SlideShare a Scribd company logo
1 of 8
Download to read offline
บทที่ 2
ธรรมชาติและองค์ประกอบของดนตรีสากล
ธรรมชาติของดนตรี
ดนตรี คืองานทางศิลปะที่มนุษย์สร้างขึ้นโดยอาศัยเสียงเป็นสื่อถ่ายทอด
ความรู้สึกของศิลปิน เสียงดนตรีเป็นเสียงที่มีความงามที่ถูกนามาเรียบเรียงขึ้น
เป็นบทเพลงอย่างมีศิลปะหรืออาจกล่าวได้ว่าดนตรีคือเสียงที่นามาเรียบเรียงให้ผสม
กลมกลืนกันโดยมีทานอง จังหวะ และเสียงประสานประกอบเข้าด้วยกันตามหลักวิชา
ดนตรี มีจุดประสงค์เพื่อให้มีความไพเราะน่าฟัง
ความแตกต่างระหว่างเสียงดนตรีกับเสียงอื่น ๆ คือ เสียงดนตรีเป็นเสียง
ที่ประดิษฐ์ขึ้นโดยอาศัยความงดงามของเสียง ศิลปินผู้ประดิษฐ์เสียงได้สอดใส่อารมณ์
ลงไปในทานอง (Melody) ส่วนเสียงอื่น ๆ (Noise) ที่ไม่ใช่เสียงดนตรีนั้นเป็นเสียงที่
ขาดคุณสมบัติทางศิลปะ เช่น เสียงแตรรถยนต์ เสียงจ้อกแจ้กจอแจในตลาด เป็นต้น
ผู้รู้ทางดนตรีหลายท่านได้เสนอแนวคิดเกี่ยวกับธรรมชาติของดนตรีไว้
หลายลักษณะแต่จะขอกล่าวโดยสังเขป ดังนี้
1. ดนตรีเกิดจากการแสดงออกทางอารมณ์ของมนุษย์เช่น เมื่อเกิดความพอใจ
สนุกสนานก็จะเปล่งเสียงออกมา ปรบมือ กระทืบเท้า ใช้ไม้เคาะ นานเข้าก็จะหาวิธีทา
ให้เกิดเสียงแปลก ๆ โดยใช้เครื่องมือต่าง ๆ เข้าช่วย ด้วยเหตุนี้เครื่องดนตรีในชุดแรก ๆ
จึงมีไม่กี่เสียง จังหวะก็ง่าย ๆ ไม่ซับซ้อน

6
2. ดนตรีเป็นเรื่องของศิลปะที่เกี่ยวกับเสียงที่มนุษย์สร้างขึ้น โดยมนุษย์
อาจเลียนเสียงมาจากธรรมชาติ แล้วนาเสียงนั้นมาเรียบเรียงให้เป็นระเบียบและที่สาคัญ
ดนตรีต้องมีอารมณ์ในการที่จะสื่อไปยังผู้ฟัง
3. ดนตรีมีธรรมชาติที่แตกต่างไปจากศิลปะแขนงอื่น ๆ เช่น ดนตรีเป็นสื่อ
ทางอารมณ์ที่สัมผัสได้ด้วยหู ดนตรีเป็นส่วนหนึ่งของวัฒนธรรม ดนตรีเป็นเรื่องของ
สุนทรียศาสตร์ว่าด้วยความไพเราะและดนตรีเป็นเรื่องของการแสดงออกทางอารมณ์
เป็นต้น
องค์ประกอบของดนตรีสากล
ดนตรีไม่ว่าจะเป็นของชาติใด ภาษาใด ล้วนมีพื้นฐานมาจากส่วนต่าง ๆ
เหล่านี้ทั้งสิ้นความแตกต่างในรายละเอียดของแต่ละส่วนแต่ละวัฒนธรรมนั้น เป็นสิ่งที่
เกิดขึ้นจริง แต่การที่จะแตกต่างกันอย่างไรนั้น กรอบวัฒนธรรมของแต่ละสังคมจะเป็น
ปัจจัย ที่กาหนดให้ตรงตามรสนิยมของแต่ละวัฒนธรรมจนเป็นผลให้สามารถแยกแยะ
ดนตรีของชาติหนึ่งแตกต่างจากดนตรีของอีกชาติหนึ่งอย่างไร
องค์ประกอบของดนตรีสากล ประกอบด้วย
1. เสียง (Tone)
คีตกวีผู้สร้างสรรค์ดนตรี เป็นผู้ใช้เสียงในการสร้างสรรค์ผลิตงานศิลปะ
เพื่อรับใช้สังคม ผู้สร้างสรรค์ดนตรีสามารถสร้างเสียงที่หลากหลายโดยอาศัยวิธีการผลิต
เสียงเป็นปัจจัยกาหนด เช่น การดีด การสี การตี การเป่า เสียงเกิดจากการสั่นสะเทือน
ของอากาศที่เป็นไปอย่างสม่าเสมอ ส่วนเสียงอึกทึกหรือเสียงรบกวน (Noise) เกิดจาก
การสั่นสะเทือนของอากาศที่ไม่สม่าเสมอ ลักษณะความแตกต่างของเสียงขึ้นอยู่กับ
คุณสมบัติสาคัญ 4 ประการ คือ ระดับเสียง ความยาวของเสียง ความเข้มของเสียง
และคุณภาพของเสียง
7
1.1 ระดับเสียง (Pitch) หมายถึง ระดับความสูง-ต่าของเสียง ซึ่งเกิดจาก
จานวนความถี่ของการสั่นสะเทือน กล่าวคือ ถ้าเสียงที่มีความถี่สูง ลักษณะการ
สั่นสะเทือนเร็ว จะส่งผลให้มีระดับเสียงสูง แต่ถ้าหากเสียงมีความถี่ต่า ลักษณะการ
สั่นสะเทือนช้าจะส่งผลให้มีระดับเสียงต่า
1.2 ความสั้น-ยาวของเสียง (Duration) หมายถึง คุณสมบัติที่เกี่ยวกับ
ความยาว-สั้นของเสียง ซึ่งเป็นคุณสมบัติที่สาคัญอย่างยิ่งของการกาหนดลีลา จังหวะ
ในดนตรีตะวันตก การกาหนดความสั้น-ยาวของเสียง สามารถแสดงให้เห็นได้จาก
ลักษณะของตัวโน้ต เช่น โน้ตตัวกลม ตัวขาว และตัวดา เป็นต้น
1.3 ความเข้มของเสียง (Intensity) ความเข้มของเสียงเกี่ยวข้องกับน้าหนัก
ของความหนักเบาของเสียง ความเข้มของเสียงจะเป็นคุณสมบัติที่ก่อประโยชน์
ในการเกื้อหนุนเสียงให้มีลีลาจังหวะที่สมบูรณ์
1.4 คุณภาพของเสียง (Quality) เกิดจากคุณภาพของแหล่งกาเนิดเสียง
ที่แตกต่างกัน ปัจจัยที่ทาให้คุณภาพของเสียงเกิดความแตกต่างกันนั้น เกิดจาก
หลายสาเหตุ เช่น วิธีการผลิตเสียง รูปทรงของแหล่งกาเนิดเสียงและวัสดุที่ใช้ทา
แหล่งกาเนิดเสียง ปัจจัยเหล่านี้ก่อให้เกิดลักษณะคุณภาพของเสียง ซึ่งเป็นหลักสาคัญให้
ผู้ฟังสามารถแยกแยะสีสันของเสียง (Tone Color) ระหว่างเครื่องดนตรีเครื่องหนึ่งกับ
เครื่องหนึ่งได้อย่างชัดเจน
8
2. พื้นฐานจังหวะ (Element of Time)
จังหวะเป็นศิลปะของการจัดระเบียบเสียง ที่เกี่ยวข้องกับความช้าเร็ว
ความหนักเบาและความสั้น-ยาว องค์ประกอบเหล่านี้ หากนามาร้อยเรียง ปะติดปะต่อ
เข้าด้วยกันตามหลักวิชาการเชิงดนตรีแล้ว สามารถที่จะสร้างสรรค์ให้เกิดลีลาจังหวะ
อันหลากหลาย ในเชิงจิตวิทยา อิทธิพลของจังหวะที่มีผลต่อผู้ฟังจะปรากฏพบใน
ลักษณะของการตอบสนองเชิงกายภาพ เช่น ฟังเพลงแล้วแสดงอาการกระดิกนิ้ว ปรบมือ
ร่วมไปด้วย
3. ทานอง (Melody)
ทานองเป็นการจัดระเบียบของเสียงที่เกี่ยวข้องกับความสูง-ต่า ความสั้น-ยาว
และความดัง-เบา คุณสมบัติเหล่านี้เมื่อนามาปฏิบัติอย่างต่อเนื่องบนพื้นฐานของ
ความช้า-เร็ว จะเป็นองค์ประกอบของดนตรีที่ผู้ฟังสามารถทาความเข้าใจได้ง่ายที่สุด
ในเชิงจิตวิทยา ทานองจะกระตุ้นผู้ฟังในส่วนของสติปัญญา ทานองจะมีส่วนสาคัญ
ในการสร้างความประทับใจ จดจา และแยกแยะความแตกต่างระหว่างเพลงหนึ่ง
กับอีกเพลงหนึ่ง
4. พื้นผิวของเสียง (Texture)
“พื้นผิว” เป็นคาที่ใช้อยู่ทั่วไปในวิชาการด้านวิจิตรศิลป์ หมายถึง ลักษณะ
พื้นผิวของสิ่งต่าง ๆ เช่น พื้นผิวของวัสดุที่มีลักษณะขรุขระ หรือเกลี้ยงเกลา ซึ่งอาจจะ
ทาจากวัสดุที่ต่างกัน ในเชิงดนตรีนั้น “พื้นผิว” หมายถึง ลักษณะหรือรูปแบบของเสียง
ทั้งที่ประสานสัมพันธ์และไม่ประสานสัมพันธ์ โดยอาจจะเป็นการนาเสียงมาบรรเลง
ซ้อนกันหรือพร้อมกัน ซึ่งอาจพบทั้งในแนวตั้งและแนวนอน ตามกระบวนการประพันธ์
เพลง ผลรวมของเสียงหรือแนวทั้งหมดเหล่านั้น จัดเป็นพื้นผิวตามนัยของดนตรีทั้งสิ้น
ลักษณะรูปแบบพื้นผิวของเสียงมีอยู่หลายรูปแบบ ดังนี้
9
4.1 Monophonic Texture เป็นลักษณะพื้นผิวของเสียงที่มีแนวทานอง
เดียว ไม่มีเสียงประสาน พื้นผิวเสียงในลักษณะนี้ถือเป็นรูปแบบการใช้แนวเสียงของ
ดนตรีในยุคแรก ๆ ของดนตรีในทุกวัฒนธรรม
4.2 Polyphonic Texture เป็นลักษณะพื้นผิวของเสียงที่ประกอบด้วย
แนวทานองตั้งแต่สองแนวทานองขึ้นไป โดยแต่ละแนวมีความเด่นและเป็นอิสระจากกัน
ในขณะที่ทุกแนวสามารถประสานกลมกลืนไปด้วยกัน ลักษณะแนวเสียงประสานในรูป
ของ Polyphonic Texture มีวิวัฒนาการมาจากเพลงชานท์ (Chant) ซึ่งมีพื้นผิวเสียง
ในลักษณะของเพลงทานองเดียว (Monophonic Texture) ภายหลังได้มีการเพิ่มแนว
ขับร้องเข้าไปอีกหนึ่งแนว แนวที่เพิ่มเข้าไปใหม่นี้จะใช้ระยะขั้นคู่ 4 และคู่ 5 และดาเนิน
ไปในทางเดียวกับเพลงชานท์เดิม การดาเนินทานองในลักษณะนี้เรียกว่า “ออร์กานุ่ม”
(Orgonum) นับได้ว่าเป็นยุคเริ่มต้นของการประสานเสียงแบบ Polyphonic Texture
หลังจากคริสต์ศตวรรษที่ 14 เป็นต้นมา แนวทานองประเภทนี้ได้มีการพัฒนาก้าวหน้าไป
มาก ซึ่งเป็นระยะเวลาที่การสอดทานอง (Counterpoint) ได้เข้าไปมีบทบาทเพิ่มมากขึ้น
ในการตกแต่งพื้นผิวของแนวทานองแบบ Polyphonic Texture
4.3 Homophonic Texture เป็นลักษณะพื้นผิวของเสียง ที่ประสานด้วย
แนวทานองแนวเดียวโดยมีกลุ่มเสียง (Chords) ทาหน้าที่สนับสนุน ในคีตนิพนธ์
ประเภทนี้ แนวทานองมักจะเคลื่อนที่ในระดับเสียงสูงที่สุดในบรรดากลุ่มเสียงด้วยกัน
ในบางโอกาสแนวทานองอาจจะเคลื่อนที่ในระดับเสียงต่าได้เช่นกัน ถึงแม้ว่าคีตนิพนธ์
ประเภทนี้จะมีแนวทานองที่เด่นเพียงทานองเดียวก็ตาม แต่กลุ่มเสียง (Chords) ที่ทา
หน้าที่สนับสนุนนั้น มีความสาคัญที่ไม่น้อยไปกว่าแนวทานอง การเคลื่อนที่ของแนว
ทานอง จะเคลื่อนไปในแนวนอน ในขณะที่กลุ่มเสียงสนับสนุนจะเคลื่อนไปในแนวตั้ง
10
4.4 Heterophonic Texture เป็นรูปแบบของแนวเสียงที่มีทานอง
หลายทานอง แต่ละแนวมีความสาคัญเท่ากันทุกแนว คาว่า Heteros เป็นภาษากรีก
หมายถึงแตกต่างหลากหลาย ลักษณะการผสมผสานของแนวทานองในลักษณะนี้
เป็นรูปแบบการประสานเสียง
5. สีสันของเสียง (Tone Color)
“สีสันของเสียง” หมายถึง คุณลักษณะของเสียงที่กาเนิดจากแหล่งเสียงที่
แตกต่างกัน แหล่งกาเนิดเสียงดังกล่าว เป็นได้ทั้งที่เป็นเสียงร้องของมนุษย์และ
เครื่องดนตรีชนิดต่าง ๆ ความแตกต่างของเสียงร้องมนุษย์ไม่ว่าจะเป็นระหว่างเพศชาย
กับเพศหญิงหรือระหว่างเพศเดียวกัน ซึ่งล้วนแล้วแต่มีพื้นฐานของความแตกต่าง
ทางด้านสรีระ เช่น หลอดเสียงและกล่องเสียง เป็นต้น
ในส่วนที่เกี่ยวข้องกับเครื่องดนตรีนั้น ความหลากหลายด้านสีสันของเสียง
ประกอบด้วยปัจจัยที่แตกต่างกันหลายประการ เช่น วิธีการบรรเลง วัสดุที่ใช้ทา
เครื่องดนตรี รวมทั้งรูปทรงและขนาด ปัจจัยเหล่านี้ล้วนส่งผลโดยตรงต่อสีสันของเสียง
เครื่องดนตรี ทาให้เกิดคุณลักษณะของเสียงที่แตกต่างกันออกไป
5.1 วิธีการบรรเลง อาศัยวิธีดีด สี ตี และเป่า วิธีการผลิตเสียงดังกล่าวล้วน
เป็นปัจจัยให้เครื่องดนตรีมีคุณลักษณะของเสียงที่ต่างกัน
5.2 วัสดุที่ใช้ทาเครื่องดนตรี วัสดุที่ใช้ทาเครื่องดนตรีของแต่ละวัฒนธรรม
จะแตกต่างกันไปตามสภาพแวดล้อมของสังคมและยุคสมัย วัสดุที่ใช้ทาเครื่องดนตรีที่
แตกต่างกัน นับเป็นปัจจัยที่สาคัญประการหนึ่งที่ส่งผลให้เกิดความแตกต่างในด้านสีสัน
ของเสียง
11
5.3 ขนาดและรูปทรง ลักษณะของเครื่องดนตรีที่มีรูปทรงและขนาดที่
แตกต่างกันจะเป็นปัจจัยที่ส่งผลให้เกิดความแตกต่างกันในด้านสีสันของเสียงในลักษณะ
ที่มีความสัมพันธ์กัน
6. คีตลักษณ์ (Forms)
คีตลักษณ์หรือรูปแบบของเพลง เปรียบเสมือนกรอบที่หลอมรวมเอาจังหวะ
ทานอง พื้นผิว และสีสันของเสียงให้เคลื่อนที่ไปในทิศทางเดียวกัน เพลงที่มีขนาด
สั้น-ยาว วนกลับไปมา ล้วนเป็นสาระสาคัญของคีตลักษณ์ทั้งสิ้น
การแบ่งประเภทของดนตรีตามหลักสากล
ดนตรีที่ขับร้องและบรรเลงอยู่ในปัจจุบัน อาจแบ่งได้เป็น 3 ประเภทใหญ่ ๆ
ดังนี้
1. ดนตรีพื้นเมืองหรือดนตรีพื้นบ้าน (Folk Music)
ดนตรีพื้นบ้าน เป็นดนตรีที่มีอยู่ตามท้องถิ่นต่าง ๆ เครื่องดนตรีที่ใช้
ส่วนใหญ่เป็นเครื่องดนตรีประเภทเครื่องตี ซึ่งอาจจะเป็นฉิ่ง ฉาบ กรับ โหม่ง โทน
รามะนา กลองยาว และอาจจะมีเครื่องดนตรีชนิดอื่นที่ใช้บรรเลงทานองประกอบด้วย
ได้แก่ สะล้อ ซอ ซึง แคน เป็นต้น มีท่วงทานองสั้น ๆ ซ้า ๆ วนไปวนมา โดยเปลี่ยนแต่
เนื้อร้อง ภาษาที่ใช้ในการขับร้องจะเป็นภาษาประจาถิ่น
2. ดนตรีแบบฉบับ (Classical Music)
ดนตรีแบบฉบับเป็นดนตรีของชนชาติใดก็ตามที่ได้รับการพัฒนามาจน
เป็นดนตรีชั้นสูง เป็นดนตรีที่มีความโดดเด่นถึงขั้นเป็นแบบฉบับของชนชาตินั้นได้เช่น
ดนตรีไทย ซึ่งเดิมเป็นดนตรีพื้นเมืองของภาคกลางที่ได้รับการพัฒนาและนาเข้าไปเล่น
ในราชสานัก ต่อมาได้รับการปรับปรุงจากครูดนตรีหลายท่านจนเป็นที่ยอมรับว่าเป็น
ดนตรีชั้นสูงมีความไพเราะ ดนตรีประเภทนี้นิยมเรียกทับศัพท์ว่า ดนตรีคลาสสิก
12
สรุป
อาจารย์สุกรี เจริญสุข ได้อธิบายความหมายของดนตรีคลาสสิกไว้ว่า
“ดนตรีคลาสสิก หมายถึง ดนตรีที่มีความงาม ความไพเราะในเรื่องของเสียงโดยที่
ผู้ประพันธ์เพลงได้ประพันธ์ขึ้นอย่างวิจิตรพิสดาร มุ่งในเรื่องของความไพเราะ มีคุณค่า
ในความงามของศิลปะ บรรเลงโดยนักดนตรีที่มีความสามารถที่ผ่านการฝึกมาโดยเฉพาะ
และมีความสามารถสูงพอที่จะถ่ายทอดอารมณ์ความรู้สึกของเพลงออกสู่ผู้ฟังได้
สาหรับผู้ฟังนั้นต้องอาศัยสมาธิหรือความตั้งใจที่จะฟัง”
3. ดนตรีสมัยนิยมหรือดนตรีชนนิยม (Popular Music)
ดนตรีสมัยนิยมเป็นดนตรีที่ได้รับความนิยมจากประชาชนทั่วไป
เช่น ดนตรีไทยสากลทั้งเพลงลูกทุ่ง ลูกกรุง และวงดนตรีทั้งหลายในปัจจุบัน ดนตรี
ประเภทนี้จะมีเพลงซึ่งได้รับความนิยมอยู่ระยะเวลาหนึ่ง จากนั้นเพลงดังกล่าวก็จะเสื่อม
ความนิยมลง แล้วก็จะมีเพลงใหม่ ๆ ที่ได้รับความนิยมเข้าแทนที่บทเพลงของดนตรี
สมัยนิยมถูกสร้างขึ้นด้วยวิธีที่ต่างกันบางเพลงนาทานองบางตอนของเพลงพื้นบ้านหรือ
เพลงแบบฉบับมาใช้ บางเพลงนาทานองของเพลงต่างชาติมาแล้วแต่งคาร้องเป็นภาษา
ของชาติตนเองใส่ลงไปเป็นต้น
ดนตรีสากลเริ่มต้นและพัฒนามาจากดนตรีที่ใช้ประกอบพิธีกรรมในศาสนา
คริสต์ของชาวยุโรป ต่อมาเริ่มเป็นที่นิยมในราชสานักและผู้มีฐานะดี แต่ปัจจุบันดนตรี
สากลเป็นที่นิยมของคนทั่วไป เป็นวัฒนธรรมของการถ่ายทอดและรับรู้ความไพเราะ
ความรู้สึก อารมณ์ โดยใช้จังหวะ ระดับเสียงทางดนตรีเป็นสื่อ ระบบเสียงของดนตรี
สากลสามารถนามาวิเคราะห์ได้ในเชิงวิทยาศาสตร์ ผู้ที่จะนาดนตรีไปใช้จะต้องเข้าใจ
องค์ประกอบของดนตรีและเรียนรู้ศิลปะการนาไปใช้ตามหลักการทางดนตรีประกอบด้วย
13

More Related Content

What's hot

การจัดการเชิงกลยุทธ์
การจัดการเชิงกลยุทธ์การจัดการเชิงกลยุทธ์
การจัดการเชิงกลยุทธ์Thida Noodaeng
 
ข้อสอบ5 เม.ย. การใช้เทคโนโลยีอินเตอร์เนต ปวส 2558มี80ข้อ
ข้อสอบ5 เม.ย. การใช้เทคโนโลยีอินเตอร์เนต ปวส 2558มี80ข้อข้อสอบ5 เม.ย. การใช้เทคโนโลยีอินเตอร์เนต ปวส 2558มี80ข้อ
ข้อสอบ5 เม.ย. การใช้เทคโนโลยีอินเตอร์เนต ปวส 2558มี80ข้อpeter dontoom
 
บทที่ 2 กลยุทธ์การปฏิบัติการ
บทที่ 2 กลยุทธ์การปฏิบัติการบทที่ 2 กลยุทธ์การปฏิบัติการ
บทที่ 2 กลยุทธ์การปฏิบัติการDr.Krisada [Hua] RMUTT
 
การบทที่ 4 การวางแผนและการจัดตารางการผลิตหลัก
การบทที่ 4 การวางแผนและการจัดตารางการผลิตหลักการบทที่ 4 การวางแผนและการจัดตารางการผลิตหลัก
การบทที่ 4 การวางแผนและการจัดตารางการผลิตหลักTeetut Tresirichod
 
บทที่ 6 การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภัย
บทที่ 6 การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภัยบทที่ 6 การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภัย
บทที่ 6 การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภัยrussana
 
หลอดเลือดและส่วนประกอบของเลือด
หลอดเลือดและส่วนประกอบของเลือดหลอดเลือดและส่วนประกอบของเลือด
หลอดเลือดและส่วนประกอบของเลือดWan Ngamwongwan
 
เอกสาร Infographic การทำ Infographic เบื้องต้น
เอกสาร Infographic การทำ Infographic เบื้องต้นเอกสาร Infographic การทำ Infographic เบื้องต้น
เอกสาร Infographic การทำ Infographic เบื้องต้นMaitree Rimthong
 
วิทยาการคำนวณ ม.5 - บทที่ 1 ข้อมูลมีคุณค่า
วิทยาการคำนวณ ม.5 - บทที่ 1 ข้อมูลมีคุณค่าวิทยาการคำนวณ ม.5 - บทที่ 1 ข้อมูลมีคุณค่า
วิทยาการคำนวณ ม.5 - บทที่ 1 ข้อมูลมีคุณค่าCoco Tan
 
โครงงานน้ำยาล้างจานกลิ่นมะกรูด
โครงงานน้ำยาล้างจานกลิ่นมะกรูดโครงงานน้ำยาล้างจานกลิ่นมะกรูด
โครงงานน้ำยาล้างจานกลิ่นมะกรูดWannwipha Kanjan
 
การใช้งานเบื้องต้น Adobe photoshop cs5
การใช้งานเบื้องต้น Adobe photoshop cs5การใช้งานเบื้องต้น Adobe photoshop cs5
การใช้งานเบื้องต้น Adobe photoshop cs5Rattapadol Gunhakoon
 
พันธุศาสตร์ประชากร
พันธุศาสตร์ประชากรพันธุศาสตร์ประชากร
พันธุศาสตร์ประชากรWan Ngamwongwan
 
ตัวอย่างบทที่1 บทนำ เล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างบทที่1 บทนำ เล่มโปรเจ็คตัวอย่างบทที่1 บทนำ เล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างบทที่1 บทนำ เล่มโปรเจ็คtumetr1
 
การประยุกต์เทคโนโลยีอุบัติใหม่เพื่อการศึกษา Emerging Technology for Education
การประยุกต์เทคโนโลยีอุบัติใหม่เพื่อการศึกษา Emerging Technology for Educationการประยุกต์เทคโนโลยีอุบัติใหม่เพื่อการศึกษา Emerging Technology for Education
การประยุกต์เทคโนโลยีอุบัติใหม่เพื่อการศึกษา Emerging Technology for EducationSurapon Boonlue
 
แบบฝึกหัดเพิ่มเติม เรื่อง ความเข้มเสียงและระดับเสียง
แบบฝึกหัดเพิ่มเติม เรื่อง ความเข้มเสียงและระดับเสียงแบบฝึกหัดเพิ่มเติม เรื่อง ความเข้มเสียงและระดับเสียง
แบบฝึกหัดเพิ่มเติม เรื่อง ความเข้มเสียงและระดับเสียงPiyanuch Plaon
 
ผลกระทบของเทคโนโลยีต่อสังคม และ มนุษย์
ผลกระทบของเทคโนโลยีต่อสังคม และ มนุษย์ผลกระทบของเทคโนโลยีต่อสังคม และ มนุษย์
ผลกระทบของเทคโนโลยีต่อสังคม และ มนุษย์NATTAWANKONGBURAN
 
ใบความรู้ที่ 2 เรื่อง องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 2 เรื่อง องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ใบความรู้ที่ 2 เรื่อง องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 2 เรื่อง องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์เทวัญ ภูพานทอง
 
การเปรียบเทียบการลดความชื้นจากวัสดุธรรมชาติ
การเปรียบเทียบการลดความชื้นจากวัสดุธรรมชาติการเปรียบเทียบการลดความชื้นจากวัสดุธรรมชาติ
การเปรียบเทียบการลดความชื้นจากวัสดุธรรมชาติflimgold
 
เฉลยข้อสอบ20ข้อ
เฉลยข้อสอบ20ข้อเฉลยข้อสอบ20ข้อ
เฉลยข้อสอบ20ข้อpeter dontoom
 
การเขียนชื่อวิทยาศาสตร์
การเขียนชื่อวิทยาศาสตร์การเขียนชื่อวิทยาศาสตร์
การเขียนชื่อวิทยาศาสตร์PinNii Natthaya
 

What's hot (20)

การจัดการเชิงกลยุทธ์
การจัดการเชิงกลยุทธ์การจัดการเชิงกลยุทธ์
การจัดการเชิงกลยุทธ์
 
ข้อสอบ5 เม.ย. การใช้เทคโนโลยีอินเตอร์เนต ปวส 2558มี80ข้อ
ข้อสอบ5 เม.ย. การใช้เทคโนโลยีอินเตอร์เนต ปวส 2558มี80ข้อข้อสอบ5 เม.ย. การใช้เทคโนโลยีอินเตอร์เนต ปวส 2558มี80ข้อ
ข้อสอบ5 เม.ย. การใช้เทคโนโลยีอินเตอร์เนต ปวส 2558มี80ข้อ
 
บทที่ 2 กลยุทธ์การปฏิบัติการ
บทที่ 2 กลยุทธ์การปฏิบัติการบทที่ 2 กลยุทธ์การปฏิบัติการ
บทที่ 2 กลยุทธ์การปฏิบัติการ
 
การบทที่ 4 การวางแผนและการจัดตารางการผลิตหลัก
การบทที่ 4 การวางแผนและการจัดตารางการผลิตหลักการบทที่ 4 การวางแผนและการจัดตารางการผลิตหลัก
การบทที่ 4 การวางแผนและการจัดตารางการผลิตหลัก
 
บทที่ 6 การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภัย
บทที่ 6 การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภัยบทที่ 6 การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภัย
บทที่ 6 การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภัย
 
หลอดเลือดและส่วนประกอบของเลือด
หลอดเลือดและส่วนประกอบของเลือดหลอดเลือดและส่วนประกอบของเลือด
หลอดเลือดและส่วนประกอบของเลือด
 
เอกสาร Infographic การทำ Infographic เบื้องต้น
เอกสาร Infographic การทำ Infographic เบื้องต้นเอกสาร Infographic การทำ Infographic เบื้องต้น
เอกสาร Infographic การทำ Infographic เบื้องต้น
 
วิทยาการคำนวณ ม.5 - บทที่ 1 ข้อมูลมีคุณค่า
วิทยาการคำนวณ ม.5 - บทที่ 1 ข้อมูลมีคุณค่าวิทยาการคำนวณ ม.5 - บทที่ 1 ข้อมูลมีคุณค่า
วิทยาการคำนวณ ม.5 - บทที่ 1 ข้อมูลมีคุณค่า
 
โครงงานน้ำยาล้างจานกลิ่นมะกรูด
โครงงานน้ำยาล้างจานกลิ่นมะกรูดโครงงานน้ำยาล้างจานกลิ่นมะกรูด
โครงงานน้ำยาล้างจานกลิ่นมะกรูด
 
การใช้งานเบื้องต้น Adobe photoshop cs5
การใช้งานเบื้องต้น Adobe photoshop cs5การใช้งานเบื้องต้น Adobe photoshop cs5
การใช้งานเบื้องต้น Adobe photoshop cs5
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
พันธุศาสตร์ประชากร
พันธุศาสตร์ประชากรพันธุศาสตร์ประชากร
พันธุศาสตร์ประชากร
 
ตัวอย่างบทที่1 บทนำ เล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างบทที่1 บทนำ เล่มโปรเจ็คตัวอย่างบทที่1 บทนำ เล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างบทที่1 บทนำ เล่มโปรเจ็ค
 
การประยุกต์เทคโนโลยีอุบัติใหม่เพื่อการศึกษา Emerging Technology for Education
การประยุกต์เทคโนโลยีอุบัติใหม่เพื่อการศึกษา Emerging Technology for Educationการประยุกต์เทคโนโลยีอุบัติใหม่เพื่อการศึกษา Emerging Technology for Education
การประยุกต์เทคโนโลยีอุบัติใหม่เพื่อการศึกษา Emerging Technology for Education
 
แบบฝึกหัดเพิ่มเติม เรื่อง ความเข้มเสียงและระดับเสียง
แบบฝึกหัดเพิ่มเติม เรื่อง ความเข้มเสียงและระดับเสียงแบบฝึกหัดเพิ่มเติม เรื่อง ความเข้มเสียงและระดับเสียง
แบบฝึกหัดเพิ่มเติม เรื่อง ความเข้มเสียงและระดับเสียง
 
ผลกระทบของเทคโนโลยีต่อสังคม และ มนุษย์
ผลกระทบของเทคโนโลยีต่อสังคม และ มนุษย์ผลกระทบของเทคโนโลยีต่อสังคม และ มนุษย์
ผลกระทบของเทคโนโลยีต่อสังคม และ มนุษย์
 
ใบความรู้ที่ 2 เรื่อง องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 2 เรื่อง องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์ใบความรู้ที่ 2 เรื่อง องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 2 เรื่อง องค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
 
การเปรียบเทียบการลดความชื้นจากวัสดุธรรมชาติ
การเปรียบเทียบการลดความชื้นจากวัสดุธรรมชาติการเปรียบเทียบการลดความชื้นจากวัสดุธรรมชาติ
การเปรียบเทียบการลดความชื้นจากวัสดุธรรมชาติ
 
เฉลยข้อสอบ20ข้อ
เฉลยข้อสอบ20ข้อเฉลยข้อสอบ20ข้อ
เฉลยข้อสอบ20ข้อ
 
การเขียนชื่อวิทยาศาสตร์
การเขียนชื่อวิทยาศาสตร์การเขียนชื่อวิทยาศาสตร์
การเขียนชื่อวิทยาศาสตร์
 

Similar to ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 2 เรื่่อง องค์ประกอบดนตรีสากล.pdf

ลักษณะเด่นของดนตรีในแต่ละวัฒนธรรม
ลักษณะเด่นของดนตรีในแต่ละวัฒนธรรมลักษณะเด่นของดนตรีในแต่ละวัฒนธรรม
ลักษณะเด่นของดนตรีในแต่ละวัฒนธรรมอำนาจ ศรีทิม
 
องค์ประกอบดนตรี
องค์ประกอบดนตรีองค์ประกอบดนตรี
องค์ประกอบดนตรีRuz' Glaow
 
บทที่ 2 ดนตรีกศน
บทที่ 2 ดนตรีกศนบทที่ 2 ดนตรีกศน
บทที่ 2 ดนตรีกศนpeter dontoom
 
บทที่ 2 ดนตรี
บทที่ 2 ดนตรีบทที่ 2 ดนตรี
บทที่ 2 ดนตรีpeter dontoom
 
หน่วยที่ 1 ความรู้พื้นฐานทางดนตรี.doc
หน่วยที่ 1 ความรู้พื้นฐานทางดนตรี.docหน่วยที่ 1 ความรู้พื้นฐานทางดนตรี.doc
หน่วยที่ 1 ความรู้พื้นฐานทางดนตรี.docpinglada1
 
สาระที่ 2 หน่วยที่ 9
สาระที่ 2 หน่วยที่ 9  สาระที่ 2 หน่วยที่ 9
สาระที่ 2 หน่วยที่ 9 khomkrit2511
 
บทความ วิเคราะห์ เพลง
บทความ   วิเคราะห์ เพลงบทความ   วิเคราะห์ เพลง
บทความ วิเคราะห์ เพลงNiran Dankasai
 
วิวัฒนาการของดนตรีสากล
วิวัฒนาการของดนตรีสากลวิวัฒนาการของดนตรีสากล
วิวัฒนาการของดนตรีสากลอำนาจ ศรีทิม
 
เครื่องสาย 2
เครื่องสาย 2เครื่องสาย 2
เครื่องสาย 2bassarakum
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 ศ 32101 วิชาดนตรี ม.5 ครูอภิชิต กลีบม่วง
แผนการจัดการเรียนรู้ที่  1 ศ 32101 วิชาดนตรี ม.5  ครูอภิชิต กลีบม่วงแผนการจัดการเรียนรู้ที่  1 ศ 32101 วิชาดนตรี ม.5  ครูอภิชิต กลีบม่วง
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 ศ 32101 วิชาดนตรี ม.5 ครูอภิชิต กลีบม่วงอภิชิต กลีบม่วง
 
ใบงานท 2
ใบงานท   2ใบงานท   2
ใบงานท 2bmbeam
 
ข้อสอบO-net วิชาดนตรี
ข้อสอบO-net วิชาดนตรีข้อสอบO-net วิชาดนตรี
ข้อสอบO-net วิชาดนตรีThaweekoon Intharachai
 
ประวัตินาฏศิลป์วิชาคอม
ประวัตินาฏศิลป์วิชาคอมประวัตินาฏศิลป์วิชาคอม
ประวัตินาฏศิลป์วิชาคอมPUy Praputsron
 
เพลงคลาสสิค (Classical music)
เพลงคลาสสิค (Classical music)เพลงคลาสสิค (Classical music)
เพลงคลาสสิค (Classical music)Float Jo
 

Similar to ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 2 เรื่่อง องค์ประกอบดนตรีสากล.pdf (20)

ลักษณะเด่นของดนตรีในแต่ละวัฒนธรรม
ลักษณะเด่นของดนตรีในแต่ละวัฒนธรรมลักษณะเด่นของดนตรีในแต่ละวัฒนธรรม
ลักษณะเด่นของดนตรีในแต่ละวัฒนธรรม
 
องค์ประกอบดนตรี
องค์ประกอบดนตรีองค์ประกอบดนตรี
องค์ประกอบดนตรี
 
บทที่ 2 ดนตรีกศน
บทที่ 2 ดนตรีกศนบทที่ 2 ดนตรีกศน
บทที่ 2 ดนตรีกศน
 
Elements
ElementsElements
Elements
 
บทที่ 2 ดนตรี
บทที่ 2 ดนตรีบทที่ 2 ดนตรี
บทที่ 2 ดนตรี
 
Music drama
Music dramaMusic drama
Music drama
 
หน่วยที่ 1 ความรู้พื้นฐานทางดนตรี.doc
หน่วยที่ 1 ความรู้พื้นฐานทางดนตรี.docหน่วยที่ 1 ความรู้พื้นฐานทางดนตรี.doc
หน่วยที่ 1 ความรู้พื้นฐานทางดนตรี.doc
 
กำหนดการสอน ดนตรี ม.2
กำหนดการสอน ดนตรี ม.2กำหนดการสอน ดนตรี ม.2
กำหนดการสอน ดนตรี ม.2
 
สาระที่ 2 หน่วยที่ 9
สาระที่ 2 หน่วยที่ 9  สาระที่ 2 หน่วยที่ 9
สาระที่ 2 หน่วยที่ 9
 
บทความ วิเคราะห์ เพลง
บทความ   วิเคราะห์ เพลงบทความ   วิเคราะห์ เพลง
บทความ วิเคราะห์ เพลง
 
ใบงานวิชาดนตรี ม.5
ใบงานวิชาดนตรี ม.5ใบงานวิชาดนตรี ม.5
ใบงานวิชาดนตรี ม.5
 
ใบงานวิชาดนตรี ม.5
ใบงานวิชาดนตรี ม.5ใบงานวิชาดนตรี ม.5
ใบงานวิชาดนตรี ม.5
 
วิวัฒนาการของดนตรีสากล
วิวัฒนาการของดนตรีสากลวิวัฒนาการของดนตรีสากล
วิวัฒนาการของดนตรีสากล
 
เครื่องสาย 2
เครื่องสาย 2เครื่องสาย 2
เครื่องสาย 2
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 ศ 32101 วิชาดนตรี ม.5 ครูอภิชิต กลีบม่วง
แผนการจัดการเรียนรู้ที่  1 ศ 32101 วิชาดนตรี ม.5  ครูอภิชิต กลีบม่วงแผนการจัดการเรียนรู้ที่  1 ศ 32101 วิชาดนตรี ม.5  ครูอภิชิต กลีบม่วง
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 ศ 32101 วิชาดนตรี ม.5 ครูอภิชิต กลีบม่วง
 
ใบงานท 2
ใบงานท   2ใบงานท   2
ใบงานท 2
 
ข้อสอบO-net วิชาดนตรี
ข้อสอบO-net วิชาดนตรีข้อสอบO-net วิชาดนตรี
ข้อสอบO-net วิชาดนตรี
 
ประวัตินาฏศิลป์วิชาคอม
ประวัตินาฏศิลป์วิชาคอมประวัตินาฏศิลป์วิชาคอม
ประวัตินาฏศิลป์วิชาคอม
 
Music
MusicMusic
Music
 
เพลงคลาสสิค (Classical music)
เพลงคลาสสิค (Classical music)เพลงคลาสสิค (Classical music)
เพลงคลาสสิค (Classical music)
 

More from PingladaPingladaz

ประวัติพุทธบริษัท ภิกษุ ภิกษุณี อุบาสก อุบาสิกา.docx
ประวัติพุทธบริษัท ภิกษุ ภิกษุณี อุบาสก อุบาสิกา.docxประวัติพุทธบริษัท ภิกษุ ภิกษุณี อุบาสก อุบาสิกา.docx
ประวัติพุทธบริษัท ภิกษุ ภิกษุณี อุบาสก อุบาสิกา.docxPingladaPingladaz
 
พระพุทธศาสนา.docx
พระพุทธศาสนา.docxพระพุทธศาสนา.docx
พระพุทธศาสนา.docxPingladaPingladaz
 
ประวัติพระพุทธเจ้า.docx
ประวัติพระพุทธเจ้า.docxประวัติพระพุทธเจ้า.docx
ประวัติพระพุทธเจ้า.docxPingladaPingladaz
 
วันสำคัญทางศาสนาพุทธ.docx
วันสำคัญทางศาสนาพุทธ.docxวันสำคัญทางศาสนาพุทธ.docx
วันสำคัญทางศาสนาพุทธ.docxPingladaPingladaz
 
ประชาคมอาเซียน.docx
ประชาคมอาเซียน.docxประชาคมอาเซียน.docx
ประชาคมอาเซียน.docxPingladaPingladaz
 

More from PingladaPingladaz (20)

ประวัติพุทธบริษัท ภิกษุ ภิกษุณี อุบาสก อุบาสิกา.docx
ประวัติพุทธบริษัท ภิกษุ ภิกษุณี อุบาสก อุบาสิกา.docxประวัติพุทธบริษัท ภิกษุ ภิกษุณี อุบาสก อุบาสิกา.docx
ประวัติพุทธบริษัท ภิกษุ ภิกษุณี อุบาสก อุบาสิกา.docx
 
พระพุทธศาสนา.docx
พระพุทธศาสนา.docxพระพุทธศาสนา.docx
พระพุทธศาสนา.docx
 
ชาดก.docx
ชาดก.docxชาดก.docx
ชาดก.docx
 
ประวัติพระพุทธเจ้า.docx
ประวัติพระพุทธเจ้า.docxประวัติพระพุทธเจ้า.docx
ประวัติพระพุทธเจ้า.docx
 
วันสำคัญทางศาสนาพุทธ.docx
วันสำคัญทางศาสนาพุทธ.docxวันสำคัญทางศาสนาพุทธ.docx
วันสำคัญทางศาสนาพุทธ.docx
 
ประชาคมอาเซียน.docx
ประชาคมอาเซียน.docxประชาคมอาเซียน.docx
ประชาคมอาเซียน.docx
 
ThaiMusic7.doc.docx
ThaiMusic7.doc.docxThaiMusic7.doc.docx
ThaiMusic7.doc.docx
 
ThaiMusic14.doc.docx
ThaiMusic14.doc.docxThaiMusic14.doc.docx
ThaiMusic14.doc.docx
 
ThaiMusic13.doc.docx
ThaiMusic13.doc.docxThaiMusic13.doc.docx
ThaiMusic13.doc.docx
 
ThaiMusic5.doc.docx
ThaiMusic5.doc.docxThaiMusic5.doc.docx
ThaiMusic5.doc.docx
 
ThaiMusic1.doc.docx
ThaiMusic1.doc.docxThaiMusic1.doc.docx
ThaiMusic1.doc.docx
 
ThaiMusic9.doc.docx
ThaiMusic9.doc.docxThaiMusic9.doc.docx
ThaiMusic9.doc.docx
 
ThaiMusic11.doc.docx
ThaiMusic11.doc.docxThaiMusic11.doc.docx
ThaiMusic11.doc.docx
 
ThaiMusic10.doc.docx
ThaiMusic10.doc.docxThaiMusic10.doc.docx
ThaiMusic10.doc.docx
 
ThaiMusic2.doc.docx
ThaiMusic2.doc.docxThaiMusic2.doc.docx
ThaiMusic2.doc.docx
 
ThaiMusic3.doc.docx
ThaiMusic3.doc.docxThaiMusic3.doc.docx
ThaiMusic3.doc.docx
 
ThaiMusic4.doc.docx
ThaiMusic4.doc.docxThaiMusic4.doc.docx
ThaiMusic4.doc.docx
 
ThaiMusic6.doc.docx
ThaiMusic6.doc.docxThaiMusic6.doc.docx
ThaiMusic6.doc.docx
 
ThaiMusic12.doc.docx
ThaiMusic12.doc.docxThaiMusic12.doc.docx
ThaiMusic12.doc.docx
 
mu103-3.pdf
mu103-3.pdfmu103-3.pdf
mu103-3.pdf
 

ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 2 เรื่่อง องค์ประกอบดนตรีสากล.pdf

  • 1. บทที่ 2 ธรรมชาติและองค์ประกอบของดนตรีสากล ธรรมชาติของดนตรี ดนตรี คืองานทางศิลปะที่มนุษย์สร้างขึ้นโดยอาศัยเสียงเป็นสื่อถ่ายทอด ความรู้สึกของศิลปิน เสียงดนตรีเป็นเสียงที่มีความงามที่ถูกนามาเรียบเรียงขึ้น เป็นบทเพลงอย่างมีศิลปะหรืออาจกล่าวได้ว่าดนตรีคือเสียงที่นามาเรียบเรียงให้ผสม กลมกลืนกันโดยมีทานอง จังหวะ และเสียงประสานประกอบเข้าด้วยกันตามหลักวิชา ดนตรี มีจุดประสงค์เพื่อให้มีความไพเราะน่าฟัง ความแตกต่างระหว่างเสียงดนตรีกับเสียงอื่น ๆ คือ เสียงดนตรีเป็นเสียง ที่ประดิษฐ์ขึ้นโดยอาศัยความงดงามของเสียง ศิลปินผู้ประดิษฐ์เสียงได้สอดใส่อารมณ์ ลงไปในทานอง (Melody) ส่วนเสียงอื่น ๆ (Noise) ที่ไม่ใช่เสียงดนตรีนั้นเป็นเสียงที่ ขาดคุณสมบัติทางศิลปะ เช่น เสียงแตรรถยนต์ เสียงจ้อกแจ้กจอแจในตลาด เป็นต้น ผู้รู้ทางดนตรีหลายท่านได้เสนอแนวคิดเกี่ยวกับธรรมชาติของดนตรีไว้ หลายลักษณะแต่จะขอกล่าวโดยสังเขป ดังนี้ 1. ดนตรีเกิดจากการแสดงออกทางอารมณ์ของมนุษย์เช่น เมื่อเกิดความพอใจ สนุกสนานก็จะเปล่งเสียงออกมา ปรบมือ กระทืบเท้า ใช้ไม้เคาะ นานเข้าก็จะหาวิธีทา ให้เกิดเสียงแปลก ๆ โดยใช้เครื่องมือต่าง ๆ เข้าช่วย ด้วยเหตุนี้เครื่องดนตรีในชุดแรก ๆ จึงมีไม่กี่เสียง จังหวะก็ง่าย ๆ ไม่ซับซ้อน  6
  • 2. 2. ดนตรีเป็นเรื่องของศิลปะที่เกี่ยวกับเสียงที่มนุษย์สร้างขึ้น โดยมนุษย์ อาจเลียนเสียงมาจากธรรมชาติ แล้วนาเสียงนั้นมาเรียบเรียงให้เป็นระเบียบและที่สาคัญ ดนตรีต้องมีอารมณ์ในการที่จะสื่อไปยังผู้ฟัง 3. ดนตรีมีธรรมชาติที่แตกต่างไปจากศิลปะแขนงอื่น ๆ เช่น ดนตรีเป็นสื่อ ทางอารมณ์ที่สัมผัสได้ด้วยหู ดนตรีเป็นส่วนหนึ่งของวัฒนธรรม ดนตรีเป็นเรื่องของ สุนทรียศาสตร์ว่าด้วยความไพเราะและดนตรีเป็นเรื่องของการแสดงออกทางอารมณ์ เป็นต้น องค์ประกอบของดนตรีสากล ดนตรีไม่ว่าจะเป็นของชาติใด ภาษาใด ล้วนมีพื้นฐานมาจากส่วนต่าง ๆ เหล่านี้ทั้งสิ้นความแตกต่างในรายละเอียดของแต่ละส่วนแต่ละวัฒนธรรมนั้น เป็นสิ่งที่ เกิดขึ้นจริง แต่การที่จะแตกต่างกันอย่างไรนั้น กรอบวัฒนธรรมของแต่ละสังคมจะเป็น ปัจจัย ที่กาหนดให้ตรงตามรสนิยมของแต่ละวัฒนธรรมจนเป็นผลให้สามารถแยกแยะ ดนตรีของชาติหนึ่งแตกต่างจากดนตรีของอีกชาติหนึ่งอย่างไร องค์ประกอบของดนตรีสากล ประกอบด้วย 1. เสียง (Tone) คีตกวีผู้สร้างสรรค์ดนตรี เป็นผู้ใช้เสียงในการสร้างสรรค์ผลิตงานศิลปะ เพื่อรับใช้สังคม ผู้สร้างสรรค์ดนตรีสามารถสร้างเสียงที่หลากหลายโดยอาศัยวิธีการผลิต เสียงเป็นปัจจัยกาหนด เช่น การดีด การสี การตี การเป่า เสียงเกิดจากการสั่นสะเทือน ของอากาศที่เป็นไปอย่างสม่าเสมอ ส่วนเสียงอึกทึกหรือเสียงรบกวน (Noise) เกิดจาก การสั่นสะเทือนของอากาศที่ไม่สม่าเสมอ ลักษณะความแตกต่างของเสียงขึ้นอยู่กับ คุณสมบัติสาคัญ 4 ประการ คือ ระดับเสียง ความยาวของเสียง ความเข้มของเสียง และคุณภาพของเสียง 7
  • 3. 1.1 ระดับเสียง (Pitch) หมายถึง ระดับความสูง-ต่าของเสียง ซึ่งเกิดจาก จานวนความถี่ของการสั่นสะเทือน กล่าวคือ ถ้าเสียงที่มีความถี่สูง ลักษณะการ สั่นสะเทือนเร็ว จะส่งผลให้มีระดับเสียงสูง แต่ถ้าหากเสียงมีความถี่ต่า ลักษณะการ สั่นสะเทือนช้าจะส่งผลให้มีระดับเสียงต่า 1.2 ความสั้น-ยาวของเสียง (Duration) หมายถึง คุณสมบัติที่เกี่ยวกับ ความยาว-สั้นของเสียง ซึ่งเป็นคุณสมบัติที่สาคัญอย่างยิ่งของการกาหนดลีลา จังหวะ ในดนตรีตะวันตก การกาหนดความสั้น-ยาวของเสียง สามารถแสดงให้เห็นได้จาก ลักษณะของตัวโน้ต เช่น โน้ตตัวกลม ตัวขาว และตัวดา เป็นต้น 1.3 ความเข้มของเสียง (Intensity) ความเข้มของเสียงเกี่ยวข้องกับน้าหนัก ของความหนักเบาของเสียง ความเข้มของเสียงจะเป็นคุณสมบัติที่ก่อประโยชน์ ในการเกื้อหนุนเสียงให้มีลีลาจังหวะที่สมบูรณ์ 1.4 คุณภาพของเสียง (Quality) เกิดจากคุณภาพของแหล่งกาเนิดเสียง ที่แตกต่างกัน ปัจจัยที่ทาให้คุณภาพของเสียงเกิดความแตกต่างกันนั้น เกิดจาก หลายสาเหตุ เช่น วิธีการผลิตเสียง รูปทรงของแหล่งกาเนิดเสียงและวัสดุที่ใช้ทา แหล่งกาเนิดเสียง ปัจจัยเหล่านี้ก่อให้เกิดลักษณะคุณภาพของเสียง ซึ่งเป็นหลักสาคัญให้ ผู้ฟังสามารถแยกแยะสีสันของเสียง (Tone Color) ระหว่างเครื่องดนตรีเครื่องหนึ่งกับ เครื่องหนึ่งได้อย่างชัดเจน 8
  • 4. 2. พื้นฐานจังหวะ (Element of Time) จังหวะเป็นศิลปะของการจัดระเบียบเสียง ที่เกี่ยวข้องกับความช้าเร็ว ความหนักเบาและความสั้น-ยาว องค์ประกอบเหล่านี้ หากนามาร้อยเรียง ปะติดปะต่อ เข้าด้วยกันตามหลักวิชาการเชิงดนตรีแล้ว สามารถที่จะสร้างสรรค์ให้เกิดลีลาจังหวะ อันหลากหลาย ในเชิงจิตวิทยา อิทธิพลของจังหวะที่มีผลต่อผู้ฟังจะปรากฏพบใน ลักษณะของการตอบสนองเชิงกายภาพ เช่น ฟังเพลงแล้วแสดงอาการกระดิกนิ้ว ปรบมือ ร่วมไปด้วย 3. ทานอง (Melody) ทานองเป็นการจัดระเบียบของเสียงที่เกี่ยวข้องกับความสูง-ต่า ความสั้น-ยาว และความดัง-เบา คุณสมบัติเหล่านี้เมื่อนามาปฏิบัติอย่างต่อเนื่องบนพื้นฐานของ ความช้า-เร็ว จะเป็นองค์ประกอบของดนตรีที่ผู้ฟังสามารถทาความเข้าใจได้ง่ายที่สุด ในเชิงจิตวิทยา ทานองจะกระตุ้นผู้ฟังในส่วนของสติปัญญา ทานองจะมีส่วนสาคัญ ในการสร้างความประทับใจ จดจา และแยกแยะความแตกต่างระหว่างเพลงหนึ่ง กับอีกเพลงหนึ่ง 4. พื้นผิวของเสียง (Texture) “พื้นผิว” เป็นคาที่ใช้อยู่ทั่วไปในวิชาการด้านวิจิตรศิลป์ หมายถึง ลักษณะ พื้นผิวของสิ่งต่าง ๆ เช่น พื้นผิวของวัสดุที่มีลักษณะขรุขระ หรือเกลี้ยงเกลา ซึ่งอาจจะ ทาจากวัสดุที่ต่างกัน ในเชิงดนตรีนั้น “พื้นผิว” หมายถึง ลักษณะหรือรูปแบบของเสียง ทั้งที่ประสานสัมพันธ์และไม่ประสานสัมพันธ์ โดยอาจจะเป็นการนาเสียงมาบรรเลง ซ้อนกันหรือพร้อมกัน ซึ่งอาจพบทั้งในแนวตั้งและแนวนอน ตามกระบวนการประพันธ์ เพลง ผลรวมของเสียงหรือแนวทั้งหมดเหล่านั้น จัดเป็นพื้นผิวตามนัยของดนตรีทั้งสิ้น ลักษณะรูปแบบพื้นผิวของเสียงมีอยู่หลายรูปแบบ ดังนี้ 9
  • 5. 4.1 Monophonic Texture เป็นลักษณะพื้นผิวของเสียงที่มีแนวทานอง เดียว ไม่มีเสียงประสาน พื้นผิวเสียงในลักษณะนี้ถือเป็นรูปแบบการใช้แนวเสียงของ ดนตรีในยุคแรก ๆ ของดนตรีในทุกวัฒนธรรม 4.2 Polyphonic Texture เป็นลักษณะพื้นผิวของเสียงที่ประกอบด้วย แนวทานองตั้งแต่สองแนวทานองขึ้นไป โดยแต่ละแนวมีความเด่นและเป็นอิสระจากกัน ในขณะที่ทุกแนวสามารถประสานกลมกลืนไปด้วยกัน ลักษณะแนวเสียงประสานในรูป ของ Polyphonic Texture มีวิวัฒนาการมาจากเพลงชานท์ (Chant) ซึ่งมีพื้นผิวเสียง ในลักษณะของเพลงทานองเดียว (Monophonic Texture) ภายหลังได้มีการเพิ่มแนว ขับร้องเข้าไปอีกหนึ่งแนว แนวที่เพิ่มเข้าไปใหม่นี้จะใช้ระยะขั้นคู่ 4 และคู่ 5 และดาเนิน ไปในทางเดียวกับเพลงชานท์เดิม การดาเนินทานองในลักษณะนี้เรียกว่า “ออร์กานุ่ม” (Orgonum) นับได้ว่าเป็นยุคเริ่มต้นของการประสานเสียงแบบ Polyphonic Texture หลังจากคริสต์ศตวรรษที่ 14 เป็นต้นมา แนวทานองประเภทนี้ได้มีการพัฒนาก้าวหน้าไป มาก ซึ่งเป็นระยะเวลาที่การสอดทานอง (Counterpoint) ได้เข้าไปมีบทบาทเพิ่มมากขึ้น ในการตกแต่งพื้นผิวของแนวทานองแบบ Polyphonic Texture 4.3 Homophonic Texture เป็นลักษณะพื้นผิวของเสียง ที่ประสานด้วย แนวทานองแนวเดียวโดยมีกลุ่มเสียง (Chords) ทาหน้าที่สนับสนุน ในคีตนิพนธ์ ประเภทนี้ แนวทานองมักจะเคลื่อนที่ในระดับเสียงสูงที่สุดในบรรดากลุ่มเสียงด้วยกัน ในบางโอกาสแนวทานองอาจจะเคลื่อนที่ในระดับเสียงต่าได้เช่นกัน ถึงแม้ว่าคีตนิพนธ์ ประเภทนี้จะมีแนวทานองที่เด่นเพียงทานองเดียวก็ตาม แต่กลุ่มเสียง (Chords) ที่ทา หน้าที่สนับสนุนนั้น มีความสาคัญที่ไม่น้อยไปกว่าแนวทานอง การเคลื่อนที่ของแนว ทานอง จะเคลื่อนไปในแนวนอน ในขณะที่กลุ่มเสียงสนับสนุนจะเคลื่อนไปในแนวตั้ง 10
  • 6. 4.4 Heterophonic Texture เป็นรูปแบบของแนวเสียงที่มีทานอง หลายทานอง แต่ละแนวมีความสาคัญเท่ากันทุกแนว คาว่า Heteros เป็นภาษากรีก หมายถึงแตกต่างหลากหลาย ลักษณะการผสมผสานของแนวทานองในลักษณะนี้ เป็นรูปแบบการประสานเสียง 5. สีสันของเสียง (Tone Color) “สีสันของเสียง” หมายถึง คุณลักษณะของเสียงที่กาเนิดจากแหล่งเสียงที่ แตกต่างกัน แหล่งกาเนิดเสียงดังกล่าว เป็นได้ทั้งที่เป็นเสียงร้องของมนุษย์และ เครื่องดนตรีชนิดต่าง ๆ ความแตกต่างของเสียงร้องมนุษย์ไม่ว่าจะเป็นระหว่างเพศชาย กับเพศหญิงหรือระหว่างเพศเดียวกัน ซึ่งล้วนแล้วแต่มีพื้นฐานของความแตกต่าง ทางด้านสรีระ เช่น หลอดเสียงและกล่องเสียง เป็นต้น ในส่วนที่เกี่ยวข้องกับเครื่องดนตรีนั้น ความหลากหลายด้านสีสันของเสียง ประกอบด้วยปัจจัยที่แตกต่างกันหลายประการ เช่น วิธีการบรรเลง วัสดุที่ใช้ทา เครื่องดนตรี รวมทั้งรูปทรงและขนาด ปัจจัยเหล่านี้ล้วนส่งผลโดยตรงต่อสีสันของเสียง เครื่องดนตรี ทาให้เกิดคุณลักษณะของเสียงที่แตกต่างกันออกไป 5.1 วิธีการบรรเลง อาศัยวิธีดีด สี ตี และเป่า วิธีการผลิตเสียงดังกล่าวล้วน เป็นปัจจัยให้เครื่องดนตรีมีคุณลักษณะของเสียงที่ต่างกัน 5.2 วัสดุที่ใช้ทาเครื่องดนตรี วัสดุที่ใช้ทาเครื่องดนตรีของแต่ละวัฒนธรรม จะแตกต่างกันไปตามสภาพแวดล้อมของสังคมและยุคสมัย วัสดุที่ใช้ทาเครื่องดนตรีที่ แตกต่างกัน นับเป็นปัจจัยที่สาคัญประการหนึ่งที่ส่งผลให้เกิดความแตกต่างในด้านสีสัน ของเสียง 11
  • 7. 5.3 ขนาดและรูปทรง ลักษณะของเครื่องดนตรีที่มีรูปทรงและขนาดที่ แตกต่างกันจะเป็นปัจจัยที่ส่งผลให้เกิดความแตกต่างกันในด้านสีสันของเสียงในลักษณะ ที่มีความสัมพันธ์กัน 6. คีตลักษณ์ (Forms) คีตลักษณ์หรือรูปแบบของเพลง เปรียบเสมือนกรอบที่หลอมรวมเอาจังหวะ ทานอง พื้นผิว และสีสันของเสียงให้เคลื่อนที่ไปในทิศทางเดียวกัน เพลงที่มีขนาด สั้น-ยาว วนกลับไปมา ล้วนเป็นสาระสาคัญของคีตลักษณ์ทั้งสิ้น การแบ่งประเภทของดนตรีตามหลักสากล ดนตรีที่ขับร้องและบรรเลงอยู่ในปัจจุบัน อาจแบ่งได้เป็น 3 ประเภทใหญ่ ๆ ดังนี้ 1. ดนตรีพื้นเมืองหรือดนตรีพื้นบ้าน (Folk Music) ดนตรีพื้นบ้าน เป็นดนตรีที่มีอยู่ตามท้องถิ่นต่าง ๆ เครื่องดนตรีที่ใช้ ส่วนใหญ่เป็นเครื่องดนตรีประเภทเครื่องตี ซึ่งอาจจะเป็นฉิ่ง ฉาบ กรับ โหม่ง โทน รามะนา กลองยาว และอาจจะมีเครื่องดนตรีชนิดอื่นที่ใช้บรรเลงทานองประกอบด้วย ได้แก่ สะล้อ ซอ ซึง แคน เป็นต้น มีท่วงทานองสั้น ๆ ซ้า ๆ วนไปวนมา โดยเปลี่ยนแต่ เนื้อร้อง ภาษาที่ใช้ในการขับร้องจะเป็นภาษาประจาถิ่น 2. ดนตรีแบบฉบับ (Classical Music) ดนตรีแบบฉบับเป็นดนตรีของชนชาติใดก็ตามที่ได้รับการพัฒนามาจน เป็นดนตรีชั้นสูง เป็นดนตรีที่มีความโดดเด่นถึงขั้นเป็นแบบฉบับของชนชาตินั้นได้เช่น ดนตรีไทย ซึ่งเดิมเป็นดนตรีพื้นเมืองของภาคกลางที่ได้รับการพัฒนาและนาเข้าไปเล่น ในราชสานัก ต่อมาได้รับการปรับปรุงจากครูดนตรีหลายท่านจนเป็นที่ยอมรับว่าเป็น ดนตรีชั้นสูงมีความไพเราะ ดนตรีประเภทนี้นิยมเรียกทับศัพท์ว่า ดนตรีคลาสสิก 12
  • 8. สรุป อาจารย์สุกรี เจริญสุข ได้อธิบายความหมายของดนตรีคลาสสิกไว้ว่า “ดนตรีคลาสสิก หมายถึง ดนตรีที่มีความงาม ความไพเราะในเรื่องของเสียงโดยที่ ผู้ประพันธ์เพลงได้ประพันธ์ขึ้นอย่างวิจิตรพิสดาร มุ่งในเรื่องของความไพเราะ มีคุณค่า ในความงามของศิลปะ บรรเลงโดยนักดนตรีที่มีความสามารถที่ผ่านการฝึกมาโดยเฉพาะ และมีความสามารถสูงพอที่จะถ่ายทอดอารมณ์ความรู้สึกของเพลงออกสู่ผู้ฟังได้ สาหรับผู้ฟังนั้นต้องอาศัยสมาธิหรือความตั้งใจที่จะฟัง” 3. ดนตรีสมัยนิยมหรือดนตรีชนนิยม (Popular Music) ดนตรีสมัยนิยมเป็นดนตรีที่ได้รับความนิยมจากประชาชนทั่วไป เช่น ดนตรีไทยสากลทั้งเพลงลูกทุ่ง ลูกกรุง และวงดนตรีทั้งหลายในปัจจุบัน ดนตรี ประเภทนี้จะมีเพลงซึ่งได้รับความนิยมอยู่ระยะเวลาหนึ่ง จากนั้นเพลงดังกล่าวก็จะเสื่อม ความนิยมลง แล้วก็จะมีเพลงใหม่ ๆ ที่ได้รับความนิยมเข้าแทนที่บทเพลงของดนตรี สมัยนิยมถูกสร้างขึ้นด้วยวิธีที่ต่างกันบางเพลงนาทานองบางตอนของเพลงพื้นบ้านหรือ เพลงแบบฉบับมาใช้ บางเพลงนาทานองของเพลงต่างชาติมาแล้วแต่งคาร้องเป็นภาษา ของชาติตนเองใส่ลงไปเป็นต้น ดนตรีสากลเริ่มต้นและพัฒนามาจากดนตรีที่ใช้ประกอบพิธีกรรมในศาสนา คริสต์ของชาวยุโรป ต่อมาเริ่มเป็นที่นิยมในราชสานักและผู้มีฐานะดี แต่ปัจจุบันดนตรี สากลเป็นที่นิยมของคนทั่วไป เป็นวัฒนธรรมของการถ่ายทอดและรับรู้ความไพเราะ ความรู้สึก อารมณ์ โดยใช้จังหวะ ระดับเสียงทางดนตรีเป็นสื่อ ระบบเสียงของดนตรี สากลสามารถนามาวิเคราะห์ได้ในเชิงวิทยาศาสตร์ ผู้ที่จะนาดนตรีไปใช้จะต้องเข้าใจ องค์ประกอบของดนตรีและเรียนรู้ศิลปะการนาไปใช้ตามหลักการทางดนตรีประกอบด้วย 13