SlideShare a Scribd company logo
ตามรอยนิราศภูเขาทอง 
วิชาภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑
เนื้อหา 
สุนทรภู่ 
นิราศภูเขาทอง 
ที่มาของเรื่อง 
ลักษณะคำประพันธ์ 
ผู้จัดทา แผนที่กำรเดินทำง
สุนทรภู่ 
พระสุนทรโวหาร นามเดิม ภู่ หรือที่ 
เรียกกันทั่วไปว่า สุนทรภู่ (๒๖ มิถุนายน 
พ.ศ. ๒๓๒๙ - พ.ศ. ๒๓๙๘) เป็นกวีชาว 
ไทยที่มีชื่อเสียง ได้รับยกย่องเป็น 
เชกสเปียร์แห่งประเทศไทย 
เนื้อหา
สุนทรภู่เป็นกวีที่มีความชานาญทางด้านกลอน ได้สร้างขนบ 
การประพันธ์กลอนนิทานและกลอนนิราศขึ้นใหม่จนกลายเป็นที่นิยม 
อย่างกว้างขวาง สืบเนื่องมาจนถึงปัจจุบัน ผลงานที่มีชื่อเสียงของสุนทรภู่ 
มีมากมาย เช่น นิราศภูเขาทอง นิราศสุพรรณ เพลงยาวถวายโอวาท 
กาพย์พระไชยสุริยา และพระอภัยมณี เป็นต้น 
เนื้อหา
ที่มาของเรื่อง 
นิราศภูเขาทองเป็นวรรณคดีประเภท 
นิราศ ได้รับการยกย่องว่าเป็นนิราศเรื่องที่ดีที่สุด 
ของสุนทรภู่ (พ.ศ. ๒๓๒๙ - ๒๓๙๘) ท่านแต่ง 
เ รื่อ ง นี้จ า ก ก า ร เ ดิน ท า ง ไ ป น มัส ก า ร เ จ ดีย์ 
ภูเขาทองที่กรุงเก่า (จังหวัดพระนครศรีอยุธยา) 
เมื่อเดือน ๑๑ ปีชวด (พ.ศ.๒๓๗๑) ขณะบวชเป็น 
พระภิกษุเมื่ออายุราว ๔๒ ปี 
เนื้อหา
ลักษณะคาประพันธ์ 
นิราศภูเขาทองแต่งด้วยกลอนแปด ขึ้นต้นด้วยวรรครับ จบด้วย 
วรรคส่ง ลงท้ายด้วยคาว่า เอย มีความยาว ๘๙ คากลอนเท่านั้น แต่มีความ 
ไพเราะ และเรียบง่าย ตามแบบฉบับของสุนทรภู่ ใช้ภาษาที่เข้าใจง่าย 
บรรยายความรู้สึก ขณะเดียวกันก็เล่าถึงสภาพของเส้นทางที่กาลังเดินทางไป 
ด้วย ท่านมักจะเปรียบเทียบชีวิตและโชคชะตาของตนกับธรรมชาติรอบข้าง 
ที่ตนได้เดินทางผ่านไป 
เนื้อหา
แผนที่การเดินทาง นิราศภูเขาทอง 
เนื้อหา 
ออกเดินทำง 
คลิกที่เรือเพื่อไปยังแผนที่หน้าถัดไป 
คลิกเพื่อออกเดินทาง
แผนที่การเดินทาง นิราศภูเขาทอง 
เนื้อหา 
คลิกเพื่อออกเดินทาง 
ออกเดินทำง
วัดราชบูรณะ (วัดเลียบ) 
ที่ตั้ง : เชิงสะพานพุทธฝั่งกรุงเทพฯ 
ความสาคัญ : สร้างขึ้นปลายสมัยอยุธยา วัดนี้เป็นหนึ่งในจานวนวัดเอก 
ประจาเมือง 3 วัด ได้แก่ วัดราชบูรณะ วัดราชประดิษฐ์ และวัดมหาธาตุ 
แผนที่การเดินทาง
พระบรมมหาราชวัง 
ที่ตั้ง : แขวงพระบรมมหาราชวัง 
เ ข ต พ ร ะ น ค ร ก รุง เ ท พ ฯ 
ค ว า ม สา คัญ : ส ร้า ง ขึ้น เมื่อ 
พ.ศ. ๒๓๒๕ เพื่อเป็นที่ประทับ 
ข อ ง พ ร ะ ม ห า ก ษัต ริย์ส มัย 
รัตน โ ก สิน ท ร์ ตั้ง แ ต่รัช ส มัย 
พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้า 
จุฬาโลกมหาราช จนถึงรัชสมัย 
พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้า 
เจ้าอยู่หัว 
คลิกเพื่อดูภาพในมุมมอง 360 องศา 
แผนที่การเดินทาง
วัดประโคนปัก 
ชื่อปัจจุบัน : วัดดุสิตาราม วรวิหาร 
ที่ตั้ง : ริมแม่น้าเจ้าพระยาฝั่งตะวันตก เหนือปากคลองบางกอกน้อย แขวงอรุณอัมรินทร์ 
เขตบางกอกน้อย กรุงเทพฯ 
แผนที่การเดินทาง
วัดเขมาภิรตาราม 
ความสาคัญ : สร้างในสมัยอยุธยา มีโบราณสถานที่สาคัญ คือ พระตาหนักแดง 
อนุสรณ์กรมสมเด็จพระศรีสุริเยนทรามาตย์พระที่นั่งมูลมณเฑียร ซึ่งเดิมเป็นพระ 
ตาหนักในพระบรมมหาราชวัง รัชกาลที่ ๕ ทรงพระราชอุทิศ ให้รื้อมาปลูกในวัดนี้ 
ที่ตั้ง : ถนนพิบูลสงคราม 
อาเภอเมืองนนทบุรี 
จังหวัด นนทบุรี 
แผนที่การเดินทาง
วัดหน้าพระเมรุ 
ความสาคัญ : สร้างในสมัยอยุธยาตอนต้น เป็นวัดเดียวในกรุงศรีอยุธยาที่ไม่ถูก 
พม่าทาลาย และยังคงสภาพที่ดีมาก เนื่องจากพม่าได้ไปตั้งกองบัญชาการอยู่ที่วัดนี้ 
พระประธานของวัดนี้คือ พระพุทธนิมิตรวิชิตมารโมลีศรีสรรเพชญบรมไตรโลกนาถ 
ที่ตั้ง : อาเภอพระนครศรีอยุธยา 
จังหวัดพระนครศรีอยุธยา 
แผนที่การเดินทาง
วัดภูเขาทอง 
ที่ตั้ง : เกาะเมือง อาเภอพระนครศรีอยุธยา 
จังหวัดพระนครศรีอยุธยา 
ค ว า ม สา คัญ : เ มื่อ ปี พ . ศ . ๒ ๑ ๑ ๒ 
พระเจ้าบุเรงนอง แห่งเมืองหงสาวดีได้ยกทัพ 
เข้ามาตีกรุงศรีอยุธยาได้สาเร็จ จึงได้สร้าง 
พระเจดีย์ใหญ่แบบมอญขึ้นไว้เป็นอนุสรณ์ 
ที่วัดนี้ เจดีย์ที่สร้างนี้เรียกว่า ภูเขาทอง และวัด 
ที่อยู่ติดกับเจดีย์นี้ก็เรียกว่า วัดภูเขาทอง 
แผนที่การเดินทาง 
คลิกเพื่อดูภาพในมุมมอง 360 องศา
วัดใหญ่ชัยมงคล 
ที่ตั้ง : ตาบลคลองสวนพลู 
อาเภอพระนครศรีอยุธยา 
จังหวัดพระนครศรีอยุธยา 
ความสาคัญ : เป็นที่ประดิษฐานพระพุทธชัยมงคล พระประธานที่เป็นสิ่งศักดิ์สิทธิ์ของวัด 
และเป็นที่ประดิษฐานศาลสมเด็จพระนเรศวรมหาราช 
แผนที่การเดินทาง 
คลิกเพื่อดูภาพในมุมมอง 360 องศา
วัดอรุณราชวราราม 
ที่ตั้ง ริมแม่น้าเจ้าพระยาฝั่งธนบุรี ตรงข้ามวัดโพธิ์ 
ความสาคัญ : สร้างขึ้นสมัยอยุธยา เป็นอารามหลวงชั้นเอกเดิมชื่อวัดมะกอก 
และวัดแจ้ง ใช้เป็นที่ประดิษฐานของพระแก้มมรกตที่อัญเชิญมาจากเวียงจันทน์ 
และถือเป็นวัดประจารัชกาลที่ ๒ 
คลิกเพื่อดูภาพในมุมมอง 360 องศา แผนที่การเดินทาง
วัดระฆังโฆสิตาราม 
ที่ตั้ง : ถนนอรุณอัมรินทร์แขวงศิริราช เขตบางกอกน้อย 
ความสาคัญ : สร้างขึ้นสมัยอยุธยา เป็นพระอารามหลวงชั้นโท เดิมชื่อวัดบางว้า 
ใหญ่ ภายในพระอุโบสถเป็นที่ประดิษฐาน พระประธานยิ้มรับฟ้า และเคยเป็น 
ที่ประทับของสมเด็จพระพุฒาจารย์(โต พรหมรังสี) สมเด็จพระราชาคณะ 
ในสมัยรัชกาลที่ ๔ 
แผนที่การเดินทาง
นนทบุรี 
ที่ตั้ง : ภาคกลางของประเทศไทย มีอาณาเขตติดกับจังหวัดพระนครศรีอยุธยา 
จังหวัดปทุมธานี และกรุงเทพมหานคร 
สิ่งขึ้นชื่อของเมืองนนทบุรี : ทุเรียนพันธุ์ก้านยาว หมอนทอง เกาะเกร็ด 
วัดกัลป์ยานมิตร วัดอรุณ และวัดระฆัง 
แผนที่การเดินทาง
สามโคก 
ที่ตั้ง : ฝั่งตะวันตกของแม่น้าเจ้าพระยา ปัจจุบันเป็นอาเภอหนึ่งของจังหวัดปทุมธานี 
ความสาคัญ : รัชกาลที่ ๒ เคยเสด็จประทับที่ฝั่งตรงข้ามสามโคก ชาวรามัญนาดอกบัว 
มาถวายและทรงเห็นว่าท้องที่นี้มีบัวขึ้นมาก จึงพระราชทานนามให้ใหม่ว่า “ปทุมธานี” 
ดังที่สุนทรภู่ได้กล่าวไว้ในนิราศภูเขาทอง 
แผนที่การเดินทาง
บางปะอิน 
ที่ตั้ง : เป็นเกาะเล็กๆ 
อยู่กลางแม่น้าเจ้าพระยา 
ในเขตอาเภอบางปะอิน 
จังหวัดพระนครศรีอยุธยา 
ความสาคัญ : เป็นที่ตั้งของพระราชวังบางปะอินเมื่อครั้งสมัยพระเจ้าปราสาททอง 
รกร้างไปในสมัยเสียกรุงศรีอยุธยาครั้งที่ ๒ และต่อมาในสมัยพระบาทสมเด็จ 
พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ ๕) โปรดเกล้า ฯ ให้สร้างพระราชวัง 
บางปะอินขึ้นใหม่ มีพระที่นั่งต่าง ๆ ดังที่เห็นอยู่ในปัจจุบัน 
แผนที่การเดินทาง
ตลาดขวัญ 
ตลาดขวัญในปัจจุบัน 
ชุมชนที่เงียบสงบ 
ที่ตั้ง : อยู่ในเขตเทศบาลนครนนทบุรี อาเภอเมืองนนทบุรี จังหวัดนนทบุรี 
ความสาคัญ : เรียกอีกชื่อว่า บ้านตลาดขวัญ เป็นชุมชนเก่าของนนทบุรี มีการตั้งถิ่นฐาน 
ตั้งแต่สมัยกรุงศรีอยุธยา ต่อมาสมเด็จพระมหาจักรพรรดิได้ทรงยกฐานะให้เมืองนนทบุรี 
แผนที่การเดินทาง
เกาะเกร็ด 
ที่ตั้ง : เกาะกลางน้า 
ในแม่น้าเจ้าพระยาตอนล่าง 
อาเภอปากเกร็ด 
จังหวัดนนทบุรี 
ความสาคัญ : เกาะเกร็ดเกิดจากการขุดคลองลัดแม่น้าเจ้าพระยาเมื่อปีพ.ศ. ๒๒๖๕ 
ในรัชสมัยสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวท้ายสระ ปัจจุบันเป็นสถานที่ขึ้นชื่อของชุมชน 
กลุ่มชาวมอญและมีเครื่องปั้นดินเผาชั้นดีเป็นสินค้าประจาเกาะ 
แผนที่การเดินทาง
บางพลัด 
ที่ตั้ง : อยู่ในกลุ่มเขตกรุงธนเหนือ ติดต่อกับอาเภอบางกรวย (จังหวัดนนทบุรี) 
เขตบางซื่อ เขตดุสิต เขตพระนคร เขตบางกอกน้อย เขตตลิ่งชัน 
สถานที่สาคัญ : สะพานพระราม 8 สะพานกรุงธน บ้านบางยี่ขัน 
แผนที่การเดินทาง
ตลาดแก้ว 
ที่ตั้ง : เขตชายแดนของหมู่บ้านที่อยู่ติดกับกรุงเทพในปัจจุบัน 
ประวัติ : สันนิษฐานกันว่าเดิมเป็นชุมชนที่มีความสาคัญคู่กับตลาดขวัญ ซึ่งเป็นที่ตั้งตัวเมือง 
แต่ดั้งเดิม ทว่าในขณะนี้ไม่ปรากฏร่องรอยหลงเหลืออยู่เลย เป็นแต่เพียงสันนิษฐานกันว่า 
อยู่บริเวณปากคลองบางเขน (คลองนี้ถือเป็นเส้นแบ่งเขตจังหวัดกรุงเทพฯกับนนทบุรี) ใต้วัด 
ปากน้า ต.สวนใหญ่อ.เมืองฯ จ.นนทบุรี 
แผนที่การเดินทาง
ผู้จัดทา : 
นางสาวญาณิกา เลิศสินธพานนท์ 
นางสาวศุภิสรา นามเดช 
นางสาวพัชรี ภูผิวผา 
นิสิตชั้นปีที่ ๒ 
คณะครุศาสตร์ สาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษา 
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 
เนื้อหา

More Related Content

What's hot

นิราศภูเขาทองม.๑
นิราศภูเขาทองม.๑นิราศภูเขาทองม.๑
นิราศภูเขาทองม.๑
Kornnicha Wonglai
 
โคลงสี่สุภาพ
โคลงสี่สุภาพโคลงสี่สุภาพ
โคลงสี่สุภาพ
กึม จันทิภา
 
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทานโครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทานRawinnipha Joy
 
นิราศนรินทร์คำโคลง
นิราศนรินทร์คำโคลงนิราศนรินทร์คำโคลง
นิราศนรินทร์คำโคลง
Surapong Klamboot
 
สรุปนิราศภูเขาทอง
สรุปนิราศภูเขาทองสรุปนิราศภูเขาทอง
สรุปนิราศภูเขาทองkanchana13
 
โคลงโลกนิติ
โคลงโลกนิติโคลงโลกนิติ
โคลงโลกนิติพัน พัน
 
แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4
แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4
แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4Sivagon Soontong
 
สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์Jariya Huangjing
 
ราชาธิราช ตอน สมิงพระรามอาสา โดยครูบลู ภาริทธิ์
ราชาธิราช ตอน สมิงพระรามอาสา โดยครูบลู ภาริทธิ์ราชาธิราช ตอน สมิงพระรามอาสา โดยครูบลู ภาริทธิ์
ราชาธิราช ตอน สมิงพระรามอาสา โดยครูบลู ภาริทธิ์
Parit_Blue
 
๑๐. ฉันทลักษณ์และคำประพันธ์ประเภทกาพย์[1]
๑๐. ฉันทลักษณ์และคำประพันธ์ประเภทกาพย์[1]๑๐. ฉันทลักษณ์และคำประพันธ์ประเภทกาพย์[1]
๑๐. ฉันทลักษณ์และคำประพันธ์ประเภทกาพย์[1]นิตยา ทองดียิ่ง
 
อจท. พระพุทธศาสนา ม.3
อจท. พระพุทธศาสนา ม.3อจท. พระพุทธศาสนา ม.3
อจท. พระพุทธศาสนา ม.3
O'Orh ChatmaNee
 
กัณฑ์มัทรี2๕๗
กัณฑ์มัทรี2๕๗กัณฑ์มัทรี2๕๗
กัณฑ์มัทรี2๕๗Milky' __
 
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรีSivagon Soontong
 
รายงานทางวิชาการเรื่อง หัวใจชายหนุ่ม
รายงานทางวิชาการเรื่อง หัวใจชายหนุ่มรายงานทางวิชาการเรื่อง หัวใจชายหนุ่ม
รายงานทางวิชาการเรื่อง หัวใจชายหนุ่มGuntima NaLove
 
วิธีการทางประวัติศาสตร์
วิธีการทางประวัติศาสตร์วิธีการทางประวัติศาสตร์
วิธีการทางประวัติศาสตร์
jeeraporn
 
กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6
กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6 กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6
กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6
Bom Anuchit
 
คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์
คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์
คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์
niralai
 

What's hot (20)

นิราศภูเขาทองม.๑
นิราศภูเขาทองม.๑นิราศภูเขาทองม.๑
นิราศภูเขาทองม.๑
 
โคลงสี่สุภาพ
โคลงสี่สุภาพโคลงสี่สุภาพ
โคลงสี่สุภาพ
 
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทานโครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
 
นิราศนรินทร์คำโคลง
นิราศนรินทร์คำโคลงนิราศนรินทร์คำโคลง
นิราศนรินทร์คำโคลง
 
สรุปนิราศภูเขาทอง
สรุปนิราศภูเขาทองสรุปนิราศภูเขาทอง
สรุปนิราศภูเขาทอง
 
โคลงโลกนิติ
โคลงโลกนิติโคลงโลกนิติ
โคลงโลกนิติ
 
แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4
แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4
แบบทดสอบหลังเรียนเรื่องบทนมัสการมาตาปิตุคุณและอาจาริยคุณ_ม.4
 
สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์
 
ราชาธิราช ตอน สมิงพระรามอาสา โดยครูบลู ภาริทธิ์
ราชาธิราช ตอน สมิงพระรามอาสา โดยครูบลู ภาริทธิ์ราชาธิราช ตอน สมิงพระรามอาสา โดยครูบลู ภาริทธิ์
ราชาธิราช ตอน สมิงพระรามอาสา โดยครูบลู ภาริทธิ์
 
ลิลิตตะเลงพ่าย (สอน Ppt)[1]
ลิลิตตะเลงพ่าย (สอน Ppt)[1]ลิลิตตะเลงพ่าย (สอน Ppt)[1]
ลิลิตตะเลงพ่าย (สอน Ppt)[1]
 
การอ่านวรรณคดี ม.๕[1]
การอ่านวรรณคดี ม.๕[1]การอ่านวรรณคดี ม.๕[1]
การอ่านวรรณคดี ม.๕[1]
 
๑๐. ฉันทลักษณ์และคำประพันธ์ประเภทกาพย์[1]
๑๐. ฉันทลักษณ์และคำประพันธ์ประเภทกาพย์[1]๑๐. ฉันทลักษณ์และคำประพันธ์ประเภทกาพย์[1]
๑๐. ฉันทลักษณ์และคำประพันธ์ประเภทกาพย์[1]
 
อจท. พระพุทธศาสนา ม.3
อจท. พระพุทธศาสนา ม.3อจท. พระพุทธศาสนา ม.3
อจท. พระพุทธศาสนา ม.3
 
1 ธรรมชาติและพลังของภาษาไทย(5-34)
1 ธรรมชาติและพลังของภาษาไทย(5-34)1 ธรรมชาติและพลังของภาษาไทย(5-34)
1 ธรรมชาติและพลังของภาษาไทย(5-34)
 
กัณฑ์มัทรี2๕๗
กัณฑ์มัทรี2๕๗กัณฑ์มัทรี2๕๗
กัณฑ์มัทรี2๕๗
 
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
 
รายงานทางวิชาการเรื่อง หัวใจชายหนุ่ม
รายงานทางวิชาการเรื่อง หัวใจชายหนุ่มรายงานทางวิชาการเรื่อง หัวใจชายหนุ่ม
รายงานทางวิชาการเรื่อง หัวใจชายหนุ่ม
 
วิธีการทางประวัติศาสตร์
วิธีการทางประวัติศาสตร์วิธีการทางประวัติศาสตร์
วิธีการทางประวัติศาสตร์
 
กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6
กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6 กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6
กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6
 
คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์
คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์
คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์
 

Similar to นิราศภูเขาทอง

มอญศึกษา
มอญศึกษามอญศึกษา
มอญศึกษาengtivaporn
 
จังหวัดร้อยเอ็ด
จังหวัดร้อยเอ็ดจังหวัดร้อยเอ็ด
จังหวัดร้อยเอ็ด
SRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
รุ่งอรุณแห่งความสุข
รุ่งอรุณแห่งความสุขรุ่งอรุณแห่งความสุข
รุ่งอรุณแห่งความสุขKwandjit Boonmak
 
Key of sheet 8 56x
Key of sheet 8 56xKey of sheet 8 56x
Key of sheet 8 56x
Pracha Wongsrida
 
การสถาปนา..
การสถาปนา..การสถาปนา..
ลำพูน
ลำพูนลำพูน
เมืองน่าน
เมืองน่านเมืองน่าน
เมืองน่านkrunoony
 
ศ ลปะอ นเด_ย
ศ ลปะอ นเด_ยศ ลปะอ นเด_ย
ศ ลปะอ นเด_ย
กมลวรรณ เกตุดำ
 
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศเพื่อนบ้าน
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศเพื่อนบ้าน การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศเพื่อนบ้าน
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศเพื่อนบ้าน
เพ็ญลักษณ์ สุวรรณาโชติ
 
09กรุงรัตนโกสินทร์ร.1 ร
09กรุงรัตนโกสินทร์ร.1 ร09กรุงรัตนโกสินทร์ร.1 ร
09กรุงรัตนโกสินทร์ร.1 รJulPcc CR
 
09กรุงรัตนโกสินทร์ร.1 ร
09กรุงรัตนโกสินทร์ร.1 ร09กรุงรัตนโกสินทร์ร.1 ร
09กรุงรัตนโกสินทร์ร.1 รJulPcc CR
 
09กรุงรัตนโกสินทร์ร.1 ร
09กรุงรัตนโกสินทร์ร.1 ร09กรุงรัตนโกสินทร์ร.1 ร
09กรุงรัตนโกสินทร์ร.1 รJulPcc CR
 
หม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมช
หม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมชหม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมช
หม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมชNing Rommanee
 
หม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมช
หม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมชหม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมช
หม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมช
Ning Rommanee
 
หม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมช
หม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมชหม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมช
หม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมชNing Rommanee
 

Similar to นิราศภูเขาทอง (20)

นายเอื้อ สุนทรสนาน
นายเอื้อ สุนทรสนานนายเอื้อ สุนทรสนาน
นายเอื้อ สุนทรสนาน
 
มอญศึกษา
มอญศึกษามอญศึกษา
มอญศึกษา
 
จังหวัดร้อยเอ็ด
จังหวัดร้อยเอ็ดจังหวัดร้อยเอ็ด
จังหวัดร้อยเอ็ด
 
รุ่งอรุณแห่งความสุข
รุ่งอรุณแห่งความสุขรุ่งอรุณแห่งความสุข
รุ่งอรุณแห่งความสุข
 
พระนครศรีอยุธยา
พระนครศรีอยุธยาพระนครศรีอยุธยา
พระนครศรีอยุธยา
 
Key of sheet 8 56x
Key of sheet 8 56xKey of sheet 8 56x
Key of sheet 8 56x
 
การสถาปนา..
การสถาปนา..การสถาปนา..
การสถาปนา..
 
ลำพูน
ลำพูนลำพูน
ลำพูน
 
เมืองน่าน
เมืองน่านเมืองน่าน
เมืองน่าน
 
Nuin
NuinNuin
Nuin
 
Nuin
NuinNuin
Nuin
 
ศ ลปะอ นเด_ย
ศ ลปะอ นเด_ยศ ลปะอ นเด_ย
ศ ลปะอ นเด_ย
 
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศเพื่อนบ้าน
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศเพื่อนบ้าน การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศเพื่อนบ้าน
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศเพื่อนบ้าน
 
09กรุงรัตนโกสินทร์ร.1 ร
09กรุงรัตนโกสินทร์ร.1 ร09กรุงรัตนโกสินทร์ร.1 ร
09กรุงรัตนโกสินทร์ร.1 ร
 
09กรุงรัตนโกสินทร์ร.1 ร
09กรุงรัตนโกสินทร์ร.1 ร09กรุงรัตนโกสินทร์ร.1 ร
09กรุงรัตนโกสินทร์ร.1 ร
 
09กรุงรัตนโกสินทร์ร.1 ร
09กรุงรัตนโกสินทร์ร.1 ร09กรุงรัตนโกสินทร์ร.1 ร
09กรุงรัตนโกสินทร์ร.1 ร
 
หม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมช
หม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมชหม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมช
หม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมช
 
หม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมช
หม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมชหม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมช
หม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมช
 
หม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมช
หม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมชหม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมช
หม่อมราชวงศ์ คึกฤทธิ์ ปราโมช
 
อาณาจักรอยุธยา
อาณาจักรอยุธยาอาณาจักรอยุธยา
อาณาจักรอยุธยา
 

นิราศภูเขาทอง

  • 2. เนื้อหา สุนทรภู่ นิราศภูเขาทอง ที่มาของเรื่อง ลักษณะคำประพันธ์ ผู้จัดทา แผนที่กำรเดินทำง
  • 3. สุนทรภู่ พระสุนทรโวหาร นามเดิม ภู่ หรือที่ เรียกกันทั่วไปว่า สุนทรภู่ (๒๖ มิถุนายน พ.ศ. ๒๓๒๙ - พ.ศ. ๒๓๙๘) เป็นกวีชาว ไทยที่มีชื่อเสียง ได้รับยกย่องเป็น เชกสเปียร์แห่งประเทศไทย เนื้อหา
  • 4. สุนทรภู่เป็นกวีที่มีความชานาญทางด้านกลอน ได้สร้างขนบ การประพันธ์กลอนนิทานและกลอนนิราศขึ้นใหม่จนกลายเป็นที่นิยม อย่างกว้างขวาง สืบเนื่องมาจนถึงปัจจุบัน ผลงานที่มีชื่อเสียงของสุนทรภู่ มีมากมาย เช่น นิราศภูเขาทอง นิราศสุพรรณ เพลงยาวถวายโอวาท กาพย์พระไชยสุริยา และพระอภัยมณี เป็นต้น เนื้อหา
  • 5. ที่มาของเรื่อง นิราศภูเขาทองเป็นวรรณคดีประเภท นิราศ ได้รับการยกย่องว่าเป็นนิราศเรื่องที่ดีที่สุด ของสุนทรภู่ (พ.ศ. ๒๓๒๙ - ๒๓๙๘) ท่านแต่ง เ รื่อ ง นี้จ า ก ก า ร เ ดิน ท า ง ไ ป น มัส ก า ร เ จ ดีย์ ภูเขาทองที่กรุงเก่า (จังหวัดพระนครศรีอยุธยา) เมื่อเดือน ๑๑ ปีชวด (พ.ศ.๒๓๗๑) ขณะบวชเป็น พระภิกษุเมื่ออายุราว ๔๒ ปี เนื้อหา
  • 6. ลักษณะคาประพันธ์ นิราศภูเขาทองแต่งด้วยกลอนแปด ขึ้นต้นด้วยวรรครับ จบด้วย วรรคส่ง ลงท้ายด้วยคาว่า เอย มีความยาว ๘๙ คากลอนเท่านั้น แต่มีความ ไพเราะ และเรียบง่าย ตามแบบฉบับของสุนทรภู่ ใช้ภาษาที่เข้าใจง่าย บรรยายความรู้สึก ขณะเดียวกันก็เล่าถึงสภาพของเส้นทางที่กาลังเดินทางไป ด้วย ท่านมักจะเปรียบเทียบชีวิตและโชคชะตาของตนกับธรรมชาติรอบข้าง ที่ตนได้เดินทางผ่านไป เนื้อหา
  • 7. แผนที่การเดินทาง นิราศภูเขาทอง เนื้อหา ออกเดินทำง คลิกที่เรือเพื่อไปยังแผนที่หน้าถัดไป คลิกเพื่อออกเดินทาง
  • 8. แผนที่การเดินทาง นิราศภูเขาทอง เนื้อหา คลิกเพื่อออกเดินทาง ออกเดินทำง
  • 9. วัดราชบูรณะ (วัดเลียบ) ที่ตั้ง : เชิงสะพานพุทธฝั่งกรุงเทพฯ ความสาคัญ : สร้างขึ้นปลายสมัยอยุธยา วัดนี้เป็นหนึ่งในจานวนวัดเอก ประจาเมือง 3 วัด ได้แก่ วัดราชบูรณะ วัดราชประดิษฐ์ และวัดมหาธาตุ แผนที่การเดินทาง
  • 10. พระบรมมหาราชวัง ที่ตั้ง : แขวงพระบรมมหาราชวัง เ ข ต พ ร ะ น ค ร ก รุง เ ท พ ฯ ค ว า ม สา คัญ : ส ร้า ง ขึ้น เมื่อ พ.ศ. ๒๓๒๕ เพื่อเป็นที่ประทับ ข อ ง พ ร ะ ม ห า ก ษัต ริย์ส มัย รัตน โ ก สิน ท ร์ ตั้ง แ ต่รัช ส มัย พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้า จุฬาโลกมหาราช จนถึงรัชสมัย พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้า เจ้าอยู่หัว คลิกเพื่อดูภาพในมุมมอง 360 องศา แผนที่การเดินทาง
  • 11. วัดประโคนปัก ชื่อปัจจุบัน : วัดดุสิตาราม วรวิหาร ที่ตั้ง : ริมแม่น้าเจ้าพระยาฝั่งตะวันตก เหนือปากคลองบางกอกน้อย แขวงอรุณอัมรินทร์ เขตบางกอกน้อย กรุงเทพฯ แผนที่การเดินทาง
  • 12. วัดเขมาภิรตาราม ความสาคัญ : สร้างในสมัยอยุธยา มีโบราณสถานที่สาคัญ คือ พระตาหนักแดง อนุสรณ์กรมสมเด็จพระศรีสุริเยนทรามาตย์พระที่นั่งมูลมณเฑียร ซึ่งเดิมเป็นพระ ตาหนักในพระบรมมหาราชวัง รัชกาลที่ ๕ ทรงพระราชอุทิศ ให้รื้อมาปลูกในวัดนี้ ที่ตั้ง : ถนนพิบูลสงคราม อาเภอเมืองนนทบุรี จังหวัด นนทบุรี แผนที่การเดินทาง
  • 13. วัดหน้าพระเมรุ ความสาคัญ : สร้างในสมัยอยุธยาตอนต้น เป็นวัดเดียวในกรุงศรีอยุธยาที่ไม่ถูก พม่าทาลาย และยังคงสภาพที่ดีมาก เนื่องจากพม่าได้ไปตั้งกองบัญชาการอยู่ที่วัดนี้ พระประธานของวัดนี้คือ พระพุทธนิมิตรวิชิตมารโมลีศรีสรรเพชญบรมไตรโลกนาถ ที่ตั้ง : อาเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา แผนที่การเดินทาง
  • 14. วัดภูเขาทอง ที่ตั้ง : เกาะเมือง อาเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ค ว า ม สา คัญ : เ มื่อ ปี พ . ศ . ๒ ๑ ๑ ๒ พระเจ้าบุเรงนอง แห่งเมืองหงสาวดีได้ยกทัพ เข้ามาตีกรุงศรีอยุธยาได้สาเร็จ จึงได้สร้าง พระเจดีย์ใหญ่แบบมอญขึ้นไว้เป็นอนุสรณ์ ที่วัดนี้ เจดีย์ที่สร้างนี้เรียกว่า ภูเขาทอง และวัด ที่อยู่ติดกับเจดีย์นี้ก็เรียกว่า วัดภูเขาทอง แผนที่การเดินทาง คลิกเพื่อดูภาพในมุมมอง 360 องศา
  • 15. วัดใหญ่ชัยมงคล ที่ตั้ง : ตาบลคลองสวนพลู อาเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ความสาคัญ : เป็นที่ประดิษฐานพระพุทธชัยมงคล พระประธานที่เป็นสิ่งศักดิ์สิทธิ์ของวัด และเป็นที่ประดิษฐานศาลสมเด็จพระนเรศวรมหาราช แผนที่การเดินทาง คลิกเพื่อดูภาพในมุมมอง 360 องศา
  • 16. วัดอรุณราชวราราม ที่ตั้ง ริมแม่น้าเจ้าพระยาฝั่งธนบุรี ตรงข้ามวัดโพธิ์ ความสาคัญ : สร้างขึ้นสมัยอยุธยา เป็นอารามหลวงชั้นเอกเดิมชื่อวัดมะกอก และวัดแจ้ง ใช้เป็นที่ประดิษฐานของพระแก้มมรกตที่อัญเชิญมาจากเวียงจันทน์ และถือเป็นวัดประจารัชกาลที่ ๒ คลิกเพื่อดูภาพในมุมมอง 360 องศา แผนที่การเดินทาง
  • 17. วัดระฆังโฆสิตาราม ที่ตั้ง : ถนนอรุณอัมรินทร์แขวงศิริราช เขตบางกอกน้อย ความสาคัญ : สร้างขึ้นสมัยอยุธยา เป็นพระอารามหลวงชั้นโท เดิมชื่อวัดบางว้า ใหญ่ ภายในพระอุโบสถเป็นที่ประดิษฐาน พระประธานยิ้มรับฟ้า และเคยเป็น ที่ประทับของสมเด็จพระพุฒาจารย์(โต พรหมรังสี) สมเด็จพระราชาคณะ ในสมัยรัชกาลที่ ๔ แผนที่การเดินทาง
  • 18. นนทบุรี ที่ตั้ง : ภาคกลางของประเทศไทย มีอาณาเขตติดกับจังหวัดพระนครศรีอยุธยา จังหวัดปทุมธานี และกรุงเทพมหานคร สิ่งขึ้นชื่อของเมืองนนทบุรี : ทุเรียนพันธุ์ก้านยาว หมอนทอง เกาะเกร็ด วัดกัลป์ยานมิตร วัดอรุณ และวัดระฆัง แผนที่การเดินทาง
  • 19. สามโคก ที่ตั้ง : ฝั่งตะวันตกของแม่น้าเจ้าพระยา ปัจจุบันเป็นอาเภอหนึ่งของจังหวัดปทุมธานี ความสาคัญ : รัชกาลที่ ๒ เคยเสด็จประทับที่ฝั่งตรงข้ามสามโคก ชาวรามัญนาดอกบัว มาถวายและทรงเห็นว่าท้องที่นี้มีบัวขึ้นมาก จึงพระราชทานนามให้ใหม่ว่า “ปทุมธานี” ดังที่สุนทรภู่ได้กล่าวไว้ในนิราศภูเขาทอง แผนที่การเดินทาง
  • 20. บางปะอิน ที่ตั้ง : เป็นเกาะเล็กๆ อยู่กลางแม่น้าเจ้าพระยา ในเขตอาเภอบางปะอิน จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ความสาคัญ : เป็นที่ตั้งของพระราชวังบางปะอินเมื่อครั้งสมัยพระเจ้าปราสาททอง รกร้างไปในสมัยเสียกรุงศรีอยุธยาครั้งที่ ๒ และต่อมาในสมัยพระบาทสมเด็จ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ ๕) โปรดเกล้า ฯ ให้สร้างพระราชวัง บางปะอินขึ้นใหม่ มีพระที่นั่งต่าง ๆ ดังที่เห็นอยู่ในปัจจุบัน แผนที่การเดินทาง
  • 21. ตลาดขวัญ ตลาดขวัญในปัจจุบัน ชุมชนที่เงียบสงบ ที่ตั้ง : อยู่ในเขตเทศบาลนครนนทบุรี อาเภอเมืองนนทบุรี จังหวัดนนทบุรี ความสาคัญ : เรียกอีกชื่อว่า บ้านตลาดขวัญ เป็นชุมชนเก่าของนนทบุรี มีการตั้งถิ่นฐาน ตั้งแต่สมัยกรุงศรีอยุธยา ต่อมาสมเด็จพระมหาจักรพรรดิได้ทรงยกฐานะให้เมืองนนทบุรี แผนที่การเดินทาง
  • 22. เกาะเกร็ด ที่ตั้ง : เกาะกลางน้า ในแม่น้าเจ้าพระยาตอนล่าง อาเภอปากเกร็ด จังหวัดนนทบุรี ความสาคัญ : เกาะเกร็ดเกิดจากการขุดคลองลัดแม่น้าเจ้าพระยาเมื่อปีพ.ศ. ๒๒๖๕ ในรัชสมัยสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวท้ายสระ ปัจจุบันเป็นสถานที่ขึ้นชื่อของชุมชน กลุ่มชาวมอญและมีเครื่องปั้นดินเผาชั้นดีเป็นสินค้าประจาเกาะ แผนที่การเดินทาง
  • 23. บางพลัด ที่ตั้ง : อยู่ในกลุ่มเขตกรุงธนเหนือ ติดต่อกับอาเภอบางกรวย (จังหวัดนนทบุรี) เขตบางซื่อ เขตดุสิต เขตพระนคร เขตบางกอกน้อย เขตตลิ่งชัน สถานที่สาคัญ : สะพานพระราม 8 สะพานกรุงธน บ้านบางยี่ขัน แผนที่การเดินทาง
  • 24. ตลาดแก้ว ที่ตั้ง : เขตชายแดนของหมู่บ้านที่อยู่ติดกับกรุงเทพในปัจจุบัน ประวัติ : สันนิษฐานกันว่าเดิมเป็นชุมชนที่มีความสาคัญคู่กับตลาดขวัญ ซึ่งเป็นที่ตั้งตัวเมือง แต่ดั้งเดิม ทว่าในขณะนี้ไม่ปรากฏร่องรอยหลงเหลืออยู่เลย เป็นแต่เพียงสันนิษฐานกันว่า อยู่บริเวณปากคลองบางเขน (คลองนี้ถือเป็นเส้นแบ่งเขตจังหวัดกรุงเทพฯกับนนทบุรี) ใต้วัด ปากน้า ต.สวนใหญ่อ.เมืองฯ จ.นนทบุรี แผนที่การเดินทาง
  • 25. ผู้จัดทา : นางสาวญาณิกา เลิศสินธพานนท์ นางสาวศุภิสรา นามเดช นางสาวพัชรี ภูผิวผา นิสิตชั้นปีที่ ๒ คณะครุศาสตร์ สาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เนื้อหา