรื่อง อนาคตของเมืองเชียงใหม่ขับเคลือนโดยภาคประชาสังคม
งานวิจัยเรื่อง อนาคตของเมืองเชียงใหม่ขับเคลือนโดยภาคประชาสังคมงานวิจัยเรื่อง อนาคตของเมืองเชียงใหม่ขับเคลือนโดยภาคประชาสังคม
งานวิจัยเรื่อง อนาคตของเมืองเชียงใหม่ขับเคลือนโดยภาคประชาสังคมFURD_RSU
 
ใบงานที่ 1เรื่องการเขียนเรียงความ
ใบงานที่ 1เรื่องการเขียนเรียงความใบงานที่ 1เรื่องการเขียนเรียงความ
ใบงานที่ 1เรื่องการเขียนเรียงความmarisa724
 
วรรณกรรม 50 เรื่องที่ต้องอ่านก่อนโต
วรรณกรรม 50 เรื่องที่ต้องอ่านก่อนโตวรรณกรรม 50 เรื่องที่ต้องอ่านก่อนโต
วรรณกรรม 50 เรื่องที่ต้องอ่านก่อนโตNoiRr DaRk
 
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความแบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความsripayom
 

Viewers also liked (6)

9789740331797
97897403317979789740331797
9789740331797
 
123
123123
123
 
งานวิจัยเรื่อง อนาคตของเมืองเชียงใหม่ขับเคลือนโดยภาคประชาสังคม
งานวิจัยเรื่อง อนาคตของเมืองเชียงใหม่ขับเคลือนโดยภาคประชาสังคมงานวิจัยเรื่อง อนาคตของเมืองเชียงใหม่ขับเคลือนโดยภาคประชาสังคม
งานวิจัยเรื่อง อนาคตของเมืองเชียงใหม่ขับเคลือนโดยภาคประชาสังคม
 
ใบงานที่ 1เรื่องการเขียนเรียงความ
ใบงานที่ 1เรื่องการเขียนเรียงความใบงานที่ 1เรื่องการเขียนเรียงความ
ใบงานที่ 1เรื่องการเขียนเรียงความ
 
วรรณกรรม 50 เรื่องที่ต้องอ่านก่อนโต
วรรณกรรม 50 เรื่องที่ต้องอ่านก่อนโตวรรณกรรม 50 เรื่องที่ต้องอ่านก่อนโต
วรรณกรรม 50 เรื่องที่ต้องอ่านก่อนโต
 
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความแบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
 

Similar to คู่มือการเรียน ชั้น ม.๔

นิราศพระบาท1 52
นิราศพระบาท1 52นิราศพระบาท1 52
นิราศพระบาท1 52panneem
 
Study of flower components (orange jasmine, lotus, carnation) 931 group 6
Study of flower components (orange jasmine, lotus, carnation) 931 group 6Study of flower components (orange jasmine, lotus, carnation) 931 group 6
Study of flower components (orange jasmine, lotus, carnation) 931 group 6NutchaWarapho
 
ไม่มาเกิดมาตายเรียกว่า "ชาติสุดท้าย" โดย หลวงตามหาบัว
ไม่มาเกิดมาตายเรียกว่า "ชาติสุดท้าย" โดย หลวงตามหาบัวไม่มาเกิดมาตายเรียกว่า "ชาติสุดท้าย" โดย หลวงตามหาบัว
ไม่มาเกิดมาตายเรียกว่า "ชาติสุดท้าย" โดย หลวงตามหาบัวKaiwan Hongladaromp
 
หนังสือแจกงานพระราชทานเพลิงศพหลวงตามหาบัว
หนังสือแจกงานพระราชทานเพลิงศพหลวงตามหาบัวหนังสือแจกงานพระราชทานเพลิงศพหลวงตามหาบัว
หนังสือแจกงานพระราชทานเพลิงศพหลวงตามหาบัวPoramate Minsiri
 
หนังสือพิมพ์แจกในงานหลวงตามหาบัว
หนังสือพิมพ์แจกในงานหลวงตามหาบัวหนังสือพิมพ์แจกในงานหลวงตามหาบัว
หนังสือพิมพ์แจกในงานหลวงตามหาบัวTum Nuttaporn Voonklinhom
 
หนังสือ สำหรับงานพระราชทานเพลิงสังขาร หลวงตามหาบัว
หนังสือ สำหรับงานพระราชทานเพลิงสังขาร    หลวงตามหาบัวหนังสือ สำหรับงานพระราชทานเพลิงสังขาร    หลวงตามหาบัว
หนังสือ สำหรับงานพระราชทานเพลิงสังขาร หลวงตามหาบัวdentyomaraj
 
แบบฝึกการอ่านชุดที่ 1
แบบฝึกการอ่านชุดที่ 1แบบฝึกการอ่านชุดที่ 1
แบบฝึกการอ่านชุดที่ 1พัน พัน
 
สื่อฯช่วยสอน เรื่องรามเกียรติ์ตอนนารายณ์ปราบนนทก(ปรับ) [โหมดความเข้ากันได้]
สื่อฯช่วยสอน เรื่องรามเกียรติ์ตอนนารายณ์ปราบนนทก(ปรับ) [โหมดความเข้ากันได้]สื่อฯช่วยสอน เรื่องรามเกียรติ์ตอนนารายณ์ปราบนนทก(ปรับ) [โหมดความเข้ากันได้]
สื่อฯช่วยสอน เรื่องรามเกียรติ์ตอนนารายณ์ปราบนนทก(ปรับ) [โหมดความเข้ากันได้]Nongkran Jarurnphong
 
หนังสืองานพระราชทานเพลิงศพ สรีระสังขาร หลวงตามหาบัว
หนังสืองานพระราชทานเพลิงศพ สรีระสังขาร หลวงตามหาบัวหนังสืองานพระราชทานเพลิงศพ สรีระสังขาร หลวงตามหาบัว
หนังสืองานพระราชทานเพลิงศพ สรีระสังขาร หลวงตามหาบัวRachabodin Suwannakanthi
 
การอ้างอิงและสืบค้น 2558. pdf
การอ้างอิงและสืบค้น 2558. pdfการอ้างอิงและสืบค้น 2558. pdf
การอ้างอิงและสืบค้น 2558. pdfKrapom Jiraporn
 
ภาษาไทย คณิตศาสตร์ ป.6
ภาษาไทย คณิตศาสตร์ ป.6ภาษาไทย คณิตศาสตร์ ป.6
ภาษาไทย คณิตศาสตร์ ป.6Nirut Uthatip
 
การวิเคราะห์และประเมินคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรม
การวิเคราะห์และประเมินคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรมการวิเคราะห์และประเมินคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรม
การวิเคราะห์และประเมินคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรมWatcharapol Wiboolyasarin
 

Similar to คู่มือการเรียน ชั้น ม.๔ (20)

นิราศพระบาท1 52
นิราศพระบาท1 52นิราศพระบาท1 52
นิราศพระบาท1 52
 
ใบความรู้ไตรภูมิพระร่วง
ใบความรู้ไตรภูมิพระร่วงใบความรู้ไตรภูมิพระร่วง
ใบความรู้ไตรภูมิพระร่วง
 
Study of flower components (orange jasmine, lotus, carnation) 931 group 6
Study of flower components (orange jasmine, lotus, carnation) 931 group 6Study of flower components (orange jasmine, lotus, carnation) 931 group 6
Study of flower components (orange jasmine, lotus, carnation) 931 group 6
 
ไม่มาเกิดมาตายเรียกว่า "ชาติสุดท้าย" โดย หลวงตามหาบัว
ไม่มาเกิดมาตายเรียกว่า "ชาติสุดท้าย" โดย หลวงตามหาบัวไม่มาเกิดมาตายเรียกว่า "ชาติสุดท้าย" โดย หลวงตามหาบัว
ไม่มาเกิดมาตายเรียกว่า "ชาติสุดท้าย" โดย หลวงตามหาบัว
 
หนังสือแจกงานพระราชทานเพลิงศพหลวงตามหาบัว
หนังสือแจกงานพระราชทานเพลิงศพหลวงตามหาบัวหนังสือแจกงานพระราชทานเพลิงศพหลวงตามหาบัว
หนังสือแจกงานพระราชทานเพลิงศพหลวงตามหาบัว
 
หนังสือพิมพ์แจกในงานหลวงตามหาบัว
หนังสือพิมพ์แจกในงานหลวงตามหาบัวหนังสือพิมพ์แจกในงานหลวงตามหาบัว
หนังสือพิมพ์แจกในงานหลวงตามหาบัว
 
หนังสือ สำหรับงานพระราชทานเพลิงสังขาร หลวงตามหาบัว
หนังสือ สำหรับงานพระราชทานเพลิงสังขาร    หลวงตามหาบัวหนังสือ สำหรับงานพระราชทานเพลิงสังขาร    หลวงตามหาบัว
หนังสือ สำหรับงานพระราชทานเพลิงสังขาร หลวงตามหาบัว
 
ชาติสุดท้าย
ชาติสุดท้ายชาติสุดท้าย
ชาติสุดท้าย
 
แบบฝึกการอ่านชุดที่ 1
แบบฝึกการอ่านชุดที่ 1แบบฝึกการอ่านชุดที่ 1
แบบฝึกการอ่านชุดที่ 1
 
สื่อฯช่วยสอน เรื่องรามเกียรติ์ตอนนารายณ์ปราบนนทก(ปรับ) [โหมดความเข้ากันได้]
สื่อฯช่วยสอน เรื่องรามเกียรติ์ตอนนารายณ์ปราบนนทก(ปรับ) [โหมดความเข้ากันได้]สื่อฯช่วยสอน เรื่องรามเกียรติ์ตอนนารายณ์ปราบนนทก(ปรับ) [โหมดความเข้ากันได้]
สื่อฯช่วยสอน เรื่องรามเกียรติ์ตอนนารายณ์ปราบนนทก(ปรับ) [โหมดความเข้ากันได้]
 
หนังสืองานพระราชทานเพลิงศพ สรีระสังขาร หลวงตามหาบัว
หนังสืองานพระราชทานเพลิงศพ สรีระสังขาร หลวงตามหาบัวหนังสืองานพระราชทานเพลิงศพ สรีระสังขาร หลวงตามหาบัว
หนังสืองานพระราชทานเพลิงศพ สรีระสังขาร หลวงตามหาบัว
 
ธรรมบท ภาคที่ 4 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdf
ธรรมบท ภาคที่ 4 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdfธรรมบท ภาคที่ 4 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdf
ธรรมบท ภาคที่ 4 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdf
 
เอกสารประกอบการเรียนเล่ม3
เอกสารประกอบการเรียนเล่ม3เอกสารประกอบการเรียนเล่ม3
เอกสารประกอบการเรียนเล่ม3
 
การอ้างอิงและสืบค้น 2558. pdf
การอ้างอิงและสืบค้น 2558. pdfการอ้างอิงและสืบค้น 2558. pdf
การอ้างอิงและสืบค้น 2558. pdf
 
ลิลิตตะเลงพ่าย (สอน Ppt)[1]
ลิลิตตะเลงพ่าย (สอน Ppt)[1]ลิลิตตะเลงพ่าย (สอน Ppt)[1]
ลิลิตตะเลงพ่าย (สอน Ppt)[1]
 
ภาษาไทย คณิตศาสตร์ ป.6
ภาษาไทย คณิตศาสตร์ ป.6ภาษาไทย คณิตศาสตร์ ป.6
ภาษาไทย คณิตศาสตร์ ป.6
 
การวิเคราะห์และประเมินคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรม
การวิเคราะห์และประเมินคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรมการวิเคราะห์และประเมินคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรม
การวิเคราะห์และประเมินคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรม
 
Buddha
BuddhaBuddha
Buddha
 
Aksorn 1
Aksorn 1Aksorn 1
Aksorn 1
 
ธรรมบท ภาคที่ 6 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdf
ธรรมบท ภาคที่ 6 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdfธรรมบท ภาคที่ 6 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdf
ธรรมบท ภาคที่ 6 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdf
 

คู่มือการเรียน ชั้น ม.๔

  • 1. คูมือการเรียน ่ รายวิชา ภาษาไทย รหัสวิชา ท๓๑๑๐๑ เวลาเรียน ๒ ชัวโมง / สัปดาห์ ่ ๔๐ ชัวโมง ่ / ภาคการศึกษา จำานวน ๑ หน่วยกิต ครูผู้สอน ครูศรีรัตน์ เอกปัชชา คำาอธิบายรายวิชา (๑.๑) ฝึกทักษะการอ่านออกเสียงบทร้อยแก้วและร้อยกรอง ให้ถูกต้อง ไพเราะ เหมาะสมกับเรื่องที่อ่าน (๑.๒) ตีความ แปลความและขยายความ เรื่องที่อาน (๑.๓) วิเคราะห์และ วิจารณ์ เรื่องที่อ่านในทุกๆ ด้านอย่างมี ่ เหตุผล (๑.๖) ตอบคำาถามจากการอ่านงานเขียนประเภทต่างๆ ภายในเวลาที่ กำาหนด (๕.๑) วิเคราะห์ วิจารณ์ วรรณคดีและวรรณกรรม ตามหลักการวิจารณ์ เบื้องต้น (๕.๒) วิเคราะห์ลักษณะเด่นของวรรณคดีเชื่อมโยงกับการเรียนรูทาง ้ ประวัติศาสตร์และวิถีชีวิตของสังคมในอดีต (๕.๓) วิเคราะห์และประเมิน คุณค่าด้านวรรณศิลป์ของวรรณคดีและวรรณกรรมในฐานะที่เป็นมรดกทาง วัฒนธรรมของชาติ (๕.๔) สังเคราะห์ข้อคิดจากวรรณคดีและวรรณกรรมเพื่อ นำาไปประยุกต์ใช้ในชีวิตจริง จากวรรณคดีเรื่อง นมัสการมาตาปิตุคุณและ นมัสการอาจาริยคุณ อิเหนา ตอนศึกกะหมังกุหนิง นิทานเวตาลเรื่องที่ ๑๐ (๕.๖) ท่องจำาและบอกคุณค่าบทอาขยานที่กำาหนดและนำาไปใช้อ้างอิง (๕.๕) รวบรวมวรรณกรรมพื้นบ้านในท้องถิ่นและอธิบายภูมิปัญญาทาง ภาษาประเภทนิทานและตำานาน (๒.๑) เขียนสื่อสารในรูปแบบต่างๆ ได้ตรงตามวัตถุประสงค์ โดยใช้ ภาษาเรียบเรียงถูกต้อง มีข้อมูลและสาระสำาคัญชัดเจน (๒.๒) เขียนเรียง ความเกี่ยวกับโลกส่วนตัว (๒.๓) เขียนย่อความจากสื่อที่มรูปแบบและเนื้อหา ี หลากหลาย (๒.๗) บันทึกการศึกษาค้นคว้าเพื่อนำาไปพัฒนาตนเองอย่าง สมำ่าเสมอ (๓.๑) สรุปแนวคิดและแสดงความคิดเห็น จากเรื่องที่ฟังและดู (๓.๔) มี วิจารณญาณในการเลือกเรื่องทีฟังและดู (๓.๕) พูดในโอกาสต่างๆ พูด ่ ระหว่างบุคคล ด้วยภาษาถูกต้องเหมาะสม (๔.๖) อธิบายและวิเคราะห์หลัก การสร้างคำาในภาษาไทย (๔.๔) แต่งบทร้อยกรอง กาพย์ชนิดต่างๆ (๓.๙) มีมารยาทในการอ่าน (๓.๖) การดู การฟัง การพูด (๑.๙) การ อ่าน และ (๒.๘) การเขียน ตัวชี้วัด ๑. อ่านอย่างมีวิจารณญาณและมีประสิทธิภาพ
  • 2. 2 2. ตีความ แปลความ และขยายความเรื่องที่อ่านอย่างลึกซึ้ง วิเคราะห์ วิจารณ์ประเมินค่าเรื่องที่อ่าน 3. เลือกอ่านหนังสือ และสื่อสารสนเทศเพื่อประโยชน์ในการพัฒนา อารมณ์ คุณธรรม การเรียน เพื่อเป็นพื้นฐานในการประกอบอาชีพ 4. ท่องจำาบทร้อยกรองทีไพเราะ และมีคุณค่า นำาไปใช้ในการกล่าวอ้า ่ งอิงทังการพูดและการเขียน ้ 5. เขียนเชิงวิชาการ เขียนอธิบาย ชี้แจง แสดงทัศนะ เขียนบันเทิงคดี และสารคดีเชิงสร้างสรรค์ 6. ตั้งประเด็นหัวข้อการเขียนได้ตามจุดประสงค์ เรียบเรียงรายงานโดยมี การอ้างอิงข้อมูลสารสนเทศอย่างถูกต้อง 7. แต่งกาพย์ได้ไพเราะ โดยใช้ถ้อยคำาที่มีคุณค่าทางความคิดและ แสดงออกทางอารมณ์อย่างเหมาะสม 8. นำาความรูทักษะการสื่อสารมาใช้ประโยชน์ในชีวิตประจำาวันได้เหมาะสม ้ 9. พูดในโอกาสต่างๆ ทังที่เป็นทางการและไม่เป็นทางการ ้ 10.ใช้ภาษาในการพัฒนาการเรียน การทำางานและการประกอบอาชีพ สร้างสรรค์งานเชิงวิชาการและใช้อย่างสร้างสรรค์ 11.เข้าใจการเปลียนแปลงของภาษา รวมทั้งอิทธิพลของภาษาถินและ ่ ่ ภาษาต่างประเทศที่มีต่อภาษาไทย และการสร้างคำา การใช้คำาให้ เหมาะสม ๑๒. เข้าใจปัจจัยแวดล้อมทีมีส่วนทำาให้เกิดวรรณคดีและวรรณกรรม ่ ประวัติวรรณคดีและวรรณคดีสมัยสุโขทัย และใช้หลักการวิจารณ์วรรณคดี เบื้องต้น พิจารณาเรื่องที่อ่านและนำาไปใช้ในชีวิตประจำาวัน ๑๓. ศึกษารวบรวมวรรณกรรมพื้นบ้าน ศึกษาความหมายของภาษาถิ่น สำานวนสุภาษิต ที่มในวรรณกรรมพื้นบ้าน และวิเคราะห์คุณค่าทางภาษา ี และสังคม เกณฑ์การวัดและการประเมินผล ระหว่างภาค ๖๐ คะแนน กลางภาค ๒๐ คะแนน ปลายภาค ๒๐ คะแนน รวม ๑๐๐ คะแนน คะแนนระหว่างภาคประกอบด้วยคะแนนย่อย ดังนี้ ๑. หนังสือนอกเวลา ๒ เรื่อง งานรายบุคคล ๑๐ คะแนน ๒. วารสาร ๑ เล่ม งานกลุ่ม ๑๐ คะแนน ๔. ทักษะด้านต่างๆ การพูด , อาขยาน,สอบย่อย ฯลฯ งานรายบุคคล ๒๕ คะแนน ๕. บันทึกประจำาวัน งานรายบุคคล ๕ คะแนน
  • 3. 3 ๖. คุณลักษณะอันพึงประสงค์รายวิชา รายบุคคล ๑๐ คะแนน เกณฑ์การตัดสินผลการเรียน ๐ - ๔๙ ได้เกรด ๐ ๕๐ - ๕๔ ได้เกรด ๑ ๕๕ - ๕๙ ได้เกรด ๑.๕ ๖๐ - ๖๔ ได้เกรด ๒ ๖๕ - ๖๙ ได้เกรด ๒.๕ ๗๐ - ๗๔ ได้เกรด ๓ ๗๕ - ๗๙ ได้เกรด ๓.๕ ๘๐ - ๑๐๐ ได้เกรด ๔ รายชื่อหนังสืออ่านนอกเวลา ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย กลุ่มที่ ๑ ๑. กองทัพธรรม สุชีพ ปุญญานุภาพ ๒. วาสิฏฐี ภาคพื้นดิน เสถียรโกเศศ และ นาคะ ประทีป ๓. เกิดเป็นหมอ นายแพทย์วรวิทย์ วิสิษฐ์ กิจการ ๔. ข้างหลังภาพ ศรีบูรพา ๕. จดหมายจากเมืองไทย โบตั๋น ๖. ชีวิตบ้านป่า ประสิทธ์ มุสิกเกษม ๗. เชิงผาหิมพานต์ สุชีพ ปุญญนุภาพ ๘. ใต้ร่มกาสาวพัสตร์ สุชีโวภิกขุ ๙. ทุงมหาราช ่ เรียมเอง ๑๐. ปุลากง โสภาค สุวรรณ ๑๑. ผีเสื้อกับดอกไม้ นิพพาน ๑๒. ผู้ดี ดอกไม้สด ๑๓. ผู้ใหญ่ลีกับนางมา กาญจนา นาคนันท์ ๑๔. พระจันทร์เสี้ยว นายแพทย์วิทร แสงสิงแก้ว ู แปล ๑๕. ร่มธรรม วศิน อินทสระ ๑๖. ล่องไพร เล่ม ๑ น้อย อินทนนท์
  • 4. 4 ๑๗. ละครแห่งชีวิต หม่อมเจ้าอากาศดำาเกิง รพี พัฒน์ ๑๘. ลูกอีสาน คำาพูน บุญทวี ๑๙. แสงโสม ลมุล รัตตากร แปล ๒๐. อยู่กับก๋ง หยก บูรพา ๒๑. อุดมการณ์บนเส้นขนาน อรุณมนัย ๒๒. บุษบกใบไม้ กฤษณา อโศกสิน ๒๓. รัตนโกสินทร์เล่ม ๑-๒ ว. วินิจฉัยกุล ๒๔. เจ้าน้อยฟอนเติลรอย แก้วคำาทิพย์ ไชย แปล ๒๕. นิทานการเงิน ยังชิน แก้วชัยเจริญกิจ ๒๖. มิตรภาพต่างสายพันธุ์ ม.ล. ปริญญากร วรวรรณ ๒๗. แว้งที่รัก ชบาบาน ๒๘. สองแขนที่กอดโลก วินทร์ เลียววาริณ ๒๙. เสาหินแห่งกาลเวลา ม.ร.ว.คึกฤทธิ์ ปราโมช และคนอื่นๆ ๓๐. หน้าต่างบานแรก กฤษณา อโศกสิน ๓๑. หนังสือรางวัลซีไรต์ทุกปี กลุ่มที่ ๒ 1. จดหมายเหตุการณ์เดินทางสู่ประเทศสยามสันต์ ท. โกมุท แปล ของบาทหลวงตาชาร์ด เล่ม ๓-๕ ๒. ชีวประวัติของข้าพเจ้า (มหาตมะ คานธี) กรุณา กุศลาศัย แปล ๓. ชีวิตของฉัน ลูกกระทิง นายแพทย์บุญส่ง เลขะกุล ๔. ชีวิตทีรุ่งเรืองขึ้นมาจากทาส ่ หลวงสมานวนกิจ แปล และเรียบเรียง ๕. ตามเสด็จปากีสถาน หม่อมเจ้าวิภาวดีรังสิต ๖. วิญญาณแห่งนักปกครอง พระยาสุนทรพิพิธ ๗. อัตชีวประวัติของพระยาอนุมานราชธน พระยา อนุมานราชธน ๘. เวลาเป็นของมีค่า สมเด็จพระพี่นางเธอเจ้าฟ้า กัลยาณิวัฒนา ๙. เกิดวังปารุสก์ เล่ม ๑ พระเจ้าวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าจุลจักรพงษ์ ๑๐. ทัวร์อินเดียออกเนปาล วัฒนะ จูฑะวิภาค ๑๑. ประวัติบุคคลสำาคัญ สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์ เธอ กรมพระยาดำารงราชานุภาพ ๑๒. มองพม่า แลลาว ชำาเลืองจีน ขจัดภัย บุรุษพัฒน์
  • 5. 5 ๑๓. หกรอบแห่งชีวิต เล่ม ๑ คุณหญิงดิฐการภักดี ๑๔. พ่อ: พระยาอนุมานราชธน สมศรี สุกุมลนันทน์ ๑๕. ฉากญี่ปุ่น ม.ร.ว. คึกฤทธิ์ ปราโมช ๑๖. ชีวิตทนง ภาณุมาศ ภูมถาวร ิ กลุ่มที่ ๓ ๑. นิราศเกาหลี พล.ร.ท. จวบ หงสกุล ๒. ประชุมโวหารของสุนทรภู่ สมาคมภาษาและหนังสือแห่ง ประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ รวบรวม ๓. สาวิตรี พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่ หัว ๔. ลิลิตภควตี วันเพ็ญ เซ็นตระกูล ๕. ลิลิตอิหร่านราชธรรม มนตรี ตราโมท ๖. เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จ ท่านผู้หญิงสมโรจน์ สวัส ดิกุล ณ อยุธยา พระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช ๗. เพื่อนแก้ว คำากาพย์ ศิวกานต์ ปทุมสูติ ๘. ก็พอใจอยากจะรักให้นักหนา ศักดิ์สิริ มีสมสืบ ๙. คำาหยาด เนาวรัตน์ พงษ์ไพบูลย์ ๑๐.นักฝันข้างถนน วารี วายุ ๑๑.ใบไม้ที่หายไป จิระนันท์ พิตรปรีชา ๑๒.ม้าก้านกล้วย ไพวรินทร์ ขาวงาม ๑๓. รังไว้รักอุ่น ศุ บุญเลี้ยง ๑๔. ไม่รู้เลยว่ารัก เนาวรัตน์ พงษ์ไพบูลย์ ๑๕. เรไร ไลลา ศักดิ์สิริ มีสมสืบ เลือกอ่านภาคการศึกษาละ ๒ เรื่อง โดยบังคับเลือกกลุ่มที่ ๑ ๑ เล่ม กลุ่มที่ ๒-๓ ๑ เล่ม รวม ๒ เล่ม ทำาเป็นรายงานเป็นรูปเล่มให้สมบูรณ์ ตามรูปแบบการ ทำารายงาน ดังนี้ 1. ปกหน้า 2. ใบรองปกหน้า 3. ปกใน 4. คำานำา 5. สารบัญ 6. เนื้อเรื่อง
  • 6. 6 7. บรรณานุกรม 8. ใบรองปกหลัง 9. ปกหลัง เนื้อเรื่อง มีส่วนประกอบดังนี้ 1. ประวัติผู้แต่ง 2. เนื้อเรื่องย่อ 3. วิเคราะห์ตัวละคร (บอกว่ามีใครบ้าง,มีนิสยเป็นอย่างไร) ถ้า ั เรื่องนั้นมีตัวละคร 4. ฉากของเรื่องเกิดที่ใด สภาพสังคมเป็นอย่างไร 5. สำานวนภาษาทีใช้มีความดีเด่นอย่างไร ่ 6. ลอกข้อความทีประทับใจ หรือตอนที่ประทับใจ ๑๐ ข้อความ ่ หรือ ๑๐ ย่อหน้า บอกเหตุผลที่ชอบ ทีประทับใจ ่ 7. ระบุแนวคิดของเรื่องว่าเรื่องที่อ่านนันมีแนวคิดหลักและแนวคิด ้ ย่อยอะไรบ้าง 8. ระบุข้อคิดที่เป็นประโยชน์ บันทึกประจำาวันมีกำาหนดส่ง วันศุกร์ที่ ๑๗ สิงหาคม ๒๕๕๕ หนังสือนอกเวลามีกำาหนดส่ง วันศุกร์ที่ ๒๔ สิงหาคม ๒๕๕๕ การทำารายงานหนังสือนอกเวลาให้ใช้เขียนด้วยลายมือตนเอง ห้าม พิมพ์ ยกเว้นหน้าปก และ ปกในพิมพ์ได้ ข้อสำาคัญ กรุณาอ่านหนังสือนอกเวลาด้วยตัวเอง การทำาวารสาร (กำาหนดส่ง วันศุกร์ที่ ๓๑ สิงหาคม ๒๕๕๕) ๑. คัดเลือกกลุ่ม กลุ่มละ ๕ คน ๒. วางแผนการจัดทำารูปเล่ม กำาหนดจำานวนหน้า 3. วางโครงเรี่อง ลำาดับเรื่อง ๔. ลงมือเขียน (เรื่องที่เป็นประโยชน์ , ความรูที่ได้ในบทเรียน , ประวัติ ้ นักเขียน,เกมฝึกสมอง, บทกลอนที่แต่งเอง ฯลฯ) ๕. พิมพ์ ๖. ออกแบบปก เนื้อเรื่องใดที่คัดลอกของผู้อื่นมาต้องเขียนอ้างอิงให้ถูกต้อง ข้อสำาคัญ การเขียนตัวเลขให้เขียนเลขไทย และงานทุกชิ้นถ้าเกิน กำาหนดแล้วไม่รับตรวจ
  • 7. 7 งานที่นักเรียนจะต้องทำาลงสมุด รายวิชาภาษาไทย (ท๓๑๑๐๑) ชันมัธยมศึกษาปีที่ ๔ ้ งานที่สงไม่ตรงตามกำาหนดไม่รับตรวจ ่ ก่อนกลางภาค จากหนังสือหลักภาษาและการใช้ภาษาเพื่อการสื่อสาร (เล่มสีม่วง) งานชิ้นที่ ๑ ส่งวันที่ ๓๑ พฤษภาคม – ๑ มิถุนายน ๒๕๕๕ กิจกรรมเพื่อการเรียนรู้ หน้า ๕ ทำาทั้ง ๔ ข้อ หน้า ๖ ทำาทั้ง ๒ ข้อ หน้า ๑๖ ทำา ข้อ ๕ หน้า ๒๒ ทำาข้อ ๑ งานชิ้นที่ ๒ ส่งวันที่ ๗-๘ มิถุนายน ๒๕๕๕ กิจกรรมเพื่อการเรียนรู้ หน้า ๓๘ ข้อ ๘ หน้า ๔๗ – ๔๙ ทำาทุกข้อ หน้า ๕๒ ข้อ ๒ ข้อ ๕ หน้า ๕๗ ทำาทัง ๒ ข้อ ้
  • 8. 8 งานชิ้นที่ ๓ ส่งวันที่ ๒๘ – ๒๙ มิถุนายน ๒๕๕๕ กิจกรรมเพื่อการเรียนรู้ หน้า ๖๐ ข้อ ๑ ข้อ ๒ (เลือกมาข้อละ ๕ คำา) หน้า ๗๑ ข้อ ๑ ข้อ ๒ (เลือกมาข้อละ ๕ คำา) หน้า ๗๓ ข้อ ๑ (เลือกมา ๕ ข้อ) หน้า ๗๕ ข้อ ๑ (เลือกมา ๕ ตัว) ข้อ ๒ หน้า ๗๙ ข้อ ๑ ข้อ ๒ ข้อ ๓ งานชิ้นที่ ๔ ส่งวันที่ ๑๒ – ๑๓ กรกฎาคม ๒๕๕๕ กิจกรรมเพื่อการเรียนรู้ หน้า ๘๘ ข้อ ๑ – ๕ อ่านหน้า ๑๑๒ - ๑๑๘ สัก ๑ – ๒ จบ จากนั้นให้นักเรียนทำากิจกรรมต่อ ไปนี้ - สรุปเรื่อง พระบรมราโชวาท และ ผลพลอยได้จากการออกพรรษา มาพอสังเขป - เขียนข้อคิดที่ได้จากการอ่านทัง ๒ เรื่องเป็นข้อๆ ้ - เขียนข้อบกพร่องของตนเองเป็นข้อๆ - เขียนข้อที่นักเรียนควรปรับปรุงตนเองเป็นข้อๆ หน้า ๑๑๙ ทำาข้อ ๑ ใน ๙ ข้อย่อย --------------------------สอบกลางภาค ------------------------- หลังกลางภาค จากหนังสือวรรณคดีวิจักษ์ (เล่มสีฟา) ้ งานชิ้นที่ ๕ ส่งวันที่ ๙ – ๑๐ สิงหาคม ๒๕๕๕ อ่านบทนำาการอ่านวรรณคดี หน้า ๒ – ๘ แล้วตอบคำาถามต่อไปนี้ 1) นักเรียนมีจุดมุ่งหมายในการอ่านวรรณคดีในด้านใดบ้าง เพราะเหตุใด (อธิบายและยกเหตุผลประกอบเป็นข้อๆ จำานวนไม่ตำ่ากว่า ๗ ข้อ ความ ยาวทังหมดไม่ตำ่ากว่า ๑๕ บรรทัด) ้ 2) คำาประพันธ์แบ่งได้เป็น ๒ ประเภท คือ ร้อยแก้วและร้อยกรอง นักเรียนจงอธิบายคำาว่า “ร้อยแก้ว” และ “ร้อยกรอง” มาอย่าง
  • 9. 9 ละเอียด และยกตัวอย่างชื่อเรื่องงานประพันธ์ทั้ง ๒ ประเภท ประเภท ละ ๕ เรื่อง 3) หม่อมหลวงบุญเหลือ เทพยสุวรรณ มีข้อแนะนำาในการอ่านวรรณคดี อย่างไร 4) นักเรียนจงอธิบายคำาว่า “การวิจักษ์วรรณคดี” และ “การวิจารณ์ วรรณคดี” มาอย่างละเอียด 5) นักเรียนมีวิธีการอ่านหนังสือให้ได้และอ่านให้เป็นอย่างไร (อธิบายและ ยกเหตุผลประกอบเป็นข้อๆ ความยาวทั้งหมดไม่ตำ่ากว่า ๑๐ บรรทัด) งานชิ้นที่ ๖ ส่งวันที่ ๑๖ – ๑๗ สิงหาคม ๒๕๕๕ 1) คัดบทนมัสการมาตาปิตุคุณและบทนมัสการอาจริยคุณ ตัวบรรจงเต็ม บรรทัด ๑ จบ พร้อมทั้งถอดความเป็นร้อยแก้วอย่างละเอียดและสละ สลวย ( หน้า ๑๔ – ๑๕) 2) คัดคำาอธิบายศัพท์และข้อความหน้า ๑๖ ตัวบรรจงครึ่งบรรทัด 3) ทำาแบบฝึกหัดข้อ ๒-๔ หน้า ๑๗ ช่วงวิเคราะห์เนือหา ้ ข้อ ๑ หน้า ๑๗ ช่วงพิจารณาภาษาการประพันธ์ 4) จับคู่ทำาแบบฝึกหัดหน้า ๑๘ ข้อ ๑ ลงกระดาษ A 4 งานชิ้นที่ ๗ ส่งวันที่ ๓๐ – ๓๑ สิงหาคม ๒๕๕๕ 1) อ่านบทวิเคราะห์เรื่อง อิเหนา แล้วเขียนเรื่องย่อมาพอเข้าใจพร้อม เขียนผังมโนภาพ (mind mapping) แสดงเนื้อหาตามลำาดับขั้น ตกแต่งให้สวยงามตามศักยภาพของนักเรียน 2) คัดบทละครเรื่อง อิเหนา ในหน้าที่ตรงกับตนเองที่จะต้องรายงานหน้า ชั้น ตัวบรรจงเต็มบรรทัด ๑ จบ พร้อมทังถอดความด้วยถ้อยคำา ้ ของนักเรียนเอง และอธิบายความหมายคำาศัพท์ยากในหน้านั้น ๆ ด้วย ( เลขที่ ๑ ตรงกับหน้า ๓๐ เลขที่ ๒ ตรงกับหน้า ๓๑ ..............) 3) คัดบทอาขยานในหน้า ๕๓ บทชมดง ตัวบรรจงเต็มบรรทัด ๑ จบ พร้อมถอดความ
  • 10. 10 4) คัดคำาอธิบายศัพท์และข้อความหน้า ๗๑ – ๗๓ ตัวบรรจงครึ่ง บรรทัด (ห้ามคัดข้ามคำา) 5) ทำาแบบฝึกหัดหน้า ๗๔ ช่วงวิเคราะห์เนื้อหาทั้ง ๔ ข้อ งานชิ้นที่ ๘ ส่งวันที่ ๖ – ๗ กันยายน ๒๕๕๕ 1) วาดภาพเวตาลมา ๑ ภาพ พร้อมเขียนคำาพรรณนาลักษณะของเวตาล ใต้ภาพ (หน้า ๗๗) 2) เขียนสรุปความเป็นมาของนิทานเวตาลมา ๑๕ – ๒๐ บรรทัด (หน้า ๗๗ – ๗๘) 3) เขียนแสดงภูมิรู้เกี่ยวกับ “พระวิกรมาทิตย์” มาอย่างละเอียด ประมาณ ๑๐ บรรทัด 4) เขียนแสดงภูมิรู้เกี่ยวกับ “เวตาล” มาอย่างละเอียด ประมาณ ๑๐ บรรทัด 5) อ่านนิทานเวตาลเรื่องที่ ๑๐ หน้า ๘๕ – ๘๘ สัก ๑- ๒ จบ แล้ว เขียนเนื้อเรื่องย่อให้ได้ใจความครบถ้วน ประมาณ ๒๐-๒๕ บรรทัด พร้อมทั้งเขียนผังมโนภาพ (Mind Mapping) แสดงลำาดับเรื่องให้ เข้าใจ 6) คัดคำาอธิบายศัพท์และข้อความ หน้า ๘๙ ตัวบรรจงครึ่งบรรทัด 7) ทำาแบบฝึกหัดหน้า ๙๐ – ๙๑ ช่วงวิเคราะห์เนื้อหา และพิจารณา ภาษาการประพันธ์ ทุกข้อ ---------------สอบปลายภาควรรณคดีทั้ง ๓ เรื่อง -----------------