SlideShare a Scribd company logo
1 of 23
การวิจารณ์วรรณคดีตามแนว
ตะวันออก
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. วัชรพล วิบูลยศริน
หลักสูตรภาษาไทย คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสวนดุสิต
แนวทฤษฎีตะวันออก
ตะวันออก คือ อินเดีย บ่อเกิด
สรรพวิชาหลายแขนง รวมทั้งภาษาบาลี
และสันสกฤตที่เข้ามามีอิทธิพลในภา
ไทยอยู่มาก
การวิเคราะห์วรรณคดีไทยตาม
แนวตะวันออก จึงเป็นการวิเคราะห์ตาม
ทฤษฎีวรรณคดีสันสกฤต ซึ่งแบ่ง
ออกเป็น 8 ทฤษฎี คือ
ทฤษฎีวรรณคดีสันสกฤต
1. ทฤษฎีรส ว่าด้วยอารมณ์ของผู้อ่าน
2. ทฤษฎีอลังการ ว่าด้วยความงามในการประพันธ์
3. ทฤษฎีคุณ ว่าด้วยลักษณะเด่นของการประพันธ์
4. ทฤษฎีริติ ว่าด้วยลีลาในการประพันธ์
5. ทฤษฎีธวนิ ว่าด้วยความหมายแฝงในการประพันธ์
6. ทฤษฎีวโกรกติ ว่าด้วยภาษาในการประพันธ์
7. ทฤษฎีอนุมิติ ว่าด้วยการอนุมานความหมายในการประพันธ์
8. ทฤษฎีเอาจิตยะ ว่าด้วยความเหมาะสมในการประพันธ์
ทฤษฎีรส
รส คือ ปฏิกิริยาทางอารมณ์ที่เกิดขึ้นในใจผู้อ่านเมื่อได้รับรู้อารมณ์ที่กวีถ่ายทอด
ไว้ในวรรณคดี วรรณคดีเกิดขึ้นเมื่อกวีมีอารมณ์สะเทือนใจแล้วถ่ายทอดออกมาในบท
ประพันธ์ อารมณ์ต่าง ๆ ที่กวีแสดงไว้ในผลงานเรียกว่า ภาวะ 9 ภาวะ คือ
1. ความรัก (รติ) 6. ความน่ากลัว (ภยะ)
2. ความขบขัน (หาสะ) 7. ความน่ารังเกียจ (ชุคุปสา)
3. ความทุกข์โศก (โศกะ) 8. ความน่าพิศวง (วิสม
ยะ)
4. ความโกรธ (โกรธะ) 9. ความสงบ (ศมะ)
5. ความมุ่งมั่น (อุตสาหะ)
ทฤษฎีรส
เมื่อผู้อ่านได้รับรู้ภาวะที่กวีแสดงไว้แล้วก็จะเกิดอารมณ์ตอบสนองต่อว
ภาวะนั้นเรียกว่า รส มี 9 รส ดังนี้
1. ความซาบซึ้งในความรัก (ศฤคารรส)
2. ความสนุกสนาน (หายรส)
3. ความสงสาร (กรุณารส)
4. ความเคืองแค้น (เราทรรส)
5. ความชื่นชมความในความกล้า (วีรรส)
ทฤษฎีรส
เมื่อผู้อ่านได้รับรู้ภาวะที่กวีแสดงไว้แล้วก็จะเกิดอารมณ์ตอบสนองต่อว
ภาวะนั้นเรียกว่า รส มี 9 รส ดังนี้
6. ความเกรงกลัว (ภยานกรส)
7. ความเบื่อระอาชิงชัง (พีภัตสรส)
8. ความอัศจรรย์ใจ (อัทภุตรส)
9. ความสงบใจ (ศานตรส)
ทฤษฎีรส
คนไทยเคยได้ยิน ได้ฟัง และเคยใช้ทฤษฎีเกี่ยวกับรสมาวิจารณ์วรรณคดี
โบราณอยู่ไม่น้อย เนื้อหาของวรรณคดีก็มีส่วนเอื้อต่อการเกิดรสได้ คือ วรรณคดี
พุทธศาสนา วรรณคดีพิธีกรรม วรรณคดีสดุดี วรรณคดีนิราศ และวรรณคดีบันเทิง
การพิจารณาว่า วรรณคดีเรื่องใดหรือประเภทใดเอื้อต่อการเกิดรสหรือไม่นั้น ต้องดู
รูปแบบและเนื้อหาเพื่อให้เข้าใจจุดมุ่งหมายของผู้ประพันธ์
วรรณคดีพุทธศาสนา
1. ไตรภูมิพระร่วง  อ่านแล้วกลัวต่อบาป ภยานกรส
2. นันโทปนันทสูตรฯ  เกิดความพิศวง อัศจรรย์ใจอัทภุตรส
3. มหาชาติคาหลวง  เห็นความมุ่งมั่นในการบาเพ็ญ จิตใจสงบ
วีรรส และศานติรส
4. ปฐมสมโพธิกถา เกิดความพิศวง  อัทภุตรส
วรรณคดีพิธีกรรม
- โองการแช่งน้า  แสดงความน่ากลัวในบทพรรณนาโทษทัณฑ์
ภยารกรส
วรรณคดีสดุดี
- โคลงยอพระเกียรติต่าง ๆ  แสดงความสูงส่งของกษัตริย์เหนือมนุษย์ 
อัทภุตรส
- โคลงสรรเสริญพระเกียรติต่าง ๆ  แสดงความความสามารถในการรบ 
วีรรส
วรรณคดีบันเทิง
แต่งขึ้นเพื่อให้ความบันเทิงแก่ผู้อ่านเป็นสาคัญ
จึงมีรสตามทฤษฎีสันสกฤตครอบทั้ง 9 รส แต่รสที่ปรากฏ
เป็นรสเอกของเรื่อง คือ วีรรส และกรุณารส นอกนั้นเป็น
รสเสริมให้รสเอกเด่นชั้นขึ้น เช่น
ภยานกรส คือ รสเกรงกลัว พระอภัยมณี
ตอนสุดสาครตกอยู่ในวงล้อมของพวกผีและยักษ์ ผู้เขียนก็
จะบรรยายจนผู้อ่านเกิดความเกรงกลัว แล้วจึงบรรยาย
ความกล้าของสุดสาครที่ใช้ไม้เท้าปราบผีและยักษ์ ผู้อ่าน
ก็จะเกิดความชื่นชมความกล้าของสุดสาคร จึงเกิดวีรรส
วรรณคดีบันเทิง
เราทรรส คือ รสแค้นเคือง จะไม่เกิดเป็นรสเอกใน
วรรณคดีไทย จะเป็นเพียงรสเสริมเพื่อหนุนภาวะทุกข์โศก
ทาให้ กรุณารส เด่นชั้นขึ้น เช่น ความโกรธของขุนช้างเมื่อ
ลวงพลายงามไปฆ่า ก็จะทาร้ายอย่างรุนแรง ผู้อ่านก็จะ
เกิดความแค้นเคืองที่ขุนช้างทาทารุณกับพลายงาม ผู้อ่าน
ก็จะเห็นใจผู้ถูกกระทา ยิ่งแค้นเคืองมาก ก็ยิ่งเห็นว่าทุกข์
โศกของอีกฝ่ายหนึ่งน่าเห็นใจมากขึ้น กรุณารสก็จะเด่น
มากขึ้น
วรรณคดีบันเทิง
อุทภุตรส คือรสอัศจรรย์ใจ ไม่เป็ นรสเด่นใน
วรรณคดี จะเป็นรสเสริม เมื่อกวีต้องการแสดงความ
ยิ่งใหญ่และสูงส่งของตัวละคร ในวรรณคดีที่ต้องการ
แสดงวีรรส อัทภุตรส จะเป็นรสเสริมที่จาเป็นมากที่สุด
รามเกียรติ์ วีรรสจะเป็นรสเอกเพราะมุ่งแสดง
สภาวะอุตสาหะของพระราม ผู้เป็นเทวกษัตริย์ มีบทแสดง
บุญญาธิการของพระรามอยู่หลายตอน เช่น พระราม
สามารถยกศิลป์ ซึ่งเป็ นธนูของพระอิศวรได้อย่าง
คล่องแคล่ว
ทฤษฎีอลังการ
อลังการ คือ การใช้ถ้อยคาที่ไพเราะและโวหารที่มีความหมายลึกซึ้งให้เป็น
ประหนึ่งอาภรณ์ของบทประพันธ์ อลังการแบ่งออกเป็ น อลังการทางเสียงและ
ความหมาย
อลังการทางเสียง คือ การเล่นคาให้เกิดความไพเราะของเสียงในบท
ประพันธ์ที่สาคัญ ได้แก่
1. ยมก คือ การซ้าพยางค์ที่มีเสียงเหมือนกัน แต่สื่อความหมายต่างกัน ใน
คาประพันธ์วรรคเดียวหรือบทเดียวกัน
2. อนุปราส คือ การซ้าเสียงพยัญชนะ ซึ่งอาจเป้ นพยัญชนะเดียวหรือ
พยัญชนะซ้อนก็ได้ ในคาประพันธ์วรรคเดียวกัน
ทฤษฎีอลังการ
อลังการทางความหมาย คือ การใช้โวหารเปรียบเทียบ หรือโวหารแฝง
ความหมายเพื่อให้มีการตีความได้ลึกซึ้งต่าง ๆ กันไป ในระยะแรก ๆ มักเป็นโวหาร
ง่าย ๆ ซึ่งเปรียบว่าสิ่งหนึ่งดีงาม ฯลฯ เหมือนอีกสิ่งหนึ่ง ต่อมาจึงพลิกแพลงให้
สลับซับซ้อนมากขึ้น จนเป็นการใช้ความหมายที่ซ่อนเร้นเจตนาของผู้พูด
อลังการทางความหมายที่สาคัญ ได้แก่
1. อุปมา คือ การนาสิ่งที่กวีต้องการแสดงลักษณะเด่นไปเปรียบเทียบกับ
อีกสิ่งหนึ่งที่มีลักษณะเด่นนั้นเป็นที่ยอมรับกันแล้ว โดยมีคาที่มีความหมายทานอง
ว่า เหมือน คล้าย เป็นคาแสดงความเปรียบ เช่น ดวงหน้านางนวลกระจ่างดุจดวง
จันทร์
ทฤษฎีอลังการ
2. รูปกะ คือ การเปรียบเทียบทานองเดียวกับอุปมา แต่ด้วยการกล่าวว่า
สิ่งหนึ่งเป็นอีกสิ่งหนึ่ง เช่น ดวงหน้าของนางคือ ดวงจันทร์ (ตาราวรรณคดีไทย
เรียกว่า อุปลักษณ์)
3. อติศโยกติ คือ การกล่าวเกินความจริง (ตาราวรรณคดีไทยเรียกว่า อธิ
พจน์)
เช่น จงอวดผิวเรืองรองของนางเถิด
ทองจะหมองลงทันที
จงเงยหน้าขึ้นมาเถิด
ท้องฟ้ าจะมีดวงจันทร์ถึงสองดวง
เอกลักษณ์ของวรรณคดีไทย
1. สัมผัสสระ เช่น ข้าแต่พระบาท พระโอรสราช
2. สัมผัสพยัญชนะข้ามวรรค เช่น เปนฤษีศีลสุทธิ์ สืบสร้าง
3. สัมผัสพยัญชนะเป็นคู่ ๆ เช่น ธ เสด็จลงสาราญสาริทธิ์
4. สร้อยสลับวรรค เช่น อกคือดวงไฟร้อน แลนา
เหตุเทวศจากลูกป้ อม แลนา
5. อัพภาส เช่น ระรื่นรศเรณู
เอกลักษณ์ของวรรณคดีไทย
6. คาแผลง เช่น ท่ววมฤคามฤเคษ ในหิมเวศหิมวันต์
7. คาประสม เช่น พลทรงสองสิพิราษฎร์
ก็บาดเนื้อบาดใจฟุน
8. เล่นคา เช่น ท้งงรูปสัตว์ก็จะร้าง
ท้งงรูปร่างก้จะโรย
9. กลบท เช่น โมงโมกม่วงไม้ มูกมัน
จากจิกแจงจวงจันทร์ จิงจ้อ
โหมหินหิ่งหายหัน เหียงหาด
คุยเคียมคาคูนค้อ คัดค้าวแคคาง
เอกลักษณ์ของวรรณคดีไทย
ลักษณะทั้ง 9 ประการเป็ น
เรื่องของเสียง และน่าจะเป็นลักษณะ
ของไทยเรามากกว่าจะรับมาจาก
สันสกฤต แม้แต่การใช้คาซ้า ทั้งคาที่ซ้า
ติดกัน เช่น คล่าคล่าพลแคล้ว (ลิลิต
ตะเลงพ่าย) และซ้าอย่างเว้นจังหวะ
เช่น ได้ช้างได้งวง ได้ปั่วได้นาง (ศิลา
จารึกหลักที่ 1) น่าจะเป็นลักษณะคา
ประพันธ์ไทยมากกว่าได้อิทธิพลจาก
สันสกฤตคือ ยมก
สรุป
ทฤษฎีรส คนไทยจะใช้เพื่อพิจารณางานประพันธ์ของไทยเป็นตอน ๆ ไม่
ค่อยวิจารณ์ทั้งเรื่อง
ทฤษฎีอลังการ คนไทยน่าจะรับมาเพียงบางส่วนผ่านมาทางวรรณคดีบาลี
แต่ลักษณะอลังการทางเสียงนั้น คนไทยย่าจะมีอยู่แล้วด้วยลักษณะของภาษา และ
จะเห็นได้ว่าอลังการที่คนไทยใช้ตรงกับทฤษฎีสันสกฤต คือ อุปมา เป็นส่วนใหญ่
และอาจจะใช้ รูปกะ ที่ตรงกับภาษาไทยว่า อุปลักษณ์ รวมทั้งการใช้ อติศโยกติ ที่
ตรงกับอธิพจน์ในภาษาไทยเท่านั้น ส่วนอลังการอื่น ๆ ของสันสกฤตไม่น่ามีอิทธิพล
ต่อวรรณคดีไทย
งานมอบหมาย
คาชี้แจง: นักศึกษาดาวน์โหลดเอกสาร
จากเว็บลิงก์ต่อไปนี้เพื่อใช้ประกอบการ
เรียนการสอนในสัปดาห์ที่ 7
http://goo.gl/H87d
Y7
กิจกรรมท้ายบทเรียน
คาชี้แจง: นักศึกษาอ่านบทประพันธ์
ต่อไปนี้แล้ววิเคราะห์ตามทฤษฎีรส
(ระบุว่าเป็นรสใดก่อนแล้ว
วิเคราะห์) และทฤษฎีอลังการให้
ครบถ้วน
การวิจารณ์บทประพันธ์ตามแนวตะวันออก
สูงระหงทรงเพรียวเรียวรูด งามละม้ายคล้ายอูฐกะกลาป๋ า
พิศแต่หัวตลอดเท้าขาวแต่ตา ทั้งสองแก้มกัลยาดังลูกยอ
คิ้วก่งเหมือนกงเขาดีดฝ้ าย จมูกละม้ายคล้ายพร้าขอ
หูกลวงดวงพักตร์หักงอ ลาคอโตตันสั้นกลม
สองเต้าห้อยตุงดังถุงตะเคียว โคนเหี่ยวแห้งรวบเหมือนบวบต้ม
เสวยสลายาจุกพระโอษฐ์อม มันน่าเชยน่าชมนางเทวี

More Related Content

What's hot

ข้อสอบความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับภาษาไทย
ข้อสอบความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับภาษาไทยข้อสอบความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับภาษาไทย
ข้อสอบความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับภาษาไทยLhin Za
 
แบบฝึกทักษะเรื่อง การแต่งโคลงสี่สุภาพ ชุดที่ ๑๐ เรื่อง กลวิธีในการแต่งโคลง...
แบบฝึกทักษะเรื่อง  การแต่งโคลงสี่สุภาพ  ชุดที่ ๑๐  เรื่อง กลวิธีในการแต่งโคลง...แบบฝึกทักษะเรื่อง  การแต่งโคลงสี่สุภาพ  ชุดที่ ๑๐  เรื่อง กลวิธีในการแต่งโคลง...
แบบฝึกทักษะเรื่อง การแต่งโคลงสี่สุภาพ ชุดที่ ๑๐ เรื่อง กลวิธีในการแต่งโคลง...Decha Sirigulwiriya
 
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทานโครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทานRawinnipha Joy
 
สื่อ Powerpoint รสวรรณคดีใหม่.ppt1
สื่อ Powerpoint รสวรรณคดีใหม่.ppt1สื่อ Powerpoint รสวรรณคดีใหม่.ppt1
สื่อ Powerpoint รสวรรณคดีใหม่.ppt1krubuatoom
 
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทยแบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทยพัน พัน
 
โวหารในการเขียน
โวหารในการเขียนโวหารในการเขียน
โวหารในการเขียนkrubuatoom
 
คำบาลีสันสกฤต
คำบาลีสันสกฤตคำบาลีสันสกฤต
คำบาลีสันสกฤตphornphan1111
 
หน่วยที่ 1 การเปลี่ยนแปลงของภาษา
หน่วยที่ 1 การเปลี่ยนแปลงของภาษาหน่วยที่ 1 การเปลี่ยนแปลงของภาษา
หน่วยที่ 1 การเปลี่ยนแปลงของภาษาWilawun Wisanuvekin
 
งานนำเสนอมัทนะพาธา
งานนำเสนอมัทนะพาธางานนำเสนอมัทนะพาธา
งานนำเสนอมัทนะพาธาSantichon Islamic School
 
ตัวอย่าง PPT นำเสนอประเมินการพัฒนางาน ว.PA (15 นา.pptx
ตัวอย่าง PPT นำเสนอประเมินการพัฒนางาน ว.PA (15 นา.pptxตัวอย่าง PPT นำเสนอประเมินการพัฒนางาน ว.PA (15 นา.pptx
ตัวอย่าง PPT นำเสนอประเมินการพัฒนางาน ว.PA (15 นา.pptxJessie SK
 
โครงสร้างหลักสูตรประถม
โครงสร้างหลักสูตรประถมโครงสร้างหลักสูตรประถม
โครงสร้างหลักสูตรประถมwangasom
 
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความแบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความsripayom
 
การใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์และการไม่ใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์
การใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์และการไม่ใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์การใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์และการไม่ใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์
การใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์และการไม่ใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์Piyarerk Bunkoson
 
ภูมิศาสตร์
ภูมิศาสตร์ภูมิศาสตร์
ภูมิศาสตร์koorimkhong
 
เฉลยแบบฝึกหัดชนิดของคำ
เฉลยแบบฝึกหัดชนิดของคำเฉลยแบบฝึกหัดชนิดของคำ
เฉลยแบบฝึกหัดชนิดของคำKu'kab Ratthakiat
 
ธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาพัน พัน
 

What's hot (20)

ข้อสอบความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับภาษาไทย
ข้อสอบความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับภาษาไทยข้อสอบความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับภาษาไทย
ข้อสอบความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับภาษาไทย
 
แบบฝึกทักษะเรื่อง การแต่งโคลงสี่สุภาพ ชุดที่ ๑๐ เรื่อง กลวิธีในการแต่งโคลง...
แบบฝึกทักษะเรื่อง  การแต่งโคลงสี่สุภาพ  ชุดที่ ๑๐  เรื่อง กลวิธีในการแต่งโคลง...แบบฝึกทักษะเรื่อง  การแต่งโคลงสี่สุภาพ  ชุดที่ ๑๐  เรื่อง กลวิธีในการแต่งโคลง...
แบบฝึกทักษะเรื่อง การแต่งโคลงสี่สุภาพ ชุดที่ ๑๐ เรื่อง กลวิธีในการแต่งโคลง...
 
2ตัวอย่างนำเสนอโครงการ
2ตัวอย่างนำเสนอโครงการ2ตัวอย่างนำเสนอโครงการ
2ตัวอย่างนำเสนอโครงการ
 
โคลงโลกนิติ
โคลงโลกนิติโคลงโลกนิติ
โคลงโลกนิติ
 
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทานโครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
 
สื่อ Powerpoint รสวรรณคดีใหม่.ppt1
สื่อ Powerpoint รสวรรณคดีใหม่.ppt1สื่อ Powerpoint รสวรรณคดีใหม่.ppt1
สื่อ Powerpoint รสวรรณคดีใหม่.ppt1
 
ระดับของภาษา
ระดับของภาษาระดับของภาษา
ระดับของภาษา
 
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทยแบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย
 
โวหารในการเขียน
โวหารในการเขียนโวหารในการเขียน
โวหารในการเขียน
 
คำบาลีสันสกฤต
คำบาลีสันสกฤตคำบาลีสันสกฤต
คำบาลีสันสกฤต
 
หน่วยที่ 1 การเปลี่ยนแปลงของภาษา
หน่วยที่ 1 การเปลี่ยนแปลงของภาษาหน่วยที่ 1 การเปลี่ยนแปลงของภาษา
หน่วยที่ 1 การเปลี่ยนแปลงของภาษา
 
1 ธรรมชาติและพลังของภาษาไทย(5-34)
1 ธรรมชาติและพลังของภาษาไทย(5-34)1 ธรรมชาติและพลังของภาษาไทย(5-34)
1 ธรรมชาติและพลังของภาษาไทย(5-34)
 
งานนำเสนอมัทนะพาธา
งานนำเสนอมัทนะพาธางานนำเสนอมัทนะพาธา
งานนำเสนอมัทนะพาธา
 
ตัวอย่าง PPT นำเสนอประเมินการพัฒนางาน ว.PA (15 นา.pptx
ตัวอย่าง PPT นำเสนอประเมินการพัฒนางาน ว.PA (15 นา.pptxตัวอย่าง PPT นำเสนอประเมินการพัฒนางาน ว.PA (15 นา.pptx
ตัวอย่าง PPT นำเสนอประเมินการพัฒนางาน ว.PA (15 นา.pptx
 
โครงสร้างหลักสูตรประถม
โครงสร้างหลักสูตรประถมโครงสร้างหลักสูตรประถม
โครงสร้างหลักสูตรประถม
 
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความแบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
แบบฝึกทักษะการเขียนเรียงความ
 
การใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์และการไม่ใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์
การใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์และการไม่ใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์การใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์และการไม่ใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์
การใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์และการไม่ใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์
 
ภูมิศาสตร์
ภูมิศาสตร์ภูมิศาสตร์
ภูมิศาสตร์
 
เฉลยแบบฝึกหัดชนิดของคำ
เฉลยแบบฝึกหัดชนิดของคำเฉลยแบบฝึกหัดชนิดของคำ
เฉลยแบบฝึกหัดชนิดของคำ
 
ธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษา
 

Viewers also liked

Microsoft power point หลัการการวิจารณ์วรรณคดี
Microsoft power point   หลัการการวิจารณ์วรรณคดีMicrosoft power point   หลัการการวิจารณ์วรรณคดี
Microsoft power point หลัการการวิจารณ์วรรณคดีนิตยา ทองดียิ่ง
 
การวิเคราะห์วิจารณ์วรรณคดี
การวิเคราะห์วิจารณ์วรรณคดีการวิเคราะห์วิจารณ์วรรณคดี
การวิเคราะห์วิจารณ์วรรณคดีSantichon Islamic School
 
บทพากย์เอราวัณ
บทพากย์เอราวัณบทพากย์เอราวัณ
บทพากย์เอราวัณพัน พัน
 
บทที่ 4 ภาษาศาสตร์กับการวิเคราะห์ภาษาในระดับต่างๆ
บทที่ 4 ภาษาศาสตร์กับการวิเคราะห์ภาษาในระดับต่างๆบทที่ 4 ภาษาศาสตร์กับการวิเคราะห์ภาษาในระดับต่างๆ
บทที่ 4 ภาษาศาสตร์กับการวิเคราะห์ภาษาในระดับต่างๆWilawun Wisanuvekin
 
ความรู้พื้นฐานด้านวรรณคดี
ความรู้พื้นฐานด้านวรรณคดีความรู้พื้นฐานด้านวรรณคดี
ความรู้พื้นฐานด้านวรรณคดีWatcharapol Wiboolyasarin
 
ประโยคตามเจตนา 7
ประโยคตามเจตนา 7ประโยคตามเจตนา 7
ประโยคตามเจตนา 7Nongkran Jarurnphong
 
ประโยคความรวม กลุ่ม๓
ประโยคความรวม กลุ่ม๓ประโยคความรวม กลุ่ม๓
ประโยคความรวม กลุ่ม๓Nongkran Jarurnphong
 
งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)
งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)
งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)Nongkran Jarurnphong
 
ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙
ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙
ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙Nongkran Jarurnphong
 

Viewers also liked (14)

Microsoft power point หลัการการวิจารณ์วรรณคดี
Microsoft power point   หลัการการวิจารณ์วรรณคดีMicrosoft power point   หลัการการวิจารณ์วรรณคดี
Microsoft power point หลัการการวิจารณ์วรรณคดี
 
การวิเคราะห์วิจารณ์วรรณคดี
การวิเคราะห์วิจารณ์วรรณคดีการวิเคราะห์วิจารณ์วรรณคดี
การวิเคราะห์วิจารณ์วรรณคดี
 
บทพากย์เอราวัณ
บทพากย์เอราวัณบทพากย์เอราวัณ
บทพากย์เอราวัณ
 
บทที่ 4 ภาษาศาสตร์กับการวิเคราะห์ภาษาในระดับต่างๆ
บทที่ 4 ภาษาศาสตร์กับการวิเคราะห์ภาษาในระดับต่างๆบทที่ 4 ภาษาศาสตร์กับการวิเคราะห์ภาษาในระดับต่างๆ
บทที่ 4 ภาษาศาสตร์กับการวิเคราะห์ภาษาในระดับต่างๆ
 
ความรู้พื้นฐานด้านวรรณคดี
ความรู้พื้นฐานด้านวรรณคดีความรู้พื้นฐานด้านวรรณคดี
ความรู้พื้นฐานด้านวรรณคดี
 
การอ่านวรรณคดี ม.๕[1]
การอ่านวรรณคดี ม.๕[1]การอ่านวรรณคดี ม.๕[1]
การอ่านวรรณคดี ม.๕[1]
 
กลุ่มที่ ๑
กลุ่มที่ ๑กลุ่มที่ ๑
กลุ่มที่ ๑
 
บทที่1 บทนำ
บทที่1 บทนำบทที่1 บทนำ
บทที่1 บทนำ
 
กลุ่มที่ ๒
กลุ่มที่ ๒กลุ่มที่ ๒
กลุ่มที่ ๒
 
ประโยคตามเจตนา 7
ประโยคตามเจตนา 7ประโยคตามเจตนา 7
ประโยคตามเจตนา 7
 
ประโยคความรวม กลุ่ม๓
ประโยคความรวม กลุ่ม๓ประโยคความรวม กลุ่ม๓
ประโยคความรวม กลุ่ม๓
 
งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)
งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)
งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)
 
Flickr
FlickrFlickr
Flickr
 
ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙
ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙
ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙
 

Similar to การวิจารณ์วรรณคดีตามแนวตะวันออก

ประวัติของวรรณคดี
ประวัติของวรรณคดีประวัติของวรรณคดี
ประวัติของวรรณคดีRuangrat Watthanasaowalak
 
ประวัติที่มาของเรื่อง1
ประวัติที่มาของเรื่อง1ประวัติที่มาของเรื่อง1
ประวัติที่มาของเรื่อง1Tae'cub Rachen
 
งานนำเสนอ มหาเวสสันดรชาดก กันฑ์กุมาร
งานนำเสนอ มหาเวสสันดรชาดก กันฑ์กุมารงานนำเสนอ มหาเวสสันดรชาดก กันฑ์กุมาร
งานนำเสนอ มหาเวสสันดรชาดก กันฑ์กุมารSantichon Islamic School
 
กัณฑ์มัทรี2๕๗
กัณฑ์มัทรี2๕๗กัณฑ์มัทรี2๕๗
กัณฑ์มัทรี2๕๗Milky' __
 
ฉันทลักษณ์
ฉันทลักษณ์ฉันทลักษณ์
ฉันทลักษณ์krudow14
 
วรรณคดีไทยกับบริบททางสังคม
วรรณคดีไทยกับบริบททางสังคมวรรณคดีไทยกับบริบททางสังคม
วรรณคดีไทยกับบริบททางสังคมmayavee16
 
นวนิยาย(วราภรณ์)(1)
นวนิยาย(วราภรณ์)(1)นวนิยาย(วราภรณ์)(1)
นวนิยาย(วราภรณ์)(1)Mu Koy
 
วรรณคดีสมัยอยุธยาตอนกลาง
วรรณคดีสมัยอยุธยาตอนกลางวรรณคดีสมัยอยุธยาตอนกลาง
วรรณคดีสมัยอยุธยาตอนกลางNattha Namm
 
งานนำเสนอคำไวพจน์
งานนำเสนอคำไวพจน์งานนำเสนอคำไวพจน์
งานนำเสนอคำไวพจน์phornphan1111
 
โครงงานประเภททฤษฏี
โครงงานประเภททฤษฏีโครงงานประเภททฤษฏี
โครงงานประเภททฤษฏีNuchy Geez
 
อุปกรณ์การประพันธ์
อุปกรณ์การประพันธ์อุปกรณ์การประพันธ์
อุปกรณ์การประพันธ์Kalasom Mad-adam
 
อุปกรณ์การประพันธ์
อุปกรณ์การประพันธ์อุปกรณ์การประพันธ์
อุปกรณ์การประพันธ์Kalasom Mad-adam
 
สื่อฯช่วยสอน เรื่องรามเกียรติ์ตอนนารายณ์ปราบนนทก(ปรับ) [โหมดความเข้ากันได้]
สื่อฯช่วยสอน เรื่องรามเกียรติ์ตอนนารายณ์ปราบนนทก(ปรับ) [โหมดความเข้ากันได้]สื่อฯช่วยสอน เรื่องรามเกียรติ์ตอนนารายณ์ปราบนนทก(ปรับ) [โหมดความเข้ากันได้]
สื่อฯช่วยสอน เรื่องรามเกียรติ์ตอนนารายณ์ปราบนนทก(ปรับ) [โหมดความเข้ากันได้]Nongkran Jarurnphong
 

Similar to การวิจารณ์วรรณคดีตามแนวตะวันออก (20)

ประวัติของวรรณคดี
ประวัติของวรรณคดีประวัติของวรรณคดี
ประวัติของวรรณคดี
 
ประวัติที่มาของเรื่อง1
ประวัติที่มาของเรื่อง1ประวัติที่มาของเรื่อง1
ประวัติที่มาของเรื่อง1
 
งานนำเสนอ มหาเวสสันดรชาดก กันฑ์กุมาร
งานนำเสนอ มหาเวสสันดรชาดก กันฑ์กุมารงานนำเสนอ มหาเวสสันดรชาดก กันฑ์กุมาร
งานนำเสนอ มหาเวสสันดรชาดก กันฑ์กุมาร
 
กัณฑ์มัทรี2๕๗
กัณฑ์มัทรี2๕๗กัณฑ์มัทรี2๕๗
กัณฑ์มัทรี2๕๗
 
Ppt1
Ppt1Ppt1
Ppt1
 
ฉันทลักษณ์
ฉันทลักษณ์ฉันทลักษณ์
ฉันทลักษณ์
 
วรรณคดีไทยกับบริบททางสังคม
วรรณคดีไทยกับบริบททางสังคมวรรณคดีไทยกับบริบททางสังคม
วรรณคดีไทยกับบริบททางสังคม
 
ละครไทย
ละครไทยละครไทย
ละครไทย
 
นวนิยายพร้อมส่ง
นวนิยายพร้อมส่งนวนิยายพร้อมส่ง
นวนิยายพร้อมส่ง
 
นวนิยาย(วราภรณ์)(1)
นวนิยาย(วราภรณ์)(1)นวนิยาย(วราภรณ์)(1)
นวนิยาย(วราภรณ์)(1)
 
วรรณคดีสมัยอยุธยาตอนกลาง
วรรณคดีสมัยอยุธยาตอนกลางวรรณคดีสมัยอยุธยาตอนกลาง
วรรณคดีสมัยอยุธยาตอนกลาง
 
งานนำเสนอคำไวพจน์
งานนำเสนอคำไวพจน์งานนำเสนอคำไวพจน์
งานนำเสนอคำไวพจน์
 
Test 6
Test 6Test 6
Test 6
 
โครงงานประเภททฤษฏี
โครงงานประเภททฤษฏีโครงงานประเภททฤษฏี
โครงงานประเภททฤษฏี
 
แบง
แบงแบง
แบง
 
อุปกรณ์การประพันธ์
อุปกรณ์การประพันธ์อุปกรณ์การประพันธ์
อุปกรณ์การประพันธ์
 
อุปกรณ์การประพันธ์
อุปกรณ์การประพันธ์อุปกรณ์การประพันธ์
อุปกรณ์การประพันธ์
 
Korat
KoratKorat
Korat
 
ใบความรู้ ฉันท์
ใบความรู้ ฉันท์ใบความรู้ ฉันท์
ใบความรู้ ฉันท์
 
สื่อฯช่วยสอน เรื่องรามเกียรติ์ตอนนารายณ์ปราบนนทก(ปรับ) [โหมดความเข้ากันได้]
สื่อฯช่วยสอน เรื่องรามเกียรติ์ตอนนารายณ์ปราบนนทก(ปรับ) [โหมดความเข้ากันได้]สื่อฯช่วยสอน เรื่องรามเกียรติ์ตอนนารายณ์ปราบนนทก(ปรับ) [โหมดความเข้ากันได้]
สื่อฯช่วยสอน เรื่องรามเกียรติ์ตอนนารายณ์ปราบนนทก(ปรับ) [โหมดความเข้ากันได้]
 

More from Watcharapol Wiboolyasarin

คู่มือนักศึกษาคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
คู่มือนักศึกษาคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์คู่มือนักศึกษาคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
คู่มือนักศึกษาคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์Watcharapol Wiboolyasarin
 
สารคณะกรรมการฝ่ายเทคโนโลยีสารสนเทศ ฉบับที่ 4 ก.พ.59
สารคณะกรรมการฝ่ายเทคโนโลยีสารสนเทศ ฉบับที่ 4 ก.พ.59สารคณะกรรมการฝ่ายเทคโนโลยีสารสนเทศ ฉบับที่ 4 ก.พ.59
สารคณะกรรมการฝ่ายเทคโนโลยีสารสนเทศ ฉบับที่ 4 ก.พ.59Watcharapol Wiboolyasarin
 
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับวรรณกรรม
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับวรรณกรรมความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับวรรณกรรม
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับวรรณกรรมWatcharapol Wiboolyasarin
 
ภาษาไทยในงานเอกสารราชการและเอกสารธุรกิจ
ภาษาไทยในงานเอกสารราชการและเอกสารธุรกิจ ภาษาไทยในงานเอกสารราชการและเอกสารธุรกิจ
ภาษาไทยในงานเอกสารราชการและเอกสารธุรกิจ Watcharapol Wiboolyasarin
 
ภาษาไทยในงานเอกสารราชการและเอกสารธุรกิจ
ภาษาไทยในงานเอกสารราชการและเอกสารธุรกิจภาษาไทยในงานเอกสารราชการและเอกสารธุรกิจ
ภาษาไทยในงานเอกสารราชการและเอกสารธุรกิจWatcharapol Wiboolyasarin
 
การอ้างอิงทางวิชาการ
การอ้างอิงทางวิชาการการอ้างอิงทางวิชาการ
การอ้างอิงทางวิชาการWatcharapol Wiboolyasarin
 
Blended Instructional Model Based on Participatory Communication withUsing R...
Blended Instructional Model Based on Participatory Communication withUsing  R...Blended Instructional Model Based on Participatory Communication withUsing  R...
Blended Instructional Model Based on Participatory Communication withUsing R...Watcharapol Wiboolyasarin
 

More from Watcharapol Wiboolyasarin (16)

การเขียนรายงาน
การเขียนรายงานการเขียนรายงาน
การเขียนรายงาน
 
การเขียนรายงาน
การเขียนรายงานการเขียนรายงาน
การเขียนรายงาน
 
คู่มือนักศึกษาคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
คู่มือนักศึกษาคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์คู่มือนักศึกษาคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
คู่มือนักศึกษาคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
 
สารคณะกรรมการฝ่ายเทคโนโลยีสารสนเทศ ฉบับที่ 4 ก.พ.59
สารคณะกรรมการฝ่ายเทคโนโลยีสารสนเทศ ฉบับที่ 4 ก.พ.59สารคณะกรรมการฝ่ายเทคโนโลยีสารสนเทศ ฉบับที่ 4 ก.พ.59
สารคณะกรรมการฝ่ายเทคโนโลยีสารสนเทศ ฉบับที่ 4 ก.พ.59
 
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับวรรณกรรม
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับวรรณกรรมความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับวรรณกรรม
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับวรรณกรรม
 
ภาษาไทยในงานเอกสารราชการและเอกสารธุรกิจ
ภาษาไทยในงานเอกสารราชการและเอกสารธุรกิจ ภาษาไทยในงานเอกสารราชการและเอกสารธุรกิจ
ภาษาไทยในงานเอกสารราชการและเอกสารธุรกิจ
 
ภาษาไทยในงานเอกสารราชการและเอกสารธุรกิจ
ภาษาไทยในงานเอกสารราชการและเอกสารธุรกิจภาษาไทยในงานเอกสารราชการและเอกสารธุรกิจ
ภาษาไทยในงานเอกสารราชการและเอกสารธุรกิจ
 
การอ้างอิงทางวิชาการ
การอ้างอิงทางวิชาการการอ้างอิงทางวิชาการ
การอ้างอิงทางวิชาการ
 
Week 3 of TTFL
Week 3 of TTFLWeek 3 of TTFL
Week 3 of TTFL
 
Week 2 of TTFL
Week 2 of TTFLWeek 2 of TTFL
Week 2 of TTFL
 
Week 3 of WS4T
Week 3 of WS4TWeek 3 of WS4T
Week 3 of WS4T
 
Week 2 of WS4T
Week 2 of WS4T Week 2 of WS4T
Week 2 of WS4T
 
Week 1 of TTFL
Week 1 of TTFLWeek 1 of TTFL
Week 1 of TTFL
 
Week 1 of WS4T
Week 1 of WS4TWeek 1 of WS4T
Week 1 of WS4T
 
Blended Instructional Model Based on Participatory Communication withUsing R...
Blended Instructional Model Based on Participatory Communication withUsing  R...Blended Instructional Model Based on Participatory Communication withUsing  R...
Blended Instructional Model Based on Participatory Communication withUsing R...
 
ความงามทางภาษา
ความงามทางภาษาความงามทางภาษา
ความงามทางภาษา
 

การวิจารณ์วรรณคดีตามแนวตะวันออก