SlideShare a Scribd company logo
1 of 3
Download to read offline
การเขียนเรียงความ


       เรียงความ คือการใช้ศิลปะทางการเขียนร้อยแก้วแสดงความรู้สึกนึกคิด
จินตนาการและความเข้าใจของผู้เขียนอย่างสละสลวย      เรียงความจะต้อง
ประกอบด้วยส่วนที่เป็นคานา เนื้อเรื่อง และสรุป

เรียงความที่ดีควรมีลักษณะดังต่อไปนี้

              มีเอกภาพ คือ ความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน หมายความว่าไม่ให้เขียนนอกเรื่อง

         มีสัมพันธภาพ คือ ความสัมพันธ์กัน หมายถึง ข้อความแต่ละข้อความหรือแต่ละ
ย่อหน้าจะต้องมีสัมพันธ์เกี่ยวเนืองกัน
                                ่

         มีสารัตถภาพ คือ การเน้นสาระสาคัญของย่อหน้าแต่ละย่อหน้า และของเรื่อง
ทั้งหมด โดยใช้ประโยคสั้น ๆ สรุปกินความทั้งหมด



ขอเพิ่มเติมเป็นการส่วนตัวค่ะ

           ก่อนเขียนเรียงความนั้นจะต้องตีโจทย์ให้แตกว่า ชื่อเรื่องที่เขาให้มานั้น
หมายถึงอะไร เกี่ยวโยงกับอะไร ข้อมูลที่จะเขียนลงไปนั้นต้องถูกต้องชัดเจน ดังนั้น
ผู้เขียนจะต้องรู้ชัดรู้จริง


การเขียนคานา

       เป็นการเกริ่นเรื่อง ขอย้าว่าแค่เกริ่นนะคะอย่าลึก ใช้คาโอบความหมายกว้างๆ เช่น

เรียงความเรื่องแม่ของฉัน     ควรกล่าวถึงแม่โดยทั่วไปก่อน เขียนให้กินใจ น่าอ่าน น่า
ติดตาม แต่ยังไม่ควรเล่าว่า " แม่ของฉัน "เป็นอย่างไร



เนื้อเรื่อง


      เนื้อเรื่องเป็นส่วนที่มีใจความสาคัญ ประเด็นสาคัญตามห้วข้อ ดังนั้นจะต้องเขียนให้
ละเอียด ครอบคลุม ชัดเจน เช่น เรื่องแม่ของฉัน ในย่อหน้าเนื้อเรื่องให้พรรณนาถึง
พระคุณแม่ ( เขียนในด้านบวก )
สรุป


     กลับไปอ่านคานาและเนื้อเรื่องและสรุปจบให้ไปในทิศทางเดียวกัน ขอแนะนาว่า
ควรให้ข้อแนะนา หรือแนวคิดดีๆ แล้วลงท้ายด้วยประโยคที่น่าสนใจ


       การเขียนเรียงความนั้นอาจจะขึ้นต้นย่อหน้าคานา หรือปิดท้ายในหัวข้อสรุป ด้วย
กลอน คติพจน์ วาทะ หรือคาขวัญ เพื่อเพิ่มความน่าสนใจให้นาติดตาม ( ถ้ายืมคาใคร
                                                           ่
เขามาอย่าลืมอ้างอิงนะคะ ) ภายในเรียงความควรประกอบด้วยโวหารหลายๆชนิด
เพื่อให้ได้อรรถรสในการอ่าน ขั้นตอน

ในการเตรียมตัวเขียน นอกจากจะต้องเตรียมข้อมูลจัดทาโครงเรื่องแล้ว ควรเลือกใช้
สานวนโวหารให้เหมาะกับเนื้อความที่ จะเขียน สานวนโวหารในภาษาไทย แบ่งออกเป็น
๕ คือ

๑) บรรยายโวหาร

๒) พรรณนาโวหาร

๓) เทศนาโวหาร

๔) สาธกโวหาร

๕) อุปมาโวหาร

        ๑. บรรยายโวหาร คือ โวหารที่ใช้เล่าเรื่อง หรืออธิบายเรื่องราวต่าง ๆ
ตามลาดับเหตุการณ์ การเขียนบรรยายโวหารจะมุ่งความชัดเจน เขียน ตรงไปตรงมา
รวบรัด กล่าวถึงแต่สาระสาคัญ

ไม่จาเป็นต้องมีพลความ หรือความปลีกย่อยเสริม ในการเขียนทั่ว ๆ ไปมักใช้บรรยาย
โวหาร เพราะเหมาะในการติดต่อสื่อสารเนื่องจากสานวนประเภทนี้มุ่งสาระเขียนอย่างสั้น
ๆ ได้ความชัดเจน


         ๒. พรรณนาโวหาร มีจุดมุ่งหมายในการเขียนต่างจากบรรยายโวหาร คือมุ่งให้
ความแจ่มแจ้งละเอียดลออ เพื่อให้ผอ่านเกิดอารมณ์ซาบซึ้งเพลิดเพลินไปกับข้อความ
                                 ู้
นั้นการเขียนพรรณาโวหารจึงยาวกว่าบรรยายโวหารมาก แต่มิใช่การเขียนอย่างเยิ่นเย้อ
เพราะพรรณนา-โวหารต้องมุ่งให้ภาพ และอารมณ์ ดังนั้น จึงมักใช้การเล่นคา เล่นเสียง
ใช้ภาพพจน์แม้เนือความที่เขียนจะน้อยแต่เต็มไปด้วยสานวนโวหารที่ไพเราะ อ่านได้
                ้
รสชาติ


           ๓. เทศนาโวหาร หมายถึง โวหารที่มจุดหมายแสดงความแจ่มแจ้งเพื่อให้
                                             ี
ผู้อ่านคล้อยตามหรืออาจกล่าวได้ว่ามุ่งชักจูงให้ผู้อ่านคิดเห็นหรือคล้อยตามความคิดเห็น
ของผู้เขียนเทศนาโวหาร จึงยากกว่าโวหารที่กล่าว
๔.สาธกโวหาร คือ โวหารที่มุ่งให้ความชัดเจน โดยการยกตัวอย่างเพื่ออธิบาย
ให้แจ่มแจ้งหรือสนับสนุนความคิดเห็นที่เสนอให้หนักแน่น น่าเชือถือ สาธกโวหารเป็น
                                                           ่
โวหารเสริม บรรยายโวหาร พรรณนาโวหาร

          ๕.อุปมาโวหาร หมายถึง โวหารเปรียบเทียบ โดยกตัวอย่าง สิ่งที่คล้ายคลึงกัน
มาเปรียบเพื่อให้เกิดความชัดเจนด้านความหมาย ด้านภาพ และเกิดอารมณ์ ความรู้สึก
มากยิ่งขึ้น กล่าวได้ว่า

อุปมาโวหาร คือ ภาพพจน์ประเภทอุปมานั่นเอง อุปมาโวหารใช้เป็นโวหารเสริม บรรยาย
โวหาร พรรณนาโวหาร และเทศนาโวหาร เพื่อให้ชัดเจนน่าอ่าน โดยอาจเปรียบเทียบ
อย่างสั้น ๆ หรือเปรียบเทียบอย่างละเอียดก็ได้ ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับอุปมา โวหารนั้นจะนาไป
เสริมโวหารประเภทใด

         การเขียนเรียงความที่ดีนั้นควรตีกรอบความคิดของผู้เขียนเอาไว้อย่าง
ชัดเจน เพราะจะทาให้งานเขียนไม่วกวน จนผูอ่านเกิดความสับสนทางความคิด และที่
                                           ้
สาคัญเรียงความจะต้องใช้ภาษาอย่างเป็นทางการ อย่าใช้ภาษาพูดเป็นอันขาดเพราะจะ
ทาให้งานเขียนขาดความน่าเชื่อถือ

More Related Content

What's hot

แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความแบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความsripayom
 
กาพย์ยานี
กาพย์ยานีกาพย์ยานี
กาพย์ยานีkhorntee
 
บทพากย์เอราวัณ
บทพากย์เอราวัณบทพากย์เอราวัณ
บทพากย์เอราวัณKornnicha Wonglai
 
Power point การอ่านแปลความตีความขยายความ
Power point การอ่านแปลความตีความขยายความPower point การอ่านแปลความตีความขยายความ
Power point การอ่านแปลความตีความขยายความThanit Lawyer
 
เรื่อง คำประสม ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑
เรื่อง คำประสม ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑เรื่อง คำประสม ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑
เรื่อง คำประสม ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑พัน พัน
 
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความแบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความsripayom
 
ร่ายสุภาพ
ร่ายสุภาพร่ายสุภาพ
ร่ายสุภาพkhorntee
 
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย (Key)_ม.1
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย (Key)_ม.1ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย (Key)_ม.1
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย (Key)_ม.1Sivagon Soontong
 
การอ่านแปลความ ตีความและขยายความ
การอ่านแปลความ ตีความและขยายความการอ่านแปลความ ตีความและขยายความ
การอ่านแปลความ ตีความและขยายความSurapong Klamboot
 
สมุดเล่มเล็ก เรื่อง ลดหวานต้านโรค
สมุดเล่มเล็ก เรื่อง ลดหวานต้านโรคสมุดเล่มเล็ก เรื่อง ลดหวานต้านโรค
สมุดเล่มเล็ก เรื่อง ลดหวานต้านโรคNinnin Ja
 
โวหารภาพพจน์
โวหารภาพพจน์โวหารภาพพจน์
โวหารภาพพจน์krubuatoom
 
แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4
แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4
แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4Sivagon Soontong
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๖ gpas 5 step ภาษาไทย.docx
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๖ gpas 5 step ภาษาไทย.docxหน่วยการเรียนรู้ที่ ๖ gpas 5 step ภาษาไทย.docx
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๖ gpas 5 step ภาษาไทย.docxSophinyaDara
 
สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์Jariya Huangjing
 
ประโยคที่ซับซ้อน
ประโยคที่ซับซ้อนประโยคที่ซับซ้อน
ประโยคที่ซับซ้อนพัน พัน
 
วรรคทองในวรรณคดี
วรรคทองในวรรณคดีวรรคทองในวรรณคดี
วรรคทองในวรรณคดีkingkarn somchit
 
แบบทดสอบเสียงในภาษา
แบบทดสอบเสียงในภาษาแบบทดสอบเสียงในภาษา
แบบทดสอบเสียงในภาษาPiyarerk Bunkoson
 
กระทู้ ธรรมศึกษาชั้นโท
กระทู้ ธรรมศึกษาชั้นโทกระทู้ ธรรมศึกษาชั้นโท
กระทู้ ธรรมศึกษาชั้นโทTheeraphisith Candasaro
 

What's hot (20)

แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความแบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
 
กาพย์ยานี
กาพย์ยานีกาพย์ยานี
กาพย์ยานี
 
บทพากย์เอราวัณ
บทพากย์เอราวัณบทพากย์เอราวัณ
บทพากย์เอราวัณ
 
Power point การอ่านแปลความตีความขยายความ
Power point การอ่านแปลความตีความขยายความPower point การอ่านแปลความตีความขยายความ
Power point การอ่านแปลความตีความขยายความ
 
เรื่อง คำประสม ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑
เรื่อง คำประสม ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑เรื่อง คำประสม ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑
เรื่อง คำประสม ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑
 
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความแบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
 
ร่ายสุภาพ
ร่ายสุภาพร่ายสุภาพ
ร่ายสุภาพ
 
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย (Key)_ม.1
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย (Key)_ม.1ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย (Key)_ม.1
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย (Key)_ม.1
 
การอ่านแปลความ ตีความและขยายความ
การอ่านแปลความ ตีความและขยายความการอ่านแปลความ ตีความและขยายความ
การอ่านแปลความ ตีความและขยายความ
 
1 ธรรมชาติและพลังของภาษาไทย(5-34)
1 ธรรมชาติและพลังของภาษาไทย(5-34)1 ธรรมชาติและพลังของภาษาไทย(5-34)
1 ธรรมชาติและพลังของภาษาไทย(5-34)
 
สมุดเล่มเล็ก เรื่อง ลดหวานต้านโรค
สมุดเล่มเล็ก เรื่อง ลดหวานต้านโรคสมุดเล่มเล็ก เรื่อง ลดหวานต้านโรค
สมุดเล่มเล็ก เรื่อง ลดหวานต้านโรค
 
โวหารภาพพจน์
โวหารภาพพจน์โวหารภาพพจน์
โวหารภาพพจน์
 
แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4
แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4
แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๖ gpas 5 step ภาษาไทย.docx
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๖ gpas 5 step ภาษาไทย.docxหน่วยการเรียนรู้ที่ ๖ gpas 5 step ภาษาไทย.docx
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๖ gpas 5 step ภาษาไทย.docx
 
สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์
 
ประโยคที่ซับซ้อน
ประโยคที่ซับซ้อนประโยคที่ซับซ้อน
ประโยคที่ซับซ้อน
 
การอ่านวรรณคดี ม.๕[1]
การอ่านวรรณคดี ม.๕[1]การอ่านวรรณคดี ม.๕[1]
การอ่านวรรณคดี ม.๕[1]
 
วรรคทองในวรรณคดี
วรรคทองในวรรณคดีวรรคทองในวรรณคดี
วรรคทองในวรรณคดี
 
แบบทดสอบเสียงในภาษา
แบบทดสอบเสียงในภาษาแบบทดสอบเสียงในภาษา
แบบทดสอบเสียงในภาษา
 
กระทู้ ธรรมศึกษาชั้นโท
กระทู้ ธรรมศึกษาชั้นโทกระทู้ ธรรมศึกษาชั้นโท
กระทู้ ธรรมศึกษาชั้นโท
 

Similar to ใบงานที่ 1เรื่องการเขียนเรียงความ

7 การเขียนเรียงความและการเขียนย่อความ(209-237)
7 การเขียนเรียงความและการเขียนย่อความ(209-237)7 การเขียนเรียงความและการเขียนย่อความ(209-237)
7 การเขียนเรียงความและการเขียนย่อความ(209-237)อัมพร ศรีพิทักษ์
 
สารพันเลือกสรรตีความ
สารพันเลือกสรรตีความสารพันเลือกสรรตีความ
สารพันเลือกสรรตีความพัน พัน
 
การเขียนเรียงความ ย่อความ
การเขียนเรียงความ ย่อความการเขียนเรียงความ ย่อความ
การเขียนเรียงความ ย่อความพัน พัน
 
เรียงความ
เรียงความเรียงความ
เรียงความkroonoi06
 
ใบความรู้เรื่องการอ่านจับใจความสำคัญ
ใบความรู้เรื่องการอ่านจับใจความสำคัญใบความรู้เรื่องการอ่านจับใจความสำคัญ
ใบความรู้เรื่องการอ่านจับใจความสำคัญPiyarerk Bunkoson
 
การเขียนเรียงความ.pdf
การเขียนเรียงความ.pdfการเขียนเรียงความ.pdf
การเขียนเรียงความ.pdfGREATTEACHERCYBERFOX
 
9789740332725
97897403327259789740332725
9789740332725CUPress
 
หน่วยที่ 4 องค์ประกอบของเรียงความ
หน่วยที่ 4  องค์ประกอบของเรียงความหน่วยที่ 4  องค์ประกอบของเรียงความ
หน่วยที่ 4 องค์ประกอบของเรียงความขนิษฐา ทวีศรี
 
หน่วยที่ 4
หน่วยที่ 4หน่วยที่ 4
หน่วยที่ 4Yui Siriwararat
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการเขียน 7.1
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการเขียน 7.1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการเขียน 7.1
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการเขียน 7.1Yota Bhikkhu
 
Unlicensed-นวัตกรรมช่วยสอน
 Unlicensed-นวัตกรรมช่วยสอน Unlicensed-นวัตกรรมช่วยสอน
Unlicensed-นวัตกรรมช่วยสอนkuneena
 
นวัฒกรรมช่วยสอน
นวัฒกรรมช่วยสอนนวัฒกรรมช่วยสอน
นวัฒกรรมช่วยสอนkuneena
 
นวัตกรรมช่วยสอน
นวัตกรรมช่วยสอนนวัตกรรมช่วยสอน
นวัตกรรมช่วยสอนkuneena
 

Similar to ใบงานที่ 1เรื่องการเขียนเรียงความ (20)

โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 
7 การเขียนเรียงความและการเขียนย่อความ(209-237)
7 การเขียนเรียงความและการเขียนย่อความ(209-237)7 การเขียนเรียงความและการเขียนย่อความ(209-237)
7 การเขียนเรียงความและการเขียนย่อความ(209-237)
 
สารพันเลือกสรรตีความ
สารพันเลือกสรรตีความสารพันเลือกสรรตีความ
สารพันเลือกสรรตีความ
 
การเขียนเรียงความ ย่อความ
การเขียนเรียงความ ย่อความการเขียนเรียงความ ย่อความ
การเขียนเรียงความ ย่อความ
 
โวหารการเขียน
โวหารการเขียนโวหารการเขียน
โวหารการเขียน
 
นวนิยายพร้อมส่ง
นวนิยายพร้อมส่งนวนิยายพร้อมส่ง
นวนิยายพร้อมส่ง
 
เรียงความ
เรียงความเรียงความ
เรียงความ
 
ใบความรู้เรื่องการอ่านจับใจความสำคัญ
ใบความรู้เรื่องการอ่านจับใจความสำคัญใบความรู้เรื่องการอ่านจับใจความสำคัญ
ใบความรู้เรื่องการอ่านจับใจความสำคัญ
 
การเขียนเรียงความ.pdf
การเขียนเรียงความ.pdfการเขียนเรียงความ.pdf
การเขียนเรียงความ.pdf
 
9789740332725
97897403327259789740332725
9789740332725
 
Script 05 2
Script 05 2Script 05 2
Script 05 2
 
T006
T006T006
T006
 
หน่วยที่ 4 องค์ประกอบของเรียงความ
หน่วยที่ 4  องค์ประกอบของเรียงความหน่วยที่ 4  องค์ประกอบของเรียงความ
หน่วยที่ 4 องค์ประกอบของเรียงความ
 
หน่วยที่ 4
หน่วยที่ 4หน่วยที่ 4
หน่วยที่ 4
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการเขียน 7.1
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการเขียน 7.1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการเขียน 7.1
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการเขียน 7.1
 
การเขียน
การเขียนการเขียน
การเขียน
 
Unlicensed-นวัตกรรมช่วยสอน
 Unlicensed-นวัตกรรมช่วยสอน Unlicensed-นวัตกรรมช่วยสอน
Unlicensed-นวัตกรรมช่วยสอน
 
นวัฒกรรมช่วยสอน
นวัฒกรรมช่วยสอนนวัฒกรรมช่วยสอน
นวัฒกรรมช่วยสอน
 
นวัตกรรมช่วยสอน
นวัตกรรมช่วยสอนนวัตกรรมช่วยสอน
นวัตกรรมช่วยสอน
 
Straightpiece
StraightpieceStraightpiece
Straightpiece
 

ใบงานที่ 1เรื่องการเขียนเรียงความ

  • 1. การเขียนเรียงความ เรียงความ คือการใช้ศิลปะทางการเขียนร้อยแก้วแสดงความรู้สึกนึกคิด จินตนาการและความเข้าใจของผู้เขียนอย่างสละสลวย เรียงความจะต้อง ประกอบด้วยส่วนที่เป็นคานา เนื้อเรื่อง และสรุป เรียงความที่ดีควรมีลักษณะดังต่อไปนี้ มีเอกภาพ คือ ความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน หมายความว่าไม่ให้เขียนนอกเรื่อง มีสัมพันธภาพ คือ ความสัมพันธ์กัน หมายถึง ข้อความแต่ละข้อความหรือแต่ละ ย่อหน้าจะต้องมีสัมพันธ์เกี่ยวเนืองกัน ่ มีสารัตถภาพ คือ การเน้นสาระสาคัญของย่อหน้าแต่ละย่อหน้า และของเรื่อง ทั้งหมด โดยใช้ประโยคสั้น ๆ สรุปกินความทั้งหมด ขอเพิ่มเติมเป็นการส่วนตัวค่ะ ก่อนเขียนเรียงความนั้นจะต้องตีโจทย์ให้แตกว่า ชื่อเรื่องที่เขาให้มานั้น หมายถึงอะไร เกี่ยวโยงกับอะไร ข้อมูลที่จะเขียนลงไปนั้นต้องถูกต้องชัดเจน ดังนั้น ผู้เขียนจะต้องรู้ชัดรู้จริง การเขียนคานา เป็นการเกริ่นเรื่อง ขอย้าว่าแค่เกริ่นนะคะอย่าลึก ใช้คาโอบความหมายกว้างๆ เช่น เรียงความเรื่องแม่ของฉัน ควรกล่าวถึงแม่โดยทั่วไปก่อน เขียนให้กินใจ น่าอ่าน น่า ติดตาม แต่ยังไม่ควรเล่าว่า " แม่ของฉัน "เป็นอย่างไร เนื้อเรื่อง เนื้อเรื่องเป็นส่วนที่มีใจความสาคัญ ประเด็นสาคัญตามห้วข้อ ดังนั้นจะต้องเขียนให้ ละเอียด ครอบคลุม ชัดเจน เช่น เรื่องแม่ของฉัน ในย่อหน้าเนื้อเรื่องให้พรรณนาถึง พระคุณแม่ ( เขียนในด้านบวก )
  • 2. สรุป กลับไปอ่านคานาและเนื้อเรื่องและสรุปจบให้ไปในทิศทางเดียวกัน ขอแนะนาว่า ควรให้ข้อแนะนา หรือแนวคิดดีๆ แล้วลงท้ายด้วยประโยคที่น่าสนใจ การเขียนเรียงความนั้นอาจจะขึ้นต้นย่อหน้าคานา หรือปิดท้ายในหัวข้อสรุป ด้วย กลอน คติพจน์ วาทะ หรือคาขวัญ เพื่อเพิ่มความน่าสนใจให้นาติดตาม ( ถ้ายืมคาใคร ่ เขามาอย่าลืมอ้างอิงนะคะ ) ภายในเรียงความควรประกอบด้วยโวหารหลายๆชนิด เพื่อให้ได้อรรถรสในการอ่าน ขั้นตอน ในการเตรียมตัวเขียน นอกจากจะต้องเตรียมข้อมูลจัดทาโครงเรื่องแล้ว ควรเลือกใช้ สานวนโวหารให้เหมาะกับเนื้อความที่ จะเขียน สานวนโวหารในภาษาไทย แบ่งออกเป็น ๕ คือ ๑) บรรยายโวหาร ๒) พรรณนาโวหาร ๓) เทศนาโวหาร ๔) สาธกโวหาร ๕) อุปมาโวหาร ๑. บรรยายโวหาร คือ โวหารที่ใช้เล่าเรื่อง หรืออธิบายเรื่องราวต่าง ๆ ตามลาดับเหตุการณ์ การเขียนบรรยายโวหารจะมุ่งความชัดเจน เขียน ตรงไปตรงมา รวบรัด กล่าวถึงแต่สาระสาคัญ ไม่จาเป็นต้องมีพลความ หรือความปลีกย่อยเสริม ในการเขียนทั่ว ๆ ไปมักใช้บรรยาย โวหาร เพราะเหมาะในการติดต่อสื่อสารเนื่องจากสานวนประเภทนี้มุ่งสาระเขียนอย่างสั้น ๆ ได้ความชัดเจน ๒. พรรณนาโวหาร มีจุดมุ่งหมายในการเขียนต่างจากบรรยายโวหาร คือมุ่งให้ ความแจ่มแจ้งละเอียดลออ เพื่อให้ผอ่านเกิดอารมณ์ซาบซึ้งเพลิดเพลินไปกับข้อความ ู้ นั้นการเขียนพรรณาโวหารจึงยาวกว่าบรรยายโวหารมาก แต่มิใช่การเขียนอย่างเยิ่นเย้อ เพราะพรรณนา-โวหารต้องมุ่งให้ภาพ และอารมณ์ ดังนั้น จึงมักใช้การเล่นคา เล่นเสียง ใช้ภาพพจน์แม้เนือความที่เขียนจะน้อยแต่เต็มไปด้วยสานวนโวหารที่ไพเราะ อ่านได้ ้ รสชาติ ๓. เทศนาโวหาร หมายถึง โวหารที่มจุดหมายแสดงความแจ่มแจ้งเพื่อให้ ี ผู้อ่านคล้อยตามหรืออาจกล่าวได้ว่ามุ่งชักจูงให้ผู้อ่านคิดเห็นหรือคล้อยตามความคิดเห็น ของผู้เขียนเทศนาโวหาร จึงยากกว่าโวหารที่กล่าว
  • 3. ๔.สาธกโวหาร คือ โวหารที่มุ่งให้ความชัดเจน โดยการยกตัวอย่างเพื่ออธิบาย ให้แจ่มแจ้งหรือสนับสนุนความคิดเห็นที่เสนอให้หนักแน่น น่าเชือถือ สาธกโวหารเป็น ่ โวหารเสริม บรรยายโวหาร พรรณนาโวหาร ๕.อุปมาโวหาร หมายถึง โวหารเปรียบเทียบ โดยกตัวอย่าง สิ่งที่คล้ายคลึงกัน มาเปรียบเพื่อให้เกิดความชัดเจนด้านความหมาย ด้านภาพ และเกิดอารมณ์ ความรู้สึก มากยิ่งขึ้น กล่าวได้ว่า อุปมาโวหาร คือ ภาพพจน์ประเภทอุปมานั่นเอง อุปมาโวหารใช้เป็นโวหารเสริม บรรยาย โวหาร พรรณนาโวหาร และเทศนาโวหาร เพื่อให้ชัดเจนน่าอ่าน โดยอาจเปรียบเทียบ อย่างสั้น ๆ หรือเปรียบเทียบอย่างละเอียดก็ได้ ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับอุปมา โวหารนั้นจะนาไป เสริมโวหารประเภทใด การเขียนเรียงความที่ดีนั้นควรตีกรอบความคิดของผู้เขียนเอาไว้อย่าง ชัดเจน เพราะจะทาให้งานเขียนไม่วกวน จนผูอ่านเกิดความสับสนทางความคิด และที่ ้ สาคัญเรียงความจะต้องใช้ภาษาอย่างเป็นทางการ อย่าใช้ภาษาพูดเป็นอันขาดเพราะจะ ทาให้งานเขียนขาดความน่าเชื่อถือ