SlideShare a Scribd company logo
ความหมายของเครื่องดนตรี“
เครื่องดนตรี”พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถานให้ความหมายไว้ว่าเป็นเครื่องบรรเลงซึ่งมีเสียงดังทาให้รู้สึกเพลิดเพลิน
หรือเกิดอารมณ์รักโศกและรื่นเริงได้ตามทานองเพลงเครื่องดนตรีไทยเป็นมรดกทางวัฒนธรรมซึ่งบรรพบุรุษของเราได้สร้างสมไว้
และเป็นเครื่องหมายอย่างหนึ่งที่แสดงลักษณะเฉพาะของชาติไทยเช่นเดียวกับภาษาและศิลปวัฒนธรรมด้านอื่นๆ
สมควรที่เราจะภาคภูมิใจและช่วยกันทะนุบารุงส่งเสริมและรักษาไว้ให้ดารงคงอยู่สืบไปในเบื้องต้นนี้
เราควรจะต้องมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับดนตรีไทยอันอาจจะก่อให้เกิดความรักและความสนใจดนตรีไทยขึ้นมาได้
ต่อไปนี้จะขอแนะนาให้รู้จักส่วนหนึ่งของ“ดนตรีไทย”คือ“เครื่องดนตรีไทย”
เครื่องดนตรีไทย
คือ สิ่งที่สร้างขึ้นสาหรับทาเสียงให้เป็นทานองหรือจังหวะวิธีที่ทาให้มีเสียงดังขึ้นนั้นมีอยู่ ๔วิธี คือ
ใช้มือหรือสิ่งใดสิ่งหนึ่งดีดที่สายแล้วเกิดเสียงดังขึ้นสิ่งที่มีสายสาหรับดีดเรียกว่า"เครื่องดีด"
ใช้เส้นหางม้าหลายๆเส้นรวมกันสีไปมาที่สาย แล้วเกิดเสียงดังขึ้นสิ่งที่มีสายแล้วใช้เส้นหางม้าสีให้เกิดเสียงเรียกว่า "เครื่องสี"
ใช้มือหรือไม้ตีที่สิ่งนั้นแล้วเกิดเสียงดังขึ้นสิ่งที่ใช้ไม้หรือมือตีเรียกว่า "เครื่องตี"
ใช้ปากเป่าลมเข้าไปในสิ่งนั้นแล้วเกิดเสียงดังขึ้นสิ่งที่เป่าลมเข้าไปแล้วเกิดเสียงเรียกว่า "เครื่องป่ า"
เครื่องทุกอย่างที่กล่าวแล้วรวมเรียกว่าเครื่องดีดสีตีเป่า
รายชื่อเครื่องดนตรีไทยแบ่งตามการบรรเลง
เครื่องดีด
กระจับปี่ เป็นเครื่องดนตรีประเภทดีดหรือพิณ4 สายชนิดหนึ่งตัวกะโหลกเป็นรูปกลมรีแบนทั้งหน้าหลังมีความหนาประมาณ7ซม.
ด้านหน้ายาวประมาณ44ซม.กว้างประมาณ40ซม. ทาคันทวนเรียวยาวประมาณ 138ซม.ตอนปลายคันทวนมีลักษณะแบน
และบานปลายผายโค้งออกไปถ้าวัดรวมทั้งคันทวนและตัวกะโหลก จะมีความยาวประมาณ180ซม.มีลูกบิดสาหรับขึ้นสาย4อัน
มีนมรับนิ้ว 11 นมเท่ากับจะเข้ ตรงด้านหน้ากะโหลกมีแผ่นไม้บางๆทาเป็นหย่องค้าสายให้ตุงขึ้นเวลาบรรเลงใช้นิ้วหัวแม่มือกับนิ้วชี้
จับไม้ดีด เขี่ยสายให้เกิดเสียง
ในสมัยกรุงศรีอยุธยามีกล่าวไว้ในกฎมณเฑียรบาลว่า“ร้องเพลงเรือเป่าปี่เป่าขลุ่ย สีซอดีดจะเข้กระจับปี่ตีโทนทับโห่ร้องนี่นั่น”
ต่อมาก็นามาใช้เป็นเครื่องดีดประกอบการขับไม้ สาหรับบรรเลงในพระราชพิธีแต่เนื่องจากกระจับปี่มีเสียงเบาและมีน้าหนักมาก
ผู้ดีดกระจับปี่จะต้องนั่งพับเพียบขวาแล้วเอาตัวกระจับปี่ วางบนหน้าขาข้างขวาของตนเพื่อทานน้าหนักมือซ้ายถือคันทวนมือ
ขวาจับไม้ดีดเป็นที่ลาบากมากอาจเป็นสาเหตุหนึ่งที่ทาให้ไม่ค่อยมีผู้นิยมเล่นกระจับปี่ ในปัจจุบันจึงหาผู้เล่นได้ยาก
กระจับปี่ สันนิษฐานกันว่าน่าจะมาจากภาษาชวาคาว่ากัจฉปิ ซึ่งคาว่ากัจฉปิ นั้นมีรากฐานของคาศัพท์ในบาลีสันสกฤตคาว่า
กัจฉปะ ที่แปลว่าเต่าเนื่องจากลักษณะของกระจับปี่นั้นจะมีกะโหลกเป็นรูปกลมรีแบนทั้งหน้าหลัง
ซึ่งมองแล้วคล้ายกับกระดองของเต่า
กระจับปี่
จะเข้ เป็นเครื่องดนตรีไทยประเภทเครื่องดีดมี3 สายเข้าใจว่าได้ปรับปรุงแก้ไขมาจากพิณคือกระจับปี่ซึ่งมี4 สาย
นามาวางดีดกับพื้นเพื่อความสะดวกมีประวัติและมีหลักฐานครั้งแรกในสมัยกรุงศรีอยุธยา
จะเข้ได้นาเข้าร่วมบรรเลงอยู่ในวงมโหรีคู่กับกระจับปี่ในสมัยรัชกาลที่2แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ มีผู้นิยมเล่นจะเข้กันมาก
ทาให้กระจับปี่ค่อยๆ หายไปในปัจจุบันเนื่องจากหาผู้เล่นเป็นน้อย
ตัวจะเข้ทาเป็นสองตอนคือตอนหัวและตอนหางโดยลักษณะทางตอนหัวเป็นกระพุ้งใหญ่ ทาด้วยไม้แก่นขนุนหนาประมาณ 12ซม.
ยาวประมาณ52ซม.และกว้างประมาณ11.5ซม.ท่อนหัวและท่อนหางขุดเป็นโพรงตลอดรวมทั้งสิ้นมีความยาวประมาณ 130–
132 ซม. ปิดใต้ทองด้วยแผ่นไม้ มีเท้ารองตอนหัว 4 เท้า และตอนปลายปางอีก1เท้า วัดจากปลายเท้าถึงตอนบนของตัวจะเข้
สูงประมาณ19ซม. ทาหลังนูนตรงกลางให้สองข้างลาดลงโยงสายจากตอนหัวไปทางตอนหางเป็น3สายมีลูกบิดประจาสายละ1
อัน สาย1 ใช้เส้นลวดทองเหลืองอีก 2 สายใช้เส้นเอ็นมีหย่องรับสายอยู่ตรงปลายหางก่อนจะถึงลูกบิด
ระหว่างตัวจะเข้มีแป้ นไม้เรียกว่า นมรองรับสายติดไว้บนหลังจะเข้ รวมทั้งสิ้น11อันเพื่อไว้เป็นที่สาหรับนิ้วกดนมแต่ละอันสูง
เรียงลาดับขึ้นไปตั้งแต่2 ซม. จนสูง 3.5 ซม.
เวลาบรรเลงใช้ดีดด้วยไม้ดีดกลมปลายแหลมทาด้วยงาช้างหรือกระดูกสัตว์เคียนด้วยเส้นด้ายสาหรับพันติดกับปลายนิ้วชี้ข้างขวาของ
ผู้ดีด และใช้นิ้วหัวแม่มือกับนิ้วกลางช่วยจับให้มีกาลังเวลาแกว่งมือส่ายไปมาให้สัมพันธ์กับมือข้างซ้ายขณะกดสายด้วย
ไม้ดีดควรยาวประมาณ7-8เซนติเมตรมีสายยาวประมาณ 45เซนติเมตร
สายของจะเข้
สายของจะเข้นั้นจะมีอยู่3 สายส่วนใหญ่ทามาจากไหมหรือเอ็นสามารถแบ่งได้ดังนี้
สายที่อยู่ติดกับตัวผู้เล่นจะเข้ มีชื่อเรียกว่า สายลวดเป็นสายที่ทามาจากลวดทองเหลือง
สายที่อยู่ทางด้านนอกสุดของจะเข้ มีชื่อเรียกว่า สายเอกทามาจากไหมหรือเอ็น
สายที่อยู่ตรงกลางมีชื่อเรียกว่าสายทุ้มทามาจากไหมหรือเอ็น
ครูจะเข้ ตั้งแต่อดีต จนถึงปัจจุบัน
ดนตรีไทยนั้นมีการสืบทอดมาเป็นรุ่นสู่รุ่นและก็เช่นเดียวกับวิชาการด้านอื่นๆ
นั่นคือผู้ที่มีความเชี่ยวชาญในเครื่องดนตรีชนิดใดชนิดหนึ่งโดยเฉพาะจะเรียกว่า"คน"เครื่องดนตรีนั้นๆเช่นสมชายเป็นคนซอด้วง
ก็หมายความว่านายสมชายเป็นคนที่มีความถนัดหรือมีความเชี่ยวชาญในการเล่นเครื่องดนตรี ซอด้วงมากกว่าเครื่องดนตรีชนิดอื่นๆ
ซึ่งในสมชายอาจจะสามารถเล่นเครื่องดนตรีอื่นๆได้ เช่น เล่นซออู้, เล่นจะเข้ เป็นต้นครูจะเข้ ก็ย่อมหมายถึงครูที่เป็นคนจะเข้
คือเป็นผู้ที่มีความถนัดมีความรู้ความชานาญในการเล่นจะเข้โดยเฉพาะซึ่งตั้งแต่อดีตอาจกล่าวย้อนไปถึงสมัยรัชกาลที่ 6คือ
"หลวงว่องจะเข้รับ"(โต กมลวาทิน)
จะเข้
ซึง เป็นเครื่องดนตรีประเภทดีดมี 4 สายแต่แบ่งออกเป็น 2 เส้นเส้นละ2 สายมีลักษณะคล้ายกระจับปี่ แต่มีขนาดเล็กกว่า
ความยาวทั้งคันทวนและกะโหลกรวมกันประมาณ81ซม.กะโหลกมีรูปร่างกลมวัดเส้นผ่าศูนย์กลางได้ประมาณ 21ซม.
ทั้งกะโหลกและคันทวนใช้ไม้เนื้อแข็งชิ้นเดียวคว้านตอนที่เป็นกะโหลกให้เป็นโพรงตัดแผ่นไม้ให้กลม
แล้วเจาะรูตรงกลางทาเป็นฝาปิดด้านหน้าเพื่ออุ้มเสียงให้กังวานคันทวนเป็นเหลี่ยมแบนตอนหน้าเพื่อติดตะพานหรือนมรับนิ้ว
จานวน 9 อันตอนปลายคันทวนทาเป็นรูปโค้งและขุดให้เป็นร่องเจาะรูสอดลูกบิดข้างละ 2อันรวมเป็น 4 อันสอดเข้าไปในร่อง
สาหรับขึ้นสาย4สายสายของซึงใช้สายลวดขนาดเล็ก 2สายและสายใหญ่ 2สาย
ซึงเป็นเครื่องดีดที่ชาวไทยทางภาคเหนือนิยมนามาเล่นร่วมกับปี่ซอหรือปี่จุ่ม และสะล้อ
แบ่งตามลักษณะได้ 3ประเภทคือซึงเล็ก ซึ่งกลางและซึงหลวง(ซึงที่มีขนาดใหญ่)
แบ่งตามประเภทได้ 2 ชนิด คือซึงลูก 3 และซึงลูก4 (แตกต่างกันที่เสียงลูก3เสียงซอลจะอยู่ด้านล่างส่วนซึงลูก4
เสียงซอลจะอยู่ด้านบน)
อธิบายคาว่าสะล้อซอซึง ที่มักจะพูดกันติดปากว่าเป็นเครื่องดนตรีของชาวล้านนาแต่ที่จริงแล้วมีแค่ซึงและสะล้อ
เท่านั้นที่เป็นเครื่องดนตรีของชาวล้านนาส่วนคาว่าซอในที่นี้หมายถึงการขับซอซึ่งเป็นการร้องการบรรยายพรรณณาเป็นเรื่องราว
ประกอบกับวงปี่จุ่ม
ซึง
พิณเปี๊ยะหรือพิณเพียะเป็นเครื่องดนตรีพื้นเมืองล้านนาชนิดหนึ่งเป็นเครื่องดนตรีประเภทดีด
ลักษณะของพิณเปี๊ยะมีคันทวนยาวประมาณ1เมตรเศษ
ตอนปลายคันทวนทาด้วยเหล็กรูปหัวช้างทองเหลืองสาหรับใช้เป็นที่พาดสายใช้สายทองเหลืองเป็นพื้น
สายทองเหลืองนี้จะพาดผ่านสลักตรงกะลาแล้วต่อไปผูกกับสลักตรงด้านซ้ายสายของพิณเปี๊ยะมีทั้ง2สายและ4สาย
กะโหลกของพิณเปี๊ยะทาด้วยเปลือกน้าเต้าตัดครึ่งหรือกะลามะพร้าวก็ได้ เวลาดีดใช้กะโหลกประกบติดกับหน้าอก
ขยับเปิดปิดให้เกิดเสียงตามต้องการเช่นเดียวกับพิณน้าเต้าของภาคกลาง
ในสมัยก่อนชาวเหนือมักจะใช้พิณเปี๊ยะดีดคลอกับการขับลานาในขณะที่ไปเที่ยวสาว
พิณเปี๊ยะไม่ได้รับความนิยมเท่าที่ควรเพราะเป็นเครื่องดนตรีที่เล่นยาก
พิณเพียะ
พิณน้าเต้าเป็นเครื่องดนตรีประเภทดีดพิณน้าเต้าเป็นพิณที่มีสายเดียวทามาจากผลของน้าเต้าที่ถูกนามาผ่าครึ่ง
โดยทั่วไปแล้วผู้ดีดพิณน้าเต้าจะต้องไม่สวมเสื้อซึ่งก็หมายความว่าผู้ที่ดีดส่วนมากจะเป็นผู้ชายโดยผู้ดีดจะนาเอากะโหลกเสียง หรือ
กะโหลกน้าเต้าวางประกบแนบติดกับอกซ้ายมือซ้ายจะจับที่ทวนส่วนมือขวาจะใช้ดีดพิณ
ผู้ดีดพิณน้าเต้าที่มีความชานาณในการเล่นจะขยับกะโหลกน้าเต้าให้เปิด-ปิดอยู่ตรงหน้าอกข้างซ้ายในบางครั้งบางครา
เพื่อให้เกิดเสียงที่ก้องกังวานตามความประสงค์ของผู้ที่ดีดแล้วใช้นิ้วซ้ายช่วยกดเพื่อให้สายตึงหรือหย่อน
ไหซองเป็นเครื่องดนตรีไทยภาคอีสานทามาจากไหน้าปลาหรือไหปลาร้าที่ไม่ใช้แล้วขึงด้วยยางหนังสติ๊กหรือยางอื่นๆบริเวณปากไห
จัดเป็นชุด ชุดละหลายใบโดยมีขนาดลดหลั่นกันบรรเลงโดยการดีดด้วยนิ้ว
ให้เสียงทุ้มคล้ายกีตาร์เบสทาหน้าที่เป็นเครื่องประกอบจังหวะ
ใช้บรรเลงประกอบในวงดนตรีพื้นเมืองภาคอีสานหรือที่นิยมเรียกว่าวงโปงลาง
ปัจจุบันวงโปงลางส่วนใหญ่นิยมใช้พิณเบสแทนการใช้ไหซอง
เนื่องจากให้เสียงดังกว่าและสามารถบรรเลงพลิกแพลงได้มากกว่าจึงแทบไม่มีการดีดไหซองเพื่อการบรรเลงจริงๆแล้ว
การดีดไหซองในปัจจุบันเป็นเพียงการแสดงลีลาการดีดประกอบท่าฟ้ อนรานิยมใช้ผู้หญิงเป็นผู้ดีด
เรียกว่านางไหใช้แสดงในงานรื่นเริงต่างๆ
ซอด้วงเป็นซอสองสายมีเสียงแหลมก้องกังวานคันทวนยาวประมาณ 72ซมคันชักยาวประมาณ68ซมใช้ขนหางม้าประมาณ120 –
150 เส้นกะโหลกของซอด้วงนั้นแต่เดิมใช้กระบอกไม้ไผ่มาทาปากกระบอกของซอด้วงกว้างประมาณ 7ซมตัวกระบอกยาวประมาณ
13 ซม กะโหลกของซอด้วงนี้ในปัจจุบันใช้ไม้จริง หรือ งาช้างทาก็ได้
แต่ที่นิยมว่าเสียงดีนั้นกะโหลกซอด้วงต้องทาด้วยไม้ลาเจียกส่วนหน้าซอนิยมใช้หนังงูเหลือมขึง
เพราะทาให้เกิดเสียงแก้วเกิดความไพเราะอย่างยิ่งลักษณะของซอด้วงมีรูปร่างเหมือนกับซอของจีนที่เรียกว่า ฮู – ฉิน (Huchin)
ทุกอย่างเหตุที่เรียกว่าซอด้วงก็เพราะมีรูปร่างคล้ายเครื่องดักสัตว์เพราะตัวด้วงดักสัตว์ทาด้วยกระบอกไม้ไผ่เหมือนกีน
จึงได้เรียกชื่อไปตามลักษณะนั้นนั่นเอง
สายซอด้วงนั้นมีเพียงสองสายและมีเสียงอยู่สองเสียงคือสายเอกจะเป็นเสียง"เร"ส่วนสายทุ้มจะเป็นเสียง"ซอล"
โดยใช้สายไหมฟั่นหรือว่าสายเอ็นก็ได้
ซอด้วงใช้ในวงเครื่องสายวงมโหรี โดยทาหน้าที่เป็นผู้นาวงและเป็นหลักในการดาเนินทานอง
ซอด้วงเป็นเครื่องสีที่มี๒ สายเรียกว่าสายเอกและสายทุ้มตัวกระพุ้งอุ้มเสียงเรียกว่ากระบอกเพราะมีรูปอย่างกระบอกไม้ไผ่
ทาด้วยไม้เนื้อแข็งหรืองาช้างขึงหน้าด้วยหนังงูเหลือมถ้าไม่มีก็ใช้หนังแพะหรือหนังลูกวัวมีทวน(คัน)เสียบกระบอกยาวขึ้นไป
ตอนปลายเป็นสี่เหลี่ยมโอนไปทางหลังมีลูกบิดสาหรับพันปลายสาย ๒อันเนื่องจากซอด้วงเป็นซอเสียงเล็กแหลมจึง
ใช้สายที่ทาด้วยไหมหรือเอ็นเป็นเส้นเล็กๆส่วนคันชักนั้นร้อยเส้นหางม้าให้เข้าอยู่ในระหว่างสายทั้งสอง
ซอด้วง
ซออู้ เป็นซอสองสาย ตัวกะโหลกทาด้วยกะลามะพร้าวโดยตัดปาดกะลาออกเสียด้านหนึ่งและใช้หนังลูกวัวขึงขึ้นหน้าซอ
กว้างประมาณ13–14 ซมเจาะกะโหลกให้ทะลุตรงกลางเพื่อใส่คันทวนที่ทาด้วยไม้จริงผ่านกะโหลกลงไป
ออกทะลุรูตอนล่างใกล้กะโหลกคันทวนซออู้นี้ยาวประมาณ79ซมใช้สายซอสองสายผูกปลายทวนใต้กะโหลกแล้วพาดผ่านหน้าซอ
ขึ้นไปผูกไว้กับลูกบิดสองอันลูกบิดซออู้นี้ยาวประมาณ 17–18 ซม โดยเจาะรูคันทวนด้านบน
แล้วสอดลูกบิดให้ทะลุผ่านคันทวนออกมาและใช้เชือกผูกรั้งกับทวนตรงกลางเป็นรัดอกเพื่อให้สายซอตึง
และสาหรับเป็นที่กดสายใต้รัดอกเวลาสีส่วนคันสีของซออู้นั้นทาด้วยไม้จริงยาวประมาณ 70ซมใช้ขนหางม้าประมาณ160 -200
เส้นตรงหน้าซอใช้ผ้าม้วนกลมๆเพื่อทาหน้าที่เป็นหมอนหนุนสายให้พ้นหน้าซอด้านหลังของกะโหลกซอ
แกะสลักเป็นรูปลวดลายสวยงามและเป็นช่องทางให้เสียงออกด้านนี้ด้วย
ซออู้มีรูปร่างคล้ายๆกับซอของจีนที่เรียกว่าฮู – ฮู้ (Hu-hu ) เหตุที่เรียกว่าซออู้ก็เพราะ
เรียกตามเสียงที่ได้ยินนั่นเองซอด้วงและซออู้ ได้เข้ามามีบทบาทในวงดนตรีเครื่องสายตั้งแต่ปลายรัชกาลที่4นี่เอง
โดยได้ดัดแปลงมาจากวงกลองแขกเครื่องใหญ่ ซึ่งมีเครื่องดนตรีที่ทาลานาประกอบด้วยซอด้วง
ซออู้ จะเข้ และ ปี่อ้อ ต่อมาได้เอากลองแขกปี่อ้อ ออก และเอาทับกับรามะนาและขลุ่ยเข้ามาแทน
เรียกวงดนตรีชนิดนี้ว่าวงมโหรีเครื่องสายมีคนเล่นทั้งหมด6คนรวมทั้งฉิ่งด้วย
ซออู้ เป็นเครื่องสีที่มีสาย๒สายทาด้วยไหมหรือเอ็นเรียกว่าสายเอกและสายทุ้มเช่นเดียวกับซอด้วง
แต่กะโหลกซึ่งเป็นเครื่องอุ้มเสียงทาด้วยกะลามะพร้าวตัดตามยาวให้พูอยู่ข้างบนขึงหน้าด้วยหนังแพะหรือหนังลูกวัวมีทวน(คัน)
เสียบยาวขึ้นไปกลึงกลมตลอดปลายมีลูกบิดสาหรับพันสาย ๒อันคันชักนั้นร้อยเส้นหางม้าให้อยู่ภายในระหว่างสายทั้งสอง
ซออู้
ซอสามสาย เป็นเครื่องดนตรีไทยชนิดหนึ่งจาพวกเครื่องสายมีขนาดใหญ่กว่าซอด้วงหรือซออู้ และมีลักษณะพิเศษคือมีสามสาย
มีคันชักอิสระกะโหลกซอมีขนาดใหญ่ นับเป็นเครื่องดนตรีที่มีความสง่างามชิ้นหนึ่งในวงเครื่องสาย
ผู้เล่นจะอยู่ในตาแหน่งด้านหน้าของวง
ประวัติ[แก้]
ปรากฏหลักฐานจากจดหมายเหตุลาลูแบร์ (หน้า30) ที่บันทึกไว้ว่าชาวสยามมีเครื่องดุริยางค์เล็กๆมีสามสายเรียกว่า “ซอ”….”
ซึ่งชี้ให้เห็นว่าในสมัยกรุงศรีอยุธยาหรือก่อนนั้นมีซอสามสายและนิยมเล่นกัน
และลักษณะรูปร่างของซอสามสายก็คงจะยังไม่สวยงามมากอย่างในปัจจุบันนี้
จนมาถึงยุคต้นของกรุงรัตนโกสินทร์ ในสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยรัชกาลที่2
สืบเนื่องมาจากที่พระองค์ท่านมีอัจฉริยภาพในทางศิลปะด้านต่างๆเช่น
ทรงแกะสลักบานประตูพระวิหารวัดสุทัศน์เทพวรารามด้วยฝีพระหัตถ์ของพระองค์เองอีกประการหนึ่ง
พระองค์ท่านยังโปรดทรงซอสามสายเป็นอย่างยิ่งจึงทาให้พระองค์ท่านได้ประดิษฐ์คิดสร้างซอสามสายได้ด้วยความประณีตงดงาม
และเป็นแบบอย่างมาจนถึงปัจจุบันนี้
ส่วนต่างๆของซอสามสายมีชื่อเรียกดังนี้
ทวนบน เป็นส่วนบนสุดของคันซอคว้านด้านในให้เป็นโพรงโดยตลอดด้านบนสุดมีรูปร่างเป็นทรงเทริดทวนบนนี้
เจาะรูด้านข้างสาหรับใส่ลูกบิด3ลูก ด้านหน้าตรงปลายทวนตอนล่างเจาะรูสาหรับร้อยสายซอที่สอดออกมาจากรัดอก
หรือเรียกอีกอย่างหนึ่งว่าอกซอทวนบนนี้ทาหน้าที่คล้ายๆกับท่ออากาศ(Aircolumn)
ให้เสียงที่เกิดจากกะโหลกเป็นความถี่ของเสียงแล้วลอดผ่านออกมาทางทวนบนนี้ได้
ทวนล่างคือส่วนของซอที่ต่อลงมาจากทวนบนทาเป็นรูปทรงกระบอกและประดิษฐ์ลวดลายสวยงามเช่นลงยาตะทองลงถมปัด
ประดับมุก หรืออย่างอื่นเป็นการเพิ่มความวิจิตรงดงามและเรียกทวนล่างนี้ว่าทวนเงินทวนทองทวนมุกทวนลงยาเป็นต้น
ทวนล่างนี้สวมยึดไว้กับทวนบนและเป็นที่สาหรับผูก รัดอกเพื่อบังคับให้สายซอทั้ง3 เส้นติดอยู่กับทวนนอกจากนั้นทวนล่าง
ยังทาหน้าที่เป็นตาแหน่งสาหรับกดนิ้วลงบนสายในตาแหน่งต่างๆ
พรมบน คือส่วนที่ต่อจากทวนล่างลงมาส่วนบนกลึงเป็นลูกแก้วส่วนตอนล่างทาเป็นรูปปากช้างเพื่อประกบกับกะโหลกซอ
พรมล่างคือส่วนที่ต่อจากกะโหลกซอลงมาข้างล่างส่วนที่ประกบกับกะโหลกซอทาเป็นรูปปากช้างเช่นเดียวกับส่วนล่างของพรมบน
ตรงกลางของพรมล่างเจาะรูด้านบนเพื่อใช้สาหรับเป็นที่ร้อยหนวดพราหมณ์ เพื่อคล้องกับสายซอทั้งสามสายและเหนี่ยวรั้งให้ตึง
ตรงส่วนปลายสุดของพรมล่างกลึงเป็นเกลียวเจดีย์ และตอนปลายสุดเลี่ยมด้วยทองคาหรือทองเหลืองเป็นยอดแหลม
เพื่อที่จะปักกับพื้นได้ สะดวกยิ่งขึ้นคันซอสามสายทั้ง4ท่อนนี้จะมีลักษณะกลวงตลอด
ยกเว้นพรมล่างตอนที่เป็นเกลียวเจดีย์เท่านั้นที่เป็นส่วนที่ตันเพราะต้องการความแข็งแรงในขณะปักสีเวลาบรรเลงและคันซอทั้ง 4
ท่อนนี้จะสวมไว้กับแกนที่สอดไว้กับกะโหลกซอ
ถ่วงหน้า ถ่วงหน้าของซอสามสายเป็นอุปกรณ์ที่สาคัญติดอยู่ตรงหน้าซอเพื่อควบคุมความถี่ของเสียง
ทาให้มีเสียงนุ่มนวลไพเราะน่าฟังยิ่งขึ้น
หย่องทาด้วยไม้ไผ่แกะให้เป็นลักษณะคู้ ปลายทั้งสองของหย่องคว้านเป็นเบ้าขนมครกเพื่อทาให้เสียง
ที่เกิดขึ้นส่งผ่านไปยังหน้าซอมีความกังวานมากยิ่งขึ้น
คันสี (คันชัก) คันสีของซอสามสายประกอบด้วยไม้และหางม้าคันสีนั้นเหลาเป็นรูปคันศรโดยมากนิยมใช้ไม้แก้ว
เพราะเป็นไม้เนื้อแข็งและมีลวดลายงดงาม
เสียงของซอสามสาย
สายเอกถ้าปล่อยไม่จับสายจะเป็นเสียงซอลและใช้ปลายนิ้วแตะที่ข้างสายโดยใฃ้นิ้วชี้จะเป็นเสียงลา,
ใช้นิ้วกลางแตะที่ข้างสายจะเป็นเสียงที,ใช้นิ้วนางแตะที่ข้างสายจะเป็นเสียงโด,ใช้นิ้วก้อยแตะที่ข้างสายจะเป็นเสียงเร(เสียงสูง),
ใช้นิ้วก้อยรูดที่สายจะเป็นเสียงมี(เสียงสูง)
สายกลางถ้าปล่อยไม่จับสายจะเป็นเสียงเรและใช้นิ้วชี้กดลงบนสายจะเป็นเสียงมี,ใช้นิ้วกลางกดลงบนสายจะเป็นเสียงฟา,
ใช้นิ้วนางกดลงบนสายเป็นเสียงซอล
สายทุ้มถ้าปล่อยไม่จับสายจะเป็นเสียงลาและใช้นิ้วชี้กดลงที่สายจะเป็นเสียง ที,ใช้นิ้วกลางกดลงที่สายจะเป็นเสียงโด,
ใช้นิ้วนางกดลงที่สายจะเป็นเสียงเร
เครื่องดนตรีที่ต้องใช้เส้นหางม้าหลายๆเส้นรวมกันสีไปบนสายซึ่งทาด้วยไหมหรือเอ็นนี้โดยมากเรียกว่า "ซอ"ทั้งนั้น
ซอของไทยที่มีมาแต่โบราณก็คือ"ซอสามสาย"ใช้บรรเลงประกอบในพระราชพีธีสมโภชต่างๆซอสามสายนี้กะโหลกสาหรับอุ้มเสียง
ทาด้วยกะลามะพร้าวตัดขวางให้เหลือพูทั้งสามอยู่ด้านหลังขึงหน้าด้วยหนังแพะหรือหนังลูกวัวมีคัน(ทวน)ตั้งต่อจากกะโหลก
ขึ้นไปยาวประมาณ๑.๒๐เมตร ทาด้วยงาช้างหรือไม้แก่นกลึงตอนปลายให้สวยงามมีลูกบิดสอดขวางคันทวน ๓อัน
สาหรับพันปลายสายเร่งให้ตึงหรือหย่อนตามต้องการมีทวนล่างต่อลงไปจากกะโหลกกลึงให้เรียวเล็กลงไปจนแหลม
เลี่ยมโลหะตอนปลายเพื่อให้แข็งแรงสาหรับปักลงกับพื้นสายทั้งสามนั้นทาด้วยไหมหรือเอ็น
ขึงจากทวนล่างผ่านหน้าซอซึ่งมีหย่องรองรับขึ้นไปตามทวนและร้อยเข้าในรู ไปพันลูกบิดสายละอันส่วนคันชักหรือคันสีนั้น
ทาคล้ายคันกระสุนขึงด้วยเส้นหางม้าหลายๆเส้นสีไปมาบนสายทั้งสามตามต้องการสิ่งสาคัญของซอสามสายอย่างหนึ่ง
คือ"ถ่วงหน้า"ถ่วงหน้านี้ทาด้วยโลหะประดิษฐ์ให้สวยงามบางทีถึงแก่ฝังเพชรพลอยก็มี
แต่จะต้องมีน้าหนักได้ส่วนสัมพันธ์กับหน้าซอสาหรับติดตรงหน้าซอตอนบนด้านซ้ายถ้าไม่มีถ่วงหน้าแล้วเสียงจะดังอู้อี้ไม่ไพเราะ
ซอสามสาย
สะล้อเป็นเครื่องดนตรีพื้นเมืองล้านนาชนิดหนึ่งเป็นประเภทเครื่องสีซึ่งมีทั้ง2สายและ3สาย
คันชักสาหรับสีจะอยู่ข้างนอกเหมือนคันชักซอสามสายสะล้อเรียกอีกอย่างหนึ่งว่าทร้อหรือซะล้อ มีรูปร่างคล้ายซออู้ของภาคกลาง
ใช้ไม้แผ่นบางๆ ปิดปากกะลาทาหลักที่หัวสาหรับพาดทองเหลืองด้านหลังกะโหลกเจาะเป็นรูปลวดลายต่างๆเช่น
รูปหนุมาน รูปหัวใจส่วนด้านล่างของกะโหลกเจาะทะลุลงข้างล่างเพื่อสอดคันทวนที่ทาด้วยไม้ชิงชันยาวประมาณ64ซม
ตรงกลางคันทวนมีรัดอกทาด้วยหวายปลายคันทวนด้านบนเจาะรูสาหรับสอดลูกบิดซึ่งมี2 หรือ3 อัน สาหรับขึงสายซอ
จากปลายลูกบิดลงมาถึงด้านกลางของกะโหลกมีหย่องสาหรับหนุนสายสะล้อเพื่อให้เกิดเสียงเวลาสี
คันชักสะล้อทาด้วยไม้ดัดเป็นรูปโค้งขึงด้วยหางม้าหรือพลาสติกเวลาสีใช้ยางสนถูทาให้เกิดเสียงได้
สะล้อใช้บรรเลงประกอบการแสดงหรือบรรเลงร่วมกับบทร้องและทานองเพลงได้ทุกชนิดเช่นเข้ากับปี่ในวงช่างซอ
เข้ากับซึงในวงพื้นเมืองหรือใช้เดี่ยวคลอร้องก็ได้
สะล้อ
ซอกันตรึมเป็นเครื่องดนตรีของกลุ่มชาวไทยเชื้อสายเขมรและชาวไทยอีสานเป็นเครื่องสายใช้สี
ทาด้วยไม้ กะโหลกซอขึงด้วยหนังงูหรือหนังจาพวกตะกวดมีช่องเสียงอยู่ด้านตรงข้ามหน้าซอใช้สายลวดมี2
สายคันชักอยู่ระหว่างสายคันซอยาวประมาณ 60เซนติเมตรมีลูกบิดอยู่ตอนนอกซอใช้รัดด้วยเชือก
ขนาดของซอแตกต่างกันไปตามความประสงค์ของผู้สร้างโดยทั่วไปมี 3ขนาด คือ ขนาดเล็กเรียกตรัวจี้ขนาดกลางเรียกตรัวเอก
ขนาดใหญ่เรียกตรัว
บางครั้งจะเห็นมีการดัดแปลงประยุกต์กะโหลกซอโดยใช้กระป๋ องหรือปี๊บซึ่งอาจเรียกแทนว่าซอกระป๋ องหรือซอปี๊บได้
ซอกันตรึม
รือบับ(อังกฤษ:Rebab;อาหรับ: ‫الرابب‬หรือ‫)رابب‬
เป็นที่เข้าใจกันว่าเป็นเครื่องดนตรีที่มีการละเล่นกันตั้งแต่ในบริเวณสามจังหวัดชายแดนใต้ มาเลเซียสุมาตราเหนือของประเทศอินโดนี
เซีย และชวาใช้ในการแสดงเมาะโย่งหรือมะโย่ง
ซึ่งการละเล่นนี้ไม่สามารถระบุได้ว่าเป็นเป็นศิลปะละครราในวัฒนธรรมหลวงหรือเป็นวัฒนธรรมราษฎร์ของคนถิ่นมลายูแต่ที่ปัตตานี
ปรากฏหลักฐานการละเล่นนี้ที่หนังสือฮิกายัดปัตตานีหรือพงศาวดารปัตตานีในสมัยคริสต์ศตวรรษที่17
รือบับมีลักษณะโดยรวมคล้ายกับซอสามสายของภาคกลาง
เครื่องตี เครื่องไม้
ระนาดเอกเป็นเครื่องตีชนิดหนึ่งที่วิวัฒนาการมาจากกรับแต่เดิมคงใช้กรับสองอันตีเป็นจังหวะต่อมาก็เกิดความคิดว่า
ถ้าเอากรับหลายๆอันวางเรียงราดลงไปแล้วแก้ไขประดิษฐ์ให้มีขนาดลดหลั่นกันแล้วทารางรองอุ้มเสียง
และใช้เชือกร้อยไม้กรับขนาดต่างๆกันนั้นให้ติดกันและขึงไว้บนรางใช้ไม้ตีให้เกิดเสียง
นาตะกั่วผสมกับขี้ผึ้งมาถ่วงเสียงโดยนามาติดหัวท้ายของไม้กรับนั้นให้เกิดเสียงไพเราะยิ่งขึ้น
เรียกไม้กรับที่ประดิษฐ์เป็นขนาดต่างๆกันนั้นว่า ลูกระนาดเรียกลูกระนาดที่ผูกติดกันเป็นแผ่นเดียวกันว่า ผืนระนาดเอกใช้ในงานมงค
ล เป็นเครื่องดนตรีเป็นมงคลในบ้านบรรเลงในวงปี่พาทย์และวงมโหรี โดยทาหน้าที่เป็นผู้นาวง
ลักษณะทั่วไป
ส่วนประกอบของระนาดเอกมี3 ส่วนได้แก่ ผืนรางและไม้ตี
ผืนประกอบด้วยลูกระนาดซึ่งทาด้วยไม้ชิงชันหรือไม้ไผ่ผืนระนาดไม้เนื้อนุ่มเสียงจะหอมอิ่ม
และดังคมชัดเหมาะสาหรับบรรเลงในวงปี่พาทย์ไม้แข็งส่วนผืนระนาดที่ทาจากไม้ไผ่จะให้เสียงที่นุ่มนวล
เหมาะสาหรับวงปี่พาทย์ไม้นวมและวงปี่พาทย์ผสมเครื่องสายลูกระนาดมีทั้งหมด 23-32ลูก โดยลูกที่22 มีชื่อเรียกว่าลูกหลีกหรือ
ลูกหลิบที่ท้องของลูกระนาดจะคว้านและใช้ขี้ผึ้งผสมกับตะกั่วถ่วงเพื่อให้เกิดความแตกต่างระหว่างเสียง
โดยเสียงจากผืนระนาดขึ้นอยู่กับส่วนประกอบ3ส่วนด้วยกันคือส่วนแรกขึ้นอยู่กับขนาดใหญ่-เล็กของไม้ที่ใช้ทาส่วนที่สอง
ขึ้นอยู่กับการคว้านท้องไม้ลูกระนาดว่ามาก-น้อยเพียงใดส่วนที่สามขึ้นกับปริมาณมาก-น้อยของตะกั่วที่ถ่วงใต้ลูกระนาดแต่ละลูก
ลูกระนาดทั้งหมดจะถูกเจาะรูเพื่อร้อยเชือกและแขวนบนรางระนาด
รางเป็นส่วนที่เป็นกล่องเสียงของระนาดทาให้หน้าที่อุ้มเสียงนิยมทาด้วยไม้สักและทาด้วยน้ามันขัดเงา
ปัจจุบันการใช้ระนาดที่ทาด้วยไม้และทาด้วยน้ามันลดความนิยมลง
นักดนตรีนิยมใช้รางระนาดที่แกะสลักลวดลายไทยและลงรักปิดทองเพื่อความสวยงามบางโอกาสอาจมีการฝังมุกประกอบงา
ซึ่งราคาก็จะสูงตามไปด้วยจากการรณรงค์พิทักษ์สัตว์ป่าที่มีอยู่ทั่วไปรางประกอบงาจึงไม่ได้รับความนิยม
รูปร่างระนาดเอกคล้ายเรือบดแต่โค้งเรียวกว่าตรงกลางของส่วนโค้งมีเท้าที่ใช้สาหรับตั้งเป็นเท้าเดียวคล้ายพานแว่นฟ้ า
ปลายทั้งสองข้างของส่วนโค้งเรียกว่าโขนจะมีขอสาหรับห้อยผืนระนาดข้างละ 2อัน
ไม้ระนาดเป็นส่วนที่เกี่ยวข้องกับการให้เกิดเสียงโดยตรงมี 2 ชนิด คือไม้แข็ง และไม้นวมไม้แข็งพันด้วยผ้าอย่างแน่น
และชุมด้วยรักจนเกิดความแข็งเวลาตีจะมีเสียงดังและคมชัด
เหมาะกับวงปี่พาทย์ไม้แข็งวงปี่พาทย์มอญและวงปี่พาทย์นางหงส์ส่วนไม้นวมเป็นไม้ตีระนาดที่พันจากผ้าและใช้ด้ายรัดหลายๆ
รอบเพื่อความสวยงามมีเสียงนุ่มนวมบรรเลงในวงปี่พาทย์ไม้นวมวงมโหรี วงปี่พาทย์ผสมเครื่องสายและวงปี่พาทย์ดึกดาบรรพ์
ขนาดของระนาดเอกลูกต้นมีขนาด39 ซม กว้างราว5ซมและหนา1.5 ซม มีขนาดลดหลั่นลงไปจนถึงลูกที่21 หรือลูกยอดที่มีขนาด
29 ซม เมื่อนาผืนระนาดมาแขวนบนรางแล้วหากวัดจากโขนหัวรางข้างหนึ่งไปยังโขนหัวรางอีกข้างหนึ่งจะมีความยาวประมาณ 120
ซม
การฝึกหัดบรรเลง[แก้]
ท่านั่ง[แก้]
ท่านั่งที่นิยมในการบรรเลงระนาดเอกมี2ลักษณะคือการนั่งขัดสมาธิและนั่งพับเพียบ
โดยท่านั่งแบบขัดสมาธิถือเป็นท่านั่งที่เหมาะสมสาหรับการบรรเลงระนาดเอกมากที่สุดเพราะเป็นท่านั่งที่มีความเป็นธรรมชาติ
มีความสะดวกผ่อนคลายก่อให้เกิดประสิทธิภาพในการบรรเลงได้ดีที่สุด
การจับไม้
ให้ก้านของไม้ระนาดอยู่ในร่องของอุ้งมือนิ้วทุกนิ้วช่วยควบคุมการจับไม้ มือทั้งสองคว่าลงข้อศอกทามุมฉาก
ตาแหน่งแขนซ้ายและขวาขนานกันตาแหน่งของนิ้วอาจแตกต่างกันบ้างแบ่งออกเป็น 3 ลักษณะคือ
การจับแบบปากกา
ตาแหน่งของนิ้วชี้อยู่บนไม้ระนาดการเริ่มฝึกหัดระนาดเอกควรฝึกหัดโดยลักษณะนี้
ซึ่งนอกจากมีความงดงามแล้วยังมีความสะดวกและมีประสิทธิภาพสูงในการสร้างเสียง
การจัดตาแหน่งของนิ้วชี้จะตกไปอยู่ด้านตรงข้ามกับนิ้วหัวแม่มือ
ก้านของไม้ระนาดอยู่ในตาแหน่งกึ่งกลางระหว่างปลายนิ้วกับข้อบนของนิ้ว
การจับแบบปากนกแก้ว
ตาแหน่งของก้านไม้ระนาดอยู่ในตาแหน่งเส้นข้อนิ้วของข้อบน
ตาแหน่งของเสียง
เมื่อเปรียบเทียบระนาดเอกกับเครื่องดนตรีไทยชนิดอื่นระนาดเอกเป็นเครื่องดนตรีที่มีระดับเสียงมากที่สุดโดยมีจานวน 21-22
ระดับเสียงความที่มีจานวนระดับเสียงถึง22 เสียงทาให้มีความกว้างของระดับเสียงครอบคลุมถึง3ช่วงทบเสียง
ส่งผลให้การเดินทานองของเสียงเป็นไปอย่างไม่ซ้าซากจาเจอยู่ที่ช่วงระดับเสียงใดเสียงหนึ่ง
หลักการตีระนาด[แก้]
หลักปฏิบัติทั่วไป[แก้]
1. ตีตรงกลางลูกระนาด
2. การเคลื่อนของมือโดยที่มือซ้ายและมือขวาต้องอยู่ในแนวขนานกันตาแหน่งของหัวไม้อยู่กึ่งกลางลูกระนาด
และเอียงตามทิศทางของผืนระนาด
3. การยกไม้ เสียงของระนาดเอกจะดังมากหรือน้อยขึ้นอยู่กับพลังในการตีควรยกไม้ระนาดให้สูงจากผืนระนาดประมาณ 6
นิ้วสาหรับตีฉากและ2 นิ้วสาหรับตีสิม
4. น้าหนักมือต้องลงน้าหนักของมือซ้ายและมือขวาให้เท่ากัน
ลักษณะการตีระนาด[แก้]
1.ตีฉาก
2.ตีสิม
3.ตีครึ่งข้อครึ่งแขน
4.ตีข้อ
วิธีการตีระนาด[แก้]
1.ตีกรอ
2.ตีสะบัด
3.ตีรัว
4.ตีกวาด
5.ตีขยี้
6.ตีคาบลูกคาบดอก
นักระนาดเอกที่มีชื่อเสียง[แก้]
1. พระเสนาะดุริยางค์(ขุนเณร)
2. ครูช้อย สุนทรวาทิน
3. ครูสินสินธุสาคร
4. ครูสินศิลปบรรเลง
5. พระยาเสนาะดุริยางค์(แช่มสุนทรวาทิน)
6. พระยาประสานดุริยศัพท์(แปลกประสานศัพท์)
7. หลวงประดิษฐไพเราะ(ศรศิลปบรรเลง)
8. พระเพลงไพเราะ(โสมสุวาทิต)
9. หลวงชาญเชิงระนาด(เงินผลารักษ์)
10. จางวางสวนชิดท้วม
11. ก่กุศลบุญเฟื่อง
ระนาดเอก
ระนาดเป็นเครื่องตีที่ทาด้วยไม้หรือเหล็กหรือทองเหลืองหลายๆอันเรียงเป็นลาดับกันบางอย่างก็ร้อยเชือกหัวท้ายแขวน
บางอย่างก็วางเรียงกันเฉยๆ
ระนาดเอกลูกระนาดทาด้วยไม้ไผ่บงหรือไม้ชิงชังไม้พะยูงและไม้มะหาดลูกระนาดฝานหัวท้ายและท้องตอนกลาง
ตัดให้มีความยาวลดหลั่นกันตามลาดับของเสียงโดยปกติมี๒๑ลูกเรียงเสียงต่าสูงตามลาดับ
ลูกระนาดทุกลูกเจาะรูร้อยเชือกหัวท้ายแขวนบนรางซึ่งมีรูปโค้งขึ้นมีเท้ารูปสี่เหลี่ยมตรงกลางสาหรับตั้งไม้สาหรับตีมี ๒อย่างคือ
ไม้แข็ง (เมื่อต้องการเสียงดังแกร่งกร้าว)และไม้นวม(เมื่อต้องการเสียงเบาและนุ่มนวล)
ระนาดเอก
ระนาดทุ้มเป็นเครื่องดนตรีที่สร้างขึ้นมาในรัชกาลที่
3 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ เป็นการสร้างเลียนแบบระนาดเอกใช้ไม้ชนิดเดียวกันกับระนาดเอกลูกระนาดทุ้มมีจานวน17หรือ18 ลูก
ลูกต้นยาวประมาณ42ซมกว้าง6 ซมและลดหลั่นลงมาจนถึงลูกยอดที่มีขนาดยาว34ซมกว้าง5 ซม
รางระนาดทุ้มนั้นประดิษฐ์ให้มีรูปร่างคล้ายหีบไม้ แต่เว้าตรงกลางให้โค้งโขนปิดหัวท้ายเพื่อเป็นที่แขวนผืนระนาดนั้น
ถ้าหากวัดจากโขนด้านหนึ่งไปยังโขนอีกด้านหนึ่งรางระนาดทุ้มจะมีขนาดยาวประมาณ 124ซมปาก รางกว้างประมาณ22ซม
มีเท้าเตี้ยรองไว้ 4 มุมราง
หน้าที่ในวงของระนาดทุ้มนั้นทาหน้าที่เดินทานองรองในทางของตนเองซึ่งจะมีจังหวะโยนล้อขัด
ที่ทาให้เกิดความไพเราะและเติมเต็มช่องว่างของเสียงอันเป็นเอกลักษณ์เฉพาะตัวของระนาดทุ้ม
ระนาดทุ้มลูกระนาดเหมือนระนาดเอกแต่ใหญ่และยาวกว่ามี๑๗ลูกรางที่แขวนนั้นด้านบนโค้งขึ้น
แต่ด้านล่างตรงขนานกับพื้นราบมีเท้าเล็กๆตรงมุม๔เท้า ไม้ตีใช้แต่ไม้นวม
ระนาดทุ้ม
การเทียบเสียงระนาดเอกและระนาดทุ้มเมื่อต้องการให้สูงต่าใช้ขี้ผึ้งผสมกับผงตะกั่วติดตรงหัวและท้ายด้านล่าง
ถ่วงเสียงตามต้องการ
กรับ เป็นเครื่องดนตรีไทยชนิดหนึ่งซึ่งกรับนั้นมีอยู่3 ชนิดด้วยกันคือกรับคู่ กรับพวง และกรับเสภา
ประเภทของกรับ[แก้]
กรับคู่
ทาด้วยไม้ไผ่ผ่าซีกเหลาให้เรียบและเกลี้ยงอย่าให้มีเสี้ยนมีรูปร่างแบนตามซีกไม้ไผ่หนาตามขนาดของเนื้อไม้ยาวประมาณ 40ซม
ทาเป็น 2 อันหรือเป็นคู่ ใช้ตีให้ผิวกระทบกันทางด้านแบนเกิดเป็นเสียงกรับ
กรับพวง
เป็นกรับชนิดหนึ่งตอนกลางทาด้วยไม้บางๆหรือแผ่นทองเหลืองหรืองาหลายๆอันและทาไม้แก่น2
อันเจาะรูตอนหัวร้อยเชือกประกบไว้ 2ข้างเหมือนด้ามพัดเวลาตีใช้มือหนึ่งถือตรงหัวทางเชือกร้อยแล้วฟาดลงไปบนอีกฝ่ ามือหนึ่ง
เกิดเป็นเสียงกรับขึ้นหลายเสียงจึงเรียกว่ากรับพวงใช้เป็นอานัตสัญญาณเช่นในการเสด็จออกในพระราชพิธีของพระเจ้าแผ่นดิน
เจ้าพนักงานจะรัวกรับและใช้กรับพวงตีเป็นจังหวะในการขับร้องเพลงเรือดอกสร้อยและใช้บรรเลงขับร้องในการแสดง
นาฏกรรมด้วย
กรับเสภา
ทาด้วยไม้แก่นเช่นไม้ชิงชันยาวประมาณ20 ซม หนาประมาณ5 ซม เหลาเป็นรูป4 เหลี่ยมแต่ลบเหลี่ยม
ออกเพื่อมิให้บาดมือและให้สามารถกลิ้งตัวของมันเองกลอกกระทบกันได้โดยสะดวก
ใช้บรรเลงประกอบในการขับเสภาเวลาบรรเลงผู้ขับเสภาจะใช้กรับเสภา 2คู่ รวม4 อัน ถือเรียงกันไว้บนฝ่ ามือของตนข้างละคู่
กล่าวขับเสภาไปพลางมือทั้ง2 ข้างก็ขยับกรับแต่ละข้างให้กลอกกระทบกันเข้าจังหวะกับเสียงขับเสภาจึงเรียกกรับชนิดนี้ว่า
กรับเสภา
กรับคู่ กรับเสภา กรับพวง
โปงลาง เป็นเครื่องดนตรีประเภทเครื่องเคาะหรือเครื่องตีมีลักษณะคล้ายระนาดแต่แขวนในแนวดิ่ง
เป็นที่นิยมในภาคอีสานบางท้องถิ่นอาจเรียกว่าหมากกลิ้งกล่อมหมากขอลอหรือ
เกราะลอ(ผู้เฒ่าผู้แก่ในถิ่นดงมูลอาเภอหนองกุงศรีเรียก"หมากเต๋อเติ่น")เป็นเครื่องดนตรีประจาจังหวัดกาฬสินธุ์
ผู้พัฒนา
นายเปลื้องฉายรัศมีศิลปินแห่งชาติสาขาศิลปะการแสดง(ดนตรีพื้นบ้าน)ประจาปี พ.ศ.
2529 ชาวจังหวัดกาฬสินธุ์ได้ทาการพัฒนาโปงลางจนมีลักษณะเช่นในปัจจุบันโดยได้พัฒนาโปงลางขึ้นจากเกราะลอ
ซึ่งใช้เคาะส่งสัญญาณในท้องนา[1]
พระมหากรุณาธิคุณ
เมื่อวันที่ 26 กุมภาพันธ์พ.ศ. 2533 สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ
สยามบรมราชกุมารี ได้เสด็จพระราชดาเนินมาทรงโปงลางที่วิทยาลัยนาฏศิลปกาฬสินธุ์จังหวัดกาฬสินธุ์
ซึ่งสร้างความปลื้มปิติแก่พสกนิกรชาวกาฬสินธุ์เป็นอย่างมากที่ได้มีโอกาสเฝ้ าชมบารมี
ขณะที่ทรงโปงลางอันเป็นสัญลักษณ์ของชาวกาฬสินธุ์[2]
ลายเดี่ยว
ลายกาเต้นก้อน(ครูเปลื้องฉายรัศมีเป็นผู้แต่ง)[3]
ลายลายนกไซบินข้ามทุ่ง
วิธีทา
โปงลาง นิยมทาจากไม้มะหาดหรือไม้หมากเหลื้อมเพราะเป็นไม้ที่มีความอยู่ตัวมากกว่าไม้อื่นๆวิธีการทาเอาไม้ที่แห้งแล้ว
มาถากเหลาให้ได้ขนาดลดหลั่นกันตามเสียงที่ต้องการในระบบ5 เสียงโปงลาง1 ชุดจะมีจานวนประมาณ12 ลูก
ใช้เชือกร้อยรวมกันเป็นผืนเวลาตีต้องนาปลายเชือกด้านหนึ่งไปผูกแขวนไว้กับเสาในลักษณะห้อยลงมา
ส่วนปลายเชือกด้านล่างจะผูกไว้กับหลักหรือเอวของผู้ตีวิธีการเทียบเสียงโปงลางทาโดยการเหลาไม้ให้ได้ขนาด
และเสียงตามต้องการยิ่งเหลาให้ไม้เล็กลงเท่าใดเสียงก็จะยิ่งสูงขึ้นในสมัยอดีตโปงลางนั้นมีด้วยกัน 5เสียงคือโด เรมี ซอล ลา
แต่ในปัจจุบัน ได้มีการพัฒนาโดยนายเปลื้องฉายรัศมีโปงลางที่ได้มาตรฐานจะต้องมี6 เสียง13 ลูกคือ โดเร มี ฟาซอล ลา
(ต่อมามีเสียงที ด้วย)ซึ่งแตกต่างจากระนาดซึ่งมีเจ็ดเสียงและมีการปรับแต่งเทียบเสียงด้วยการใช้ ตะกั่วผสมขี้ผึ้ง ถ่วงใต้ผืนระนาด
เพื่อให้ได้ระดับเสียงตามที่ต้องการ
การตี
การบรรเลงหมากกลิ้งกล่อมหรือโปงลางนิยมใช้ผู้บรรเลงสองคนต่อเครื่องดนตรีหนึ่งชิ้นแต่ละคนใช้ไม้ตี 2 อัน
มี หมอเคาะกับหมอเสิฟหมอเคาะคือผู้ที่ตีทานองของเพลงหรือลายนั้นส่วนหมอเสิฟคือผู้ที่ตีประสานจะตี2ลูก เช่นตี ลา-มี
หรือซอล-เร เป็นต้น การเรียกชื่อเพลงที่บรรเลงด้วยโปงลางมักจะเรียกตามลักษณะและลีลาของเพลงโดย
การสังเกตจากสภาพของธรรมชาติที่อยู่รอบๆตัวเช่น เพลง"ลายนกไซบินข้ามทุ่ง"เพลง"ลายกาเต้นก้อน"เพลง
"ลายแมลงภู่ตอมดอกไม้"เป็นต้น
วิวัฒนาการของวงโปงลาง
แต่เดิมเครื่องดนตรีพื้นบ้าน
ยังไม่มีการผสมวงกันแต่อย่างใดใช้เล่นเป็นเครื่องเดี่ยวตามความถนัดของนักดนตรีที่มีอยู่ตามท้องถิ่นต่างๆ
โอกาสที่จะมาร่วมเล่นด้วยกันได้ก็ต่อเมื่อมีงานบุญหรืองานประเพณีต่างๆเช่นบุญเผวด
จะมีการแห่กันหลอนของแต่ละคุ้มหรือแต่ละหมู่บ้านมาที่วัดคุ้มไหนหรือหมู่บ้านไหนมีนักดนตรีอะไรก็จะใช้บรรเลงและแห่ต้นกันหลอน
มาที่วัดพอมาถึงวัดก็จะมีการผสมผสานกันของแต่ละเครื่องมือเช่นพิณแคนซอ กลองเป็นต้น
หลังจากผสมผสานกันโดยไม่ได้ตั้งใจแล้วก็จะแลกเปลี่ยนและถ่ายทอดเชื่อมเข้าหากันโดยเฉพาะนักดนตรีจะไปมาหาสู่กันร่วมกันเล่น
ร่วมกันสร้างในที่สุดก็กลายเป็นวงดนตรีและมีการพัฒนาขึ้นเรื่อยๆเช่นวงโปงลางปี พ.ศ. 2505 หลังจากอาจารย์เปลื้องฉายรัศมี
ซึ่งเป็นผู้ที่สนใจและศึกษาพัฒนาการตีและการทาเกราะลอจนเปลี่ยนชื่อมาเป็นโปงลางและได้รับความนิยมจากชาวบ้านโดยทั่วไป
จากนั้นอาจารย์เปลื้องได้เกิดแนวความคิดในการนาเอาเครื่องดนตรีอีสานชนิดอื่นๆมาบรรเลงรวมกันกับโปงลาง
จึงได้รวบรวมสมัครพรรพวกที่ชอบเล่นดนตรี มาบรรเลงรวมกันปรากฏว่าเป็นที่แตกตื่นของชาวบ้าน
พอตกเย็นก็จะมีคนมามุงดูขอให้บรรเลงให้ฟังแต่ละวันหมดยาเส้นไปหลายหีบทาให้ได้รับความนิยม
และเป็นที่สนใจของชาวบ้านเป็นอย่างมากจนมีผู้ว่าจ้างไปบรรเลงเป็นครั้งแรกเนื่องในงานอุปสมบทณบ้านปอแดง ตาบลอุ่นเม่า
อาเภอเมือง จังหวัดกาฬสินธุ์ในราคา 40บาท เป็นที่ชื่นชอบของของผู้ที่พบเห็นและได้ฟังจากงานอุปสมบทของบ้านปอแดง
และได้รับการติดต่อให้ไปแสดงอีกในหลายๆที่ปี พ.ศ. 2511 อาจารย์เปลื้องฉายรัศมี
ได้นาคณะโปงลางไปร่วมแสดงเพื่อเฉลิมพระเกียรติเนื่องในวันเฉลิมพรรษา 5ธันวามหาราชจึงมีโอกาสที่ทาให้ได้พบกับนายประชุม
อิทรตุล ป่าไม้อาเภอยางตลาดซึ่งนายประชุมได้นาวงดนตรีสากลมาร่วมบรรเลงประกอบลีลาศ
มหรสพที่แสดงในคืนนั้นมีคณะหมอลาหมู่ซึ่งหัวหน้าหมอลาเป็นเพื่อนอาจารย์เปลื้องทั้งสองจึงไปขอยืมกลองชุดสากล
เพื่อนาไปเล่นเข้ากับหมอลานายประชุมจึงไม่ขัดข้องแต่ต้องให้วงลีลาศเลิกก่อน
หมอลาก็ทาการแสดงไปก่อนได้ครึ่งคืนก็ต้องพักทานข้าวตอนดึกจึงทาให้เกิดช่องว่างของเวทีผู้คนก็ยังไม่กลับยังรอดูหมอลาต่อ
อาจารย์เปลื้องฉายรัศมีจึงได้นาเอาโปงลางที่ตนนามาขึ้นแขวนบนต้นเสาของเวทีในขณะนั้นหัวหน้าหมอลาก็ยังไม่รู้จัก
และไม่เคยเห็นโปงลางมาก่อนทุกคนก็เกิดความสงสัยว่าอาจารย์เปลื้องนาอะไรขึ้นมาแขวนกับต้นเสาบนเวที
แต่พอคณะโปงลางบรรเลงขึ้นทุกคนต่างตกตะลึงและสงสัยว่าสิ่งที่กาลังตีอยู่ในขณะนั้นคืออะไร
หลังจากหมอลากินข้าวเสร็จผู้ชมก็ยังไม่ยอมให้เลิกเล่นขอให้เล่นต่อแทนหมอลาไปเลยก็ได้ จากการแสดงในครั้งนั้นนี่เองนายประชุม
ได้ชวนอาจารย์เปลื้องไปอยู่ด้วยโดยฝากให้เข้าทางานที่โรงเลื่อยยางตลาดนายประชุมอินทรตุลจึงได้สนับสนุนและตั้งวงโปงลางขึ้น
ชื่อว่าวงโปงลางกาฬสินธุ์โดยมอบหมายให้อาจารย์เปลื้องเป็นหัวหน้าวงจากผลงานการแสดงที่หลังจากตั้งวงแล้วไม่นานนายบุรี
พรหมลักขโนผู้ว่าราชการจังหวัดกาฬสินธุ์ได้ติดต่อให้นาโปงลางไปแสดงออกรายการทีวีช่อง5จังหวัดขอนแก่นเพื่อเป็นการเผยแพร่
และท่านได้แนะนาว่าน่าจะมีชุดฟ้ อนราไปด้วยจะน่าดูยิ่งขึ้นนายประชุมอิทรตุลจึงมอบหมายให้คุณเกียงบ้านสูงเนินคุณลดาวัลย์
สิงห์เรือง(ผู้ช่วยผู้อานวยการวิทยาลัยนาฏศิลปะกาฬสินธุ์ในขณะนั้น)และภรรยาของนายประชุมเองฝึกชุดฟ้ อนชุดแรกคือราซวยมือ
ชุดที่สอง คือ ชุดเซิ้งภูไท ชุดเซิ้งสวิงชุดบายศรีสู่ขวัญและไทภูเขาต่อมาคณะโปงลางกาฬสินธุ์ได้มีโอกาสไปแสดงณวังสวนจิตลดา
วังละโว้ วังสวนผักกาดวังสราญรมย์
และแสดงเผยแพร่ในมหาลัยต่างๆhttp://www.youtube.com/watch?v=wm9AJSz39CY&feature=share
การเล่นเป็นคณะโปงลางนั้นนอกจากจะใช้บรรเลงตามลาพังแล้วยังนิยมใช้บรรเลงเป็นวงร่วมกับเครื่องดนตรีอื่นๆเช่นพิณแคน
กลอง เพื่อการฟังและใช้บรรเลงประกอบการฟ้ อนพื้นบ้านอีสานได้เป็นอย่างดีต่อมาภายหลังอาจารย์เปลื้องฉายรัศมี
ซึ่งเป็นศิลปินแห่งชาติได้ประยุกต์วงโปงลางขึ้นใหม่โดยนากระดึงผูกคอวัวที่เป็นโลหะมาแขวนเรียงแทนลูกโปงลางเดิมที่ทาด้วยไม้
ทาให้เกิดมิติของเสียงที่แตกต่างจากการบรรเลงโปงลางแบบเดิมนับเป็นต้นแบบของ การพัฒนาโปงลางในระยะต่อมาเช่น
การทาลูกโปงลางด้วยแผ่นทองเหลืองขนาดต่างๆเรียกว่า"หมากกะโหล่ง"รวมถึงการนาเอาไม้ไผ่มาเหลาให้มีขนาดลดหลั่นกัน
เรียกว่า"โปงลางไม้ไผ่"และการนาเอาท่อเหล็กมาทาเป็น"โปงลางเหล็ก"ด้วย
ทาให้เสียงมีความแตกต่างมากขึ้นและได้นามาเล่นผสมวงกันเกิดเป็นวง หมากกะโหล่งโปงลางโดยวิทยาลัยนาฏศิลปกาฬสินธุ์
การประกวด
เป็นการจัดประกวดตามเทศการต่างๆหรือจัดการประกวดตามสถานที่ต่างๆเช่น
การประกวดชิงถ้วยพระราชทานสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯสยามบรมราชกุมารี (ประเภทก.ประชาชนทั่วไป)
สมเด็จพระเจ้าลูกเธอเจ้าฟ้ าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี (ประเภทข.นักเรียนมัธยม)
พระเจ้าวรวงศ์เธอพระองค์เจ้าโสมสวลีพระวรราชาทินัดดามาตุ (ประเภทค.นักเรียนประถม)ในงานประจาปีจังหวัดกาฬสินธุ์
"มหกรรมโปงลางแพรวาและงานกาชาดจังหวัดกาฬสินธุ์"[4]
โปงลาง
ระนาดเอกเหล็กเป็นเครื่องดนตรีที่ประดิษฐ์ขึ้นในรัชกาลที่4แห่งกรุงรัตนโกสินทร์
แต่เดิมลูกระนาดทาด้วยทองเหลืองจึงเรียกกันว่าระนาดทองในเวลาต่อมาได้มีการประดิษฐ์ลูกระนาดด้วยเหล็กระนาดเอกเหล็กมี
จานวน 20 หรือ21 ลูกโดยวางไว้บนรางที่มีไม้ระกาวางพาดไปตามของรางหากไม่มีไม้ระกา
ก็อาจใช้ผ้าพันไม้แล้วนามารองลูกระนาดก็ได้ ลูกต้นของระนาดเอกเหล็กมีขนาด23.5ซมกว้างประมาณ5ซม
ลดหลั่นขึ้นไปจนถึงลูกยอดที่มีขนาด19ซมกว้างประมาณ4ซมรางของระนาดเอกเหล็กนั้นทาเป็นรูปสี่เหลี่ยมมีเท้ารองรับไว้ทั้ง 4
ด้านหรืออาจใส่ลูกล้อเพื่อสะดวกในการขนย้ายก็ได้
ระนาดเอกเหล็กลูกระนาดทาด้วยเหล็กวางเรียงบนรางไม่ต้องเจาะรูร้อยเชือกมี๒๐ลูกหรือมากกว่านั้น
ถ้าลูกระนาดทาด้วยทองเหลืองก็เรียกว่าระนาดทอง ระนาดเอกเหล็กบรรเลงเหมือนระนาดเอกทุกประการ
เพียงแต่ไม่ได้ทาหน้าที่ผู้นา
ระนาดเอกเหล็ก
ระนาดทุ้มเหล็กเป็นเครื่องดนตรีที่พระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัว ในรัชกาลที่4มีพระราชดาริให้สร้างขึ้น
ลูกระนาดทาอย่างเดียวกับระนาดเอกเหล็กระนาดทุ้มเหล็กมีจานวน16หรือ17 ลูกลูกต้นยาวประมาณ35ซมกว้างประมาณ6
ซมและลดหลั่นลงไปจนถึงลูกยอดซึ่งยาวประมาณ 29ซมกว้างประมาณ5.5ซม ตัวรางระนาดยาวประมาณ 1เมตรปากราง
กว้างประมาณ20ซมมีชานยื่นออกไปสองข้างรางถ้านับส่วนกว้างรวมทั้งชานทั้งสองข้างด้วยรางระนาดทุ้มเหล็กจะกว้างประมาณ
36 ซม มีเท้ารองติดลูกล้อ4เท้า เพื่อให้เคลื่อนที่ไปมาได้สะดวกตัวรางสูงจากพื้นถึงขอบบนประมาณ 26ซมระนาด
ทุกชนิดที่กล่าวมานั้นจะใช้ไม้ตี2 อัน
ระนาดทุ้มเหล็กเหมือนระนาดเอกเหล็กทุกประการนอกจากลูกระนาดใหญ่และยาวกว่ามี ๑๗ลูกถ้าทาด้วยทองเหลืองก็เรียก
ระนาดทุ้มทองการเทียบเสียงระนาดเอกเหล็กและระนาดทุ้มเหล็กนี้ใช้ตะไบถูหัวท้ายด้านล่างและท้องลูกระนาด
ไม่ใช้ขี้ผึ้งผสมผงตะถั่วติดเมื่อต้องการให้ลูกไหนเสียงสูงขึ้นก็ตะไบหัวหรือท้ายให้บางถ้าต้องการให้ต่าก็ตะไบท้องให้บาง
ระนาดทุ้มเหล็กทาหน้าที่เดินทานองคล้ายฆ้องวงใหญ่ เพียงแต่เดินทานองห่างกว่า
ระนาดทุ้มเหล็ก
ฆ้อง ตัวฆ้องทาด้วยโลหะแผ่นรูปวงกลมตรงกลางทาเป็นปุ่มนูนเพื่อใช้รองรับการตีให้เกิดเสียงเรียกว่าปุ่มฆ้อง
ต่อจากปุ่มเป็นฐานแผ่ออกไปแล้วงองุ้มลงมาโดยรอบเรียกว่า"ฉัตร"ส่วนที่เป็นพื้นราบรอบปุ่มเรียกว่า"หลังฉัตร"หรือ"ชานฉัตร"
ส่วนที่งอเป็นขอบเรียกว่า"ใบฉัตร"ที่ใบฉัตรนี้จะมีรูเจาะสาหรับร้อยเชือกหรือหนังเพื่อแขวนฆ้องถ้าแขวนตีทางตั้งจะเจาะสองรู
ถ้าแขวนตีทางนอนจะเจาะสี่รู
การบรรเลงฆ้องใช้ในการบรรเลงได้สองลักษณะคือใช้ตีกากับจังหวะและใช้ตีดาเนินทานอง ฆ้องที่ใช้ตีกากับจังหวะได้แก่ ฆ้องหุ่ย
หรือฆ้องชัย ฆ้องโหม่ง ฆ้องเหม่ง ฆ้องระเบ็ง และฆ้องคู่
ฆ้องที่ใช้ตีดาเนินทานอง ได้แก่ ฆ้องราง ฆ้องวงใหญ่ ฆ้องวงเล็กฆ้องมโหรี ฆ้องมอญ ฆ้องกะแตและฆ้องหุ่ยหรือฆ้องชัย ฆ้องกะแต
ใช้บรรเลงในวงปี่พาทย์มอญลูกฆ้องมีขนาดเล็ก จานวน๑๑ลูก
ฆ้อง ทาด้วยโลหะเป็นแผ่นกลมตรงกลางมีปุ่มกลมนูนขึ้นสาหรับตีขอบนอกหักมุมลงรอบตัวเป็นรูปเหมือนฉัตรมีหลายชนิดคือ
ฆ้องวงใหญ่เป็นเครื่องดนตรีที่วิวัฒนาการมาจากฆ้องรางของอินโดนีเซีย
สันนิษฐานว่ามีมาตั้งแต่สมัยสุโขทัยส่วนประกอบของฆ้องวงใหญ่ประกอบด้วยลูกฆ้องและวงฆ้องลูกฆ้องมี16
ลูกทาจากทองเหลืองเรียงจากลูกเล็กด้านขวาวงฆ้องสูงประมาณ 24เซนติเมตรใช้หวายโป่งทาเป็นราง
ให้หวายเส้นนอกกับเส้นในห่างกัน14-17เซนติเมตรใช้หวาย4 อัน ด้านล่าง2อันขดเป็นวงขนานกัน
เว้นที่ไว้ให้นักดนตรีเข้าไปบรรเลง
ฆ้องวงใหญ่เป็นเครื่องดนตรีที่สาคัญที่สุดเพราะคนที่จะเล่นดนตรีในวงปี่พาทย์ต้องมาเรียนฆ้องวงใหญ่ก่อน
ฆ้องวงใหญ่ทาหน้าที่เดินทานองหลักซึ่งถือเป็นแม่บทของเพลง
ฆ้องวงใหญ่มี ๑๖ลูก ขนาดลดหลั่นกันไปตามลาดับลูกต้นขนาดใหญ่ เสียงต่าอยู่ทางซ้ายของผู้ตีลูกยอดขนาดเล็กเสียงสูง
อยู่ทางขวาของผู้ตีทุกลูกผูกบนร้านซึ่งทาเป็นวงรอบตัว คนตีเว้นด้านหลังไว้ ผู้ตีนั่งในกลางวงตีด้วยไม้ที่ทาด้วยแผ่นหนังหนา
ตัดเป็นวงกลมมีด้ามเสียบตรงรูกลางแผ่นหนัง
ฆ้องวงใหญ่ใช้เล่นในวงปี่พาทย์วงปี่พาทย์นางหงส์และวงมโหรี
ฆ้องวงใหญ่
ฆ้องวงเล็กเป็นเครื่องดนตรีไทยสร้างในสมัยรัชกาลที่3มีลักษณะเหมือนกับฆ้องวงใหญ่ แต่ลูกฆ้องมีขนาดเล็กกว่ามีลูกฆ้อง
18 ลูกบรรเลงทานองคล้ายระนาดเอกแต่ตีเก็บถี่กว่าระนาดเอก
ฆ้องวงเล็กใช้วงปี่พาทย์ไม้แข็งวงปี่พาทย์ไม้นวมวงปี่พาทย์นางหงส์และวงมโหรี
ฆ้องวงเล็ก รูปร่างลักษณะเหมือนฆ้องวงใหญ่ แต่มีขนาดเล็กกว่าเท่านั้น มีจานวนลูกฆ้อง ๑๘ลูก
การเทียบเสียงฆ้องวงใหญ่และฆ้องวงเล็กนี้ใช้ขี้ผึ้งผสมกับผงตะกั่วติดตรงด้านล่างของ ปุ่มฆ้อง เพื่อให้ได้เสียงสูงต่าตามต้องการ
ฆ้องวงเล็ก
ฆ้องมอญเป็นเครื่องดนตรีที่ได้รับอิทธิพลมาจากมอญมีลักษณะตั้งโค้งขึ้นไปไม่ตั้งราบกับพื้นแบบฆ้องไทย
วงฆ้องทาจากไม้แกะสลักปิดทองอย่างสวยงามทางโค้งด้านซ้ายของผู้ตีแกะเป็นรูปต่างๆตามต้องการแต่ส่วนใหญ่จะนิยมรูปเทวดา
ทางโค้งด้านขวาทาเป็นรูปปลายหางมีเท้ารองตรงกลางเหมือนระนาดเอกฆ้องมอญมีลูกฆ้อง15 ลูก
แต่ฆ้องมอญจะไม่เรียงเสียงเหมือนฆ้องไทยในบางช่วงมีการข้ามเสียงเรียกเสียงที่ข้ามว่า"หลุม"
ฆ้องมอญทาหน้าที่เดินทานองเพลงเช่นเดียวกับฆ้องวงใหญ่ของไทยฆ้องมอญมี2 ขนาดเหมือนกับฆ้องไทยคือ
ฆ้องมอญใหญ่และฆ้องมอญเล็ก
ฆ้องมอญใช้เล่นในวงปี่พาทย์มอญ
ฆ้องมอญ
ฆ้องระเบ็ง ใช้ตีประกอบการและแสดงระเบ็งชุดหนึ่งมีสามลูกมีขนาดและให้เสียงสูง-ต่าต่างกันมีชื่ออีกอย่างหนึ่งตามลักษณะว่า
"ฆ้องราว"ฆ้องราง ใช้ตีดาเนินทานองชุดหนึ่งมี ๗-๘ ลูกเสียงลูกที่๑ กับลูกที่๘เป็นเสียงเดียวกันแต่ต่างระดับเสียง
ปัจจุบันไม่มีการใช้ในวงดนตรีไทย
ฆ้องระเบ็ง
ฆ้องมโหรี เป็นฆ้องวงที่ใช้บรรเลงในวงมโหรีโดยเฉพาะมีอยู่สองขนาดคือฆ้องวงใหญ่มโหรีและฆ้องวงเล็กมโหรี
ฆ้องวงใหญ่มโหรีเดิมมีลูกฆ้อง๑๗ลูก ต่อมานิยมใช้ ๑๘ลูก
ฆ้องมโหรี
ฆ้องหุ่ย
ฆ้องหุ่ย ใช้ตีกากับจังหวะเป็นฆ้องที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในวงดนตรีไทยมีอีกชื่อว่าฆ้องชัย อาจเป็นเพราะสมัยโบราณ
ใช้ฆ้องชนิดนี้ตีเป็นสัญญาณในกองทัพปัจจุบันใช้ตีในงานพิธีงานมงคลต่างๆ
ชื่อของเครื่องดนตรีไทย
ชื่อของเครื่องดนตรีไทย
ชื่อของเครื่องดนตรีไทย
ชื่อของเครื่องดนตรีไทย
ชื่อของเครื่องดนตรีไทย
ชื่อของเครื่องดนตรีไทย
ชื่อของเครื่องดนตรีไทย
ชื่อของเครื่องดนตรีไทย
ชื่อของเครื่องดนตรีไทย
ชื่อของเครื่องดนตรีไทย
ชื่อของเครื่องดนตรีไทย
ชื่อของเครื่องดนตรีไทย
ชื่อของเครื่องดนตรีไทย
ชื่อของเครื่องดนตรีไทย
ชื่อของเครื่องดนตรีไทย
ชื่อของเครื่องดนตรีไทย
ชื่อของเครื่องดนตรีไทย
ชื่อของเครื่องดนตรีไทย
ชื่อของเครื่องดนตรีไทย
ชื่อของเครื่องดนตรีไทย
ชื่อของเครื่องดนตรีไทย
ชื่อของเครื่องดนตรีไทย
ชื่อของเครื่องดนตรีไทย

More Related Content

What's hot

Tha203 2
Tha203 2Tha203 2
ลักษณะเด่นของดนตรีในแต่ละวัฒนธรรม
ลักษณะเด่นของดนตรีในแต่ละวัฒนธรรมลักษณะเด่นของดนตรีในแต่ละวัฒนธรรม
ลักษณะเด่นของดนตรีในแต่ละวัฒนธรรมอำนาจ ศรีทิม
 
โครงสร้างหลักสูตรประถม
โครงสร้างหลักสูตรประถมโครงสร้างหลักสูตรประถม
โครงสร้างหลักสูตรประถมwangasom
 
เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3
เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3
เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3
เกษสุดา สนน้อย
 
ประวัติดนตรีไทย
ประวัติดนตรีไทยประวัติดนตรีไทย
ประวัติดนตรีไทย
Username700
 
สารคดีชีวประวัติ วาทิตย์ ขุราษี "โต้ง"
สารคดีชีวประวัติ วาทิตย์ ขุราษี "โต้ง"สารคดีชีวประวัติ วาทิตย์ ขุราษี "โต้ง"
สารคดีชีวประวัติ วาทิตย์ ขุราษี "โต้ง"
สุพัตรา ไร่อำไพ
 
ใบความรู้ พุทธศาสนสุภาษิต ป.1+415+dltvsocp1+54soc p01f 10-1page
ใบความรู้ พุทธศาสนสุภาษิต ป.1+415+dltvsocp1+54soc p01f 10-1pageใบความรู้ พุทธศาสนสุภาษิต ป.1+415+dltvsocp1+54soc p01f 10-1page
ใบความรู้ พุทธศาสนสุภาษิต ป.1+415+dltvsocp1+54soc p01f 10-1page
Prachoom Rangkasikorn
 
คำศัพท์พื้นฐานชั้น ป.5
คำศัพท์พื้นฐานชั้น ป.5คำศัพท์พื้นฐานชั้น ป.5
คำศัพท์พื้นฐานชั้น ป.5
โรงเรียน บ้านสุไหงโก-ลก
 
วรรณคดีสมัยอยุธยาตอนกลาง
วรรณคดีสมัยอยุธยาตอนกลางวรรณคดีสมัยอยุธยาตอนกลาง
วรรณคดีสมัยอยุธยาตอนกลางNattha Namm
 
โจทย์ปัญหาการหารไม่มีเศษป.2
โจทย์ปัญหาการหารไม่มีเศษป.2โจทย์ปัญหาการหารไม่มีเศษป.2
โจทย์ปัญหาการหารไม่มีเศษป.2
ทับทิม เจริญตา
 
ใบความรู้ประกอบ หน่วยการเรียนรู้ที่ ๗ ชั่วโมงที่ 2 เรื่อง ศัพท์สังคีต
ใบความรู้ประกอบ หน่วยการเรียนรู้ที่ ๗ ชั่วโมงที่ 2 เรื่อง ศัพท์สังคีต     ใบความรู้ประกอบ หน่วยการเรียนรู้ที่ ๗ ชั่วโมงที่ 2 เรื่อง ศัพท์สังคีต
ใบความรู้ประกอบ หน่วยการเรียนรู้ที่ ๗ ชั่วโมงที่ 2 เรื่อง ศัพท์สังคีต
WathasanSaengchanda
 
ใบความรู้ สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheet
ใบความรู้  สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheetใบความรู้  สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheet
ใบความรู้ สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheet
Prachoom Rangkasikorn
 
การเป่าเมโลเดี้ยน บทที่ 1
การเป่าเมโลเดี้ยน บทที่ 1การเป่าเมโลเดี้ยน บทที่ 1
การเป่าเมโลเดี้ยน บทที่ 1
gueste0411f21
 
โจทย์แบบฝึกการคูณ ป. 2
โจทย์แบบฝึกการคูณ ป. 2โจทย์แบบฝึกการคูณ ป. 2
โจทย์แบบฝึกการคูณ ป. 2
ทับทิม เจริญตา
 
รำวงมาตรฐาน ใช้สอน ปี 2557
รำวงมาตรฐาน ใช้สอน ปี 2557รำวงมาตรฐาน ใช้สอน ปี 2557
รำวงมาตรฐาน ใช้สอน ปี 2557Panomporn Chinchana
 

What's hot (20)

Tha203 2
Tha203 2Tha203 2
Tha203 2
 
เครื่องดนตรีสากล
เครื่องดนตรีสากลเครื่องดนตรีสากล
เครื่องดนตรีสากล
 
ลักษณะเด่นของดนตรีในแต่ละวัฒนธรรม
ลักษณะเด่นของดนตรีในแต่ละวัฒนธรรมลักษณะเด่นของดนตรีในแต่ละวัฒนธรรม
ลักษณะเด่นของดนตรีในแต่ละวัฒนธรรม
 
ดนตรีไทยสมัยรัตน
ดนตรีไทยสมัยรัตนดนตรีไทยสมัยรัตน
ดนตรีไทยสมัยรัตน
 
เครื่องดนตรีไทย ม.2ปี 56
เครื่องดนตรีไทย ม.2ปี 56เครื่องดนตรีไทย ม.2ปี 56
เครื่องดนตรีไทย ม.2ปี 56
 
โครงสร้างหลักสูตรประถม
โครงสร้างหลักสูตรประถมโครงสร้างหลักสูตรประถม
โครงสร้างหลักสูตรประถม
 
เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3
เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3
เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3
 
ประวัติดนตรีไทย
ประวัติดนตรีไทยประวัติดนตรีไทย
ประวัติดนตรีไทย
 
สารคดีชีวประวัติ วาทิตย์ ขุราษี "โต้ง"
สารคดีชีวประวัติ วาทิตย์ ขุราษี "โต้ง"สารคดีชีวประวัติ วาทิตย์ ขุราษี "โต้ง"
สารคดีชีวประวัติ วาทิตย์ ขุราษี "โต้ง"
 
ใบความรู้ พุทธศาสนสุภาษิต ป.1+415+dltvsocp1+54soc p01f 10-1page
ใบความรู้ พุทธศาสนสุภาษิต ป.1+415+dltvsocp1+54soc p01f 10-1pageใบความรู้ พุทธศาสนสุภาษิต ป.1+415+dltvsocp1+54soc p01f 10-1page
ใบความรู้ พุทธศาสนสุภาษิต ป.1+415+dltvsocp1+54soc p01f 10-1page
 
คำศัพท์พื้นฐานชั้น ป.5
คำศัพท์พื้นฐานชั้น ป.5คำศัพท์พื้นฐานชั้น ป.5
คำศัพท์พื้นฐานชั้น ป.5
 
รายงาน การประสมวงดนตรีสากล
รายงาน การประสมวงดนตรีสากลรายงาน การประสมวงดนตรีสากล
รายงาน การประสมวงดนตรีสากล
 
วรรณคดีสมัยอยุธยาตอนกลาง
วรรณคดีสมัยอยุธยาตอนกลางวรรณคดีสมัยอยุธยาตอนกลาง
วรรณคดีสมัยอยุธยาตอนกลาง
 
โจทย์ปัญหาการหารไม่มีเศษป.2
โจทย์ปัญหาการหารไม่มีเศษป.2โจทย์ปัญหาการหารไม่มีเศษป.2
โจทย์ปัญหาการหารไม่มีเศษป.2
 
ใบความรู้ประกอบ หน่วยการเรียนรู้ที่ ๗ ชั่วโมงที่ 2 เรื่อง ศัพท์สังคีต
ใบความรู้ประกอบ หน่วยการเรียนรู้ที่ ๗ ชั่วโมงที่ 2 เรื่อง ศัพท์สังคีต     ใบความรู้ประกอบ หน่วยการเรียนรู้ที่ ๗ ชั่วโมงที่ 2 เรื่อง ศัพท์สังคีต
ใบความรู้ประกอบ หน่วยการเรียนรู้ที่ ๗ ชั่วโมงที่ 2 เรื่อง ศัพท์สังคีต
 
คำประสม
คำประสมคำประสม
คำประสม
 
ใบความรู้ สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheet
ใบความรู้  สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheetใบความรู้  สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheet
ใบความรู้ สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 1+443+dltvsocp3+T1 p1 3-sheet
 
การเป่าเมโลเดี้ยน บทที่ 1
การเป่าเมโลเดี้ยน บทที่ 1การเป่าเมโลเดี้ยน บทที่ 1
การเป่าเมโลเดี้ยน บทที่ 1
 
โจทย์แบบฝึกการคูณ ป. 2
โจทย์แบบฝึกการคูณ ป. 2โจทย์แบบฝึกการคูณ ป. 2
โจทย์แบบฝึกการคูณ ป. 2
 
รำวงมาตรฐาน ใช้สอน ปี 2557
รำวงมาตรฐาน ใช้สอน ปี 2557รำวงมาตรฐาน ใช้สอน ปี 2557
รำวงมาตรฐาน ใช้สอน ปี 2557
 

Viewers also liked

ดนตรีพื้นบ้าน
ดนตรีพื้นบ้านดนตรีพื้นบ้าน
ดนตรีพื้นบ้านJakkrit Supokam
 
เนื้อหาวิชา ดนตรีพื้นเมืองอีสาน แคน โดย นายชาติชาย พลจารย์
เนื้อหาวิชา ดนตรีพื้นเมืองอีสาน แคน โดย นายชาติชาย พลจารย์เนื้อหาวิชา ดนตรีพื้นเมืองอีสาน แคน โดย นายชาติชาย พลจารย์
เนื้อหาวิชา ดนตรีพื้นเมืองอีสาน แคน โดย นายชาติชาย พลจารย์nongklongdondaeng school khonkaen 3
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 10 เรื่อง การอ่านและการบันทึกโน้ตสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 10 เรื่อง การอ่านและการบันทึกโน้ตสากลใบความรู้ที่ 1 บทที่ 10 เรื่อง การอ่านและการบันทึกโน้ตสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 10 เรื่อง การอ่านและการบันทึกโน้ตสากลleemeanshun minzstar
 
เครื่องดนตรีพื้นบ้านไทย 4 ภาค
เครื่องดนตรีพื้นบ้านไทย 4 ภาคเครื่องดนตรีพื้นบ้านไทย 4 ภาค
เครื่องดนตรีพื้นบ้านไทย 4 ภาคguest98f4132
 
เครื่องดนตรีพื้นบ้านไทย 4 ภาค
เครื่องดนตรีพื้นบ้านไทย 4 ภาคเครื่องดนตรีพื้นบ้านไทย 4 ภาค
เครื่องดนตรีพื้นบ้านไทย 4 ภาคguestec5984
 
เครื่องดนตรีไทย
เครื่องดนตรีไทยเครื่องดนตรีไทย
เครื่องดนตรีไทยJirapan Kamking
 
เครื่องดนตรีพื้นบ้านไทย 4 ภาค
เครื่องดนตรีพื้นบ้านไทย 4 ภาคเครื่องดนตรีพื้นบ้านไทย 4 ภาค
เครื่องดนตรีพื้นบ้านไทย 4 ภาคguest03bcafe
 
Musical Instrument
Musical InstrumentMusical Instrument
Musical Instrumentditmusix
 
ประเภทวงดนตรีสากล
ประเภทวงดนตรีสากลประเภทวงดนตรีสากล
ประเภทวงดนตรีสากลditmusix
 
ดนตรีสากล
ดนตรีสากลดนตรีสากล
ดนตรีสากลTua Acoustic
 
A Guide to SlideShare Analytics - Excerpts from Hubspot's Step by Step Guide ...
A Guide to SlideShare Analytics - Excerpts from Hubspot's Step by Step Guide ...A Guide to SlideShare Analytics - Excerpts from Hubspot's Step by Step Guide ...
A Guide to SlideShare Analytics - Excerpts from Hubspot's Step by Step Guide ...SlideShare
 
2015 Upload Campaigns Calendar - SlideShare
2015 Upload Campaigns Calendar - SlideShare2015 Upload Campaigns Calendar - SlideShare
2015 Upload Campaigns Calendar - SlideShare
SlideShare
 
What to Upload to SlideShare
What to Upload to SlideShareWhat to Upload to SlideShare
What to Upload to SlideShare
SlideShare
 
How to Make Awesome SlideShares: Tips & Tricks
How to Make Awesome SlideShares: Tips & TricksHow to Make Awesome SlideShares: Tips & Tricks
How to Make Awesome SlideShares: Tips & Tricks
SlideShare
 
Getting Started With SlideShare
Getting Started With SlideShareGetting Started With SlideShare
Getting Started With SlideShare
SlideShare
 

Viewers also liked (16)

ดนตรีพื้นบ้าน
ดนตรีพื้นบ้านดนตรีพื้นบ้าน
ดนตรีพื้นบ้าน
 
เนื้อหาวิชา ดนตรีพื้นเมืองอีสาน แคน โดย นายชาติชาย พลจารย์
เนื้อหาวิชา ดนตรีพื้นเมืองอีสาน แคน โดย นายชาติชาย พลจารย์เนื้อหาวิชา ดนตรีพื้นเมืองอีสาน แคน โดย นายชาติชาย พลจารย์
เนื้อหาวิชา ดนตรีพื้นเมืองอีสาน แคน โดย นายชาติชาย พลจารย์
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 10 เรื่อง การอ่านและการบันทึกโน้ตสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 10 เรื่อง การอ่านและการบันทึกโน้ตสากลใบความรู้ที่ 1 บทที่ 10 เรื่อง การอ่านและการบันทึกโน้ตสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 10 เรื่อง การอ่านและการบันทึกโน้ตสากล
 
เครื่องดนตรีพื้นบ้านไทย 4 ภาค
เครื่องดนตรีพื้นบ้านไทย 4 ภาคเครื่องดนตรีพื้นบ้านไทย 4 ภาค
เครื่องดนตรีพื้นบ้านไทย 4 ภาค
 
เครื่องดนตรีพื้นบ้านไทย 4 ภาค
เครื่องดนตรีพื้นบ้านไทย 4 ภาคเครื่องดนตรีพื้นบ้านไทย 4 ภาค
เครื่องดนตรีพื้นบ้านไทย 4 ภาค
 
เครื่องดนตรีไทย
เครื่องดนตรีไทยเครื่องดนตรีไทย
เครื่องดนตรีไทย
 
เครื่องดนตรีพื้นบ้านไทย 4 ภาค
เครื่องดนตรีพื้นบ้านไทย 4 ภาคเครื่องดนตรีพื้นบ้านไทย 4 ภาค
เครื่องดนตรีพื้นบ้านไทย 4 ภาค
 
Musical Instrument
Musical InstrumentMusical Instrument
Musical Instrument
 
ประเภทวงดนตรีสากล
ประเภทวงดนตรีสากลประเภทวงดนตรีสากล
ประเภทวงดนตรีสากล
 
ดนตรีสากล
ดนตรีสากลดนตรีสากล
ดนตรีสากล
 
วงดนตรีสากล
วงดนตรีสากลวงดนตรีสากล
วงดนตรีสากล
 
A Guide to SlideShare Analytics - Excerpts from Hubspot's Step by Step Guide ...
A Guide to SlideShare Analytics - Excerpts from Hubspot's Step by Step Guide ...A Guide to SlideShare Analytics - Excerpts from Hubspot's Step by Step Guide ...
A Guide to SlideShare Analytics - Excerpts from Hubspot's Step by Step Guide ...
 
2015 Upload Campaigns Calendar - SlideShare
2015 Upload Campaigns Calendar - SlideShare2015 Upload Campaigns Calendar - SlideShare
2015 Upload Campaigns Calendar - SlideShare
 
What to Upload to SlideShare
What to Upload to SlideShareWhat to Upload to SlideShare
What to Upload to SlideShare
 
How to Make Awesome SlideShares: Tips & Tricks
How to Make Awesome SlideShares: Tips & TricksHow to Make Awesome SlideShares: Tips & Tricks
How to Make Awesome SlideShares: Tips & Tricks
 
Getting Started With SlideShare
Getting Started With SlideShareGetting Started With SlideShare
Getting Started With SlideShare
 

Similar to ชื่อของเครื่องดนตรีไทย

Music drama
Music dramaMusic drama
Music drama
manasakpoto
 
ความหมายของเครื่องดนตรี
ความหมายของเครื่องดนตรีความหมายของเครื่องดนตรี
ความหมายของเครื่องดนตรี
leemeanxun
 
ดนตรีสากล
ดนตรีสากลดนตรีสากล
ดนตรีสากล
manoprd
 
องค์ประกอบดนตรี
องค์ประกอบดนตรีองค์ประกอบดนตรี
องค์ประกอบดนตรี
Ruz' Glaow
 
งานคอมเครื่องดนตรีไทย
งานคอมเครื่องดนตรีไทยงานคอมเครื่องดนตรีไทย
งานคอมเครื่องดนตรีไทย
Chattharika Kongkom
 
การประยุกต์ดนตรีไทยกับดนตรีสากล
การประยุกต์ดนตรีไทยกับดนตรีสากลการประยุกต์ดนตรีไทยกับดนตรีสากล
การประยุกต์ดนตรีไทยกับดนตรีสากล
Thanakrit Muangjun
 
บทที่ 2 ดนตรีกศน
บทที่ 2 ดนตรีกศนบทที่ 2 ดนตรีกศน
บทที่ 2 ดนตรีกศนpeter dontoom
 
วิวัฒนาการของดนตรีสากล
วิวัฒนาการของดนตรีสากลวิวัฒนาการของดนตรีสากล
วิวัฒนาการของดนตรีสากลอำนาจ ศรีทิม
 
บทที่ 2 ดนตรี
บทที่ 2 ดนตรีบทที่ 2 ดนตรี
บทที่ 2 ดนตรี
peter dontoom
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 2 เรื่่อง องค์ประกอบดนตรีสากล.pdf
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 2 เรื่่อง องค์ประกอบดนตรีสากล.pdfใบความรู้ที่ 1 บทที่ 2 เรื่่อง องค์ประกอบดนตรีสากล.pdf
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 2 เรื่่อง องค์ประกอบดนตรีสากล.pdf
PingladaPingladaz
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 2 เรื่่อง องค์ประกอบดนตรีสากล.pdf
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 2 เรื่่อง องค์ประกอบดนตรีสากล.pdfใบความรู้ที่ 1 บทที่ 2 เรื่่อง องค์ประกอบดนตรีสากล.pdf
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 2 เรื่่อง องค์ประกอบดนตรีสากล.pdf
pinglada
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 2 เรื่่อง องค์ประกอบดนตรีสากล.pdf
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 2 เรื่่อง องค์ประกอบดนตรีสากล.pdfใบความรู้ที่ 1 บทที่ 2 เรื่่อง องค์ประกอบดนตรีสากล.pdf
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 2 เรื่่อง องค์ประกอบดนตรีสากล.pdf
เวียงพิงค์ พิงค์ลดา
 
ยุคสมัยของดนตรีไทย
ยุคสมัยของดนตรีไทยยุคสมัยของดนตรีไทย
ยุคสมัยของดนตรีไทย
อัญชลี เมฆวิบูลย์
 
ใบความรู้ ดนตรีไทย กศน
ใบความรู้ ดนตรีไทย กศนใบความรู้ ดนตรีไทย กศน
ใบความรู้ ดนตรีไทย กศน
peter dontoom
 
เอกสารสังคีตนิยม
เอกสารสังคีตนิยมเอกสารสังคีตนิยม
เอกสารสังคีตนิยม
Ruz' Glaow
 

Similar to ชื่อของเครื่องดนตรีไทย (18)

Music drama
Music dramaMusic drama
Music drama
 
ความหมายของเครื่องดนตรี
ความหมายของเครื่องดนตรีความหมายของเครื่องดนตรี
ความหมายของเครื่องดนตรี
 
ดนตรีสากล
ดนตรีสากลดนตรีสากล
ดนตรีสากล
 
องค์ประกอบดนตรี
องค์ประกอบดนตรีองค์ประกอบดนตรี
องค์ประกอบดนตรี
 
งานคอมเครื่องดนตรีไทย
งานคอมเครื่องดนตรีไทยงานคอมเครื่องดนตรีไทย
งานคอมเครื่องดนตรีไทย
 
การประยุกต์ดนตรีไทยกับดนตรีสากล
การประยุกต์ดนตรีไทยกับดนตรีสากลการประยุกต์ดนตรีไทยกับดนตรีสากล
การประยุกต์ดนตรีไทยกับดนตรีสากล
 
บทที่ 2 ดนตรีกศน
บทที่ 2 ดนตรีกศนบทที่ 2 ดนตรีกศน
บทที่ 2 ดนตรีกศน
 
วิวัฒนาการของดนตรีสากล
วิวัฒนาการของดนตรีสากลวิวัฒนาการของดนตรีสากล
วิวัฒนาการของดนตรีสากล
 
บทที่ 2 ดนตรี
บทที่ 2 ดนตรีบทที่ 2 ดนตรี
บทที่ 2 ดนตรี
 
Music
MusicMusic
Music
 
Generation
GenerationGeneration
Generation
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 2 เรื่่อง องค์ประกอบดนตรีสากล.pdf
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 2 เรื่่อง องค์ประกอบดนตรีสากล.pdfใบความรู้ที่ 1 บทที่ 2 เรื่่อง องค์ประกอบดนตรีสากล.pdf
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 2 เรื่่อง องค์ประกอบดนตรีสากล.pdf
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 2 เรื่่อง องค์ประกอบดนตรีสากล.pdf
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 2 เรื่่อง องค์ประกอบดนตรีสากล.pdfใบความรู้ที่ 1 บทที่ 2 เรื่่อง องค์ประกอบดนตรีสากล.pdf
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 2 เรื่่อง องค์ประกอบดนตรีสากล.pdf
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 2 เรื่่อง องค์ประกอบดนตรีสากล.pdf
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 2 เรื่่อง องค์ประกอบดนตรีสากล.pdfใบความรู้ที่ 1 บทที่ 2 เรื่่อง องค์ประกอบดนตรีสากล.pdf
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 2 เรื่่อง องค์ประกอบดนตรีสากล.pdf
 
ยุคสมัยของดนตรีไทย
ยุคสมัยของดนตรีไทยยุคสมัยของดนตรีไทย
ยุคสมัยของดนตรีไทย
 
อาชีพนักร้อง
อาชีพนักร้องอาชีพนักร้อง
อาชีพนักร้อง
 
ใบความรู้ ดนตรีไทย กศน
ใบความรู้ ดนตรีไทย กศนใบความรู้ ดนตรีไทย กศน
ใบความรู้ ดนตรีไทย กศน
 
เอกสารสังคีตนิยม
เอกสารสังคีตนิยมเอกสารสังคีตนิยม
เอกสารสังคีตนิยม
 

More from leemeanshun minzstar

ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 9 เรื่อง จังหวะและเครื่องหมายกำหนดจังหวะ
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 9 เรื่อง จังหวะและเครื่องหมายกำหนดจังหวะใบความรู้ที่ 1 บทที่ 9 เรื่อง จังหวะและเครื่องหมายกำหนดจังหวะ
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 9 เรื่อง จังหวะและเครื่องหมายกำหนดจังหวะleemeanshun minzstar
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 8 เรื่อง กุญแจประจำหลัก
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 8 เรื่อง กุญแจประจำหลักใบความรู้ที่ 1 บทที่ 8 เรื่อง กุญแจประจำหลัก
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 8 เรื่อง กุญแจประจำหลักleemeanshun minzstar
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 7 เรื่อง โน้ตสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 7 เรื่อง โน้ตสากลใบความรู้ที่ 1 บทที่ 7 เรื่อง โน้ตสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 7 เรื่อง โน้ตสากลleemeanshun minzstar
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 5 เรื่อง ประเภทของเครื่องดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 5 เรื่อง ประเภทของเครื่องดนตรีสากลใบความรู้ที่ 1 บทที่ 5 เรื่อง ประเภทของเครื่องดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 5 เรื่อง ประเภทของเครื่องดนตรีสากลleemeanshun minzstar
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากลใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากล
leemeanshun minzstar
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 3 เรื่อง ลักษณะของวงดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 3 เรื่อง ลักษณะของวงดนตรีสากลใบความรู้ที่ 1 บทที่ 3 เรื่อง ลักษณะของวงดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 3 เรื่อง ลักษณะของวงดนตรีสากล
leemeanshun minzstar
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 1 เรื่อง ประวัติดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 1 เรื่อง ประวัติดนตรีสากลใบความรู้ที่ 1 บทที่ 1 เรื่อง ประวัติดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 1 เรื่อง ประวัติดนตรีสากล
leemeanshun minzstar
 
โฮมเพจวารสาร
โฮมเพจวารสารโฮมเพจวารสาร
โฮมเพจวารสาร
leemeanshun minzstar
 
เหนือ ท่องเที่ยว
เหนือ  ท่องเที่ยวเหนือ  ท่องเที่ยว
เหนือ ท่องเที่ยว
leemeanshun minzstar
 
เหนือ เที่ยว
เหนือ   เที่ยวเหนือ   เที่ยว
เหนือ เที่ยว
leemeanshun minzstar
 
เหนือ ท่องเที่ยว
เหนือ   ท่องเที่ยวเหนือ   ท่องเที่ยว
เหนือ ท่องเที่ยว
leemeanshun minzstar
 
โรงเรียนมัธยมสังคีตวิทยา กรุงเทพมหานคร
โรงเรียนมัธยมสังคีตวิทยา กรุงเทพมหานครโรงเรียนมัธยมสังคีตวิทยา กรุงเทพมหานคร
โรงเรียนมัธยมสังคีตวิทยา กรุงเทพมหานคร
leemeanshun minzstar
 
ภาคเหนือ เที่ยว
ภาคเหนือ เที่ยวภาคเหนือ เที่ยว
ภาคเหนือ เที่ยว
leemeanshun minzstar
 
ภาคตะวันออก เที่ยว
ภาคตะวันออก เที่ยวภาคตะวันออก เที่ยว
ภาคตะวันออก เที่ยว
leemeanshun minzstar
 
การท่องเที่ยว
การท่องเที่ยวการท่องเที่ยว
การท่องเที่ยว
leemeanshun minzstar
 
ภาคตะวันตก เที่ยว
ภาคตะวันตก เที่ยวภาคตะวันตก เที่ยว
ภาคตะวันตก เที่ยว
leemeanshun minzstar
 
การจัดการความรู้ของมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
การจัดการความรู้ของมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชการจัดการความรู้ของมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
การจัดการความรู้ของมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
leemeanshun minzstar
 
กลยุทธ์การจัดการความรู้สำหรับการรับประกันคุณภาพ
กลยุทธ์การจัดการความรู้สำหรับการรับประกันคุณภาพกลยุทธ์การจัดการความรู้สำหรับการรับประกันคุณภาพ
กลยุทธ์การจัดการความรู้สำหรับการรับประกันคุณภาพ
leemeanshun minzstar
 
Wiki (บันทึกอัตโนมัติ)
Wiki (บันทึกอัตโนมัติ)Wiki (บันทึกอัตโนมัติ)
Wiki (บันทึกอัตโนมัติ)
leemeanshun minzstar
 

More from leemeanshun minzstar (20)

ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 9 เรื่อง จังหวะและเครื่องหมายกำหนดจังหวะ
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 9 เรื่อง จังหวะและเครื่องหมายกำหนดจังหวะใบความรู้ที่ 1 บทที่ 9 เรื่อง จังหวะและเครื่องหมายกำหนดจังหวะ
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 9 เรื่อง จังหวะและเครื่องหมายกำหนดจังหวะ
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 8 เรื่อง กุญแจประจำหลัก
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 8 เรื่อง กุญแจประจำหลักใบความรู้ที่ 1 บทที่ 8 เรื่อง กุญแจประจำหลัก
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 8 เรื่อง กุญแจประจำหลัก
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 7 เรื่อง โน้ตสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 7 เรื่อง โน้ตสากลใบความรู้ที่ 1 บทที่ 7 เรื่อง โน้ตสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 7 เรื่อง โน้ตสากล
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 5 เรื่อง ประเภทของเครื่องดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 5 เรื่อง ประเภทของเครื่องดนตรีสากลใบความรู้ที่ 1 บทที่ 5 เรื่อง ประเภทของเครื่องดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 5 เรื่อง ประเภทของเครื่องดนตรีสากล
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากลใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากล
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 3 เรื่อง ลักษณะของวงดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 3 เรื่อง ลักษณะของวงดนตรีสากลใบความรู้ที่ 1 บทที่ 3 เรื่อง ลักษณะของวงดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 3 เรื่อง ลักษณะของวงดนตรีสากล
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 1 เรื่อง ประวัติดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 1 เรื่อง ประวัติดนตรีสากลใบความรู้ที่ 1 บทที่ 1 เรื่อง ประวัติดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 1 เรื่อง ประวัติดนตรีสากล
 
โฮมเพจวารสาร
โฮมเพจวารสารโฮมเพจวารสาร
โฮมเพจวารสาร
 
เหนือ ท่องเที่ยว
เหนือ  ท่องเที่ยวเหนือ  ท่องเที่ยว
เหนือ ท่องเที่ยว
 
เหนือ เที่ยว
เหนือ   เที่ยวเหนือ   เที่ยว
เหนือ เที่ยว
 
เหนือ ท่องเที่ยว
เหนือ   ท่องเที่ยวเหนือ   ท่องเที่ยว
เหนือ ท่องเที่ยว
 
โรงเรียนมัธยมสังคีตวิทยา กรุงเทพมหานคร
โรงเรียนมัธยมสังคีตวิทยา กรุงเทพมหานครโรงเรียนมัธยมสังคีตวิทยา กรุงเทพมหานคร
โรงเรียนมัธยมสังคีตวิทยา กรุงเทพมหานคร
 
ภาคเหนือ เที่ยว
ภาคเหนือ เที่ยวภาคเหนือ เที่ยว
ภาคเหนือ เที่ยว
 
ภาคตะวันออก เที่ยว
ภาคตะวันออก เที่ยวภาคตะวันออก เที่ยว
ภาคตะวันออก เที่ยว
 
การท่องเที่ยว
การท่องเที่ยวการท่องเที่ยว
การท่องเที่ยว
 
ภาคตะวันตก เที่ยว
ภาคตะวันตก เที่ยวภาคตะวันตก เที่ยว
ภาคตะวันตก เที่ยว
 
การจัดการความรู้ของมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
การจัดการความรู้ของมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชการจัดการความรู้ของมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
การจัดการความรู้ของมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
 
กลยุทธ์การจัดการความรู้สำหรับการรับประกันคุณภาพ
กลยุทธ์การจัดการความรู้สำหรับการรับประกันคุณภาพกลยุทธ์การจัดการความรู้สำหรับการรับประกันคุณภาพ
กลยุทธ์การจัดการความรู้สำหรับการรับประกันคุณภาพ
 
Wiki
WikiWiki
Wiki
 
Wiki (บันทึกอัตโนมัติ)
Wiki (บันทึกอัตโนมัติ)Wiki (บันทึกอัตโนมัติ)
Wiki (บันทึกอัตโนมัติ)
 

Recently uploaded

1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdfรายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
NitayataNuansri
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
Prachyanun Nilsook
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 

Recently uploaded (9)

1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
 
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdfรายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
 

ชื่อของเครื่องดนตรีไทย

  • 1. ความหมายของเครื่องดนตรี“ เครื่องดนตรี”พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถานให้ความหมายไว้ว่าเป็นเครื่องบรรเลงซึ่งมีเสียงดังทาให้รู้สึกเพลิดเพลิน หรือเกิดอารมณ์รักโศกและรื่นเริงได้ตามทานองเพลงเครื่องดนตรีไทยเป็นมรดกทางวัฒนธรรมซึ่งบรรพบุรุษของเราได้สร้างสมไว้ และเป็นเครื่องหมายอย่างหนึ่งที่แสดงลักษณะเฉพาะของชาติไทยเช่นเดียวกับภาษาและศิลปวัฒนธรรมด้านอื่นๆ สมควรที่เราจะภาคภูมิใจและช่วยกันทะนุบารุงส่งเสริมและรักษาไว้ให้ดารงคงอยู่สืบไปในเบื้องต้นนี้ เราควรจะต้องมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับดนตรีไทยอันอาจจะก่อให้เกิดความรักและความสนใจดนตรีไทยขึ้นมาได้ ต่อไปนี้จะขอแนะนาให้รู้จักส่วนหนึ่งของ“ดนตรีไทย”คือ“เครื่องดนตรีไทย” เครื่องดนตรีไทย คือ สิ่งที่สร้างขึ้นสาหรับทาเสียงให้เป็นทานองหรือจังหวะวิธีที่ทาให้มีเสียงดังขึ้นนั้นมีอยู่ ๔วิธี คือ ใช้มือหรือสิ่งใดสิ่งหนึ่งดีดที่สายแล้วเกิดเสียงดังขึ้นสิ่งที่มีสายสาหรับดีดเรียกว่า"เครื่องดีด" ใช้เส้นหางม้าหลายๆเส้นรวมกันสีไปมาที่สาย แล้วเกิดเสียงดังขึ้นสิ่งที่มีสายแล้วใช้เส้นหางม้าสีให้เกิดเสียงเรียกว่า "เครื่องสี" ใช้มือหรือไม้ตีที่สิ่งนั้นแล้วเกิดเสียงดังขึ้นสิ่งที่ใช้ไม้หรือมือตีเรียกว่า "เครื่องตี" ใช้ปากเป่าลมเข้าไปในสิ่งนั้นแล้วเกิดเสียงดังขึ้นสิ่งที่เป่าลมเข้าไปแล้วเกิดเสียงเรียกว่า "เครื่องป่ า" เครื่องทุกอย่างที่กล่าวแล้วรวมเรียกว่าเครื่องดีดสีตีเป่า รายชื่อเครื่องดนตรีไทยแบ่งตามการบรรเลง เครื่องดีด กระจับปี่ เป็นเครื่องดนตรีประเภทดีดหรือพิณ4 สายชนิดหนึ่งตัวกะโหลกเป็นรูปกลมรีแบนทั้งหน้าหลังมีความหนาประมาณ7ซม. ด้านหน้ายาวประมาณ44ซม.กว้างประมาณ40ซม. ทาคันทวนเรียวยาวประมาณ 138ซม.ตอนปลายคันทวนมีลักษณะแบน และบานปลายผายโค้งออกไปถ้าวัดรวมทั้งคันทวนและตัวกะโหลก จะมีความยาวประมาณ180ซม.มีลูกบิดสาหรับขึ้นสาย4อัน มีนมรับนิ้ว 11 นมเท่ากับจะเข้ ตรงด้านหน้ากะโหลกมีแผ่นไม้บางๆทาเป็นหย่องค้าสายให้ตุงขึ้นเวลาบรรเลงใช้นิ้วหัวแม่มือกับนิ้วชี้ จับไม้ดีด เขี่ยสายให้เกิดเสียง ในสมัยกรุงศรีอยุธยามีกล่าวไว้ในกฎมณเฑียรบาลว่า“ร้องเพลงเรือเป่าปี่เป่าขลุ่ย สีซอดีดจะเข้กระจับปี่ตีโทนทับโห่ร้องนี่นั่น” ต่อมาก็นามาใช้เป็นเครื่องดีดประกอบการขับไม้ สาหรับบรรเลงในพระราชพิธีแต่เนื่องจากกระจับปี่มีเสียงเบาและมีน้าหนักมาก ผู้ดีดกระจับปี่จะต้องนั่งพับเพียบขวาแล้วเอาตัวกระจับปี่ วางบนหน้าขาข้างขวาของตนเพื่อทานน้าหนักมือซ้ายถือคันทวนมือ ขวาจับไม้ดีดเป็นที่ลาบากมากอาจเป็นสาเหตุหนึ่งที่ทาให้ไม่ค่อยมีผู้นิยมเล่นกระจับปี่ ในปัจจุบันจึงหาผู้เล่นได้ยาก กระจับปี่ สันนิษฐานกันว่าน่าจะมาจากภาษาชวาคาว่ากัจฉปิ ซึ่งคาว่ากัจฉปิ นั้นมีรากฐานของคาศัพท์ในบาลีสันสกฤตคาว่า กัจฉปะ ที่แปลว่าเต่าเนื่องจากลักษณะของกระจับปี่นั้นจะมีกะโหลกเป็นรูปกลมรีแบนทั้งหน้าหลัง ซึ่งมองแล้วคล้ายกับกระดองของเต่า กระจับปี่
  • 2. จะเข้ เป็นเครื่องดนตรีไทยประเภทเครื่องดีดมี3 สายเข้าใจว่าได้ปรับปรุงแก้ไขมาจากพิณคือกระจับปี่ซึ่งมี4 สาย นามาวางดีดกับพื้นเพื่อความสะดวกมีประวัติและมีหลักฐานครั้งแรกในสมัยกรุงศรีอยุธยา จะเข้ได้นาเข้าร่วมบรรเลงอยู่ในวงมโหรีคู่กับกระจับปี่ในสมัยรัชกาลที่2แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ มีผู้นิยมเล่นจะเข้กันมาก ทาให้กระจับปี่ค่อยๆ หายไปในปัจจุบันเนื่องจากหาผู้เล่นเป็นน้อย ตัวจะเข้ทาเป็นสองตอนคือตอนหัวและตอนหางโดยลักษณะทางตอนหัวเป็นกระพุ้งใหญ่ ทาด้วยไม้แก่นขนุนหนาประมาณ 12ซม. ยาวประมาณ52ซม.และกว้างประมาณ11.5ซม.ท่อนหัวและท่อนหางขุดเป็นโพรงตลอดรวมทั้งสิ้นมีความยาวประมาณ 130– 132 ซม. ปิดใต้ทองด้วยแผ่นไม้ มีเท้ารองตอนหัว 4 เท้า และตอนปลายปางอีก1เท้า วัดจากปลายเท้าถึงตอนบนของตัวจะเข้ สูงประมาณ19ซม. ทาหลังนูนตรงกลางให้สองข้างลาดลงโยงสายจากตอนหัวไปทางตอนหางเป็น3สายมีลูกบิดประจาสายละ1 อัน สาย1 ใช้เส้นลวดทองเหลืองอีก 2 สายใช้เส้นเอ็นมีหย่องรับสายอยู่ตรงปลายหางก่อนจะถึงลูกบิด ระหว่างตัวจะเข้มีแป้ นไม้เรียกว่า นมรองรับสายติดไว้บนหลังจะเข้ รวมทั้งสิ้น11อันเพื่อไว้เป็นที่สาหรับนิ้วกดนมแต่ละอันสูง เรียงลาดับขึ้นไปตั้งแต่2 ซม. จนสูง 3.5 ซม. เวลาบรรเลงใช้ดีดด้วยไม้ดีดกลมปลายแหลมทาด้วยงาช้างหรือกระดูกสัตว์เคียนด้วยเส้นด้ายสาหรับพันติดกับปลายนิ้วชี้ข้างขวาของ ผู้ดีด และใช้นิ้วหัวแม่มือกับนิ้วกลางช่วยจับให้มีกาลังเวลาแกว่งมือส่ายไปมาให้สัมพันธ์กับมือข้างซ้ายขณะกดสายด้วย ไม้ดีดควรยาวประมาณ7-8เซนติเมตรมีสายยาวประมาณ 45เซนติเมตร สายของจะเข้ สายของจะเข้นั้นจะมีอยู่3 สายส่วนใหญ่ทามาจากไหมหรือเอ็นสามารถแบ่งได้ดังนี้ สายที่อยู่ติดกับตัวผู้เล่นจะเข้ มีชื่อเรียกว่า สายลวดเป็นสายที่ทามาจากลวดทองเหลือง สายที่อยู่ทางด้านนอกสุดของจะเข้ มีชื่อเรียกว่า สายเอกทามาจากไหมหรือเอ็น สายที่อยู่ตรงกลางมีชื่อเรียกว่าสายทุ้มทามาจากไหมหรือเอ็น ครูจะเข้ ตั้งแต่อดีต จนถึงปัจจุบัน ดนตรีไทยนั้นมีการสืบทอดมาเป็นรุ่นสู่รุ่นและก็เช่นเดียวกับวิชาการด้านอื่นๆ นั่นคือผู้ที่มีความเชี่ยวชาญในเครื่องดนตรีชนิดใดชนิดหนึ่งโดยเฉพาะจะเรียกว่า"คน"เครื่องดนตรีนั้นๆเช่นสมชายเป็นคนซอด้วง ก็หมายความว่านายสมชายเป็นคนที่มีความถนัดหรือมีความเชี่ยวชาญในการเล่นเครื่องดนตรี ซอด้วงมากกว่าเครื่องดนตรีชนิดอื่นๆ ซึ่งในสมชายอาจจะสามารถเล่นเครื่องดนตรีอื่นๆได้ เช่น เล่นซออู้, เล่นจะเข้ เป็นต้นครูจะเข้ ก็ย่อมหมายถึงครูที่เป็นคนจะเข้ คือเป็นผู้ที่มีความถนัดมีความรู้ความชานาญในการเล่นจะเข้โดยเฉพาะซึ่งตั้งแต่อดีตอาจกล่าวย้อนไปถึงสมัยรัชกาลที่ 6คือ "หลวงว่องจะเข้รับ"(โต กมลวาทิน)
  • 3. จะเข้ ซึง เป็นเครื่องดนตรีประเภทดีดมี 4 สายแต่แบ่งออกเป็น 2 เส้นเส้นละ2 สายมีลักษณะคล้ายกระจับปี่ แต่มีขนาดเล็กกว่า ความยาวทั้งคันทวนและกะโหลกรวมกันประมาณ81ซม.กะโหลกมีรูปร่างกลมวัดเส้นผ่าศูนย์กลางได้ประมาณ 21ซม. ทั้งกะโหลกและคันทวนใช้ไม้เนื้อแข็งชิ้นเดียวคว้านตอนที่เป็นกะโหลกให้เป็นโพรงตัดแผ่นไม้ให้กลม แล้วเจาะรูตรงกลางทาเป็นฝาปิดด้านหน้าเพื่ออุ้มเสียงให้กังวานคันทวนเป็นเหลี่ยมแบนตอนหน้าเพื่อติดตะพานหรือนมรับนิ้ว จานวน 9 อันตอนปลายคันทวนทาเป็นรูปโค้งและขุดให้เป็นร่องเจาะรูสอดลูกบิดข้างละ 2อันรวมเป็น 4 อันสอดเข้าไปในร่อง สาหรับขึ้นสาย4สายสายของซึงใช้สายลวดขนาดเล็ก 2สายและสายใหญ่ 2สาย ซึงเป็นเครื่องดีดที่ชาวไทยทางภาคเหนือนิยมนามาเล่นร่วมกับปี่ซอหรือปี่จุ่ม และสะล้อ แบ่งตามลักษณะได้ 3ประเภทคือซึงเล็ก ซึ่งกลางและซึงหลวง(ซึงที่มีขนาดใหญ่) แบ่งตามประเภทได้ 2 ชนิด คือซึงลูก 3 และซึงลูก4 (แตกต่างกันที่เสียงลูก3เสียงซอลจะอยู่ด้านล่างส่วนซึงลูก4 เสียงซอลจะอยู่ด้านบน) อธิบายคาว่าสะล้อซอซึง ที่มักจะพูดกันติดปากว่าเป็นเครื่องดนตรีของชาวล้านนาแต่ที่จริงแล้วมีแค่ซึงและสะล้อ เท่านั้นที่เป็นเครื่องดนตรีของชาวล้านนาส่วนคาว่าซอในที่นี้หมายถึงการขับซอซึ่งเป็นการร้องการบรรยายพรรณณาเป็นเรื่องราว ประกอบกับวงปี่จุ่ม ซึง พิณเปี๊ยะหรือพิณเพียะเป็นเครื่องดนตรีพื้นเมืองล้านนาชนิดหนึ่งเป็นเครื่องดนตรีประเภทดีด ลักษณะของพิณเปี๊ยะมีคันทวนยาวประมาณ1เมตรเศษ ตอนปลายคันทวนทาด้วยเหล็กรูปหัวช้างทองเหลืองสาหรับใช้เป็นที่พาดสายใช้สายทองเหลืองเป็นพื้น สายทองเหลืองนี้จะพาดผ่านสลักตรงกะลาแล้วต่อไปผูกกับสลักตรงด้านซ้ายสายของพิณเปี๊ยะมีทั้ง2สายและ4สาย กะโหลกของพิณเปี๊ยะทาด้วยเปลือกน้าเต้าตัดครึ่งหรือกะลามะพร้าวก็ได้ เวลาดีดใช้กะโหลกประกบติดกับหน้าอก ขยับเปิดปิดให้เกิดเสียงตามต้องการเช่นเดียวกับพิณน้าเต้าของภาคกลาง ในสมัยก่อนชาวเหนือมักจะใช้พิณเปี๊ยะดีดคลอกับการขับลานาในขณะที่ไปเที่ยวสาว พิณเปี๊ยะไม่ได้รับความนิยมเท่าที่ควรเพราะเป็นเครื่องดนตรีที่เล่นยาก
  • 4. พิณเพียะ พิณน้าเต้าเป็นเครื่องดนตรีประเภทดีดพิณน้าเต้าเป็นพิณที่มีสายเดียวทามาจากผลของน้าเต้าที่ถูกนามาผ่าครึ่ง โดยทั่วไปแล้วผู้ดีดพิณน้าเต้าจะต้องไม่สวมเสื้อซึ่งก็หมายความว่าผู้ที่ดีดส่วนมากจะเป็นผู้ชายโดยผู้ดีดจะนาเอากะโหลกเสียง หรือ กะโหลกน้าเต้าวางประกบแนบติดกับอกซ้ายมือซ้ายจะจับที่ทวนส่วนมือขวาจะใช้ดีดพิณ ผู้ดีดพิณน้าเต้าที่มีความชานาณในการเล่นจะขยับกะโหลกน้าเต้าให้เปิด-ปิดอยู่ตรงหน้าอกข้างซ้ายในบางครั้งบางครา เพื่อให้เกิดเสียงที่ก้องกังวานตามความประสงค์ของผู้ที่ดีดแล้วใช้นิ้วซ้ายช่วยกดเพื่อให้สายตึงหรือหย่อน ไหซองเป็นเครื่องดนตรีไทยภาคอีสานทามาจากไหน้าปลาหรือไหปลาร้าที่ไม่ใช้แล้วขึงด้วยยางหนังสติ๊กหรือยางอื่นๆบริเวณปากไห จัดเป็นชุด ชุดละหลายใบโดยมีขนาดลดหลั่นกันบรรเลงโดยการดีดด้วยนิ้ว ให้เสียงทุ้มคล้ายกีตาร์เบสทาหน้าที่เป็นเครื่องประกอบจังหวะ ใช้บรรเลงประกอบในวงดนตรีพื้นเมืองภาคอีสานหรือที่นิยมเรียกว่าวงโปงลาง ปัจจุบันวงโปงลางส่วนใหญ่นิยมใช้พิณเบสแทนการใช้ไหซอง เนื่องจากให้เสียงดังกว่าและสามารถบรรเลงพลิกแพลงได้มากกว่าจึงแทบไม่มีการดีดไหซองเพื่อการบรรเลงจริงๆแล้ว การดีดไหซองในปัจจุบันเป็นเพียงการแสดงลีลาการดีดประกอบท่าฟ้ อนรานิยมใช้ผู้หญิงเป็นผู้ดีด เรียกว่านางไหใช้แสดงในงานรื่นเริงต่างๆ ซอด้วงเป็นซอสองสายมีเสียงแหลมก้องกังวานคันทวนยาวประมาณ 72ซมคันชักยาวประมาณ68ซมใช้ขนหางม้าประมาณ120 – 150 เส้นกะโหลกของซอด้วงนั้นแต่เดิมใช้กระบอกไม้ไผ่มาทาปากกระบอกของซอด้วงกว้างประมาณ 7ซมตัวกระบอกยาวประมาณ 13 ซม กะโหลกของซอด้วงนี้ในปัจจุบันใช้ไม้จริง หรือ งาช้างทาก็ได้ แต่ที่นิยมว่าเสียงดีนั้นกะโหลกซอด้วงต้องทาด้วยไม้ลาเจียกส่วนหน้าซอนิยมใช้หนังงูเหลือมขึง เพราะทาให้เกิดเสียงแก้วเกิดความไพเราะอย่างยิ่งลักษณะของซอด้วงมีรูปร่างเหมือนกับซอของจีนที่เรียกว่า ฮู – ฉิน (Huchin) ทุกอย่างเหตุที่เรียกว่าซอด้วงก็เพราะมีรูปร่างคล้ายเครื่องดักสัตว์เพราะตัวด้วงดักสัตว์ทาด้วยกระบอกไม้ไผ่เหมือนกีน จึงได้เรียกชื่อไปตามลักษณะนั้นนั่นเอง สายซอด้วงนั้นมีเพียงสองสายและมีเสียงอยู่สองเสียงคือสายเอกจะเป็นเสียง"เร"ส่วนสายทุ้มจะเป็นเสียง"ซอล" โดยใช้สายไหมฟั่นหรือว่าสายเอ็นก็ได้ ซอด้วงใช้ในวงเครื่องสายวงมโหรี โดยทาหน้าที่เป็นผู้นาวงและเป็นหลักในการดาเนินทานอง ซอด้วงเป็นเครื่องสีที่มี๒ สายเรียกว่าสายเอกและสายทุ้มตัวกระพุ้งอุ้มเสียงเรียกว่ากระบอกเพราะมีรูปอย่างกระบอกไม้ไผ่ ทาด้วยไม้เนื้อแข็งหรืองาช้างขึงหน้าด้วยหนังงูเหลือมถ้าไม่มีก็ใช้หนังแพะหรือหนังลูกวัวมีทวน(คัน)เสียบกระบอกยาวขึ้นไป
  • 5. ตอนปลายเป็นสี่เหลี่ยมโอนไปทางหลังมีลูกบิดสาหรับพันปลายสาย ๒อันเนื่องจากซอด้วงเป็นซอเสียงเล็กแหลมจึง ใช้สายที่ทาด้วยไหมหรือเอ็นเป็นเส้นเล็กๆส่วนคันชักนั้นร้อยเส้นหางม้าให้เข้าอยู่ในระหว่างสายทั้งสอง ซอด้วง ซออู้ เป็นซอสองสาย ตัวกะโหลกทาด้วยกะลามะพร้าวโดยตัดปาดกะลาออกเสียด้านหนึ่งและใช้หนังลูกวัวขึงขึ้นหน้าซอ กว้างประมาณ13–14 ซมเจาะกะโหลกให้ทะลุตรงกลางเพื่อใส่คันทวนที่ทาด้วยไม้จริงผ่านกะโหลกลงไป ออกทะลุรูตอนล่างใกล้กะโหลกคันทวนซออู้นี้ยาวประมาณ79ซมใช้สายซอสองสายผูกปลายทวนใต้กะโหลกแล้วพาดผ่านหน้าซอ ขึ้นไปผูกไว้กับลูกบิดสองอันลูกบิดซออู้นี้ยาวประมาณ 17–18 ซม โดยเจาะรูคันทวนด้านบน แล้วสอดลูกบิดให้ทะลุผ่านคันทวนออกมาและใช้เชือกผูกรั้งกับทวนตรงกลางเป็นรัดอกเพื่อให้สายซอตึง และสาหรับเป็นที่กดสายใต้รัดอกเวลาสีส่วนคันสีของซออู้นั้นทาด้วยไม้จริงยาวประมาณ 70ซมใช้ขนหางม้าประมาณ160 -200 เส้นตรงหน้าซอใช้ผ้าม้วนกลมๆเพื่อทาหน้าที่เป็นหมอนหนุนสายให้พ้นหน้าซอด้านหลังของกะโหลกซอ แกะสลักเป็นรูปลวดลายสวยงามและเป็นช่องทางให้เสียงออกด้านนี้ด้วย ซออู้มีรูปร่างคล้ายๆกับซอของจีนที่เรียกว่าฮู – ฮู้ (Hu-hu ) เหตุที่เรียกว่าซออู้ก็เพราะ เรียกตามเสียงที่ได้ยินนั่นเองซอด้วงและซออู้ ได้เข้ามามีบทบาทในวงดนตรีเครื่องสายตั้งแต่ปลายรัชกาลที่4นี่เอง โดยได้ดัดแปลงมาจากวงกลองแขกเครื่องใหญ่ ซึ่งมีเครื่องดนตรีที่ทาลานาประกอบด้วยซอด้วง ซออู้ จะเข้ และ ปี่อ้อ ต่อมาได้เอากลองแขกปี่อ้อ ออก และเอาทับกับรามะนาและขลุ่ยเข้ามาแทน เรียกวงดนตรีชนิดนี้ว่าวงมโหรีเครื่องสายมีคนเล่นทั้งหมด6คนรวมทั้งฉิ่งด้วย ซออู้ เป็นเครื่องสีที่มีสาย๒สายทาด้วยไหมหรือเอ็นเรียกว่าสายเอกและสายทุ้มเช่นเดียวกับซอด้วง แต่กะโหลกซึ่งเป็นเครื่องอุ้มเสียงทาด้วยกะลามะพร้าวตัดตามยาวให้พูอยู่ข้างบนขึงหน้าด้วยหนังแพะหรือหนังลูกวัวมีทวน(คัน) เสียบยาวขึ้นไปกลึงกลมตลอดปลายมีลูกบิดสาหรับพันสาย ๒อันคันชักนั้นร้อยเส้นหางม้าให้อยู่ภายในระหว่างสายทั้งสอง
  • 6. ซออู้ ซอสามสาย เป็นเครื่องดนตรีไทยชนิดหนึ่งจาพวกเครื่องสายมีขนาดใหญ่กว่าซอด้วงหรือซออู้ และมีลักษณะพิเศษคือมีสามสาย มีคันชักอิสระกะโหลกซอมีขนาดใหญ่ นับเป็นเครื่องดนตรีที่มีความสง่างามชิ้นหนึ่งในวงเครื่องสาย ผู้เล่นจะอยู่ในตาแหน่งด้านหน้าของวง ประวัติ[แก้] ปรากฏหลักฐานจากจดหมายเหตุลาลูแบร์ (หน้า30) ที่บันทึกไว้ว่าชาวสยามมีเครื่องดุริยางค์เล็กๆมีสามสายเรียกว่า “ซอ”….” ซึ่งชี้ให้เห็นว่าในสมัยกรุงศรีอยุธยาหรือก่อนนั้นมีซอสามสายและนิยมเล่นกัน และลักษณะรูปร่างของซอสามสายก็คงจะยังไม่สวยงามมากอย่างในปัจจุบันนี้ จนมาถึงยุคต้นของกรุงรัตนโกสินทร์ ในสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยรัชกาลที่2 สืบเนื่องมาจากที่พระองค์ท่านมีอัจฉริยภาพในทางศิลปะด้านต่างๆเช่น ทรงแกะสลักบานประตูพระวิหารวัดสุทัศน์เทพวรารามด้วยฝีพระหัตถ์ของพระองค์เองอีกประการหนึ่ง พระองค์ท่านยังโปรดทรงซอสามสายเป็นอย่างยิ่งจึงทาให้พระองค์ท่านได้ประดิษฐ์คิดสร้างซอสามสายได้ด้วยความประณีตงดงาม และเป็นแบบอย่างมาจนถึงปัจจุบันนี้ ส่วนต่างๆของซอสามสายมีชื่อเรียกดังนี้ ทวนบน เป็นส่วนบนสุดของคันซอคว้านด้านในให้เป็นโพรงโดยตลอดด้านบนสุดมีรูปร่างเป็นทรงเทริดทวนบนนี้ เจาะรูด้านข้างสาหรับใส่ลูกบิด3ลูก ด้านหน้าตรงปลายทวนตอนล่างเจาะรูสาหรับร้อยสายซอที่สอดออกมาจากรัดอก หรือเรียกอีกอย่างหนึ่งว่าอกซอทวนบนนี้ทาหน้าที่คล้ายๆกับท่ออากาศ(Aircolumn) ให้เสียงที่เกิดจากกะโหลกเป็นความถี่ของเสียงแล้วลอดผ่านออกมาทางทวนบนนี้ได้ ทวนล่างคือส่วนของซอที่ต่อลงมาจากทวนบนทาเป็นรูปทรงกระบอกและประดิษฐ์ลวดลายสวยงามเช่นลงยาตะทองลงถมปัด ประดับมุก หรืออย่างอื่นเป็นการเพิ่มความวิจิตรงดงามและเรียกทวนล่างนี้ว่าทวนเงินทวนทองทวนมุกทวนลงยาเป็นต้น ทวนล่างนี้สวมยึดไว้กับทวนบนและเป็นที่สาหรับผูก รัดอกเพื่อบังคับให้สายซอทั้ง3 เส้นติดอยู่กับทวนนอกจากนั้นทวนล่าง ยังทาหน้าที่เป็นตาแหน่งสาหรับกดนิ้วลงบนสายในตาแหน่งต่างๆ
  • 7. พรมบน คือส่วนที่ต่อจากทวนล่างลงมาส่วนบนกลึงเป็นลูกแก้วส่วนตอนล่างทาเป็นรูปปากช้างเพื่อประกบกับกะโหลกซอ พรมล่างคือส่วนที่ต่อจากกะโหลกซอลงมาข้างล่างส่วนที่ประกบกับกะโหลกซอทาเป็นรูปปากช้างเช่นเดียวกับส่วนล่างของพรมบน ตรงกลางของพรมล่างเจาะรูด้านบนเพื่อใช้สาหรับเป็นที่ร้อยหนวดพราหมณ์ เพื่อคล้องกับสายซอทั้งสามสายและเหนี่ยวรั้งให้ตึง ตรงส่วนปลายสุดของพรมล่างกลึงเป็นเกลียวเจดีย์ และตอนปลายสุดเลี่ยมด้วยทองคาหรือทองเหลืองเป็นยอดแหลม เพื่อที่จะปักกับพื้นได้ สะดวกยิ่งขึ้นคันซอสามสายทั้ง4ท่อนนี้จะมีลักษณะกลวงตลอด ยกเว้นพรมล่างตอนที่เป็นเกลียวเจดีย์เท่านั้นที่เป็นส่วนที่ตันเพราะต้องการความแข็งแรงในขณะปักสีเวลาบรรเลงและคันซอทั้ง 4 ท่อนนี้จะสวมไว้กับแกนที่สอดไว้กับกะโหลกซอ ถ่วงหน้า ถ่วงหน้าของซอสามสายเป็นอุปกรณ์ที่สาคัญติดอยู่ตรงหน้าซอเพื่อควบคุมความถี่ของเสียง ทาให้มีเสียงนุ่มนวลไพเราะน่าฟังยิ่งขึ้น หย่องทาด้วยไม้ไผ่แกะให้เป็นลักษณะคู้ ปลายทั้งสองของหย่องคว้านเป็นเบ้าขนมครกเพื่อทาให้เสียง ที่เกิดขึ้นส่งผ่านไปยังหน้าซอมีความกังวานมากยิ่งขึ้น คันสี (คันชัก) คันสีของซอสามสายประกอบด้วยไม้และหางม้าคันสีนั้นเหลาเป็นรูปคันศรโดยมากนิยมใช้ไม้แก้ว เพราะเป็นไม้เนื้อแข็งและมีลวดลายงดงาม เสียงของซอสามสาย สายเอกถ้าปล่อยไม่จับสายจะเป็นเสียงซอลและใช้ปลายนิ้วแตะที่ข้างสายโดยใฃ้นิ้วชี้จะเป็นเสียงลา, ใช้นิ้วกลางแตะที่ข้างสายจะเป็นเสียงที,ใช้นิ้วนางแตะที่ข้างสายจะเป็นเสียงโด,ใช้นิ้วก้อยแตะที่ข้างสายจะเป็นเสียงเร(เสียงสูง), ใช้นิ้วก้อยรูดที่สายจะเป็นเสียงมี(เสียงสูง) สายกลางถ้าปล่อยไม่จับสายจะเป็นเสียงเรและใช้นิ้วชี้กดลงบนสายจะเป็นเสียงมี,ใช้นิ้วกลางกดลงบนสายจะเป็นเสียงฟา, ใช้นิ้วนางกดลงบนสายเป็นเสียงซอล สายทุ้มถ้าปล่อยไม่จับสายจะเป็นเสียงลาและใช้นิ้วชี้กดลงที่สายจะเป็นเสียง ที,ใช้นิ้วกลางกดลงที่สายจะเป็นเสียงโด, ใช้นิ้วนางกดลงที่สายจะเป็นเสียงเร เครื่องดนตรีที่ต้องใช้เส้นหางม้าหลายๆเส้นรวมกันสีไปบนสายซึ่งทาด้วยไหมหรือเอ็นนี้โดยมากเรียกว่า "ซอ"ทั้งนั้น ซอของไทยที่มีมาแต่โบราณก็คือ"ซอสามสาย"ใช้บรรเลงประกอบในพระราชพีธีสมโภชต่างๆซอสามสายนี้กะโหลกสาหรับอุ้มเสียง ทาด้วยกะลามะพร้าวตัดขวางให้เหลือพูทั้งสามอยู่ด้านหลังขึงหน้าด้วยหนังแพะหรือหนังลูกวัวมีคัน(ทวน)ตั้งต่อจากกะโหลก ขึ้นไปยาวประมาณ๑.๒๐เมตร ทาด้วยงาช้างหรือไม้แก่นกลึงตอนปลายให้สวยงามมีลูกบิดสอดขวางคันทวน ๓อัน สาหรับพันปลายสายเร่งให้ตึงหรือหย่อนตามต้องการมีทวนล่างต่อลงไปจากกะโหลกกลึงให้เรียวเล็กลงไปจนแหลม เลี่ยมโลหะตอนปลายเพื่อให้แข็งแรงสาหรับปักลงกับพื้นสายทั้งสามนั้นทาด้วยไหมหรือเอ็น ขึงจากทวนล่างผ่านหน้าซอซึ่งมีหย่องรองรับขึ้นไปตามทวนและร้อยเข้าในรู ไปพันลูกบิดสายละอันส่วนคันชักหรือคันสีนั้น ทาคล้ายคันกระสุนขึงด้วยเส้นหางม้าหลายๆเส้นสีไปมาบนสายทั้งสามตามต้องการสิ่งสาคัญของซอสามสายอย่างหนึ่ง คือ"ถ่วงหน้า"ถ่วงหน้านี้ทาด้วยโลหะประดิษฐ์ให้สวยงามบางทีถึงแก่ฝังเพชรพลอยก็มี แต่จะต้องมีน้าหนักได้ส่วนสัมพันธ์กับหน้าซอสาหรับติดตรงหน้าซอตอนบนด้านซ้ายถ้าไม่มีถ่วงหน้าแล้วเสียงจะดังอู้อี้ไม่ไพเราะ
  • 8. ซอสามสาย สะล้อเป็นเครื่องดนตรีพื้นเมืองล้านนาชนิดหนึ่งเป็นประเภทเครื่องสีซึ่งมีทั้ง2สายและ3สาย คันชักสาหรับสีจะอยู่ข้างนอกเหมือนคันชักซอสามสายสะล้อเรียกอีกอย่างหนึ่งว่าทร้อหรือซะล้อ มีรูปร่างคล้ายซออู้ของภาคกลาง ใช้ไม้แผ่นบางๆ ปิดปากกะลาทาหลักที่หัวสาหรับพาดทองเหลืองด้านหลังกะโหลกเจาะเป็นรูปลวดลายต่างๆเช่น รูปหนุมาน รูปหัวใจส่วนด้านล่างของกะโหลกเจาะทะลุลงข้างล่างเพื่อสอดคันทวนที่ทาด้วยไม้ชิงชันยาวประมาณ64ซม ตรงกลางคันทวนมีรัดอกทาด้วยหวายปลายคันทวนด้านบนเจาะรูสาหรับสอดลูกบิดซึ่งมี2 หรือ3 อัน สาหรับขึงสายซอ จากปลายลูกบิดลงมาถึงด้านกลางของกะโหลกมีหย่องสาหรับหนุนสายสะล้อเพื่อให้เกิดเสียงเวลาสี คันชักสะล้อทาด้วยไม้ดัดเป็นรูปโค้งขึงด้วยหางม้าหรือพลาสติกเวลาสีใช้ยางสนถูทาให้เกิดเสียงได้ สะล้อใช้บรรเลงประกอบการแสดงหรือบรรเลงร่วมกับบทร้องและทานองเพลงได้ทุกชนิดเช่นเข้ากับปี่ในวงช่างซอ เข้ากับซึงในวงพื้นเมืองหรือใช้เดี่ยวคลอร้องก็ได้ สะล้อ ซอกันตรึมเป็นเครื่องดนตรีของกลุ่มชาวไทยเชื้อสายเขมรและชาวไทยอีสานเป็นเครื่องสายใช้สี ทาด้วยไม้ กะโหลกซอขึงด้วยหนังงูหรือหนังจาพวกตะกวดมีช่องเสียงอยู่ด้านตรงข้ามหน้าซอใช้สายลวดมี2 สายคันชักอยู่ระหว่างสายคันซอยาวประมาณ 60เซนติเมตรมีลูกบิดอยู่ตอนนอกซอใช้รัดด้วยเชือก ขนาดของซอแตกต่างกันไปตามความประสงค์ของผู้สร้างโดยทั่วไปมี 3ขนาด คือ ขนาดเล็กเรียกตรัวจี้ขนาดกลางเรียกตรัวเอก
  • 9. ขนาดใหญ่เรียกตรัว บางครั้งจะเห็นมีการดัดแปลงประยุกต์กะโหลกซอโดยใช้กระป๋ องหรือปี๊บซึ่งอาจเรียกแทนว่าซอกระป๋ องหรือซอปี๊บได้ ซอกันตรึม รือบับ(อังกฤษ:Rebab;อาหรับ: ‫الرابب‬หรือ‫)رابب‬ เป็นที่เข้าใจกันว่าเป็นเครื่องดนตรีที่มีการละเล่นกันตั้งแต่ในบริเวณสามจังหวัดชายแดนใต้ มาเลเซียสุมาตราเหนือของประเทศอินโดนี เซีย และชวาใช้ในการแสดงเมาะโย่งหรือมะโย่ง ซึ่งการละเล่นนี้ไม่สามารถระบุได้ว่าเป็นเป็นศิลปะละครราในวัฒนธรรมหลวงหรือเป็นวัฒนธรรมราษฎร์ของคนถิ่นมลายูแต่ที่ปัตตานี ปรากฏหลักฐานการละเล่นนี้ที่หนังสือฮิกายัดปัตตานีหรือพงศาวดารปัตตานีในสมัยคริสต์ศตวรรษที่17 รือบับมีลักษณะโดยรวมคล้ายกับซอสามสายของภาคกลาง เครื่องตี เครื่องไม้ ระนาดเอกเป็นเครื่องตีชนิดหนึ่งที่วิวัฒนาการมาจากกรับแต่เดิมคงใช้กรับสองอันตีเป็นจังหวะต่อมาก็เกิดความคิดว่า ถ้าเอากรับหลายๆอันวางเรียงราดลงไปแล้วแก้ไขประดิษฐ์ให้มีขนาดลดหลั่นกันแล้วทารางรองอุ้มเสียง และใช้เชือกร้อยไม้กรับขนาดต่างๆกันนั้นให้ติดกันและขึงไว้บนรางใช้ไม้ตีให้เกิดเสียง นาตะกั่วผสมกับขี้ผึ้งมาถ่วงเสียงโดยนามาติดหัวท้ายของไม้กรับนั้นให้เกิดเสียงไพเราะยิ่งขึ้น เรียกไม้กรับที่ประดิษฐ์เป็นขนาดต่างๆกันนั้นว่า ลูกระนาดเรียกลูกระนาดที่ผูกติดกันเป็นแผ่นเดียวกันว่า ผืนระนาดเอกใช้ในงานมงค ล เป็นเครื่องดนตรีเป็นมงคลในบ้านบรรเลงในวงปี่พาทย์และวงมโหรี โดยทาหน้าที่เป็นผู้นาวง ลักษณะทั่วไป ส่วนประกอบของระนาดเอกมี3 ส่วนได้แก่ ผืนรางและไม้ตี ผืนประกอบด้วยลูกระนาดซึ่งทาด้วยไม้ชิงชันหรือไม้ไผ่ผืนระนาดไม้เนื้อนุ่มเสียงจะหอมอิ่ม และดังคมชัดเหมาะสาหรับบรรเลงในวงปี่พาทย์ไม้แข็งส่วนผืนระนาดที่ทาจากไม้ไผ่จะให้เสียงที่นุ่มนวล เหมาะสาหรับวงปี่พาทย์ไม้นวมและวงปี่พาทย์ผสมเครื่องสายลูกระนาดมีทั้งหมด 23-32ลูก โดยลูกที่22 มีชื่อเรียกว่าลูกหลีกหรือ ลูกหลิบที่ท้องของลูกระนาดจะคว้านและใช้ขี้ผึ้งผสมกับตะกั่วถ่วงเพื่อให้เกิดความแตกต่างระหว่างเสียง โดยเสียงจากผืนระนาดขึ้นอยู่กับส่วนประกอบ3ส่วนด้วยกันคือส่วนแรกขึ้นอยู่กับขนาดใหญ่-เล็กของไม้ที่ใช้ทาส่วนที่สอง ขึ้นอยู่กับการคว้านท้องไม้ลูกระนาดว่ามาก-น้อยเพียงใดส่วนที่สามขึ้นกับปริมาณมาก-น้อยของตะกั่วที่ถ่วงใต้ลูกระนาดแต่ละลูก ลูกระนาดทั้งหมดจะถูกเจาะรูเพื่อร้อยเชือกและแขวนบนรางระนาด รางเป็นส่วนที่เป็นกล่องเสียงของระนาดทาให้หน้าที่อุ้มเสียงนิยมทาด้วยไม้สักและทาด้วยน้ามันขัดเงา ปัจจุบันการใช้ระนาดที่ทาด้วยไม้และทาด้วยน้ามันลดความนิยมลง
  • 10. นักดนตรีนิยมใช้รางระนาดที่แกะสลักลวดลายไทยและลงรักปิดทองเพื่อความสวยงามบางโอกาสอาจมีการฝังมุกประกอบงา ซึ่งราคาก็จะสูงตามไปด้วยจากการรณรงค์พิทักษ์สัตว์ป่าที่มีอยู่ทั่วไปรางประกอบงาจึงไม่ได้รับความนิยม รูปร่างระนาดเอกคล้ายเรือบดแต่โค้งเรียวกว่าตรงกลางของส่วนโค้งมีเท้าที่ใช้สาหรับตั้งเป็นเท้าเดียวคล้ายพานแว่นฟ้ า ปลายทั้งสองข้างของส่วนโค้งเรียกว่าโขนจะมีขอสาหรับห้อยผืนระนาดข้างละ 2อัน ไม้ระนาดเป็นส่วนที่เกี่ยวข้องกับการให้เกิดเสียงโดยตรงมี 2 ชนิด คือไม้แข็ง และไม้นวมไม้แข็งพันด้วยผ้าอย่างแน่น และชุมด้วยรักจนเกิดความแข็งเวลาตีจะมีเสียงดังและคมชัด เหมาะกับวงปี่พาทย์ไม้แข็งวงปี่พาทย์มอญและวงปี่พาทย์นางหงส์ส่วนไม้นวมเป็นไม้ตีระนาดที่พันจากผ้าและใช้ด้ายรัดหลายๆ รอบเพื่อความสวยงามมีเสียงนุ่มนวมบรรเลงในวงปี่พาทย์ไม้นวมวงมโหรี วงปี่พาทย์ผสมเครื่องสายและวงปี่พาทย์ดึกดาบรรพ์ ขนาดของระนาดเอกลูกต้นมีขนาด39 ซม กว้างราว5ซมและหนา1.5 ซม มีขนาดลดหลั่นลงไปจนถึงลูกที่21 หรือลูกยอดที่มีขนาด 29 ซม เมื่อนาผืนระนาดมาแขวนบนรางแล้วหากวัดจากโขนหัวรางข้างหนึ่งไปยังโขนหัวรางอีกข้างหนึ่งจะมีความยาวประมาณ 120 ซม การฝึกหัดบรรเลง[แก้] ท่านั่ง[แก้] ท่านั่งที่นิยมในการบรรเลงระนาดเอกมี2ลักษณะคือการนั่งขัดสมาธิและนั่งพับเพียบ โดยท่านั่งแบบขัดสมาธิถือเป็นท่านั่งที่เหมาะสมสาหรับการบรรเลงระนาดเอกมากที่สุดเพราะเป็นท่านั่งที่มีความเป็นธรรมชาติ มีความสะดวกผ่อนคลายก่อให้เกิดประสิทธิภาพในการบรรเลงได้ดีที่สุด การจับไม้ ให้ก้านของไม้ระนาดอยู่ในร่องของอุ้งมือนิ้วทุกนิ้วช่วยควบคุมการจับไม้ มือทั้งสองคว่าลงข้อศอกทามุมฉาก ตาแหน่งแขนซ้ายและขวาขนานกันตาแหน่งของนิ้วอาจแตกต่างกันบ้างแบ่งออกเป็น 3 ลักษณะคือ การจับแบบปากกา ตาแหน่งของนิ้วชี้อยู่บนไม้ระนาดการเริ่มฝึกหัดระนาดเอกควรฝึกหัดโดยลักษณะนี้ ซึ่งนอกจากมีความงดงามแล้วยังมีความสะดวกและมีประสิทธิภาพสูงในการสร้างเสียง การจัดตาแหน่งของนิ้วชี้จะตกไปอยู่ด้านตรงข้ามกับนิ้วหัวแม่มือ ก้านของไม้ระนาดอยู่ในตาแหน่งกึ่งกลางระหว่างปลายนิ้วกับข้อบนของนิ้ว การจับแบบปากนกแก้ว ตาแหน่งของก้านไม้ระนาดอยู่ในตาแหน่งเส้นข้อนิ้วของข้อบน ตาแหน่งของเสียง เมื่อเปรียบเทียบระนาดเอกกับเครื่องดนตรีไทยชนิดอื่นระนาดเอกเป็นเครื่องดนตรีที่มีระดับเสียงมากที่สุดโดยมีจานวน 21-22 ระดับเสียงความที่มีจานวนระดับเสียงถึง22 เสียงทาให้มีความกว้างของระดับเสียงครอบคลุมถึง3ช่วงทบเสียง ส่งผลให้การเดินทานองของเสียงเป็นไปอย่างไม่ซ้าซากจาเจอยู่ที่ช่วงระดับเสียงใดเสียงหนึ่ง หลักการตีระนาด[แก้] หลักปฏิบัติทั่วไป[แก้] 1. ตีตรงกลางลูกระนาด
  • 11. 2. การเคลื่อนของมือโดยที่มือซ้ายและมือขวาต้องอยู่ในแนวขนานกันตาแหน่งของหัวไม้อยู่กึ่งกลางลูกระนาด และเอียงตามทิศทางของผืนระนาด 3. การยกไม้ เสียงของระนาดเอกจะดังมากหรือน้อยขึ้นอยู่กับพลังในการตีควรยกไม้ระนาดให้สูงจากผืนระนาดประมาณ 6 นิ้วสาหรับตีฉากและ2 นิ้วสาหรับตีสิม 4. น้าหนักมือต้องลงน้าหนักของมือซ้ายและมือขวาให้เท่ากัน ลักษณะการตีระนาด[แก้] 1.ตีฉาก 2.ตีสิม 3.ตีครึ่งข้อครึ่งแขน 4.ตีข้อ วิธีการตีระนาด[แก้] 1.ตีกรอ 2.ตีสะบัด 3.ตีรัว 4.ตีกวาด 5.ตีขยี้ 6.ตีคาบลูกคาบดอก นักระนาดเอกที่มีชื่อเสียง[แก้] 1. พระเสนาะดุริยางค์(ขุนเณร) 2. ครูช้อย สุนทรวาทิน 3. ครูสินสินธุสาคร 4. ครูสินศิลปบรรเลง 5. พระยาเสนาะดุริยางค์(แช่มสุนทรวาทิน) 6. พระยาประสานดุริยศัพท์(แปลกประสานศัพท์) 7. หลวงประดิษฐไพเราะ(ศรศิลปบรรเลง) 8. พระเพลงไพเราะ(โสมสุวาทิต) 9. หลวงชาญเชิงระนาด(เงินผลารักษ์) 10. จางวางสวนชิดท้วม 11. ก่กุศลบุญเฟื่อง ระนาดเอก ระนาดเป็นเครื่องตีที่ทาด้วยไม้หรือเหล็กหรือทองเหลืองหลายๆอันเรียงเป็นลาดับกันบางอย่างก็ร้อยเชือกหัวท้ายแขวน บางอย่างก็วางเรียงกันเฉยๆ ระนาดเอกลูกระนาดทาด้วยไม้ไผ่บงหรือไม้ชิงชังไม้พะยูงและไม้มะหาดลูกระนาดฝานหัวท้ายและท้องตอนกลาง
  • 12. ตัดให้มีความยาวลดหลั่นกันตามลาดับของเสียงโดยปกติมี๒๑ลูกเรียงเสียงต่าสูงตามลาดับ ลูกระนาดทุกลูกเจาะรูร้อยเชือกหัวท้ายแขวนบนรางซึ่งมีรูปโค้งขึ้นมีเท้ารูปสี่เหลี่ยมตรงกลางสาหรับตั้งไม้สาหรับตีมี ๒อย่างคือ ไม้แข็ง (เมื่อต้องการเสียงดังแกร่งกร้าว)และไม้นวม(เมื่อต้องการเสียงเบาและนุ่มนวล) ระนาดเอก ระนาดทุ้มเป็นเครื่องดนตรีที่สร้างขึ้นมาในรัชกาลที่ 3 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ เป็นการสร้างเลียนแบบระนาดเอกใช้ไม้ชนิดเดียวกันกับระนาดเอกลูกระนาดทุ้มมีจานวน17หรือ18 ลูก ลูกต้นยาวประมาณ42ซมกว้าง6 ซมและลดหลั่นลงมาจนถึงลูกยอดที่มีขนาดยาว34ซมกว้าง5 ซม รางระนาดทุ้มนั้นประดิษฐ์ให้มีรูปร่างคล้ายหีบไม้ แต่เว้าตรงกลางให้โค้งโขนปิดหัวท้ายเพื่อเป็นที่แขวนผืนระนาดนั้น ถ้าหากวัดจากโขนด้านหนึ่งไปยังโขนอีกด้านหนึ่งรางระนาดทุ้มจะมีขนาดยาวประมาณ 124ซมปาก รางกว้างประมาณ22ซม มีเท้าเตี้ยรองไว้ 4 มุมราง หน้าที่ในวงของระนาดทุ้มนั้นทาหน้าที่เดินทานองรองในทางของตนเองซึ่งจะมีจังหวะโยนล้อขัด ที่ทาให้เกิดความไพเราะและเติมเต็มช่องว่างของเสียงอันเป็นเอกลักษณ์เฉพาะตัวของระนาดทุ้ม ระนาดทุ้มลูกระนาดเหมือนระนาดเอกแต่ใหญ่และยาวกว่ามี๑๗ลูกรางที่แขวนนั้นด้านบนโค้งขึ้น แต่ด้านล่างตรงขนานกับพื้นราบมีเท้าเล็กๆตรงมุม๔เท้า ไม้ตีใช้แต่ไม้นวม ระนาดทุ้ม การเทียบเสียงระนาดเอกและระนาดทุ้มเมื่อต้องการให้สูงต่าใช้ขี้ผึ้งผสมกับผงตะกั่วติดตรงหัวและท้ายด้านล่าง ถ่วงเสียงตามต้องการ
  • 13. กรับ เป็นเครื่องดนตรีไทยชนิดหนึ่งซึ่งกรับนั้นมีอยู่3 ชนิดด้วยกันคือกรับคู่ กรับพวง และกรับเสภา ประเภทของกรับ[แก้] กรับคู่ ทาด้วยไม้ไผ่ผ่าซีกเหลาให้เรียบและเกลี้ยงอย่าให้มีเสี้ยนมีรูปร่างแบนตามซีกไม้ไผ่หนาตามขนาดของเนื้อไม้ยาวประมาณ 40ซม ทาเป็น 2 อันหรือเป็นคู่ ใช้ตีให้ผิวกระทบกันทางด้านแบนเกิดเป็นเสียงกรับ กรับพวง เป็นกรับชนิดหนึ่งตอนกลางทาด้วยไม้บางๆหรือแผ่นทองเหลืองหรืองาหลายๆอันและทาไม้แก่น2 อันเจาะรูตอนหัวร้อยเชือกประกบไว้ 2ข้างเหมือนด้ามพัดเวลาตีใช้มือหนึ่งถือตรงหัวทางเชือกร้อยแล้วฟาดลงไปบนอีกฝ่ ามือหนึ่ง เกิดเป็นเสียงกรับขึ้นหลายเสียงจึงเรียกว่ากรับพวงใช้เป็นอานัตสัญญาณเช่นในการเสด็จออกในพระราชพิธีของพระเจ้าแผ่นดิน เจ้าพนักงานจะรัวกรับและใช้กรับพวงตีเป็นจังหวะในการขับร้องเพลงเรือดอกสร้อยและใช้บรรเลงขับร้องในการแสดง นาฏกรรมด้วย กรับเสภา ทาด้วยไม้แก่นเช่นไม้ชิงชันยาวประมาณ20 ซม หนาประมาณ5 ซม เหลาเป็นรูป4 เหลี่ยมแต่ลบเหลี่ยม ออกเพื่อมิให้บาดมือและให้สามารถกลิ้งตัวของมันเองกลอกกระทบกันได้โดยสะดวก ใช้บรรเลงประกอบในการขับเสภาเวลาบรรเลงผู้ขับเสภาจะใช้กรับเสภา 2คู่ รวม4 อัน ถือเรียงกันไว้บนฝ่ ามือของตนข้างละคู่ กล่าวขับเสภาไปพลางมือทั้ง2 ข้างก็ขยับกรับแต่ละข้างให้กลอกกระทบกันเข้าจังหวะกับเสียงขับเสภาจึงเรียกกรับชนิดนี้ว่า กรับเสภา กรับคู่ กรับเสภา กรับพวง โปงลาง เป็นเครื่องดนตรีประเภทเครื่องเคาะหรือเครื่องตีมีลักษณะคล้ายระนาดแต่แขวนในแนวดิ่ง เป็นที่นิยมในภาคอีสานบางท้องถิ่นอาจเรียกว่าหมากกลิ้งกล่อมหมากขอลอหรือ เกราะลอ(ผู้เฒ่าผู้แก่ในถิ่นดงมูลอาเภอหนองกุงศรีเรียก"หมากเต๋อเติ่น")เป็นเครื่องดนตรีประจาจังหวัดกาฬสินธุ์ ผู้พัฒนา นายเปลื้องฉายรัศมีศิลปินแห่งชาติสาขาศิลปะการแสดง(ดนตรีพื้นบ้าน)ประจาปี พ.ศ. 2529 ชาวจังหวัดกาฬสินธุ์ได้ทาการพัฒนาโปงลางจนมีลักษณะเช่นในปัจจุบันโดยได้พัฒนาโปงลางขึ้นจากเกราะลอ ซึ่งใช้เคาะส่งสัญญาณในท้องนา[1]
  • 14. พระมหากรุณาธิคุณ เมื่อวันที่ 26 กุมภาพันธ์พ.ศ. 2533 สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ได้เสด็จพระราชดาเนินมาทรงโปงลางที่วิทยาลัยนาฏศิลปกาฬสินธุ์จังหวัดกาฬสินธุ์ ซึ่งสร้างความปลื้มปิติแก่พสกนิกรชาวกาฬสินธุ์เป็นอย่างมากที่ได้มีโอกาสเฝ้ าชมบารมี ขณะที่ทรงโปงลางอันเป็นสัญลักษณ์ของชาวกาฬสินธุ์[2] ลายเดี่ยว ลายกาเต้นก้อน(ครูเปลื้องฉายรัศมีเป็นผู้แต่ง)[3] ลายลายนกไซบินข้ามทุ่ง วิธีทา โปงลาง นิยมทาจากไม้มะหาดหรือไม้หมากเหลื้อมเพราะเป็นไม้ที่มีความอยู่ตัวมากกว่าไม้อื่นๆวิธีการทาเอาไม้ที่แห้งแล้ว มาถากเหลาให้ได้ขนาดลดหลั่นกันตามเสียงที่ต้องการในระบบ5 เสียงโปงลาง1 ชุดจะมีจานวนประมาณ12 ลูก ใช้เชือกร้อยรวมกันเป็นผืนเวลาตีต้องนาปลายเชือกด้านหนึ่งไปผูกแขวนไว้กับเสาในลักษณะห้อยลงมา ส่วนปลายเชือกด้านล่างจะผูกไว้กับหลักหรือเอวของผู้ตีวิธีการเทียบเสียงโปงลางทาโดยการเหลาไม้ให้ได้ขนาด และเสียงตามต้องการยิ่งเหลาให้ไม้เล็กลงเท่าใดเสียงก็จะยิ่งสูงขึ้นในสมัยอดีตโปงลางนั้นมีด้วยกัน 5เสียงคือโด เรมี ซอล ลา แต่ในปัจจุบัน ได้มีการพัฒนาโดยนายเปลื้องฉายรัศมีโปงลางที่ได้มาตรฐานจะต้องมี6 เสียง13 ลูกคือ โดเร มี ฟาซอล ลา (ต่อมามีเสียงที ด้วย)ซึ่งแตกต่างจากระนาดซึ่งมีเจ็ดเสียงและมีการปรับแต่งเทียบเสียงด้วยการใช้ ตะกั่วผสมขี้ผึ้ง ถ่วงใต้ผืนระนาด เพื่อให้ได้ระดับเสียงตามที่ต้องการ การตี การบรรเลงหมากกลิ้งกล่อมหรือโปงลางนิยมใช้ผู้บรรเลงสองคนต่อเครื่องดนตรีหนึ่งชิ้นแต่ละคนใช้ไม้ตี 2 อัน มี หมอเคาะกับหมอเสิฟหมอเคาะคือผู้ที่ตีทานองของเพลงหรือลายนั้นส่วนหมอเสิฟคือผู้ที่ตีประสานจะตี2ลูก เช่นตี ลา-มี หรือซอล-เร เป็นต้น การเรียกชื่อเพลงที่บรรเลงด้วยโปงลางมักจะเรียกตามลักษณะและลีลาของเพลงโดย การสังเกตจากสภาพของธรรมชาติที่อยู่รอบๆตัวเช่น เพลง"ลายนกไซบินข้ามทุ่ง"เพลง"ลายกาเต้นก้อน"เพลง "ลายแมลงภู่ตอมดอกไม้"เป็นต้น วิวัฒนาการของวงโปงลาง แต่เดิมเครื่องดนตรีพื้นบ้าน ยังไม่มีการผสมวงกันแต่อย่างใดใช้เล่นเป็นเครื่องเดี่ยวตามความถนัดของนักดนตรีที่มีอยู่ตามท้องถิ่นต่างๆ โอกาสที่จะมาร่วมเล่นด้วยกันได้ก็ต่อเมื่อมีงานบุญหรืองานประเพณีต่างๆเช่นบุญเผวด จะมีการแห่กันหลอนของแต่ละคุ้มหรือแต่ละหมู่บ้านมาที่วัดคุ้มไหนหรือหมู่บ้านไหนมีนักดนตรีอะไรก็จะใช้บรรเลงและแห่ต้นกันหลอน มาที่วัดพอมาถึงวัดก็จะมีการผสมผสานกันของแต่ละเครื่องมือเช่นพิณแคนซอ กลองเป็นต้น หลังจากผสมผสานกันโดยไม่ได้ตั้งใจแล้วก็จะแลกเปลี่ยนและถ่ายทอดเชื่อมเข้าหากันโดยเฉพาะนักดนตรีจะไปมาหาสู่กันร่วมกันเล่น ร่วมกันสร้างในที่สุดก็กลายเป็นวงดนตรีและมีการพัฒนาขึ้นเรื่อยๆเช่นวงโปงลางปี พ.ศ. 2505 หลังจากอาจารย์เปลื้องฉายรัศมี ซึ่งเป็นผู้ที่สนใจและศึกษาพัฒนาการตีและการทาเกราะลอจนเปลี่ยนชื่อมาเป็นโปงลางและได้รับความนิยมจากชาวบ้านโดยทั่วไป จากนั้นอาจารย์เปลื้องได้เกิดแนวความคิดในการนาเอาเครื่องดนตรีอีสานชนิดอื่นๆมาบรรเลงรวมกันกับโปงลาง จึงได้รวบรวมสมัครพรรพวกที่ชอบเล่นดนตรี มาบรรเลงรวมกันปรากฏว่าเป็นที่แตกตื่นของชาวบ้าน พอตกเย็นก็จะมีคนมามุงดูขอให้บรรเลงให้ฟังแต่ละวันหมดยาเส้นไปหลายหีบทาให้ได้รับความนิยม
  • 15. และเป็นที่สนใจของชาวบ้านเป็นอย่างมากจนมีผู้ว่าจ้างไปบรรเลงเป็นครั้งแรกเนื่องในงานอุปสมบทณบ้านปอแดง ตาบลอุ่นเม่า อาเภอเมือง จังหวัดกาฬสินธุ์ในราคา 40บาท เป็นที่ชื่นชอบของของผู้ที่พบเห็นและได้ฟังจากงานอุปสมบทของบ้านปอแดง และได้รับการติดต่อให้ไปแสดงอีกในหลายๆที่ปี พ.ศ. 2511 อาจารย์เปลื้องฉายรัศมี ได้นาคณะโปงลางไปร่วมแสดงเพื่อเฉลิมพระเกียรติเนื่องในวันเฉลิมพรรษา 5ธันวามหาราชจึงมีโอกาสที่ทาให้ได้พบกับนายประชุม อิทรตุล ป่าไม้อาเภอยางตลาดซึ่งนายประชุมได้นาวงดนตรีสากลมาร่วมบรรเลงประกอบลีลาศ มหรสพที่แสดงในคืนนั้นมีคณะหมอลาหมู่ซึ่งหัวหน้าหมอลาเป็นเพื่อนอาจารย์เปลื้องทั้งสองจึงไปขอยืมกลองชุดสากล เพื่อนาไปเล่นเข้ากับหมอลานายประชุมจึงไม่ขัดข้องแต่ต้องให้วงลีลาศเลิกก่อน หมอลาก็ทาการแสดงไปก่อนได้ครึ่งคืนก็ต้องพักทานข้าวตอนดึกจึงทาให้เกิดช่องว่างของเวทีผู้คนก็ยังไม่กลับยังรอดูหมอลาต่อ อาจารย์เปลื้องฉายรัศมีจึงได้นาเอาโปงลางที่ตนนามาขึ้นแขวนบนต้นเสาของเวทีในขณะนั้นหัวหน้าหมอลาก็ยังไม่รู้จัก และไม่เคยเห็นโปงลางมาก่อนทุกคนก็เกิดความสงสัยว่าอาจารย์เปลื้องนาอะไรขึ้นมาแขวนกับต้นเสาบนเวที แต่พอคณะโปงลางบรรเลงขึ้นทุกคนต่างตกตะลึงและสงสัยว่าสิ่งที่กาลังตีอยู่ในขณะนั้นคืออะไร หลังจากหมอลากินข้าวเสร็จผู้ชมก็ยังไม่ยอมให้เลิกเล่นขอให้เล่นต่อแทนหมอลาไปเลยก็ได้ จากการแสดงในครั้งนั้นนี่เองนายประชุม ได้ชวนอาจารย์เปลื้องไปอยู่ด้วยโดยฝากให้เข้าทางานที่โรงเลื่อยยางตลาดนายประชุมอินทรตุลจึงได้สนับสนุนและตั้งวงโปงลางขึ้น ชื่อว่าวงโปงลางกาฬสินธุ์โดยมอบหมายให้อาจารย์เปลื้องเป็นหัวหน้าวงจากผลงานการแสดงที่หลังจากตั้งวงแล้วไม่นานนายบุรี พรหมลักขโนผู้ว่าราชการจังหวัดกาฬสินธุ์ได้ติดต่อให้นาโปงลางไปแสดงออกรายการทีวีช่อง5จังหวัดขอนแก่นเพื่อเป็นการเผยแพร่ และท่านได้แนะนาว่าน่าจะมีชุดฟ้ อนราไปด้วยจะน่าดูยิ่งขึ้นนายประชุมอิทรตุลจึงมอบหมายให้คุณเกียงบ้านสูงเนินคุณลดาวัลย์ สิงห์เรือง(ผู้ช่วยผู้อานวยการวิทยาลัยนาฏศิลปะกาฬสินธุ์ในขณะนั้น)และภรรยาของนายประชุมเองฝึกชุดฟ้ อนชุดแรกคือราซวยมือ ชุดที่สอง คือ ชุดเซิ้งภูไท ชุดเซิ้งสวิงชุดบายศรีสู่ขวัญและไทภูเขาต่อมาคณะโปงลางกาฬสินธุ์ได้มีโอกาสไปแสดงณวังสวนจิตลดา วังละโว้ วังสวนผักกาดวังสราญรมย์ และแสดงเผยแพร่ในมหาลัยต่างๆhttp://www.youtube.com/watch?v=wm9AJSz39CY&feature=share การเล่นเป็นคณะโปงลางนั้นนอกจากจะใช้บรรเลงตามลาพังแล้วยังนิยมใช้บรรเลงเป็นวงร่วมกับเครื่องดนตรีอื่นๆเช่นพิณแคน กลอง เพื่อการฟังและใช้บรรเลงประกอบการฟ้ อนพื้นบ้านอีสานได้เป็นอย่างดีต่อมาภายหลังอาจารย์เปลื้องฉายรัศมี ซึ่งเป็นศิลปินแห่งชาติได้ประยุกต์วงโปงลางขึ้นใหม่โดยนากระดึงผูกคอวัวที่เป็นโลหะมาแขวนเรียงแทนลูกโปงลางเดิมที่ทาด้วยไม้ ทาให้เกิดมิติของเสียงที่แตกต่างจากการบรรเลงโปงลางแบบเดิมนับเป็นต้นแบบของ การพัฒนาโปงลางในระยะต่อมาเช่น การทาลูกโปงลางด้วยแผ่นทองเหลืองขนาดต่างๆเรียกว่า"หมากกะโหล่ง"รวมถึงการนาเอาไม้ไผ่มาเหลาให้มีขนาดลดหลั่นกัน เรียกว่า"โปงลางไม้ไผ่"และการนาเอาท่อเหล็กมาทาเป็น"โปงลางเหล็ก"ด้วย ทาให้เสียงมีความแตกต่างมากขึ้นและได้นามาเล่นผสมวงกันเกิดเป็นวง หมากกะโหล่งโปงลางโดยวิทยาลัยนาฏศิลปกาฬสินธุ์ การประกวด เป็นการจัดประกวดตามเทศการต่างๆหรือจัดการประกวดตามสถานที่ต่างๆเช่น การประกวดชิงถ้วยพระราชทานสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯสยามบรมราชกุมารี (ประเภทก.ประชาชนทั่วไป) สมเด็จพระเจ้าลูกเธอเจ้าฟ้ าจุฬาภรณวลัยลักษณ์ อัครราชกุมารี (ประเภทข.นักเรียนมัธยม) พระเจ้าวรวงศ์เธอพระองค์เจ้าโสมสวลีพระวรราชาทินัดดามาตุ (ประเภทค.นักเรียนประถม)ในงานประจาปีจังหวัดกาฬสินธุ์ "มหกรรมโปงลางแพรวาและงานกาชาดจังหวัดกาฬสินธุ์"[4]
  • 16. โปงลาง ระนาดเอกเหล็กเป็นเครื่องดนตรีที่ประดิษฐ์ขึ้นในรัชกาลที่4แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ แต่เดิมลูกระนาดทาด้วยทองเหลืองจึงเรียกกันว่าระนาดทองในเวลาต่อมาได้มีการประดิษฐ์ลูกระนาดด้วยเหล็กระนาดเอกเหล็กมี จานวน 20 หรือ21 ลูกโดยวางไว้บนรางที่มีไม้ระกาวางพาดไปตามของรางหากไม่มีไม้ระกา ก็อาจใช้ผ้าพันไม้แล้วนามารองลูกระนาดก็ได้ ลูกต้นของระนาดเอกเหล็กมีขนาด23.5ซมกว้างประมาณ5ซม ลดหลั่นขึ้นไปจนถึงลูกยอดที่มีขนาด19ซมกว้างประมาณ4ซมรางของระนาดเอกเหล็กนั้นทาเป็นรูปสี่เหลี่ยมมีเท้ารองรับไว้ทั้ง 4 ด้านหรืออาจใส่ลูกล้อเพื่อสะดวกในการขนย้ายก็ได้ ระนาดเอกเหล็กลูกระนาดทาด้วยเหล็กวางเรียงบนรางไม่ต้องเจาะรูร้อยเชือกมี๒๐ลูกหรือมากกว่านั้น ถ้าลูกระนาดทาด้วยทองเหลืองก็เรียกว่าระนาดทอง ระนาดเอกเหล็กบรรเลงเหมือนระนาดเอกทุกประการ เพียงแต่ไม่ได้ทาหน้าที่ผู้นา ระนาดเอกเหล็ก ระนาดทุ้มเหล็กเป็นเครื่องดนตรีที่พระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัว ในรัชกาลที่4มีพระราชดาริให้สร้างขึ้น ลูกระนาดทาอย่างเดียวกับระนาดเอกเหล็กระนาดทุ้มเหล็กมีจานวน16หรือ17 ลูกลูกต้นยาวประมาณ35ซมกว้างประมาณ6 ซมและลดหลั่นลงไปจนถึงลูกยอดซึ่งยาวประมาณ 29ซมกว้างประมาณ5.5ซม ตัวรางระนาดยาวประมาณ 1เมตรปากราง กว้างประมาณ20ซมมีชานยื่นออกไปสองข้างรางถ้านับส่วนกว้างรวมทั้งชานทั้งสองข้างด้วยรางระนาดทุ้มเหล็กจะกว้างประมาณ 36 ซม มีเท้ารองติดลูกล้อ4เท้า เพื่อให้เคลื่อนที่ไปมาได้สะดวกตัวรางสูงจากพื้นถึงขอบบนประมาณ 26ซมระนาด ทุกชนิดที่กล่าวมานั้นจะใช้ไม้ตี2 อัน ระนาดทุ้มเหล็กเหมือนระนาดเอกเหล็กทุกประการนอกจากลูกระนาดใหญ่และยาวกว่ามี ๑๗ลูกถ้าทาด้วยทองเหลืองก็เรียก ระนาดทุ้มทองการเทียบเสียงระนาดเอกเหล็กและระนาดทุ้มเหล็กนี้ใช้ตะไบถูหัวท้ายด้านล่างและท้องลูกระนาด ไม่ใช้ขี้ผึ้งผสมผงตะถั่วติดเมื่อต้องการให้ลูกไหนเสียงสูงขึ้นก็ตะไบหัวหรือท้ายให้บางถ้าต้องการให้ต่าก็ตะไบท้องให้บาง ระนาดทุ้มเหล็กทาหน้าที่เดินทานองคล้ายฆ้องวงใหญ่ เพียงแต่เดินทานองห่างกว่า
  • 17. ระนาดทุ้มเหล็ก ฆ้อง ตัวฆ้องทาด้วยโลหะแผ่นรูปวงกลมตรงกลางทาเป็นปุ่มนูนเพื่อใช้รองรับการตีให้เกิดเสียงเรียกว่าปุ่มฆ้อง ต่อจากปุ่มเป็นฐานแผ่ออกไปแล้วงองุ้มลงมาโดยรอบเรียกว่า"ฉัตร"ส่วนที่เป็นพื้นราบรอบปุ่มเรียกว่า"หลังฉัตร"หรือ"ชานฉัตร" ส่วนที่งอเป็นขอบเรียกว่า"ใบฉัตร"ที่ใบฉัตรนี้จะมีรูเจาะสาหรับร้อยเชือกหรือหนังเพื่อแขวนฆ้องถ้าแขวนตีทางตั้งจะเจาะสองรู ถ้าแขวนตีทางนอนจะเจาะสี่รู การบรรเลงฆ้องใช้ในการบรรเลงได้สองลักษณะคือใช้ตีกากับจังหวะและใช้ตีดาเนินทานอง ฆ้องที่ใช้ตีกากับจังหวะได้แก่ ฆ้องหุ่ย หรือฆ้องชัย ฆ้องโหม่ง ฆ้องเหม่ง ฆ้องระเบ็ง และฆ้องคู่ ฆ้องที่ใช้ตีดาเนินทานอง ได้แก่ ฆ้องราง ฆ้องวงใหญ่ ฆ้องวงเล็กฆ้องมโหรี ฆ้องมอญ ฆ้องกะแตและฆ้องหุ่ยหรือฆ้องชัย ฆ้องกะแต ใช้บรรเลงในวงปี่พาทย์มอญลูกฆ้องมีขนาดเล็ก จานวน๑๑ลูก ฆ้อง ทาด้วยโลหะเป็นแผ่นกลมตรงกลางมีปุ่มกลมนูนขึ้นสาหรับตีขอบนอกหักมุมลงรอบตัวเป็นรูปเหมือนฉัตรมีหลายชนิดคือ ฆ้องวงใหญ่เป็นเครื่องดนตรีที่วิวัฒนาการมาจากฆ้องรางของอินโดนีเซีย สันนิษฐานว่ามีมาตั้งแต่สมัยสุโขทัยส่วนประกอบของฆ้องวงใหญ่ประกอบด้วยลูกฆ้องและวงฆ้องลูกฆ้องมี16 ลูกทาจากทองเหลืองเรียงจากลูกเล็กด้านขวาวงฆ้องสูงประมาณ 24เซนติเมตรใช้หวายโป่งทาเป็นราง ให้หวายเส้นนอกกับเส้นในห่างกัน14-17เซนติเมตรใช้หวาย4 อัน ด้านล่าง2อันขดเป็นวงขนานกัน เว้นที่ไว้ให้นักดนตรีเข้าไปบรรเลง ฆ้องวงใหญ่เป็นเครื่องดนตรีที่สาคัญที่สุดเพราะคนที่จะเล่นดนตรีในวงปี่พาทย์ต้องมาเรียนฆ้องวงใหญ่ก่อน ฆ้องวงใหญ่ทาหน้าที่เดินทานองหลักซึ่งถือเป็นแม่บทของเพลง ฆ้องวงใหญ่มี ๑๖ลูก ขนาดลดหลั่นกันไปตามลาดับลูกต้นขนาดใหญ่ เสียงต่าอยู่ทางซ้ายของผู้ตีลูกยอดขนาดเล็กเสียงสูง อยู่ทางขวาของผู้ตีทุกลูกผูกบนร้านซึ่งทาเป็นวงรอบตัว คนตีเว้นด้านหลังไว้ ผู้ตีนั่งในกลางวงตีด้วยไม้ที่ทาด้วยแผ่นหนังหนา ตัดเป็นวงกลมมีด้ามเสียบตรงรูกลางแผ่นหนัง ฆ้องวงใหญ่ใช้เล่นในวงปี่พาทย์วงปี่พาทย์นางหงส์และวงมโหรี ฆ้องวงใหญ่
  • 18. ฆ้องวงเล็กเป็นเครื่องดนตรีไทยสร้างในสมัยรัชกาลที่3มีลักษณะเหมือนกับฆ้องวงใหญ่ แต่ลูกฆ้องมีขนาดเล็กกว่ามีลูกฆ้อง 18 ลูกบรรเลงทานองคล้ายระนาดเอกแต่ตีเก็บถี่กว่าระนาดเอก ฆ้องวงเล็กใช้วงปี่พาทย์ไม้แข็งวงปี่พาทย์ไม้นวมวงปี่พาทย์นางหงส์และวงมโหรี ฆ้องวงเล็ก รูปร่างลักษณะเหมือนฆ้องวงใหญ่ แต่มีขนาดเล็กกว่าเท่านั้น มีจานวนลูกฆ้อง ๑๘ลูก การเทียบเสียงฆ้องวงใหญ่และฆ้องวงเล็กนี้ใช้ขี้ผึ้งผสมกับผงตะกั่วติดตรงด้านล่างของ ปุ่มฆ้อง เพื่อให้ได้เสียงสูงต่าตามต้องการ ฆ้องวงเล็ก ฆ้องมอญเป็นเครื่องดนตรีที่ได้รับอิทธิพลมาจากมอญมีลักษณะตั้งโค้งขึ้นไปไม่ตั้งราบกับพื้นแบบฆ้องไทย วงฆ้องทาจากไม้แกะสลักปิดทองอย่างสวยงามทางโค้งด้านซ้ายของผู้ตีแกะเป็นรูปต่างๆตามต้องการแต่ส่วนใหญ่จะนิยมรูปเทวดา ทางโค้งด้านขวาทาเป็นรูปปลายหางมีเท้ารองตรงกลางเหมือนระนาดเอกฆ้องมอญมีลูกฆ้อง15 ลูก แต่ฆ้องมอญจะไม่เรียงเสียงเหมือนฆ้องไทยในบางช่วงมีการข้ามเสียงเรียกเสียงที่ข้ามว่า"หลุม" ฆ้องมอญทาหน้าที่เดินทานองเพลงเช่นเดียวกับฆ้องวงใหญ่ของไทยฆ้องมอญมี2 ขนาดเหมือนกับฆ้องไทยคือ ฆ้องมอญใหญ่และฆ้องมอญเล็ก ฆ้องมอญใช้เล่นในวงปี่พาทย์มอญ ฆ้องมอญ
  • 19. ฆ้องระเบ็ง ใช้ตีประกอบการและแสดงระเบ็งชุดหนึ่งมีสามลูกมีขนาดและให้เสียงสูง-ต่าต่างกันมีชื่ออีกอย่างหนึ่งตามลักษณะว่า "ฆ้องราว"ฆ้องราง ใช้ตีดาเนินทานองชุดหนึ่งมี ๗-๘ ลูกเสียงลูกที่๑ กับลูกที่๘เป็นเสียงเดียวกันแต่ต่างระดับเสียง ปัจจุบันไม่มีการใช้ในวงดนตรีไทย ฆ้องระเบ็ง ฆ้องมโหรี เป็นฆ้องวงที่ใช้บรรเลงในวงมโหรีโดยเฉพาะมีอยู่สองขนาดคือฆ้องวงใหญ่มโหรีและฆ้องวงเล็กมโหรี ฆ้องวงใหญ่มโหรีเดิมมีลูกฆ้อง๑๗ลูก ต่อมานิยมใช้ ๑๘ลูก ฆ้องมโหรี ฆ้องหุ่ย ฆ้องหุ่ย ใช้ตีกากับจังหวะเป็นฆ้องที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในวงดนตรีไทยมีอีกชื่อว่าฆ้องชัย อาจเป็นเพราะสมัยโบราณ ใช้ฆ้องชนิดนี้ตีเป็นสัญญาณในกองทัพปัจจุบันใช้ตีในงานพิธีงานมงคลต่างๆ