SlideShare a Scribd company logo
1 of 11
Download to read offline
รำวงมำตรฐำน

โดย นำงดวงฤทัย ช่วงชัย
ประวัติควำมเป็นมำของรำวงมำตรฐำน
รำวงมำตรฐำน เป็นกำรแสดงที่มีวิวัฒนกำรมำจำก “รำ
โทน” เป็นกำรรำและร้องของชำวบ้ำน ซึ่งจะมีผู้ชำยและผู้หญิง รำ
กันเป็นคู่ๆ รอบๆ ครกตำข้ำวที่วำงคว่ำไว้ หรือไม่ก็รำกันเป็นวงกลม
โดยมีโทนเป็นเครื่องดนตรีประกอบจังหวะ ลักษณะกำรรำ และกำร
ร้องเป็นไปตำมควำมถนัด ไม่มีแบบแผนกำหนดไว้ คงเป็นกำรรำและ
ร้องง่ำยๆ มุ่งเน้นที่ควำมสนุกสนำนรื่นเริง เช่น เพลงช่อมำลี เพลง
ยวนยำเหล เพลงหล่อจริงนะดำรำ เพลงตำมองตำ เพลงใกล้เข้ำไป
อีกนิด ฯลฯ ด้วยเหตุที่กำรรำชนิดนี้มีโทนเป็นเครื่องดนตรีประกอบ
จังหวะ จึงเรียกกำรแสดงชุดนี้ว่ำ “รำโทน”
ประวัติควำมเป็นมำของรำวงมำตรฐำน (ต่อ)
ต่อมำในสมัยรัฐบำล จอมพล ป. พิบูลสงครำม พ.ศ. 2487
ได้มอบหมำยให้กรมศิลปำกร ปรับปรุงกำรเล่นรำวงพื้นบ้ำน ให้มี
ระเบียบเรียบร้อย เป็นแบบฉบับอันดีงำมของนำฏศิลป์ไทยและ
เพื่อเป็นกำรอนุรักษ์ศิลปะกำรละเล่นพื้นเมือง กรมศิลปำกรจึงแต่ง
บทร้องและทำนองเพลงขึ้นใหม่ 4 เพลง คือ งำมแสงเดือน ชำวไทย
คืนเดือนหงำย และรำมำซิมำรำ พร้อมทั้งปรับปรุงเครื่องดนตรีที่ใช้
บรรเลงประกอบกำรเล่นรำวงมำเป็นวงปี่พำทย์หรือวงดนตรีสำกล
บทเพลงรำวงมำตรฐำนนี้ ท่ำนผู้หญิงละเอียด พิบูลสงครำม
ได้แต่งบทร้องอีก 6 เพลง คือ ดวงจันทร์วันเพ็ญ ดอกไม้ของชำติ
หญิงไทยใจงำม ดวงจันทร์ขวัญฟ้ำ ยอดชำยใจหำญ และ บูชำนักรบ
ประวัติควำมเป็นมำของรำวงมำตรฐำน (ต่อ)
ผู้คิดประดิษฐ์ท่ำรำประกอบเพลงรำวงทั้ง 10 เพลงนั้น
คือ คณะอำจำรย์ด้ำนนำฏศิลป์ของกรมศิลปำกร ได้ช่วยกันคิด
ประดิษฐ์ท่ำรำให้งดงำมถูกต้องตำมหลักนำฏศิลป์ กำหนดให้เป็น
แบบมำตรฐำน ผู้คิดประดิษฐ์ท่ำรำของรำวงมำตรฐำน คือ
หม่อมต่วน (นำงศุภลักษณ์ ภัทรนำวิก) ครูมัลลี คงประภัทร์
ครูลมุล ยมะคุปต์ และครูผัน โมรำกุล ต่อมำได้มีกำรนำรำวงนี้ไป
สลับกับวงลีลำศ ทำให้ชำวต่ำงประเทศรู้จักรำวง เพื่อให้ประชำชน
ชำวไทยได้เล่นกันแพร่หลำย และมีแบบแผนอันเดียวกัน กรม
ศิลปำกรจึงเรียกว่ำ “รำวงมำตรฐำน”
ลักษณะกำรแต่งกำยรำวงมำตรฐำน
กำรแต่งกำยรำวงมำตรฐำนแต่งได้ 3 แบบ คือ

1.แบบพื้นเมือง

หญิง : นุ่งผ้ำโจงกระเบน ห่มสไบอัดจีบ คำดเข็มขัด
ชำย : นุ่งผ้ำโจงกระเบน สวมเสื้อคอกลม มีผ้ำคำดเอว
ลักษณะกำรแต่งกำยรำวงมำตรฐำน
2. แบบไทยพระรำชนิยม
ชำย: สวมกำงเกงขำยำว ใส่เสื้อพระรำชทำน (แขนยำวหรือสั้นก็ได้) สวมรองเท้ำ (แบบที่
1) : นุ่งผ้ำโจงกระเบน ใส่เสื้อรำชประแตน สวมรองเท้ำ ถุงเท้ำยำว (แบบที่ 2)
ชำย
หญิง : แต่งชุดไทยเรือนต้น และชุดไทยสมัยรัชกำลที่ 5 สวมรองเท้ำ
ลักษณะกำรแต่งกำยรำวงมำตรฐำน
3. แบบสำกลนิยม

ชำย : แต่งชุดสูทสำกล สวมเสื้อเชิ้ตแขนยำว ผูกเนคไท สวมรองเท้ำ
หญิง : ชุดไทย
ชื่อเพลง
1. เพลงงำมแสงเดือน
2. เพลงชำวไทย
3. เพลงรำมำซิมำรำ
4. เพลงคืนเดือนหงำย
5. เพลงดอกไม้ของชำติ
6. เพลงดวงจันทร์วันเพ็ญ
7. เพลงหญิงไทยใจงำม
8. เพลงดวงจันทร์ขวัญฟ้ำ
9. เพลงยอดชำยใจหำญ
10. เพลงบูชำนักรบ

ท่ำรำที่ใช้
ชำยและหญิง สอดสร้อยมำลำ
ชำยและหญิงชักแป้งผัดหน้ำ
ชำยและหญิง รำส่ำย
ชำยและหญิง สอดสร้อยมำลำแปลง
ชำยและหญิง รำยั่ว
ชำยและหญิง แขกเต้ำเข้ำรัง และ ผำลำเพียงไหล่
ชำยและหญิง พรหมสี่หน้ำ และ ยูงฟ้อนหำง
ชำยและหญิง ช้ำงประสำนงำ และ จันทร์ทรงกลดแปลง
ชำย จ่อเพลิงกำฬ หญิง ชะนีร่ำยไม้
ชำย จันทร์ทรงกลด/ขอแก้ว หญิง ขัดจำงนำง/ล่อแก้ว
วิธีเล่นรำวงมำตรฐำน
1. แสดงเป็นคู่ ชำย – หญิง จะใช้กี่คู่ก็ได้ขึ้นอยู่กับสถำนที่
2. ก่อนเริ่มรำ หญิง – ชำย ทำควำมเคำรพกันด้วยกำรไหว้ หรือ หญิง
พนมมือไหว้ ชำยโค้ง
3. ก่อนรำแต่ละเพลง ดนตรีนำ 1 วรรค เพื่อให้กำรเดินเท้ำในจังหวะ
แรกพร้อมเพรียงกัน
4. มีควำมพร้อมเพรียงในกำรรำ ระยะคู่ไม่ห่ำงหรือชิดกันเกินไป
5. ใช้ท่ำรำตำมที่กำหนดไว้ในแต่ละเพลง
6. พนมมือไหว้ซึ่งกันและกัน ก่อนที่จะออกจำกวงรำ
ดนตรี และ เพลงที่ใช้ประกอบกำรแสดง

มีดังนี้
ใช้วงปี่พำทย์ไม้นวม ประกอบด้วย ระนำด ฆ้องวง
ปีใน ตะโพน กลองทัด ฉิ่ง ฉำบ กรับและโทน
ลองทำข้อสอบนะจ๊ะ
kkk.htm

More Related Content

What's hot

รูปแบบการแสดงนาฏศิลป์,ม.3 ปี 57 (เผยแพร่)
รูปแบบการแสดงนาฏศิลป์,ม.3 ปี 57 (เผยแพร่)รูปแบบการแสดงนาฏศิลป์,ม.3 ปี 57 (เผยแพร่)
รูปแบบการแสดงนาฏศิลป์,ม.3 ปี 57 (เผยแพร่)Panomporn Chinchana
 
ลักษณะของดอกไม้และการจัดดอกไม้
ลักษณะของดอกไม้และการจัดดอกไม้ลักษณะของดอกไม้และการจัดดอกไม้
ลักษณะของดอกไม้และการจัดดอกไม้ssuser4f22d3
 
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ หลักการชมการแสดงนาฏศิลป์และละคร ม.4
เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  หลักการชมการแสดงนาฏศิลป์และละคร ม.4เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  หลักการชมการแสดงนาฏศิลป์และละคร ม.4
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ หลักการชมการแสดงนาฏศิลป์และละคร ม.4Panomporn Chinchana
 
ใบงานที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
ใบงานที่ 2 ปฏิกิริยาเคมีใบงานที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
ใบงานที่ 2 ปฏิกิริยาเคมีwebsite22556
 
ประโยคความซ้อน
ประโยคความซ้อนประโยคความซ้อน
ประโยคความซ้อนพัน พัน
 
หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม
หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม
หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม Terapong Piriyapan
 
ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1
ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1
ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1prayut2516
 
แบบฝึกการหาอัตราเร็วความเร็ว
แบบฝึกการหาอัตราเร็วความเร็วแบบฝึกการหาอัตราเร็วความเร็ว
แบบฝึกการหาอัตราเร็วความเร็วJariya Jaiyot
 
บันทึกข้อความ
บันทึกข้อความบันทึกข้อความ
บันทึกข้อความHom Rim
 
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย (Key)_ม.1
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย (Key)_ม.1ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย (Key)_ม.1
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย (Key)_ม.1Sivagon Soontong
 
กระแสไฟฟ้า ความต่างศักย์ กฎของโอห์ม .pdf
กระแสไฟฟ้า ความต่างศักย์ กฎของโอห์ม .pdfกระแสไฟฟ้า ความต่างศักย์ กฎของโอห์ม .pdf
กระแสไฟฟ้า ความต่างศักย์ กฎของโอห์ม .pdfCharanyaKanuson
 
แบบบันทึกกิจกรรม อาหารและสารอาหาร ม.2
แบบบันทึกกิจกรรม อาหารและสารอาหาร ม.2แบบบันทึกกิจกรรม อาหารและสารอาหาร ม.2
แบบบันทึกกิจกรรม อาหารและสารอาหาร ม.2gchom
 
ใบงานคำคล้อง .pdf
ใบงานคำคล้อง .pdfใบงานคำคล้อง .pdf
ใบงานคำคล้อง .pdfssuserdd44c01
 
แบบฝึกหัด ตัวการันต์
แบบฝึกหัด ตัวการันต์แบบฝึกหัด ตัวการันต์
แบบฝึกหัด ตัวการันต์Kansinee Kosirojhiran
 
เฉลยฝึกหัดการแต่งโคลงสี่สุภาพ
เฉลยฝึกหัดการแต่งโคลงสี่สุภาพเฉลยฝึกหัดการแต่งโคลงสี่สุภาพ
เฉลยฝึกหัดการแต่งโคลงสี่สุภาพกึม จันทิภา
 
เกณฑ์การประเมินรูบริคส์
เกณฑ์การประเมินรูบริคส์เกณฑ์การประเมินรูบริคส์
เกณฑ์การประเมินรูบริคส์Lamai Fungcholjitt
 

What's hot (20)

คำบุพบท
คำบุพบทคำบุพบท
คำบุพบท
 
รูปแบบการแสดงนาฏศิลป์,ม.3 ปี 57 (เผยแพร่)
รูปแบบการแสดงนาฏศิลป์,ม.3 ปี 57 (เผยแพร่)รูปแบบการแสดงนาฏศิลป์,ม.3 ปี 57 (เผยแพร่)
รูปแบบการแสดงนาฏศิลป์,ม.3 ปี 57 (เผยแพร่)
 
ลักษณะของดอกไม้และการจัดดอกไม้
ลักษณะของดอกไม้และการจัดดอกไม้ลักษณะของดอกไม้และการจัดดอกไม้
ลักษณะของดอกไม้และการจัดดอกไม้
 
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ หลักการชมการแสดงนาฏศิลป์และละคร ม.4
เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  หลักการชมการแสดงนาฏศิลป์และละคร ม.4เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  หลักการชมการแสดงนาฏศิลป์และละคร ม.4
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ หลักการชมการแสดงนาฏศิลป์และละคร ม.4
 
แบบฝึกอ่านสระ
แบบฝึกอ่านสระแบบฝึกอ่านสระ
แบบฝึกอ่านสระ
 
ใบงานที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
ใบงานที่ 2 ปฏิกิริยาเคมีใบงานที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
ใบงานที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
 
ประโยคความซ้อน
ประโยคความซ้อนประโยคความซ้อน
ประโยคความซ้อน
 
หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม
หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม
หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม
 
ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1
ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1
ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1
 
แบบฝึกการหาอัตราเร็วความเร็ว
แบบฝึกการหาอัตราเร็วความเร็วแบบฝึกการหาอัตราเร็วความเร็ว
แบบฝึกการหาอัตราเร็วความเร็ว
 
ใบความรู้สนามแม่เหล็ก
ใบความรู้สนามแม่เหล็กใบความรู้สนามแม่เหล็ก
ใบความรู้สนามแม่เหล็ก
 
บันทึกข้อความ
บันทึกข้อความบันทึกข้อความ
บันทึกข้อความ
 
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย (Key)_ม.1
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย (Key)_ม.1ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย (Key)_ม.1
ข้อสอบปลายภาคเรียนที่ ๒ ภาษาไทย (Key)_ม.1
 
กระแสไฟฟ้า ความต่างศักย์ กฎของโอห์ม .pdf
กระแสไฟฟ้า ความต่างศักย์ กฎของโอห์ม .pdfกระแสไฟฟ้า ความต่างศักย์ กฎของโอห์ม .pdf
กระแสไฟฟ้า ความต่างศักย์ กฎของโอห์ม .pdf
 
แสงและการมองเห็น
แสงและการมองเห็นแสงและการมองเห็น
แสงและการมองเห็น
 
แบบบันทึกกิจกรรม อาหารและสารอาหาร ม.2
แบบบันทึกกิจกรรม อาหารและสารอาหาร ม.2แบบบันทึกกิจกรรม อาหารและสารอาหาร ม.2
แบบบันทึกกิจกรรม อาหารและสารอาหาร ม.2
 
ใบงานคำคล้อง .pdf
ใบงานคำคล้อง .pdfใบงานคำคล้อง .pdf
ใบงานคำคล้อง .pdf
 
แบบฝึกหัด ตัวการันต์
แบบฝึกหัด ตัวการันต์แบบฝึกหัด ตัวการันต์
แบบฝึกหัด ตัวการันต์
 
เฉลยฝึกหัดการแต่งโคลงสี่สุภาพ
เฉลยฝึกหัดการแต่งโคลงสี่สุภาพเฉลยฝึกหัดการแต่งโคลงสี่สุภาพ
เฉลยฝึกหัดการแต่งโคลงสี่สุภาพ
 
เกณฑ์การประเมินรูบริคส์
เกณฑ์การประเมินรูบริคส์เกณฑ์การประเมินรูบริคส์
เกณฑ์การประเมินรูบริคส์
 

Similar to รำวงมาตรฐาน

ศิลปินในดวงใจ
ศิลปินในดวงใจศิลปินในดวงใจ
ศิลปินในดวงใจPata_tuo
 
ละครพันทาง.doc
ละครพันทาง.docละครพันทาง.doc
ละครพันทาง.docpinglada1
 
ละครรำ
ละครรำละครรำ
ละครรำleemeanxun
 
รำไทย รำวง มาตรฐานไทย
รำไทย รำวง มาตรฐานไทยรำไทย รำวง มาตรฐานไทย
รำไทย รำวง มาตรฐานไทยleemeanxun
 
รำไทย รำวง มาตรฐานไทย
รำไทย รำวง มาตรฐานไทยรำไทย รำวง มาตรฐานไทย
รำไทย รำวง มาตรฐานไทยsangkeetwittaya stourajini
 
ละครรำ.docx
ละครรำ.docxละครรำ.docx
ละครรำ.docxpinglada1
 
ดนตรีพื้นบ้าน
ดนตรีพื้นบ้านดนตรีพื้นบ้าน
ดนตรีพื้นบ้านJakkrit Supokam
 
คีตกวีเอกของโลก.pdf
คีตกวีเอกของโลก.pdfคีตกวีเอกของโลก.pdf
คีตกวีเอกของโลก.pdfpinglada
 
ครูเงาะ1ๅ การสอนรำวงมาตรฐานระดับ ประถมศึกษา
ครูเงาะ1ๅ การสอนรำวงมาตรฐานระดับ ประถมศึกษาครูเงาะ1ๅ การสอนรำวงมาตรฐานระดับ ประถมศึกษา
ครูเงาะ1ๅ การสอนรำวงมาตรฐานระดับ ประถมศึกษาKrungao1
 
พลงลูกกรุงFinish
พลงลูกกรุงFinishพลงลูกกรุงFinish
พลงลูกกรุงFinishlimitedbuff
 
ดนตรี ม.3
ดนตรี ม.3ดนตรี ม.3
ดนตรี ม.3Kruanchalee
 

Similar to รำวงมาตรฐาน (18)

รำวงมาตรฐาน
รำวงมาตรฐานรำวงมาตรฐาน
รำวงมาตรฐาน
 
Art
ArtArt
Art
 
Art
ArtArt
Art
 
วงดนตรีไทย ม.2 56
วงดนตรีไทย ม.2 56วงดนตรีไทย ม.2 56
วงดนตรีไทย ม.2 56
 
ศิลปินในดวงใจ
ศิลปินในดวงใจศิลปินในดวงใจ
ศิลปินในดวงใจ
 
ละครพันทาง.doc
ละครพันทาง.docละครพันทาง.doc
ละครพันทาง.doc
 
ละครรำ
ละครรำละครรำ
ละครรำ
 
Profileติดดิน
ProfileติดดินProfileติดดิน
Profileติดดิน
 
รำไทย รำวง มาตรฐานไทย
รำไทย รำวง มาตรฐานไทยรำไทย รำวง มาตรฐานไทย
รำไทย รำวง มาตรฐานไทย
 
รำไทย รำวง มาตรฐานไทย
รำไทย รำวง มาตรฐานไทยรำไทย รำวง มาตรฐานไทย
รำไทย รำวง มาตรฐานไทย
 
ละครรำ.docx
ละครรำ.docxละครรำ.docx
ละครรำ.docx
 
เพลง หู ตา มือ
เพลง หู  ตา  มือเพลง หู  ตา  มือ
เพลง หู ตา มือ
 
ดนตรีพื้นบ้าน
ดนตรีพื้นบ้านดนตรีพื้นบ้าน
ดนตรีพื้นบ้าน
 
คีตกวีเอกของโลก.pdf
คีตกวีเอกของโลก.pdfคีตกวีเอกของโลก.pdf
คีตกวีเอกของโลก.pdf
 
เครื่องดนตรีไทย ม.2ปี 56
เครื่องดนตรีไทย ม.2ปี 56เครื่องดนตรีไทย ม.2ปี 56
เครื่องดนตรีไทย ม.2ปี 56
 
ครูเงาะ1ๅ การสอนรำวงมาตรฐานระดับ ประถมศึกษา
ครูเงาะ1ๅ การสอนรำวงมาตรฐานระดับ ประถมศึกษาครูเงาะ1ๅ การสอนรำวงมาตรฐานระดับ ประถมศึกษา
ครูเงาะ1ๅ การสอนรำวงมาตรฐานระดับ ประถมศึกษา
 
พลงลูกกรุงFinish
พลงลูกกรุงFinishพลงลูกกรุงFinish
พลงลูกกรุงFinish
 
ดนตรี ม.3
ดนตรี ม.3ดนตรี ม.3
ดนตรี ม.3
 

More from พัน พัน

เรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการเรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการพัน พัน
 
เรื่องภาษาซี
เรื่องภาษาซีเรื่องภาษาซี
เรื่องภาษาซีพัน พัน
 
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษรการเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษรพัน พัน
 
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
การทำงานของคอมพิวเตอร์
การทำงานของคอมพิวเตอร์การทำงานของคอมพิวเตอร์
การทำงานของคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัยระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัยพัน พัน
 
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศเรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศพัน พัน
 
ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้นเครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้นพัน พัน
 
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้นเรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้นพัน พัน
 
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
เรื่องคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์เรื่องคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้พัน พัน
 

More from พัน พัน (20)

เรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการเรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการ
 
เรื่องภาษาซี
เรื่องภาษาซีเรื่องภาษาซี
เรื่องภาษาซี
 
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
 
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษรการเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
 
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
 
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
 
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
 
การทำงานของคอมพิวเตอร์
การทำงานของคอมพิวเตอร์การทำงานของคอมพิวเตอร์
การทำงานของคอมพิวเตอร์
 
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัยระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
 
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศเรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้นเครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้นเรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
 
เรื่องคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์เรื่องคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
การปริ้น
การปริ้นการปริ้น
การปริ้น
 
Office
OfficeOffice
Office
 
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
 
ยาเสพติด
ยาเสพติดยาเสพติด
ยาเสพติด
 

รำวงมาตรฐาน

  • 2. ประวัติควำมเป็นมำของรำวงมำตรฐำน รำวงมำตรฐำน เป็นกำรแสดงที่มีวิวัฒนกำรมำจำก “รำ โทน” เป็นกำรรำและร้องของชำวบ้ำน ซึ่งจะมีผู้ชำยและผู้หญิง รำ กันเป็นคู่ๆ รอบๆ ครกตำข้ำวที่วำงคว่ำไว้ หรือไม่ก็รำกันเป็นวงกลม โดยมีโทนเป็นเครื่องดนตรีประกอบจังหวะ ลักษณะกำรรำ และกำร ร้องเป็นไปตำมควำมถนัด ไม่มีแบบแผนกำหนดไว้ คงเป็นกำรรำและ ร้องง่ำยๆ มุ่งเน้นที่ควำมสนุกสนำนรื่นเริง เช่น เพลงช่อมำลี เพลง ยวนยำเหล เพลงหล่อจริงนะดำรำ เพลงตำมองตำ เพลงใกล้เข้ำไป อีกนิด ฯลฯ ด้วยเหตุที่กำรรำชนิดนี้มีโทนเป็นเครื่องดนตรีประกอบ จังหวะ จึงเรียกกำรแสดงชุดนี้ว่ำ “รำโทน”
  • 3. ประวัติควำมเป็นมำของรำวงมำตรฐำน (ต่อ) ต่อมำในสมัยรัฐบำล จอมพล ป. พิบูลสงครำม พ.ศ. 2487 ได้มอบหมำยให้กรมศิลปำกร ปรับปรุงกำรเล่นรำวงพื้นบ้ำน ให้มี ระเบียบเรียบร้อย เป็นแบบฉบับอันดีงำมของนำฏศิลป์ไทยและ เพื่อเป็นกำรอนุรักษ์ศิลปะกำรละเล่นพื้นเมือง กรมศิลปำกรจึงแต่ง บทร้องและทำนองเพลงขึ้นใหม่ 4 เพลง คือ งำมแสงเดือน ชำวไทย คืนเดือนหงำย และรำมำซิมำรำ พร้อมทั้งปรับปรุงเครื่องดนตรีที่ใช้ บรรเลงประกอบกำรเล่นรำวงมำเป็นวงปี่พำทย์หรือวงดนตรีสำกล บทเพลงรำวงมำตรฐำนนี้ ท่ำนผู้หญิงละเอียด พิบูลสงครำม ได้แต่งบทร้องอีก 6 เพลง คือ ดวงจันทร์วันเพ็ญ ดอกไม้ของชำติ หญิงไทยใจงำม ดวงจันทร์ขวัญฟ้ำ ยอดชำยใจหำญ และ บูชำนักรบ
  • 4. ประวัติควำมเป็นมำของรำวงมำตรฐำน (ต่อ) ผู้คิดประดิษฐ์ท่ำรำประกอบเพลงรำวงทั้ง 10 เพลงนั้น คือ คณะอำจำรย์ด้ำนนำฏศิลป์ของกรมศิลปำกร ได้ช่วยกันคิด ประดิษฐ์ท่ำรำให้งดงำมถูกต้องตำมหลักนำฏศิลป์ กำหนดให้เป็น แบบมำตรฐำน ผู้คิดประดิษฐ์ท่ำรำของรำวงมำตรฐำน คือ หม่อมต่วน (นำงศุภลักษณ์ ภัทรนำวิก) ครูมัลลี คงประภัทร์ ครูลมุล ยมะคุปต์ และครูผัน โมรำกุล ต่อมำได้มีกำรนำรำวงนี้ไป สลับกับวงลีลำศ ทำให้ชำวต่ำงประเทศรู้จักรำวง เพื่อให้ประชำชน ชำวไทยได้เล่นกันแพร่หลำย และมีแบบแผนอันเดียวกัน กรม ศิลปำกรจึงเรียกว่ำ “รำวงมำตรฐำน”
  • 5. ลักษณะกำรแต่งกำยรำวงมำตรฐำน กำรแต่งกำยรำวงมำตรฐำนแต่งได้ 3 แบบ คือ 1.แบบพื้นเมือง หญิง : นุ่งผ้ำโจงกระเบน ห่มสไบอัดจีบ คำดเข็มขัด ชำย : นุ่งผ้ำโจงกระเบน สวมเสื้อคอกลม มีผ้ำคำดเอว
  • 6. ลักษณะกำรแต่งกำยรำวงมำตรฐำน 2. แบบไทยพระรำชนิยม ชำย: สวมกำงเกงขำยำว ใส่เสื้อพระรำชทำน (แขนยำวหรือสั้นก็ได้) สวมรองเท้ำ (แบบที่ 1) : นุ่งผ้ำโจงกระเบน ใส่เสื้อรำชประแตน สวมรองเท้ำ ถุงเท้ำยำว (แบบที่ 2) ชำย หญิง : แต่งชุดไทยเรือนต้น และชุดไทยสมัยรัชกำลที่ 5 สวมรองเท้ำ
  • 7. ลักษณะกำรแต่งกำยรำวงมำตรฐำน 3. แบบสำกลนิยม ชำย : แต่งชุดสูทสำกล สวมเสื้อเชิ้ตแขนยำว ผูกเนคไท สวมรองเท้ำ หญิง : ชุดไทย
  • 8. ชื่อเพลง 1. เพลงงำมแสงเดือน 2. เพลงชำวไทย 3. เพลงรำมำซิมำรำ 4. เพลงคืนเดือนหงำย 5. เพลงดอกไม้ของชำติ 6. เพลงดวงจันทร์วันเพ็ญ 7. เพลงหญิงไทยใจงำม 8. เพลงดวงจันทร์ขวัญฟ้ำ 9. เพลงยอดชำยใจหำญ 10. เพลงบูชำนักรบ ท่ำรำที่ใช้ ชำยและหญิง สอดสร้อยมำลำ ชำยและหญิงชักแป้งผัดหน้ำ ชำยและหญิง รำส่ำย ชำยและหญิง สอดสร้อยมำลำแปลง ชำยและหญิง รำยั่ว ชำยและหญิง แขกเต้ำเข้ำรัง และ ผำลำเพียงไหล่ ชำยและหญิง พรหมสี่หน้ำ และ ยูงฟ้อนหำง ชำยและหญิง ช้ำงประสำนงำ และ จันทร์ทรงกลดแปลง ชำย จ่อเพลิงกำฬ หญิง ชะนีร่ำยไม้ ชำย จันทร์ทรงกลด/ขอแก้ว หญิง ขัดจำงนำง/ล่อแก้ว
  • 9. วิธีเล่นรำวงมำตรฐำน 1. แสดงเป็นคู่ ชำย – หญิง จะใช้กี่คู่ก็ได้ขึ้นอยู่กับสถำนที่ 2. ก่อนเริ่มรำ หญิง – ชำย ทำควำมเคำรพกันด้วยกำรไหว้ หรือ หญิง พนมมือไหว้ ชำยโค้ง 3. ก่อนรำแต่ละเพลง ดนตรีนำ 1 วรรค เพื่อให้กำรเดินเท้ำในจังหวะ แรกพร้อมเพรียงกัน 4. มีควำมพร้อมเพรียงในกำรรำ ระยะคู่ไม่ห่ำงหรือชิดกันเกินไป 5. ใช้ท่ำรำตำมที่กำหนดไว้ในแต่ละเพลง 6. พนมมือไหว้ซึ่งกันและกัน ก่อนที่จะออกจำกวงรำ
  • 10. ดนตรี และ เพลงที่ใช้ประกอบกำรแสดง มีดังนี้ ใช้วงปี่พำทย์ไม้นวม ประกอบด้วย ระนำด ฆ้องวง ปีใน ตะโพน กลองทัด ฉิ่ง ฉำบ กรับและโทน