SlideShare a Scribd company logo
โขน
กำเนิดโขน
โขน เป็นมหรสพชั้นสูงที่ใช้แสดงในงำนสำคัญๆมำแต่ครั้งกรุงศรีอยุธยำเช่นเดียวกับหนังใหญ่
เชื่อกันว่ำมีมำตั้งแต่โบรำณประมำณก่อนพุทธศตวรรษที่ ๑๖ โดยสันนิษฐำนว่ำ "โขน" ได้พัฒนำมำ
จำกกำรแสดง ๓ ประเภท คือ
๑. กำรแสดงชักนำคดึกดำบรรพ์
๒. กำรแสดงกระบี่กระบอง
๓. กำรแสดงหนังใหญ่
ประเภทของโขน
ประเภทของโขน แบ่งออกเป็น ๕ ประเภท คือ
๑. โขนกลำงแปลง
๒. โขนโรงนอก หรือโขนนั่งรำว
๓. โขนหน้ำจอ
๔. โขนโรงใน
๕. โขนฉำก
๑.โขนกลำงแปลง
โขนกลำงแปลง คือ กำรเล่นโขนบนพื้นดิน ณ กลำงสนำม ไม่ต้องสร้ำงโรงให้เล่น นิยมแสดง
ตอนยกทัพรบกัน โขนกลำงแปลงได้วิวัฒนำกำรมำจำกกำรเล่นชักนำคดึกดำบรรพ์ เรื่องกวนน้ำ
อมฤต
กำรเล่นชักนำคดึกดำบรรพ์ เล่นในพิธีอินทรำภิเษก มีปรำกฏในกฎมณเฑียรบำลสมัยกรุงศรี
อยุธยำ โขนกลำงแปลงนำวิธีกำรแสดงคือกำรจัดกระบวนทัพ กำรเต้นประกอบหน้ำพำทย์ มำจำก
กำรเล่นชักนำคดึกดำบรรพ์ แต่เปลี่ยนมำเล่นเรื่องรำมเกียรติ์ และเล่นตอนฝ่ำยยักษ์และฝ่ำยพระรำม
ยกทัพรบกัน จึงมีกำรเต้นประกอบหน้ำพำทย์ และอำจมีบทพำทย์และเจรจำบ้ำงแต่ไม่มีบทร้อง
๒.โขนโรงนอก หรือโขนนั่งราว
โขนโรงนอก หรือโขนนั่งราว เป็นการแสดงบนโรงมีหลังคา ไม่มีเตียงสาหรับตัวโขนนั่ง แต่มี
ราวพาดตามส่วนยาวของโรงตรงหน้าฉาก(ม่าน) มีช่องทางให้ผู้แสดงเดินได้รอบราวแทนเตียง
มีการพากย์และเจรจา แต่ไม่มีการร้อง ปี่พาทย์บรรเลงเพลงหน้าพาทย์ มีปี่พาทย์ ๒ วง เพราะต้อง
บรรเลงมาก ตั้งหัวโรงท้ายโรง จึงเรียกว่าวงหัวและวงท้าย หรือวงซ้ายและวงขวา วันก่อนแสดงโขน
นั่งราวจะมีการโหมโรง และให้พวกโขนออกมากระทุ้งเส้าตามจังหวะเพลง พอจบโหมโรงก็แสดง
ตอนพิราพออกเที่ยวป่าจับสัตว์กินเป็นอาหาร พระรามหลงเข้าสวนพวาทองของพราพ แล้วก็หยุด
แสดง พักนอนค้างคืนที่โรงโขน รุ่งขึ้นจึงแสดงตามเรื่องที่เตรียมไว้ จึงเรียกว่า "โขนนอนโรง"
๓.โขนหน้ำจอ
โขนหน้ำจอ คือโขนที่เล่นตรงหน้ำจอ ซึ่งเดิมเขำขึงไว้สำหรับเล่นหนังใหญ่ ในกำรเล่นหนัง
ใหญ่นั้น มีกำรเชิดหนังใหญ่อยู่หน้ำจอผ้ำขำว กำรแสดงหนังใหญ่มีศิลปะสำคัญ คือกำรพำกย์และ
เจรจำ มีดนตรีปี่พำทย์ประกอบกำรแสดง ผู้เชิดตัวหนังต้องเต้นตำมลีลำและจังหวะดนตรี นิยมแสดง
เรื่องรำมเกียรติ์ ต่อมำมีกำรปล่อยตัวแสดงออกมำแสดงหนังจอ แทนกำรเชิดหนังในบำงตอน เรียกว่ำ
"หนังติดตัวโขน" มีผู้นิยมมำกขึ้น เลยปล่อยตัวโขนออกมำแสดงหน้ำจอตลอด ไม่มีกำรเชิดหนังเลย
จึงกลำยเป็นโขนหน้ำจอ และต้องแขวะจอเป็นประตูออก ๒ ข้ำง เรียกว่ำ "จอแขวะ"
๔.โขนโรงใน
โขนโรงใน คือ โขนที่นำศิลปะของละครในเข้ำมำผสม โขนโรงในมีปี่พำทย์บรรเลง ๒ วงผลัด
กัน กำรแสดงก็มีทั้งออกท่ำรำเต้นที่พำกย์และเจรจำตำมแบบโขน กับนำเพลงขับร้องและเพลง
ประกอบกิริยำอำกำรของดนตรีแบบละครใน และมีกำรนำระบำรำฟ้อนผสมเข้ำด้วย เป็นกำร
ปรับปรุงให้วิวัฒนำกำรขึ้นอีก กำรผสมผสำนระหว่ำงโขนกับละครในสมัยรัชกำลที่๑ รัชกำลที่๒ ทั้ง
มีรำชกวีภำยในรำชสำนักช่วยปรับปรุงขัดเกลำ และประพันธ์บทพำกย์บทเจรจำให้ไพเรำะสละสลวย
ขึ้นอีก
โขนที่กรมศิลปำกรนำออกแสดงในปัจจุบันนี้ ก็ใช้ศิลปะกำรแสดงแบบโขนโรงใน ไม่ว่ำจะ
แสดงกลำงแจ้งหรือแสดงหน้ำจอก็ตำม
๕.โขนฉำก
โขนฉำก เกิดขึ้นในสมัยรัชกำลที่๕ เมื่อมีผู้คิดสร้ำงฉำกประกอบเรื่องเมื่อแสดงโขนบนเวที
คล้ำยกับละครดึกดำบรรพ์ ส่วนวิธีแสดงดำเนินเช่นเดียวกับโขนโรงใน แต่มีกำรแบ่งเป็นชุดเป็น
ตอน เป็นฉำก และจัดฉำกประกอบตำมท้องเรื่อง จึงมีกำรตัดต่อเรื่องใหม่ไม่ให้ย้อนไปย้อนมำ เพื่อ
สะดวกในกำรจัดฉำก กรมศิลปำกรได้ทำบทเป็นชุดๆ ไว้หลำยชุด เช่น ชุดปรำบกำกนำสูร ชุดมัย
รำพณ์สะกดทัพ ชุดชุดนำงลอย ชุดนำคบำศ ชุดพรหมำสตร์ ชุดศึกวิรุญจำบัง ชุดทำลำยพิธีหุงน้ำ
ทิพย์ ชุดสีดำลุยไฟและปรำบบรรลัยกัลป์ ชุดหนุมำนอำสำ ชุดพระรำมเดินดง ชุดพระรำมครอง
เมือง
ตัวละครในกำรแสดงโขน
๑. ตัวพระ ผู้แสดงที่เป็นมนุษย์ทั้งผู้หญิง ผู้ชำย และเทวดำ ซึ่งได้แก่ พระรำม พระ
ลักษณ์ พระพรต พระสัตรุต พระอิศวร พระนำรำยณ์ พระพรหม ในปัจจุบันนี้มักสวมเพียงชฎำ
ไม่ได้สวมหัวโขนปิดหน้ำดังสมัยโบรำณ เพียงแต่ชฎำของเทพเจ้ำต่ำงๆนั้นจะสำมำรถสังเกตได้
จำกลักษณะของชฎำนั้นๆ เช่น พระพรหมจะสวมชฏำที่มีพระพักตร์อยู่ 4 ด้ำน พระอินทร์จะ
สวมชฎำยอดเดินหน เป็นต้น ผู้ที่จะหัดแสดงเป็นตัวพระ จะคัดเลือกผู้มีลักษณะใบหน้ำสวย
จมูกเป็นสัน ลำคอโปร่งระหง ไหล่ลำดงำม ช่วงอกใหญ่ ลำตัวเรียว เอวเล็ก ตำมแบบชำยงำม
ในวรรณคดีไทย
ตัวละครในกำรแสดงโขนมี 4 ประเภท คือ
๒. ตัวนำง ตัวละครตัวนำงในเรื่องรำมเกียรติ์นั้นมีทั้งที่เป็นมนุษย์ ปลำ นำค แต่ละตัวจะบอก
ชำติกำเนิดด้วยกำรสวมศีรษะ และหำงเป็นสัญลักษณ์ ตัวนำงในโขน และละครรำนั้น
มี 2 ประเภท คือนำงกษัตริย์ ซึ่งมีลีลำและอิริยบถแสดงถึงควำมนุ่มนวล แลดูเป็นผู้ดี กับนำง
ตลำด ซึ่งจะมีบทบำทท่ำทำงกระฉับกระเฉง ว่องไว สะบัดสะบิ้ง ผู้ที่จะรับบทนำงตลำดได้
จะต้องเป็นผู้ที่มีควำมเชี่ยวชำญทำงนำฏศิลป์มำกกว่ำผู้ที่แสดงเป็นนำงกษัตริย์ ผู้ที่จะหัดแสดง
เป็นตัวนำง จะคัดเลือกผู้ที่มีลักษณะคล้ำยตัวพระ แต่ต้องมีใบหน้ำงำม กิริยำท่ำทำงนุ่มนวล
อย่ำงผู้หญิง
๓. ตัวยักษ์ ตัวยักษ์จะต้องมีลักษณะสูง วงเหลี่ยมตลอดจนกำรทรงตัวต้องดูแข็งแรง
บึกบึน ลีลำท่ำทำงมีสง่ำ ซึ่งต้องได้รับกำรฝึกหัดมำอย่ำงดีเพรำะถือกันว่ำหัดยำกกว่ำตัวอื่นๆ ผู้
ที่จะหัดแสดงเป็นตัวยักษ์ คัดเลือกผู้ที่มีลักษณะคล้ำยตัวพระ แต่ไม่ต้องเลือกหน้ำตำ รูปร่ำงต้อง
ใหญ่ และท่ำทำงแข็งแรง
๔. ตัวลิง ตัวลิงจะต้องมีท่ำทำงลุกลี้ลุกลน กระโดดโลดเต้นตำมลักษณะธรรมชำติของลิง
โดยเฉพำะตัวหนุมำนทหำรเอกซึ่งจะต้องได้รับกำรฝึกมำเป็นอย่ำงดี ผู้ที่จะหัดแสดงเป็นตัวลิง
คัดเลือกผู้ที่มีลักษณะป้อมๆ ท่ำทำงหลุกหลิกคล่องแคล่วว่องไว
เพลงหน้ำพำทย์ที่ใช้บรรเลงประกอบกิริยำอำกำรและบทบำทของโขน
เพลงเข้ำม่ำน ประกอบกำรเดินเข้ำฉำกในระยะใกล้ๆ ของหุ่นตัวเอก
เพลงเสมอ ประกอบกำรไปมำในระยะใกล้ๆ
เพลงเชิด ประกอบกำรไป มำในระยะไกลๆ และใช้ในกำรต่อสู้
เพลงตระนิมิตร ประกอบกำรแปลงกำยของตัวหุ่นที่เป็นตัวเอก
เพลงชุบ ประกอบกำรเดินของนำงกำนัล เช่น เมื่อนำงยี่สูนใช้นำงกำนัลให้ไปตำมพรำหมณ์ปี่พำทย์ก็จะทำเพลงชุบ
เพลงโลม ประกอบกำรโลมเล้ำเกี้ยวพำระหว่ำงตัวหุ่นที่เป็นตัวเอก มักต่อด้วยเพลงตระนอน
เพลงตระนอน ใช้สำหรับหุ่นตัวเอกเมื่อจะเข้ำนอน โดยมำบรรเลงต่อจำกเพลงโลม
เพลงโอด ประกอบกำรเศร้ำโศกเสียใจ
เพลงโล้ ประกอบกำรเดินทำงทำงน้ำ เช่น พระอภัยมณีโดยสำรเรือสำเภำหรือเกำะหลังเงือกว่ำยน้ำหนีผีเสื้อ
เชิดฉิ่ง ประกอบกำรเดินทำง กำรเหำะ เช่น เบญจกำยเหำะมำยังเขำเหมติรันเพื่อแปลงเป็นสีดำลอยน้ำไปลวง
พระรำม หรือกำรติดตำม เช่น พระลอตำมไก่ รำมสูรตำมนำงเมขลำ
เชิดกลอง บรรเลงต่อจำกเพลงเชิดฉิ่ง
เพลงรัวต่ำงๆ ประกอบกำรแผลงอิทธิฤทธิ์ หรือแปลงตัวอย่ำงรวบรัด
เพลงกรำวนอก ประกอบกำรยกทัพตรวจพลของกระบวนทัพฝ่ำยมนุษย์
เพลงกรำวใน ประกอบกำรยกทัพตรวจพลของกระบวนทัพฝ่ำยยักษ์
ลักษณะบทโขน
ลักษณะบทโขน ประกอบด้วย
 บทร้อง ซึ่งบรรจุเพลงไว้ตำมอำรมณ์ของเรื่อง บทร้องแต่งเป็นกลอนบทละครเป็นส่วนใหญ่ อำจมีคำ
ประพันธ์ชนิดอื่นบ้ำงแต่ไม่นิยม บทร้องนี้จะมีเฉพำะโขนโรงในและโขนฉำกเท่ำนั้น
 บทพำกย์ กำรแสดงโขนโดยทั่วไปจะเดินเรื่องด้วยบทพำกย์ ซึ่งแต่งเป็นคำประพันธ์ชนิดกำพย์ฉบัง
๑๖ หรือกำพย์ยำนี ๑๑ บทมีชื่อเรียกต่ำง ๆ ดังนี้
๑. พำกย์เมือง หรือพำกย์พลับพลำ คือบทตัวเอก เช่น ทศกัณฐ์หรือพระรำมประทับใน
ปรำสำทหรือพลับพลำ
๒. พำกย์รถ เป็นบทชมพำหนะและกระบวนทัพ ไม่ว่ำจะเป็นรถ ม้ำ ช้ำง หรืออื่นใดก็ได้
ตลอดจนชมไพร่พลด้วย
๓. พำกย์โอ้ เป็นบทโศกเศร้ำ รำพัน คร่ำครวญ ซึ่งตอนต้นเป็นพำกย์ แต่ตอนท้ำยเป็นทำนอง
ร้องเพลงโอ้ปี่ ให้ปี่พำทย์รับ
๔. พากย์ชมดง เป็นบทตอนชมป่าเขา ลาเนาไพร ทานองตอนต้นเป็นทานองร้อง เพลงชมดงใน ตอนท้าย
เป็นทานองพากย์ธรรมดา
๕. พากย์บรรยาย เป็นบทขยายความเป็นมา ความเป็นไป หรือพากย์ราพึงราพันใดๆ เช่น พากย์บรรยาย
ตานานรัตนธนู
๖. พากย์เบ็ดเตล็ด เป็นบทที่ใช้ในโอกาสทั่วๆ ไป เป็นเรื่องเล็กๆ น้อยๆ ที่ไม่เข้าประเภทใด เช่นกล่าวว่า
ใครทาอะไร หรือพูดกับใคร ว่าอย่างไร
 บทเจรจา เป็นบทกวีที่แต่งเป็นร่ายยาว ส่งและรับสัมผัสกันไปเรื่อยๆ ใช้ได้ทุกโอกาส สมัยโบราณเป็นบทที่คิดขึ้น
สดๆ เป็นความสามารถของคนพากย์ คนเจรจา ที่จะใช้ปฏิภาณคิดขึ้นโดยปัจจุบัน ให้ได้ถ้อยคาสละสลวย มีสัมผัส
แนบเนียน และได้เนื้อถ้อยกระทงความถูกต้องตามเนื้อเรื่อง ผู้พากย์เจรจาที่เก่งๆ ยังสามารถใช้ถ้อยคาคมคาย
เหน็บแนมเสียดสี บางครั้งก็เผ็ดร้อน โต้ตอบกันน่าฟังมาก ปัจจุบันนี้ บทเจรจาได้แต่งไว้เรียบร้อยแล้ว ผู้พากย์
เจรจาก็ว่าตามบทให้เกิดอารมณ์คล้อยตามถ้อยคา โดยใช้เสียงและลีลาในการเจรจา ผู้พากย์และเจรจาต้องทาสุ้ม
เสียงให้เหมาะกับตัวโขน และใส่ความรู้สึกให้เหมาะกับอารมณ์ในเรื่อง คนพากย์และเจรจานี้ใช้ผู้ชาย คนหนึ่งต้อง
ทาหน้าที่ทั้งพากย์และเจรจา และต้องมีไม่น้อยกว่า ๒ คน จะได้โต้ตอบกันทันท่วงที เมื่อพากย์หรือเจรจาจบ
กระบวนความแล้ว ต้องการจะให้ปี่พาทย์ทาเพลงอะไรก็ร้องบอกไป เรียกว่า "บอกหน้าพาทย์" และถ้าการแสดง
โขนนั้นมีขับร้อง คนพากย์และเจรจายังจะต้องทาหน้าที่บอกบทด้วย การบอกบทจะต้องบอกให้ถูกจังหวะ
เครื่องแต่งกำยโขน
เครื่องแต่งกำยพระ เครื่องแต่งกำยนำง
เครื่องแต่งกำยยักษ์ เครื่องแต่งกำยลิง
วิธีกำรดูโขน
โขนเป็นละครใบ้ โดยเฉพำะโขนกลำงแปลง ผู้ดูจึงต้องดูกำรแสดงท่ำทำง ซึ่งจะบอก
ควำมหมำย ควำมรู้สึกควำมคิด ควำมประสงค์ต่ำงๆ ได้ทุกอย่ำง ท่ำทำงที่โขนแสดงออกย่อม
สัมพันธ์กับดนตรี ฉะนั้น หน้ำพำทย์ต่ำงๆ ที่ใช้ในกำรแสดงโขนจึงมีควำมสำคัญมำก เช่น เพลง
กรำวนอก กรำวในที่ใช้ในเวลำจัดทัพ แสดงให้เห็นควำมเข้มแข็งคึกคักของทหำร ท่ำทำงของผู้
แสดงก็แสดงให้เห็นควำมเข้มแข็งคึกคัก กระหยิ่ม องอำจ กล้ำหำญ ควำมพร้อมเพรียงของ
กองทัพ หรือเพลงเชิดและท่ำรบ ก็แสดงให้เห็นกำรรุกไล่หลบหลีก ปิดป้อง หลอกล่อต่ำงๆ
ภำษำท่ำทำงของโขน
ภำษำท่ำทำงของโขน จำแนกได้เป็น ๓ ประเภท คือ
๑. ท่ำซึ่งใช้แทนคำพูด เช่น รับ ปฏิเสธ
๒. ท่ำซึ่งใช้เป็นอิริยำบท และกิริยำอำกำร เช่น เดิน ไหว้ ยิ้ม ร้องไห้
๓. ท่ำซึ่งแสดงถึงอำรมณ์ภำยใน เช่น รัก โกรธ ดีใจ เสียใจ
โอกำสที่แสดงโขน
๑. แสดงเป็นมหกรรมบูชำ เช่น ในงำนถวำยพระเพลิงพระบรมศพ หรือพระศพ พระบรมอัฐิ
หรืออัฐเจ้ำนำย ตลอดจนศพขุนนำง หรือผู้ใหญ่เป็นที่เคำรพนับถือทั่วไป
๒. แสดงเป็นมหรสพสมโภช เช่น ในงำนฉลองปูชนียสถำน ปูชนียวัตถุ พระพุทธบำท พระ
แก้วมรกต พระอำรำม หรือสมโภชเจ้ำนำยทรงบรรพชำ สมโภชในพระรำชพิธีบรมรำชำภิเษก
สมโภชในงำนเฉลิมพระชนม์พรรษำ สมโภชวันประสูติเจ้ำนำยที่สูงศักดิ์ เป็นต้น
๓. แสดงเป็นมหรสพเพื่อควำมบันเทิง ในโอกำสทั่วๆไป

More Related Content

What's hot

PPT รามเกียรติ์ตอนนารายณ์ปราบนนทก
PPT รามเกียรติ์ตอนนารายณ์ปราบนนทกPPT รามเกียรติ์ตอนนารายณ์ปราบนนทก
PPT รามเกียรติ์ตอนนารายณ์ปราบนนทกKruBowbaro
 
งานนำเสนอลิลิตเตลงพ่าย
งานนำเสนอลิลิตเตลงพ่ายงานนำเสนอลิลิตเตลงพ่าย
งานนำเสนอลิลิตเตลงพ่าย
Santichon Islamic School
 
วรรคทองในวรรณคดี
วรรคทองในวรรณคดีวรรคทองในวรรณคดี
วรรคทองในวรรณคดี
kingkarn somchit
 
นิราศนรินทร์คำโคลง
นิราศนรินทร์คำโคลงนิราศนรินทร์คำโคลง
นิราศนรินทร์คำโคลง
Surapong Klamboot
 
โครงงานภูมิปัญญาท้องถิ่น
โครงงานภูมิปัญญาท้องถิ่นโครงงานภูมิปัญญาท้องถิ่น
โครงงานภูมิปัญญาท้องถิ่นlek5899
 
รำวงมาตรฐาน
รำวงมาตรฐานรำวงมาตรฐาน
รำวงมาตรฐานพัน พัน
 
หน่วยที่ 2 โครงสร้างและการเรียบเรียงประโยคและการใช้สำนวนภาษา
หน่วยที่ 2  โครงสร้างและการเรียบเรียงประโยคและการใช้สำนวนภาษาหน่วยที่ 2  โครงสร้างและการเรียบเรียงประโยคและการใช้สำนวนภาษา
หน่วยที่ 2 โครงสร้างและการเรียบเรียงประโยคและการใช้สำนวนภาษาขนิษฐา ทวีศรี
 
ประเภทของนาฏศิลป์
ประเภทของนาฏศิลป์ประเภทของนาฏศิลป์
ประเภทของนาฏศิลป์
นาฏยภิรมย์ พูลเจริญฯ
 
กาพย์ยานี11และโคลงสี่สุภาพ [โหมดความเข้ากันได้]
กาพย์ยานี11และโคลงสี่สุภาพ [โหมดความเข้ากันได้]กาพย์ยานี11และโคลงสี่สุภาพ [โหมดความเข้ากันได้]
กาพย์ยานี11และโคลงสี่สุภาพ [โหมดความเข้ากันได้]Nongkran_Jarurnphong
 
การเขียนสารคดี ขนมจีน
การเขียนสารคดี ขนมจีนการเขียนสารคดี ขนมจีน
การเขียนสารคดี ขนมจีนMaii's II
 
กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมกระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมJariya Jaiyot
 
ราก (T)
ราก (T)ราก (T)
ราก (T)
Thitaree Samphao
 
ลม ฟ้า อากาศ
ลม ฟ้า อากาศลม ฟ้า อากาศ
ลม ฟ้า อากาศ
Patzuri Orz
 
บทที่ 7 ระบบสุริยะ
บทที่ 7 ระบบสุริยะบทที่ 7 ระบบสุริยะ
บทที่ 7 ระบบสุริยะ
Ta Lattapol
 
รายงาน การทำธุรกิจจำลอง แซนวิช อบร้อน
รายงาน การทำธุรกิจจำลอง แซนวิช อบร้อนรายงาน การทำธุรกิจจำลอง แซนวิช อบร้อน
รายงาน การทำธุรกิจจำลอง แซนวิช อบร้อนSuppakuk Clash
 
พันธุกรรม ประถม
พันธุกรรม ประถมพันธุกรรม ประถม
พันธุกรรม ประถม
Ta Lattapol
 
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทานโครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทานRawinnipha Joy
 
หน่วย2_การผลิตสินค้าและบริการppt.pdf
หน่วย2_การผลิตสินค้าและบริการppt.pdfหน่วย2_การผลิตสินค้าและบริการppt.pdf
หน่วย2_การผลิตสินค้าและบริการppt.pdf
surakitsiin
 

What's hot (20)

PPT รามเกียรติ์ตอนนารายณ์ปราบนนทก
PPT รามเกียรติ์ตอนนารายณ์ปราบนนทกPPT รามเกียรติ์ตอนนารายณ์ปราบนนทก
PPT รามเกียรติ์ตอนนารายณ์ปราบนนทก
 
งานนำเสนอลิลิตเตลงพ่าย
งานนำเสนอลิลิตเตลงพ่ายงานนำเสนอลิลิตเตลงพ่าย
งานนำเสนอลิลิตเตลงพ่าย
 
แบบฝึกหัด
แบบฝึกหัดแบบฝึกหัด
แบบฝึกหัด
 
วรรคทองในวรรณคดี
วรรคทองในวรรณคดีวรรคทองในวรรณคดี
วรรคทองในวรรณคดี
 
นิราศนรินทร์คำโคลง
นิราศนรินทร์คำโคลงนิราศนรินทร์คำโคลง
นิราศนรินทร์คำโคลง
 
โครงงานภูมิปัญญาท้องถิ่น
โครงงานภูมิปัญญาท้องถิ่นโครงงานภูมิปัญญาท้องถิ่น
โครงงานภูมิปัญญาท้องถิ่น
 
รำวงมาตรฐาน
รำวงมาตรฐานรำวงมาตรฐาน
รำวงมาตรฐาน
 
วิถีไทย
วิถีไทยวิถีไทย
วิถีไทย
 
หน่วยที่ 2 โครงสร้างและการเรียบเรียงประโยคและการใช้สำนวนภาษา
หน่วยที่ 2  โครงสร้างและการเรียบเรียงประโยคและการใช้สำนวนภาษาหน่วยที่ 2  โครงสร้างและการเรียบเรียงประโยคและการใช้สำนวนภาษา
หน่วยที่ 2 โครงสร้างและการเรียบเรียงประโยคและการใช้สำนวนภาษา
 
ประเภทของนาฏศิลป์
ประเภทของนาฏศิลป์ประเภทของนาฏศิลป์
ประเภทของนาฏศิลป์
 
กาพย์ยานี11และโคลงสี่สุภาพ [โหมดความเข้ากันได้]
กาพย์ยานี11และโคลงสี่สุภาพ [โหมดความเข้ากันได้]กาพย์ยานี11และโคลงสี่สุภาพ [โหมดความเข้ากันได้]
กาพย์ยานี11และโคลงสี่สุภาพ [โหมดความเข้ากันได้]
 
การเขียนสารคดี ขนมจีน
การเขียนสารคดี ขนมจีนการเขียนสารคดี ขนมจีน
การเขียนสารคดี ขนมจีน
 
กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมกระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
 
ราก (T)
ราก (T)ราก (T)
ราก (T)
 
ลม ฟ้า อากาศ
ลม ฟ้า อากาศลม ฟ้า อากาศ
ลม ฟ้า อากาศ
 
บทที่ 7 ระบบสุริยะ
บทที่ 7 ระบบสุริยะบทที่ 7 ระบบสุริยะ
บทที่ 7 ระบบสุริยะ
 
รายงาน การทำธุรกิจจำลอง แซนวิช อบร้อน
รายงาน การทำธุรกิจจำลอง แซนวิช อบร้อนรายงาน การทำธุรกิจจำลอง แซนวิช อบร้อน
รายงาน การทำธุรกิจจำลอง แซนวิช อบร้อน
 
พันธุกรรม ประถม
พันธุกรรม ประถมพันธุกรรม ประถม
พันธุกรรม ประถม
 
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทานโครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
 
หน่วย2_การผลิตสินค้าและบริการppt.pdf
หน่วย2_การผลิตสินค้าและบริการppt.pdfหน่วย2_การผลิตสินค้าและบริการppt.pdf
หน่วย2_การผลิตสินค้าและบริการppt.pdf
 

Similar to โขน

ละครรำ
ละครรำละครรำ
ละครรำ
leemeanxun
 
ละครรำ.docx
ละครรำ.docxละครรำ.docx
ละครรำ.docx
pinglada1
 
อภัย
อภัยอภัย
อภัยkutoyseta
 
หุ่นกระบอก
หุ่นกระบอกหุ่นกระบอก
หุ่นกระบอก
leemeanxun
 
Khone
KhoneKhone
Khone
Chanikan
 
สื่อ Powerpoint รสวรรณคดีใหม่.ppt1
สื่อ Powerpoint รสวรรณคดีใหม่.ppt1สื่อ Powerpoint รสวรรณคดีใหม่.ppt1
สื่อ Powerpoint รสวรรณคดีใหม่.ppt1krubuatoom
 
กาพย์ห่อโคลงประพาสธารทองแดง
กาพย์ห่อโคลงประพาสธารทองแดงกาพย์ห่อโคลงประพาสธารทองแดง
กาพย์ห่อโคลงประพาสธารทองแดงLakkana Wuittiket
 
ประเภทของนาฏศิลป์ไทย
ประเภทของนาฏศิลป์ไทยประเภทของนาฏศิลป์ไทย
ประเภทของนาฏศิลป์ไทยnasaporn
 
งานนำเสนอรามเกียรติ์
งานนำเสนอรามเกียรติ์งานนำเสนอรามเกียรติ์
งานนำเสนอรามเกียรติ์bambookruble
 

Similar to โขน (15)

ละครรำ
ละครรำละครรำ
ละครรำ
 
Khone
KhoneKhone
Khone
 
ละครรำ.docx
ละครรำ.docxละครรำ.docx
ละครรำ.docx
 
อภัย
อภัยอภัย
อภัย
 
หุ่นกระบอก
หุ่นกระบอกหุ่นกระบอก
หุ่นกระบอก
 
Khone
KhoneKhone
Khone
 
Khone
KhoneKhone
Khone
 
Khone
KhoneKhone
Khone
 
Khone
KhoneKhone
Khone
 
Khone
KhoneKhone
Khone
 
สื่อ Powerpoint รสวรรณคดีใหม่.ppt1
สื่อ Powerpoint รสวรรณคดีใหม่.ppt1สื่อ Powerpoint รสวรรณคดีใหม่.ppt1
สื่อ Powerpoint รสวรรณคดีใหม่.ppt1
 
กาพย์ห่อโคลงประพาสธารทองแดง
กาพย์ห่อโคลงประพาสธารทองแดงกาพย์ห่อโคลงประพาสธารทองแดง
กาพย์ห่อโคลงประพาสธารทองแดง
 
ประเภทของนาฏศิลป์ไทย
ประเภทของนาฏศิลป์ไทยประเภทของนาฏศิลป์ไทย
ประเภทของนาฏศิลป์ไทย
 
งานนำเสนอรามเกียรติ์
งานนำเสนอรามเกียรติ์งานนำเสนอรามเกียรติ์
งานนำเสนอรามเกียรติ์
 
งานไทย โจ๊ก
งานไทย โจ๊กงานไทย โจ๊ก
งานไทย โจ๊ก
 

More from พัน พัน

เรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการเรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการ
พัน พัน
 
เรื่องภาษาซี
เรื่องภาษาซีเรื่องภาษาซี
เรื่องภาษาซี
พัน พัน
 
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
พัน พัน
 
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษรการเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
พัน พัน
 
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
พัน พัน
 
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
พัน พัน
 
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
พัน พัน
 
การทำงานของคอมพิวเตอร์
การทำงานของคอมพิวเตอร์การทำงานของคอมพิวเตอร์
การทำงานของคอมพิวเตอร์
พัน พัน
 
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัยระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
พัน พัน
 
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศเรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
พัน พัน
 
ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์
พัน พัน
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้นเครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
พัน พัน
 
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้นเรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
พัน พัน
 
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
พัน พัน
 
เรื่องคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์เรื่องคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์
พัน พัน
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
พัน พัน
 
การปริ้น
การปริ้นการปริ้น
การปริ้น
พัน พัน
 
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
พัน พัน
 
ยาเสพติด
ยาเสพติดยาเสพติด
ยาเสพติด
พัน พัน
 

More from พัน พัน (20)

เรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการเรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการ
 
เรื่องภาษาซี
เรื่องภาษาซีเรื่องภาษาซี
เรื่องภาษาซี
 
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
 
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษรการเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
 
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
 
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
 
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
 
การทำงานของคอมพิวเตอร์
การทำงานของคอมพิวเตอร์การทำงานของคอมพิวเตอร์
การทำงานของคอมพิวเตอร์
 
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัยระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
 
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศเรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้นเครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้นเรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
 
เรื่องคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์เรื่องคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
การปริ้น
การปริ้นการปริ้น
การปริ้น
 
Office
OfficeOffice
Office
 
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
 
ยาเสพติด
ยาเสพติดยาเสพติด
ยาเสพติด
 

โขน

  • 2. กำเนิดโขน โขน เป็นมหรสพชั้นสูงที่ใช้แสดงในงำนสำคัญๆมำแต่ครั้งกรุงศรีอยุธยำเช่นเดียวกับหนังใหญ่ เชื่อกันว่ำมีมำตั้งแต่โบรำณประมำณก่อนพุทธศตวรรษที่ ๑๖ โดยสันนิษฐำนว่ำ "โขน" ได้พัฒนำมำ จำกกำรแสดง ๓ ประเภท คือ ๑. กำรแสดงชักนำคดึกดำบรรพ์ ๒. กำรแสดงกระบี่กระบอง ๓. กำรแสดงหนังใหญ่
  • 3. ประเภทของโขน ประเภทของโขน แบ่งออกเป็น ๕ ประเภท คือ ๑. โขนกลำงแปลง ๒. โขนโรงนอก หรือโขนนั่งรำว ๓. โขนหน้ำจอ ๔. โขนโรงใน ๕. โขนฉำก
  • 4. ๑.โขนกลำงแปลง โขนกลำงแปลง คือ กำรเล่นโขนบนพื้นดิน ณ กลำงสนำม ไม่ต้องสร้ำงโรงให้เล่น นิยมแสดง ตอนยกทัพรบกัน โขนกลำงแปลงได้วิวัฒนำกำรมำจำกกำรเล่นชักนำคดึกดำบรรพ์ เรื่องกวนน้ำ อมฤต กำรเล่นชักนำคดึกดำบรรพ์ เล่นในพิธีอินทรำภิเษก มีปรำกฏในกฎมณเฑียรบำลสมัยกรุงศรี อยุธยำ โขนกลำงแปลงนำวิธีกำรแสดงคือกำรจัดกระบวนทัพ กำรเต้นประกอบหน้ำพำทย์ มำจำก กำรเล่นชักนำคดึกดำบรรพ์ แต่เปลี่ยนมำเล่นเรื่องรำมเกียรติ์ และเล่นตอนฝ่ำยยักษ์และฝ่ำยพระรำม ยกทัพรบกัน จึงมีกำรเต้นประกอบหน้ำพำทย์ และอำจมีบทพำทย์และเจรจำบ้ำงแต่ไม่มีบทร้อง
  • 5. ๒.โขนโรงนอก หรือโขนนั่งราว โขนโรงนอก หรือโขนนั่งราว เป็นการแสดงบนโรงมีหลังคา ไม่มีเตียงสาหรับตัวโขนนั่ง แต่มี ราวพาดตามส่วนยาวของโรงตรงหน้าฉาก(ม่าน) มีช่องทางให้ผู้แสดงเดินได้รอบราวแทนเตียง มีการพากย์และเจรจา แต่ไม่มีการร้อง ปี่พาทย์บรรเลงเพลงหน้าพาทย์ มีปี่พาทย์ ๒ วง เพราะต้อง บรรเลงมาก ตั้งหัวโรงท้ายโรง จึงเรียกว่าวงหัวและวงท้าย หรือวงซ้ายและวงขวา วันก่อนแสดงโขน นั่งราวจะมีการโหมโรง และให้พวกโขนออกมากระทุ้งเส้าตามจังหวะเพลง พอจบโหมโรงก็แสดง ตอนพิราพออกเที่ยวป่าจับสัตว์กินเป็นอาหาร พระรามหลงเข้าสวนพวาทองของพราพ แล้วก็หยุด แสดง พักนอนค้างคืนที่โรงโขน รุ่งขึ้นจึงแสดงตามเรื่องที่เตรียมไว้ จึงเรียกว่า "โขนนอนโรง"
  • 6. ๓.โขนหน้ำจอ โขนหน้ำจอ คือโขนที่เล่นตรงหน้ำจอ ซึ่งเดิมเขำขึงไว้สำหรับเล่นหนังใหญ่ ในกำรเล่นหนัง ใหญ่นั้น มีกำรเชิดหนังใหญ่อยู่หน้ำจอผ้ำขำว กำรแสดงหนังใหญ่มีศิลปะสำคัญ คือกำรพำกย์และ เจรจำ มีดนตรีปี่พำทย์ประกอบกำรแสดง ผู้เชิดตัวหนังต้องเต้นตำมลีลำและจังหวะดนตรี นิยมแสดง เรื่องรำมเกียรติ์ ต่อมำมีกำรปล่อยตัวแสดงออกมำแสดงหนังจอ แทนกำรเชิดหนังในบำงตอน เรียกว่ำ "หนังติดตัวโขน" มีผู้นิยมมำกขึ้น เลยปล่อยตัวโขนออกมำแสดงหน้ำจอตลอด ไม่มีกำรเชิดหนังเลย จึงกลำยเป็นโขนหน้ำจอ และต้องแขวะจอเป็นประตูออก ๒ ข้ำง เรียกว่ำ "จอแขวะ"
  • 7. ๔.โขนโรงใน โขนโรงใน คือ โขนที่นำศิลปะของละครในเข้ำมำผสม โขนโรงในมีปี่พำทย์บรรเลง ๒ วงผลัด กัน กำรแสดงก็มีทั้งออกท่ำรำเต้นที่พำกย์และเจรจำตำมแบบโขน กับนำเพลงขับร้องและเพลง ประกอบกิริยำอำกำรของดนตรีแบบละครใน และมีกำรนำระบำรำฟ้อนผสมเข้ำด้วย เป็นกำร ปรับปรุงให้วิวัฒนำกำรขึ้นอีก กำรผสมผสำนระหว่ำงโขนกับละครในสมัยรัชกำลที่๑ รัชกำลที่๒ ทั้ง มีรำชกวีภำยในรำชสำนักช่วยปรับปรุงขัดเกลำ และประพันธ์บทพำกย์บทเจรจำให้ไพเรำะสละสลวย ขึ้นอีก โขนที่กรมศิลปำกรนำออกแสดงในปัจจุบันนี้ ก็ใช้ศิลปะกำรแสดงแบบโขนโรงใน ไม่ว่ำจะ แสดงกลำงแจ้งหรือแสดงหน้ำจอก็ตำม
  • 8. ๕.โขนฉำก โขนฉำก เกิดขึ้นในสมัยรัชกำลที่๕ เมื่อมีผู้คิดสร้ำงฉำกประกอบเรื่องเมื่อแสดงโขนบนเวที คล้ำยกับละครดึกดำบรรพ์ ส่วนวิธีแสดงดำเนินเช่นเดียวกับโขนโรงใน แต่มีกำรแบ่งเป็นชุดเป็น ตอน เป็นฉำก และจัดฉำกประกอบตำมท้องเรื่อง จึงมีกำรตัดต่อเรื่องใหม่ไม่ให้ย้อนไปย้อนมำ เพื่อ สะดวกในกำรจัดฉำก กรมศิลปำกรได้ทำบทเป็นชุดๆ ไว้หลำยชุด เช่น ชุดปรำบกำกนำสูร ชุดมัย รำพณ์สะกดทัพ ชุดชุดนำงลอย ชุดนำคบำศ ชุดพรหมำสตร์ ชุดศึกวิรุญจำบัง ชุดทำลำยพิธีหุงน้ำ ทิพย์ ชุดสีดำลุยไฟและปรำบบรรลัยกัลป์ ชุดหนุมำนอำสำ ชุดพระรำมเดินดง ชุดพระรำมครอง เมือง
  • 9. ตัวละครในกำรแสดงโขน ๑. ตัวพระ ผู้แสดงที่เป็นมนุษย์ทั้งผู้หญิง ผู้ชำย และเทวดำ ซึ่งได้แก่ พระรำม พระ ลักษณ์ พระพรต พระสัตรุต พระอิศวร พระนำรำยณ์ พระพรหม ในปัจจุบันนี้มักสวมเพียงชฎำ ไม่ได้สวมหัวโขนปิดหน้ำดังสมัยโบรำณ เพียงแต่ชฎำของเทพเจ้ำต่ำงๆนั้นจะสำมำรถสังเกตได้ จำกลักษณะของชฎำนั้นๆ เช่น พระพรหมจะสวมชฏำที่มีพระพักตร์อยู่ 4 ด้ำน พระอินทร์จะ สวมชฎำยอดเดินหน เป็นต้น ผู้ที่จะหัดแสดงเป็นตัวพระ จะคัดเลือกผู้มีลักษณะใบหน้ำสวย จมูกเป็นสัน ลำคอโปร่งระหง ไหล่ลำดงำม ช่วงอกใหญ่ ลำตัวเรียว เอวเล็ก ตำมแบบชำยงำม ในวรรณคดีไทย ตัวละครในกำรแสดงโขนมี 4 ประเภท คือ
  • 10. ๒. ตัวนำง ตัวละครตัวนำงในเรื่องรำมเกียรติ์นั้นมีทั้งที่เป็นมนุษย์ ปลำ นำค แต่ละตัวจะบอก ชำติกำเนิดด้วยกำรสวมศีรษะ และหำงเป็นสัญลักษณ์ ตัวนำงในโขน และละครรำนั้น มี 2 ประเภท คือนำงกษัตริย์ ซึ่งมีลีลำและอิริยบถแสดงถึงควำมนุ่มนวล แลดูเป็นผู้ดี กับนำง ตลำด ซึ่งจะมีบทบำทท่ำทำงกระฉับกระเฉง ว่องไว สะบัดสะบิ้ง ผู้ที่จะรับบทนำงตลำดได้ จะต้องเป็นผู้ที่มีควำมเชี่ยวชำญทำงนำฏศิลป์มำกกว่ำผู้ที่แสดงเป็นนำงกษัตริย์ ผู้ที่จะหัดแสดง เป็นตัวนำง จะคัดเลือกผู้ที่มีลักษณะคล้ำยตัวพระ แต่ต้องมีใบหน้ำงำม กิริยำท่ำทำงนุ่มนวล อย่ำงผู้หญิง
  • 11. ๓. ตัวยักษ์ ตัวยักษ์จะต้องมีลักษณะสูง วงเหลี่ยมตลอดจนกำรทรงตัวต้องดูแข็งแรง บึกบึน ลีลำท่ำทำงมีสง่ำ ซึ่งต้องได้รับกำรฝึกหัดมำอย่ำงดีเพรำะถือกันว่ำหัดยำกกว่ำตัวอื่นๆ ผู้ ที่จะหัดแสดงเป็นตัวยักษ์ คัดเลือกผู้ที่มีลักษณะคล้ำยตัวพระ แต่ไม่ต้องเลือกหน้ำตำ รูปร่ำงต้อง ใหญ่ และท่ำทำงแข็งแรง
  • 12. ๔. ตัวลิง ตัวลิงจะต้องมีท่ำทำงลุกลี้ลุกลน กระโดดโลดเต้นตำมลักษณะธรรมชำติของลิง โดยเฉพำะตัวหนุมำนทหำรเอกซึ่งจะต้องได้รับกำรฝึกมำเป็นอย่ำงดี ผู้ที่จะหัดแสดงเป็นตัวลิง คัดเลือกผู้ที่มีลักษณะป้อมๆ ท่ำทำงหลุกหลิกคล่องแคล่วว่องไว
  • 13. เพลงหน้ำพำทย์ที่ใช้บรรเลงประกอบกิริยำอำกำรและบทบำทของโขน เพลงเข้ำม่ำน ประกอบกำรเดินเข้ำฉำกในระยะใกล้ๆ ของหุ่นตัวเอก เพลงเสมอ ประกอบกำรไปมำในระยะใกล้ๆ เพลงเชิด ประกอบกำรไป มำในระยะไกลๆ และใช้ในกำรต่อสู้ เพลงตระนิมิตร ประกอบกำรแปลงกำยของตัวหุ่นที่เป็นตัวเอก เพลงชุบ ประกอบกำรเดินของนำงกำนัล เช่น เมื่อนำงยี่สูนใช้นำงกำนัลให้ไปตำมพรำหมณ์ปี่พำทย์ก็จะทำเพลงชุบ เพลงโลม ประกอบกำรโลมเล้ำเกี้ยวพำระหว่ำงตัวหุ่นที่เป็นตัวเอก มักต่อด้วยเพลงตระนอน เพลงตระนอน ใช้สำหรับหุ่นตัวเอกเมื่อจะเข้ำนอน โดยมำบรรเลงต่อจำกเพลงโลม เพลงโอด ประกอบกำรเศร้ำโศกเสียใจ เพลงโล้ ประกอบกำรเดินทำงทำงน้ำ เช่น พระอภัยมณีโดยสำรเรือสำเภำหรือเกำะหลังเงือกว่ำยน้ำหนีผีเสื้อ เชิดฉิ่ง ประกอบกำรเดินทำง กำรเหำะ เช่น เบญจกำยเหำะมำยังเขำเหมติรันเพื่อแปลงเป็นสีดำลอยน้ำไปลวง พระรำม หรือกำรติดตำม เช่น พระลอตำมไก่ รำมสูรตำมนำงเมขลำ เชิดกลอง บรรเลงต่อจำกเพลงเชิดฉิ่ง เพลงรัวต่ำงๆ ประกอบกำรแผลงอิทธิฤทธิ์ หรือแปลงตัวอย่ำงรวบรัด เพลงกรำวนอก ประกอบกำรยกทัพตรวจพลของกระบวนทัพฝ่ำยมนุษย์ เพลงกรำวใน ประกอบกำรยกทัพตรวจพลของกระบวนทัพฝ่ำยยักษ์
  • 14. ลักษณะบทโขน ลักษณะบทโขน ประกอบด้วย  บทร้อง ซึ่งบรรจุเพลงไว้ตำมอำรมณ์ของเรื่อง บทร้องแต่งเป็นกลอนบทละครเป็นส่วนใหญ่ อำจมีคำ ประพันธ์ชนิดอื่นบ้ำงแต่ไม่นิยม บทร้องนี้จะมีเฉพำะโขนโรงในและโขนฉำกเท่ำนั้น  บทพำกย์ กำรแสดงโขนโดยทั่วไปจะเดินเรื่องด้วยบทพำกย์ ซึ่งแต่งเป็นคำประพันธ์ชนิดกำพย์ฉบัง ๑๖ หรือกำพย์ยำนี ๑๑ บทมีชื่อเรียกต่ำง ๆ ดังนี้ ๑. พำกย์เมือง หรือพำกย์พลับพลำ คือบทตัวเอก เช่น ทศกัณฐ์หรือพระรำมประทับใน ปรำสำทหรือพลับพลำ ๒. พำกย์รถ เป็นบทชมพำหนะและกระบวนทัพ ไม่ว่ำจะเป็นรถ ม้ำ ช้ำง หรืออื่นใดก็ได้ ตลอดจนชมไพร่พลด้วย ๓. พำกย์โอ้ เป็นบทโศกเศร้ำ รำพัน คร่ำครวญ ซึ่งตอนต้นเป็นพำกย์ แต่ตอนท้ำยเป็นทำนอง ร้องเพลงโอ้ปี่ ให้ปี่พำทย์รับ
  • 15. ๔. พากย์ชมดง เป็นบทตอนชมป่าเขา ลาเนาไพร ทานองตอนต้นเป็นทานองร้อง เพลงชมดงใน ตอนท้าย เป็นทานองพากย์ธรรมดา ๕. พากย์บรรยาย เป็นบทขยายความเป็นมา ความเป็นไป หรือพากย์ราพึงราพันใดๆ เช่น พากย์บรรยาย ตานานรัตนธนู ๖. พากย์เบ็ดเตล็ด เป็นบทที่ใช้ในโอกาสทั่วๆ ไป เป็นเรื่องเล็กๆ น้อยๆ ที่ไม่เข้าประเภทใด เช่นกล่าวว่า ใครทาอะไร หรือพูดกับใคร ว่าอย่างไร  บทเจรจา เป็นบทกวีที่แต่งเป็นร่ายยาว ส่งและรับสัมผัสกันไปเรื่อยๆ ใช้ได้ทุกโอกาส สมัยโบราณเป็นบทที่คิดขึ้น สดๆ เป็นความสามารถของคนพากย์ คนเจรจา ที่จะใช้ปฏิภาณคิดขึ้นโดยปัจจุบัน ให้ได้ถ้อยคาสละสลวย มีสัมผัส แนบเนียน และได้เนื้อถ้อยกระทงความถูกต้องตามเนื้อเรื่อง ผู้พากย์เจรจาที่เก่งๆ ยังสามารถใช้ถ้อยคาคมคาย เหน็บแนมเสียดสี บางครั้งก็เผ็ดร้อน โต้ตอบกันน่าฟังมาก ปัจจุบันนี้ บทเจรจาได้แต่งไว้เรียบร้อยแล้ว ผู้พากย์ เจรจาก็ว่าตามบทให้เกิดอารมณ์คล้อยตามถ้อยคา โดยใช้เสียงและลีลาในการเจรจา ผู้พากย์และเจรจาต้องทาสุ้ม เสียงให้เหมาะกับตัวโขน และใส่ความรู้สึกให้เหมาะกับอารมณ์ในเรื่อง คนพากย์และเจรจานี้ใช้ผู้ชาย คนหนึ่งต้อง ทาหน้าที่ทั้งพากย์และเจรจา และต้องมีไม่น้อยกว่า ๒ คน จะได้โต้ตอบกันทันท่วงที เมื่อพากย์หรือเจรจาจบ กระบวนความแล้ว ต้องการจะให้ปี่พาทย์ทาเพลงอะไรก็ร้องบอกไป เรียกว่า "บอกหน้าพาทย์" และถ้าการแสดง โขนนั้นมีขับร้อง คนพากย์และเจรจายังจะต้องทาหน้าที่บอกบทด้วย การบอกบทจะต้องบอกให้ถูกจังหวะ
  • 18. วิธีกำรดูโขน โขนเป็นละครใบ้ โดยเฉพำะโขนกลำงแปลง ผู้ดูจึงต้องดูกำรแสดงท่ำทำง ซึ่งจะบอก ควำมหมำย ควำมรู้สึกควำมคิด ควำมประสงค์ต่ำงๆ ได้ทุกอย่ำง ท่ำทำงที่โขนแสดงออกย่อม สัมพันธ์กับดนตรี ฉะนั้น หน้ำพำทย์ต่ำงๆ ที่ใช้ในกำรแสดงโขนจึงมีควำมสำคัญมำก เช่น เพลง กรำวนอก กรำวในที่ใช้ในเวลำจัดทัพ แสดงให้เห็นควำมเข้มแข็งคึกคักของทหำร ท่ำทำงของผู้ แสดงก็แสดงให้เห็นควำมเข้มแข็งคึกคัก กระหยิ่ม องอำจ กล้ำหำญ ควำมพร้อมเพรียงของ กองทัพ หรือเพลงเชิดและท่ำรบ ก็แสดงให้เห็นกำรรุกไล่หลบหลีก ปิดป้อง หลอกล่อต่ำงๆ ภำษำท่ำทำงของโขน ภำษำท่ำทำงของโขน จำแนกได้เป็น ๓ ประเภท คือ ๑. ท่ำซึ่งใช้แทนคำพูด เช่น รับ ปฏิเสธ ๒. ท่ำซึ่งใช้เป็นอิริยำบท และกิริยำอำกำร เช่น เดิน ไหว้ ยิ้ม ร้องไห้ ๓. ท่ำซึ่งแสดงถึงอำรมณ์ภำยใน เช่น รัก โกรธ ดีใจ เสียใจ
  • 19. โอกำสที่แสดงโขน ๑. แสดงเป็นมหกรรมบูชำ เช่น ในงำนถวำยพระเพลิงพระบรมศพ หรือพระศพ พระบรมอัฐิ หรืออัฐเจ้ำนำย ตลอดจนศพขุนนำง หรือผู้ใหญ่เป็นที่เคำรพนับถือทั่วไป ๒. แสดงเป็นมหรสพสมโภช เช่น ในงำนฉลองปูชนียสถำน ปูชนียวัตถุ พระพุทธบำท พระ แก้วมรกต พระอำรำม หรือสมโภชเจ้ำนำยทรงบรรพชำ สมโภชในพระรำชพิธีบรมรำชำภิเษก สมโภชในงำนเฉลิมพระชนม์พรรษำ สมโภชวันประสูติเจ้ำนำยที่สูงศักดิ์ เป็นต้น ๓. แสดงเป็นมหรสพเพื่อควำมบันเทิง ในโอกำสทั่วๆไป