SlideShare a Scribd company logo
1 of 58
ภาคเหนือ
การนาเสนอประวัติคาขวัญวัฒนธรรมวังวัดธรรมชาติและของดีของจังหวัดต่างๆแยกภาคตามภูมิศาสตร์
เพื่อใช้เป็นข้อมูลพื้นฐานเบื้องต้นของจังหวัดนั้นๆ
1.เชียงราย จังหวัดเหนือสุดของประเทศไทยที่เต็มไปด้วยวัฒนธรรมล้านนาและธรรมชาติที่งดงาม
คาขวัญ “เหนือสุดในสยามชายแดนสามแผ่นดินถิ่นวัฒนธรรมล้านนาล้าค่าพระธาตุดอยตุง”
ประวัติ
ดินแดนแห่งขุนเขาเป็นจังหวัดที่อยู่เหนือสุดของประเทศไทย
เป็นเมืองเก่าแก่ที่มีประวัติศาสตร์ยาวนานตั้งแต่สมัยเชียงแสนของพญามังรายผู้ก่อตั้งเมืองเชียงรายบนพื้นที่ราบลุ่มแม่น้ากก
อุดมสมบูรณ์ไปด้วยป่าไม้บนดอยสูงที่สลับซับซ้อนเป็นแหล่งกาเนิดต้นน้าและน้าตกอันงดงามหลายแห่ง
และมีเทือกเขาผีปันน้าที่เป็นพรมแดนกั้นประเทศสหภาพพม่าจนถึงด้านทิศเหนือ
อีกทั้งเป็นจุดแรกที่แม่น้าโขงไหลผ่านประเทศไทย
เป็นพรมแดนกั้นกลางระหว่างประเทศไทยกับประเทศสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาวเชียงรายมีประชากรหลายเชื้อชาติ
ทั้งชาวไทยพื้นราบชาวไทยภูเขาและชาวจีนฮ่อที่อพยพเข้ามาอาศัยอยู่บนดอยสูงแต่ละชนชาติจะมีประเพณี วัฒนธรรม
และวิถีชีวิตที่มีเอกลักษณ์ เป็นเสน่ห์อีกอย่างที่ทาให้เชียงรายได้รับความสนใจจากนักท่องเที่ยวทั้งชาวไทยและชาวต่างประเทศ
ทิศเหนือติดต่อกับสหภาพพม่าทิศใต้ ติดต่อกับจังหวัดพะเยาทิศตะวันออก
ติดต่อกับสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาวทิศตะวันตกติดต่อกับจังหวัดเชียงใหม่
การปกครองแบ่งออกเป็น18 อาเภอได้แก่ อาเภอเมืองเชียงราย อาเภอเวียงชัย อาเภอเชียงของ อาเภอเทิง
อาเภอพานอาเภอป่าแดด อาเภอแม่จัน อาเภอเชียงแสน อาเภอแม่สาย อาเภอแม่สรวย อาเภอเวียงป่าเป้ า
อาเภอพญาเม็งราย อาเภอเวียงแก่น อาเภอขุนตาล อาเภอแม่ฟ้ าหลวง อาเภอแม่ลาว อาเภอเวียงเชียงรุ้ง อาเภอดอยหลวง
วัฒนธรรม
เสาสะดือเมืองเชียงราย (เสาหลักเมือง)เป็นเครื่องหมายหรือสัญลักษณ์ของการก่อตั้งชุมชนและเมือง
สาหรับจังหวัดเชียงรายจะเรียกเสาหลักเมืองว่าเสาสะดือเมืองจากหลักฐานทางประวัติศาสตร์ระบุว่า
เมื่อครั้งการสร้างเมืองครั้งแรกใช้คาว่า "เสาสะดือเมือง"ไม่ใช้คาว่าเสาหลักเมือง
เสาสะดือเมืองเชียงรายสร้างขึ้นใหม่ในปี พ.ศ.2530 เนื่องในโอกาสมงคลยิ่งคือฉลองพระชนมพรรษาครบรอบ5
รอบของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่9และโอกาสการสมโภชน์เมืองเชียงรายครบ725ปี
เพื่อเป็นที่ระลึกถึงพระมหากรุณาธิคุณของพ่อขุนเม็งรายมหาราชผู้สร้างเมืองเชียงราย ซึ่งเสาสะดือเมืองมีอยู่108หลัก
อนุสาวรีย์พ่อขุนเม็งรายมหาราช ตั้งอยู่ที่ถนนห้าแยกพ่อขุนเม็งรายถนนเชียงราย-แม่จัน(ติดถนนซุปเปอร์ไฮเวย์)ในเขต
เทศบาลนครเชียงรายจังหวัดเชียงรายตามประวัตินั้นพ่อขุนเม็งรายเป็นกษัตริย์องค์ที่25แห่งราชวงศ์ลวะเป็นโอรสของพญา
-2-
ลาวเม็งและพระนางเทพคาขยายหรือพระนางอั้วมิ่งจอมเมืองประสูติเมื่อวันอาทิตย์แรม9 ค่าเดือน 3 ปีจอ พุทธศักราช1782
และเสด็จสวรรคตที่เมืองเชียงใหม่ในปี พ.ศ.1854รวมพระชนมายุได้ 72พรรษาสถูป(กู่)บรรจุพระอัฐิหรือกู่พญามังรายมหาราช
ตั้งอยู่ที่วัดงาเมือง
การสร้างบ้านแปลงเมืองของท่านพ่อขุนเม็งรายได้สร้างเมืองเชียงรายขึ้นบนดอยทองจากรากฐานเดิมที่เคยเป็นเมืองมาก่อน
เมื่อปี พ.ศ. 1805ทรงเป็นปฐมกษัตริย์
แห่งราชวงศ์มังรายและรวบรวมบ้านเล็กเมืองน้อยเข้าเป็นอาณาจักรล้านนาไทยจนเจริญรุ่งเรืองจวบจนปัจจุบัน
อนุสาวรีย์พ่อขุนเม็งรายมีลักษณะเป็นพระรูปของพระองค์หล่อด้วยทองสัมฤทธิ์
ขนาดหนึ่งเท่าครึ่ง ทรงฉลองพระองค์ด้วยเครื่องทรงพระมหากษัตริย์แบบล้านนาโบราณประทับยืนบนฐานสูงประมาณ3เมตร
ทรงถือดาบด้วยพระหัตถ์ซ้ายแนบกับพระเพลาทรงสวมมาลัยพระกรและสวมพระธามรงค์ที่พระหัตถ์ขวาตรงนิ้วนางและนิ้วก้อย
และตรงนิ้วชี้ที่พระหัตถ์ข้างซ้ายและทรงฉลองพระบาท
ปัจจุบันมีตุงหลวงเฉลิมพระเกียรติสีทองอร่ามขนาดใหญ่ประดับอยู่ทางด้านหลังอนุสาวรีย์ด้วย
สาหรับฐานใต้พระบรมรูปมีคาจารึกว่า"พ่อขุนเม็งรายมหาราชพ.ศ.1782 -1860 ทรงสร้างเมืองเชียงรายขึ้นเป็นเมืองแรกเมื่อ
พ.ศ. 1805ทรงสถาปนาอาณาจักรล้านนาไทยให้เป็นปึกแผ่นและทรงสร้างความสามัคคีระหว่างชนชาติไทย"
อนุสาวรีย์พ่อขุนเม็งรายแห่งนี้เป็นที่เคารพสักการะของชาวเชียงรายและคนล้านนาเป็นอย่างมาก
มีผู้คนมาสักการะทั้งกลางวันและกลางคืนอย่างไม่ขาดสาย
กู่พระเจ้าเม็งราย จังหวัดเชียงรายเป็นอีกหนึ่งจังหวัดที่มีความสาคัญต่อประวัติศาสตร์ชาติไทยที่ได้มีการบันทึกเรื่องราวที่ได้เกิด
ขึ้นณ อาณาจักรแห่งนี้ไว้มากมายซึ่งถือว่าเป็นยุคแห่งประวัติศาสตร์ที่สาคัญยุคหนึ่งของประเทศไทย
ในประวัติศาสตร์ช่วงแรกๆเลยก็ว่าได้ โดยเฉพาะที่มีความเกี่ยวพันกับเรื่องดินแดนการเมืองการปกครอง
วัฒนธรรมรวมไปถึงผู้ปกครอง
ซึ่งผู้ที่เคยศึกษาประวัติศาสตร์ความเป็นมาของจังหวัดเชียงรายก็คงไม่มีใครไม่เคยได้ยินชื่อของพระเจ้าเม็งรายหรือพ่อขุนเม็งราย
ซึ่งจังหวัดเชียงรายนอกจากจะมีอนุสาวรีย์สามกษัตริย์แล้วกู่พระเจ้าเม็งรายก็เป็นอีกสถานที่หนึ่งที่เป็นอนุสาวรีย์ที่สาคัญแห่งหนึ่ง
เนื่องจากสถานที่แห่งนี้เป็นที่เก็บและบรรจุอัฐิของพ่อขุนเม็งรายมหาราชอดีตเจ้าเมืองแห่งดินแดนนี้
กู่พระเจ้าเม็งรายตั้งอยู่หน้าวัดงาเมืองบนดอยงาเมืองนอกจากนี้ตามประวัติกล่าวว่า
พระเจ้าไชยสงครามราชโอรสพระเจ้าเม็งรายเมื่อได้มอบราชสมบัติให้พระเจ้าแสนภูราชโอรสขึ้นครองนครเชียงใหม่
แล้วพระองค์ได้นาอัฐิพระราชบิดามาประทับอยู่ที่เมืองเชียงรายและได้โปรดเกล้าฯสร้างกู่บรรจุอัฐิของพระราชบิดาไว้ ณ
ดอยงาเมืองแห่งนี้ซึ่งก็คือกู่เม็งรายแห่งนี้นี่เอง
เสาสะดิอเมือง(เสาหลักเมือง) อนุสาวรีย์พ่อขุนเม็งรายมหาราช กู่พระเจ้าเม็งราย
-3-
พิพิธภัณฑ์สถานแห่งชาติเชียงแสน ตั้งอยู่ในเขตกาแพงเมือง
เป็นที่เก็บรวบรวมโบราณวัตถุที่ได้จากบริเวณเชียงแสนและพื้นที่ใกล้เคียงเช่น ลวดลายปูนปั้นฝีมือล้านนา
พระพุทธรูปและศิลาจารึกจากเชียงแสนและจากพะเยา
พร้อมทั้งให้ข้อมูลทางด้านวิชาการเกี่ยวกับแหล่งโบราณคดีการตั้งถิ่นฐานของชุมชน และประวัติการสร้างเมืองเชียงแสน
นอกจากนี้ยังมีการจัดแสดงศิลปะพื้นบ้านของ ชาวไทยใหญ่ ไทยลื้อและชาวเขาเผ่าต่างๆได้แก่ เครื่องเขินเครื่องดนตรี
เครื่องประดับอุปกรณ์การสูบฝิ่นเป็นต้นเปิดทาการตั้งแต่เวลา ๙.๐๐-๑๖.๐๐น. ทุกวันเว้นวันจันทร์ อังคาร
และวันหยุดนักขัตฤกษ์
พิพิธภัณฑ์อูบคาศูนย์อนุรักษ์มรดกอันล้าค่าของอาณาจักรล้านนาโบราณ อาภรณ์ของชนชาติไตเผ่าต่างในอาณาจักรล้านนา
ด้วยความมุ่งมั่นตั้งใจที่จะอนุรักษ์ความเป็นมาอันยิ่งใหญ่ของชาวล้านนาทาให้ อาจารย์จุลศักดิ์สุริยะไชย
จึงได้จัดตั้งพิพิธภัณฑ์อูบคาเพื่อเป็นศูนย์อนุรักษ์มรดกล้าค่าของอานาจักรล้านนาโบราณ เช่นเครื่องใช้ในราชสานักล้านนา
เครื่องใช้ในราชสานักคุ้มเจ้าต่างๆในล้านนา
ซึ่งเกิดจากการตั้งใจของผู้รวบรวมที่ต้องการเก็บของมีค่าสมัยล้านนาที่กระจายอยู่ในที่ต่างๆ ให้คืนกลับสู่แผ่นดินไทย
และเพื่อให้อนุชนรุ่นหลังได้ศึกษาต่อไปในอนาคต
เมืองเก่าเชียงแสน เป็นอาเภอหนึ่งของจังหวัดเชียงรายมีซากโบราณสถานของเมืองเชียงแสนเก่าอยู่ในบริเวณตัวอาเภอ
ลักษณะภูมิประเทศเป็นที่ราบปัจจุบันเป็นแหล่งท่องเที่ยวและท่าเรือขนส่งสินค้าที่สาคัญในภาคเหนือ
นอกจากนี้เชียงแสนมีพื้นที่ซึ่งเรียกว่าสามเหลี่ยมทองคาในพื้นที่หมู่ที่ 1 บ้านสบรวกตาบลเวียงอาเภอเชียงแสน
อันเป็นบริเวณที่บรรจบกันของชายแดนสามประเทศคือไทย ลาวและพม่า
พิพิธภัณฑ์สถานแห่งชาติเชียงแสน พิพิธภัณฑ์อูบคา เมืองเก่าเชียงแสน
พิพิธภัณฑ์บ้านดาตั้งอยู่ที่414 หมู่ที่ 13 ตาบลนางแลเป็นผลงานของอาจารย์ถวัลย์ดัชนีศิลปินแห่งชาติสาขาทัศนศิลป์
(จิตรกรรม)ในพื้นที่กว่าร้อยไร่ ประกอบด้วยอาคารสถาปัตยกรรมท้องถิ่นภาคเหนือกว่า25หลัง
และอาคารสถาปัตยกรรมท้องถิ่นประยุกต์หลายหลังที่จัดแสดงศิลปะพื้นบ้าน
ซึ่งเป็นผลงานสร้างสรรค์ของช่างท้องถิ่นตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน
ทั้งหมดทาด้วยสีดาแต่ละหลังประดับประดาด้วยไม้แกะสลักที่มีลวดลายสวยงามวิจิตรยิ่งและยังประดับด้วยเขาสัตว์เช่น
เขาควายเขากวางและกระดูกช้างเป็นต้น
พิพิธภัณฑ์บ้านดาเป็นศิลปะสถานที่สร้างจินตนาการให้แก่ผู้พบเห็นในหลายมุมมองและยังเป็นที่เก็บสะสมสิ่งของต่างๆ
ที่ใช้ในการดารงชีวิตมาตั้งแต่อดีตซึ่งของบางชิ้นคนรุ่นใหม่ก็ไม่อาจพบเห็นหรือหาได้ในปัจจุบัน
พิพิธภัณฑ์พระ -ประทีปโกลด์แลนด์ พิพิธภัณฑ์พระแห่งนี้สร้างขึ้นโดยคุณประทีปประทีปอุษานนท์
ซึ่งอาจจะไม่เป็นที่รู้จักกันในวงการพระเท่าไรนักเพราะคุณประทีปนั้นไม่ได้เข้ามาคลุกคลีกับคนในวงการมากนัก
แต่เนื่องจากคุณประทีปนั้นเคยเป็นผู้รับ
-4-
สัมปทานการก่อสร้างและบริหารท่าเรือการค้าระหว่างประเทศหลายๆแห่งจึงเป็นที่รู้ จักของคนในวงการธุรกิจเป็นอย่างดี
คุณประทีปได้เริ่มเก็บสะสมพระมาตั้งแต่อายุประมาณ20ปี
แล้วค่อยๆแสวงหาพระมาเก็บสะสมเรื่อยๆจนมีมากเพียงพอกับการจัดสร้างพิพิธภัณฑ์แห่งนี้ซึ่งมีงบประมาณในการสร้างกว่า40ล้
านบาทบนเนื้อที่หลายพันไร่ ซึ่งในอนาคตมีแผนว่าจะพัฒนาสถานที่แห่งนี้ให้มีทั้งที่พักอาศัยโรงแรมและศูนย์การค้าอีกด้วย
ภายในพิพิธภัณฑ์พระได้มีการจัดแสดงพระพุทธรูปยุคต่างๆตั้งแต่โบราณเริ่มจากยุคคันธราษฎร์ ทวารวดีเชียงแสนสุโขทัย
อู่ทอง ลพบุรี อยุธยาและรัตนโกสินทร์ มากกว่า500องค์นอกจากนี้ยังมีพระบูชาอีกคือพระเครื่องชุดเบญจภาคีจานวน3ชุด
พระเบญจภาคียอดขุนพลพระร่วงหลังร่างปืนพระสมเด็จวัดระฆังซึ่งมีทุกพิมพ์พระกริ่งปวเรศ(ซึ่งเป็นพระ1ในจานวน22
องค์ในประเทศไทย)พระกริ่งจีนพระกิ่งเขมรพระกริ่งสายวัดสุทัศน์เทพวรารามพระกริ่งวัดบวรฯพระสมเด็จจิตรดา
พระหลวงปู่ทวดทุกพิมพ์นอกจากนี้แล้วยังมีการสะสมเหรียญยอดนิยมต่างๆอีกเป็นจานวนมากอาทิเช่นหลวงพ่อกลั่นเหรียญ
ร.5ในแบบต่างๆให้ชมมากกว่า2,000องค์ รวมถึงที่พิพิธภัณฑ์แห่งนี้ยังมีพระพุทธรูปที่แกะจากหยกล้านปี ซึ่งมีน้าหนักรวมกว่า8
ตันผู้ที่ชื่นชอบศิลปะการสร้างพระพุทธรูปและมีศรัทธาไม่ควรพลาดชมเปิดบริการทุกวันเวลา09.00-17.00น.
พิพิธภัณฑ์และศูนย์ศึกษาชาวเขา พิพิธภัณฑ์แห่งนี้ตั้งอยู่บนชั้น3ของอาคารPDA(The Population&Community
DevelopmentAssociation) หรืออาคารสมาคมพัฒนาประชากรและชุมชนจังหวัดเชียงราย
ซึ่งสมาคมพัฒนาประชากรและชุมชนดังกล่าวเป็นองค์กรที่ไม่แสวงหาผลกาไรที่ทางานด้านพัฒนาคุณภาพชีวิตและส่งเสริมให้การ
ศึกษาแก่ชาวเขาการจัดตั้งพิพิธภัณฑ์แห่งนี้ได้ดาเนินงานมากว่า18ปีแล้ว
มีจุดประสงค์เพื่อเสริมสร้างความสัมพันธ์ระหว่างประเทศไทยกับชนกลุ่มน้อยและประชาคมระหว่างประเทศให้แน่นแฟ้ นมากขึ้น
ซึ่งจะส่งผลให้ประชาชนชาวไทยและนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติได้เรียนรู้และเข้าใจวิถีชีวิตของของชาวเขาซึ่งมีด้วยกัน6เผ่ามากขึ้น
การจัดแสดงภายในพิพิธภัณฑ์จะประกอบด้วยการแสดงวิถีชีวิตของชนเผ่าทั้งอาข่ามูเซอเย้ากะเหรี่ยงลีซอและ ม้ง
ในรูปแบบของบอร์ดจัดแสดง
การนาเครื่องใช้ในชีวิตจริงมาจัดแสดงซึ่งล้วนมาจากวัสดุที่หาได้ตามธรรมชาติซึ่งแสดงให้เห็นถึงวิถีชีวิตที่อยู่กับธรรมชาติอย่างแท้
จริงเครื่องแต่งกายของแต่ละเผ่า
รวมถึงการจัดให้ความรู้ในรูปแบบของการฉายสไลด์มัลติวิชั่น(multivision)หรือวิดิทัศน์ซึ่งอธิบายเกี่ยวกับชาวเขา
ในจังหวัดเชียงรายการเพาะปลูกอุปกรณ์ในการเก็บเกี่ยวรวมถึงการอพยพย้ายถิ่นฐานเข้ามาอยู่ในเอเชียอาคเนย์
มีให้บริการทั้งหมด5 ภาษา ได้แก่ ภาษาไทยภาษาอังกฤษภาษาฝรั่งเศสภาษาเยอรมันและภาษาญี่ปุ่น
นอกจากนี้ภายในพื้นที่จัดแสดงยังนาเครื่องจักรสานและหัตถกรรมพื้นเมืองเช่นย่ามเสื้อผ้าเครื่องประดับ
มาให้ได้ชมและจัดจาหน่ายเป็นของที่ระลึกซึ่งอยู่ภายในร้านค้าของพิพิธภัณฑ์อีกด้วย
เหมาะเป็นอย่างยิ่งสาหรับนักท่องเที่ยวที่ชื่นชอบวัฒนธรรมอันมีเอกลักษณ์
รวมทั้งของที่ระลึกสวยงามมีเสน่ห์แปลกตาอันหาได้เฉพาะในภาคเหนือค่าเข้าชมเพียง50บาทสามารถเข้าชมได้วันจันทร์-ศุกร์
เวลา09.00-18.00น. ส่วนวันเสาร์-อาทิตย์เวลา10.00-18.00น.
-5-
พิพิธภัณฑ์ดา พิพิธภัณฑ์พระ-ประทีปโกลด์แลนด์ พิพิธภัณฑ์และศูนย์ศึกษาชาวเขา
อนุสรณ์ชาวไทยเชื้อสายจีนหมู่บ้านสันติคีรี หรือ"ดอยแม่สลอง"หรือ"เหมย เซอ เล่อ" ที่อาเภอแม่ฟ้ าหลวงจังหวัดเชียงรายนั้น
หมายถึงดินแดนแห่งความสงบสุขเดิมเป็นหมู่บ้านของอดีตทหารจีนคณะชาติ(ก๊กมินตั๋ง)กองพล
93 เป็นที่ตั้งของอนุสรณ์ชาวไทยเชื้อสายจีน
ซึ่งทหารจีนดังกล่าวได้ช่วยราชการไทยต่อสู้และปราบปรามคอมมิวนิสต์ในพื้นที่ดอยหลวงดอยขาวและดอยผาหม่นจ.เชียงราย
พ.ศ.2514-2528และพื้นที่เขาย่าจ.เพชรบูรณ์ ในปี 2524 และต่อมาได้รับสัญชาติไทยในที่สุด
พิพิธภัณฑ์และอนุสรณ์แห่งนี้จึงถูกสร้างโดยความรักความศรัทธาของคนในชุมชน
เพื่อเป็นการราลึกถึงคุณงามความดีของอดีตทหารจีนคณะชาติในการช่วยรักษาผืนแผ่นดินไทย
พร้อมทั้งส่งเสริมและพัฒนาการท่องเที่ยวดอยแม่สลอง
เมื่อเดินเข้าไปเราจะพบ“พิพิธภัณฑ์วีรชนอดีตทหารจีนคณะชาติภาคเหนือประจาประเทศไทย”
ตัวอาคารหลักคืออาคารที่อยู่ตรงกลางออกแบบก่อสร้างอย่างสวยงามด้วยสถาปัตยกรรมแบบจีน เป็น
"อนุสรณ์สถานทหารจีนคณะชาติภาคเหนือประจาประเทศไทย" ภายในมี“ป้ ายวิญญาณ”ของเหล่าทหารผู้วายชนม์
อาคารทางซ้ายมือเป็นอาคารพิพิธภัณฑ์ห้องที่1บอกเล่าเรื่องราวการเดินทาง
ความเป็นมาของทหารชื้อสายจีนตั้งแต่ก่อนมาอยู่ประเทศไทยยึดตามวันเวลาในการรบเป็นสาคัญ
มีโมเดลแสดงถึงสนามรบและเส้นทางการเดินทัพรวมถึงจัดแสดงข้าวของเครื่องใช้ของทหารในยุคนั้นส่วนอาคารทางขวาคือ
พิพิธภัณฑ์ห้องที่2 และ3 แสดงให้เห็นถึงการสงเคราะห์ต่างๆของสมาคมจีนเพื่อสงเคราะห์ผู้ประสบภัย
ทั้งการสงเคราะห์ในรูปแบบของสิ่งของและทุนการศึกษา
เวียงกาหลง “เมืองวัฒนธรรมแดนพุทธภูมิถิ่นกาขาวชาวศรีวิไล” คือคาขวัญของสถานปฏิบัติธรรมและเมืองสมัยโบราณ
เป็นศูนย์การเรียนรู้ชุมชนชื่อ“เวียงกาหลง”
เวียงกาหลงตั้งอยู่บนเทือกเขาดอยดงในเทือกเขาดอยหลวงในเขตบ้านป่าส้านหมู่ที่5 ตาบลหัวฝายอาเภอเวียงป่าเป้ า
จังหวัดเชียงรายเป็นแหล่งท่องเที่ยวทางวัฒนธรรมที่สาคัญอีกที่หนึ่ง ชุมชนโบราณแห่งนี้ไม่สามารถระบุได้ว่า
เป็นเมืองที่สร้างขึ้นในยุคสมัยใดเพราะไม่พบการพูดถึงเมืองนี้ในหลักฐานหรือบันทึกเลย
เรื่องราวของเมืองจึงบอกเล่าผ่านวัตถุต่างๆที่พบที่นี่เท่านั้น
สาหรับแผนผังในเมืองโบราณแห่งนี้เมื่อผ่านซุ้มประตูทางเข้าเข้าไปเราจะพบป้ ายอธิบายสถานที่ต่างๆ
ภายในเมืองนี้ประกอบด้วยวัดศูนย์การเรียนรู้
และเตาเผาโบราณ นอกจากนี้ผู้มาเยือนสามารถเดินท่องเที่ยวไปตามกาแพงทางเดินรอบๆเมือง
-6-
ชมทัศนียภาพอันสวยงามแวะสักการะสิ่งศักดิ์สิทธิ์สัมผัสบรรยากาศสมัยก่อนได้
นอกจากวัดเวียงกาหลงอันสงบร่มรื่นแล้วสิ่งที่พลาดไม่ได้ของการมาเยือนที่นี่คือเตาเผาโบราณ
ใช้เผาเครื่องปั้นดินเผาอันเลื่องทั้งความงามและและคุณภาพของที่นี้บนเครื่องเคลือบแต่ละชิ้นปรากฏลวดลายอ่อนช้อยงดงาม
ทั้งสัตว์เช่นลายกา ลานกิเลนลายพันธุ์ไม้ เช่นลายก้านขด ลายกาคู่ โดยเฉพาะลายกานั้นถือเป็นเอกลักษณ์ของที่นี่เลยทีเดียว
ลายนี้เกิดจากการดัดแปลงรูปกลีบดอกไม้หรือใบไม้ ให้เหมือนรูปนกกา จึงเรียกว่าลายกาหรือดอกกาหลงนั่นเอง
ศูนย์ภาษาและวัฒนธรรมจีนสิรินธร ภายในมหาวิทยาลัยแม่ฟ้ าหลวง
ตั้งขึ้นด้วยความร่วมมือระหว่างรัฐบาลสาธารณรัฐประชาชนจีนและมหาวิทยาลัยแม่ฟ้ าหลวงเพื่อเป็นที่ระลึกในโอกาสครบรอบ
100 ปี แห่งวันพระราชสมภพสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี
นับเป็นเครื่องหมายแห่งมิตรภาพระหว่างประชาชนของทั้งสองประเทศ
เป็นศูนย์กลางการพัฒนาการเรียนการสอนภาษาจีนในประเทศไทยและในภูมิภาครวมทั้งเป็นศูนย์กลางแลกเปลี่ยนศิลปวัฒนธรร
มระหว่างประเทศจีน-ไทยลักษณะสถาปัตยกรรมเป็นแบบจีนแท้มีสวนน้าตรงกลางแบบซูโจว
ออกแบบโดยสถาปนิกชาวจีนจากมณฑลเสฉวนวัสดุกระเบื้องหลังคารูปปั้นประดับหลังคา
สิงโตคู่แกะสลักด้วยหินอ่อนที่หน้าศูนย์ฯนามาจากประเทศจีนทั้งสิ้น
ภายในอาคารจัดแสดงนิทรรศการภาพถ่ายสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯสยามบรมราชกุมารี
เสด็จเยือนประเทศจีนและมีห้องสมุดให้ค้นคว้า
อนุสรณ์ชาวไทยเชื้อสายจีน เวียงกาหลง ศูนย์ภาษาและวัฒนธรรมจีนสิรินธร
รอยพระบาทแห่งสันติภาพ รอยพระบาทแห่งสันติภาพที่ปัจจุบันอยู่ภายในค่ายเม็งมหาราชนั้น
เป็นหนึ่งสิ่งที่แสดงถึงพระบารมีของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวผู้นาพาความสงบสุขกลับคืนสู่แผ่นดินไทยตอนเหนือซึ่งในอดีต
ราว3-
4ทศวรรษที่ผ่านมาได้เกิดความไม่สงบขึ้นเนื่องจากการสู้รบกันของพรรคคอมมิวนิสต์ที่ยึดฐานที่ตั้งอยู่ที่ดอยผาหม่นหรือดอยภูชี้ฟ้ า
ในปัจจุบันกับเจ้าหน้าที่รัฐ
สถานที่แห่งนี้ถือเป็นสมรภูมิรบบนยอดดอยที่วีรบุรุษผู้กล้าของไทยมากมายต้องต่อสู้และเสียสละชีวิตเพื่อปกป้ องอธิปไตยของชาติ
จากความพรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศไทย(พคท.)จนกระทั่งวันที่27 กุมภาพันธ์พ.ศ.2525 การรบพุ่งสงบลง
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่9สมเด็จพระนางเจ้าพระบรมราชินีนาถ
และสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาสยามบรมราชกุมารี เสด็จพร้อมด้วยพระเจ้าวรวงศ์เธอพระองค์เจ้าโสมสวลี
พระวรราชาธินัดดามาตุทรงเยี่ยมบ้านพญาพิภักดิ์ณสันดอยยาวพอ.วิโรจน์ทองมิตรได้นาอดีตผู้นา
ผู้ก่อการร้ายคอมมิวนิสต์เข้าเฝ้ าทูลละอองธุลีพระบาทเพื่อแสดงความจงรักภักดีและได้กราบบังคมทูลขอพระราชทาน
“รอยพระบาท”ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่9ประทับลงบนแบบพิมพ์ปูนปลาสเตอร์ เพื่อ
-7-
จารึกไว้เป็นประวัติศาสตร์แห่งชัยชนะเหนือดอยยาวและดอยผาหม่นนับตั้งแต่นั้นเป็นต้นมาก็ไม่มีการสู้รบบนยอดดอยอีก
นายเล่าลีแซ่จางชาวเขาเผ่าม้งได้เล่าว่าณช่วงเวลาที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวเสด็จมานั้นมีเรื่องราวอัศจรรย์เกิดขึ้นคือ
ในวันนั้นเป็นวันที่หนาวมากมีหมอกปกคลุมทั่วทั้งบริเวณแต่เมื่อพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวได้ประทับรอยพระบาทนั้น
หมอกทั้งหลายกลับหายไปมีเพียงแสงอาทิตย์ที่ส่องให้ความอบอุ่นเท่านั้นและหลังจากที่พระองค์เสด็จกลับหมอกก็ลงปกคลุม
ความหนาวก็มาเยือนอีกครั้งและต่อมาเนื่องในวโรกาสที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงครองสิริราชสมบัติครบ60ปี
กองพันทหารราบที่3 กรมทหารราบที่17ในองค์สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี
ได้อัญเชิญรอยพระบาทคู่นั้นมาประทับที่ค่ายเม็งรายมหาราชจังหวัดเชียงราย
กลายเป็นสถานที่ท่องเที่ยวที่น่าประทับใจทางประวัติศาสตร์
หอวัฒนธรรมนิทัศน์เฉลิมพระเกียรติ กาญจนาภิเษกจังหวัดเชียงรายคือศาลากลางหลังเดิมของจังหวัดตั้งอยู่ที่ถนนสิงห์ไคล
อาเภอเมือง หอแห่งนี้แสดงให้เห็นถึงพระมหากรุณาธิคุณของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
ความเป็นมาอันยาวนานของจังหวัดเชียงรายในรูปแบบของกลุ่มชาติพันธุ์
วิถีชีวิตและวัฒนธรรม ตลอดจนภาพปัจจุบันของจังหวัดว่ามีบทบาททางเศรษฐกิจในระดับภูมิภาคอย่างไรด้วยการใช้สื่อผสมต่าง
ๆ ในการนาเสนอเรื่องราวทั้งมัลติมีเดียวีดีทัศน์และภาพดูราแทนทาให้การชมพิพิธภัณฑ์ แห่งนี้ไม่น่าเบื่ออย่างที่คิด
หอวัฒนธรรมแห่งนี้แบ่งการจัดแสดงออกเป็นหกห้องด้วยกันห้องแรกคือ
“พระมหากรุณาธิคุณในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯรอยพระบาท”
นิทรรศการถาวรเกี่ยวกับพระราชกรณียกิจของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯและพระบรมวงศานุวงศ์ในพื้นที่จังหวัดเชียงราย
ห้องต่อมาคือ“ประวัติความเป็นมาของเมืองเชียงราย”ห้องนี้นาเสนอข้อมูลทางประวัติศาสตร์ของเมืองเชียงราย
ตั้งแต่ยุคดึกดาบรรพ์สมัยสถาปนาเมืองเชียงรายจนถึงเชียงรายในปัจจุบันห้องถัดมา “ชนพื้นเมืองและกลุ่มชาติพันธุ์”
แสดงถึงความหลากหลายทางชาติพันธุ์และวัฒนธรรมของกลุ่มคนที่อาศัยในจังหวัดเชียงรายและพื้นที่ใกล้เคียงห้องที่4 คือ
“ภาษาและวรรณกรรม” ห้องนี้เก็บความทรงจาเกี่ยวกับระบบภาษาพูดและภาษาเขียนอันเป็นวัฒนธรรมร่วมกันของชาวล้านนา
ที่ได้บันทึกนิทานตานานตารายาคาสอนต่างๆไว้ในใบลานพับสาจารึกเป็นต้น ถัดมาคือห้อง “วัฒนธรรม5 เชียง”
จัดแสดงความสัมพันธ์อันดีและวัฒนธรรมร่วมกันระหว่างเมืองเชียงรายเชียงใหม่เชียงตุงเชียงรุ้ง(สิบสองปันนา)เชียงทอง
(หลวงพระบาง)ก่อนที่การสร้างรัฐชาติปิดกั้นความสัมพันธ์ของทั้งห้าเมืองนี้และห้องสุดท้ายคือห้อง “สี่เหลี่ยมเศรษฐกิจ”
แสดงการพัฒนาเศรษฐกิจร่วมกันของจีนลาวพม่า ไทยทั้งด้านการศึกษาการคมนาคมการสื่อสารการบริการศิลปวัฒนธรรม
และการท่องเที่ยว
สถูปดอยช้างมูบตั้งอยู่บนดอยช้างมูบริมถนนสายพระธาตุดอยตุงบ้านผาหมีห่างจากทางแยกวัดน้อยดอยตุงประมาร 4กม.
ตานานสิงหนวัติและตานานโยนกนาคพันธ์กล่าวถึงดอยช้างมูบว่าในรัชกาลที่ 10พระเจ้าชาติรายได้มีกัมระปติสะโลเทพบุตร
นาไม้นิโครธมาปลูกณดอยช้างมูบต้นไม้นั้นเมื่อโตได้สูง 7 ศอก ได้แตกสาขาเป็น4กิ่ง สามารถให้ร่มเงาให้แก่คนได้ 20คน
ประชาชนมีความเชื่อว่าหากนาไม้มาค้ากิ่งนิโครธน้าจะทาให้บรรลุความปรารถนาเช่นเดียวกับต้นกัลปพฤกษ์ กล่าวคือ
ทิศตะวันออกได้บุตรสมประสงค์ทิศเหนือได้ทรัพย์ทิศตะวันตกเจริญรุ่งเรือง และทิศใต้อายุยืนนาน
ปัจจุบันคงเหลือเพียงพระสถูปช้างมูบเป็นเจดีย์ขนาดเล็กตั้งอยู่บนก้อนหินใหญ่ ซึ่งมีลักษณะเหมือนช้างหมอบอยู่
สภาพโดยเป็นต้นโพธิ์ใหญ่ และต้นสนซึ่งใช้ปลูกเพื่ออนุรักษ์ดินและน้า
-8-
รอยพระบาทแห่งสันติภาพ หอวัฒนธรรมนิทัศน์เฉลิมพระเกียรติ สถูปดอยช้างมูบ
ชมวัง เที่ยววัด
พระตาหนักดอยตุง อยู่บริเวณกม.ที่ 12 ทางหลวงหมายเลข1149
เป็นที่ประทับแปรพระราชฐานเพื่อทรงงานของสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี พระ-ตาหนักเป็นอาคารสองชั้น
มีรูปทรงผสมผสานระหว่างศิลปะล้านนากับชาเลย์ของสวิส มีการแกะสลักไม้ตามกาแลเชิงชายและขอบหน้าต่างเป็นลวดลายต่าง
ๆ ฝีมือช่างชาวเหนือ
ดอยตุงนอกจากจะมีพระธาตุดอยตุงที่เป็นที่เลื่อมใสแล้วยังมีสถานที่ท่องเที่ยวที่น่าสนใจอย่างมากคือ“พระตาหนักดอยตุง”หรือ
“พระตาหนักสมเด็จย่า”นั่นเองตัวสถาปัตยกรรมเป็นแบบผสมมีกลิ่นอายล้านนาและความเรียบง่าย
รอบพระตาหนักรายล้อมด้วยต้นไม้ดอกไม้นานาพันธุ์ทาให้ที่นี่สวยงามร่มรื่นมาก
พระตาหนักดอยตุงถูกสร้างขึ้นในช่วงเวลาเดียวกับที่เกิดโครงการพัฒนาดอยตุงฯ
โดยพระราชดารัสของสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนีด้วยพระราชทรัพย์ส่วนพระองค์เมื่อเดือนธันวาคมพ.ศ.2530
พระองค์ทรงแปรพระราชฐานมาทรงงานที่นี่และนับได้ว่าเป็น“บ้าน”หลังแรกของพระองค์
พระตาหนักสร้างอยู่บนเนินเขาทาให้มองเห็นทิวทัศน์กว้างไกลลักษณะเด่นคือเป็นศิลปะแบบล้านนาบ้านปีกไม้ มีกาแล
ผสมกับลักษณะบ้านพื้นเมืองของชาวสวิตเซอร์แลนด์ที่เรียกว่าชาเลต์(SwissChalet)
มีไม้แกะสลักเป็นเชิงชายลายเมฆไหลอ่อนช้อยเน้นความเรียบง่ายแต่ใช้สอยได้อย่างครบครันมีสองชั้นและชั้นลอย
สิ่งที่น่าตื่นตาตื่นใจเป็นพิเศษคือเพดานดาวที่มีตาแหน่งของดาวเรียงกันเหมือนเช่นในวันพระราชสมภพ
นอกจากนี้ยังสามารถเข้าชมห้องบรรทมและห้องทรงงานที่สงบเรียบง่ายแต่ไม่อนุญาตให้ถ่ายรูป
รอบพระตาหนักตกแต่งเป็นสวนสวยงามด้วยดอกไม้หลายสายพันธุ์
พระธาตุดอยตุง ตั้งอยู่บริเวณกม.ที่ 17.5 ของทางหลวงหมายเลข1149เป็นที่บรรจุพระรากขวัญเบื้องซ้าย
(กระดูกไหปลาร้า)ของพระพุทธเจ้านามาจากมัธยมประเทศนับเป็นครั้งแรกที่พระพุทธศาสนาลัทธิลังกาวงศ์
ได้มาประดิษฐานที่ล้านนาไทยเมื่อก่อสร้างพระสถูปบรรจุพระบรมสารีริกธาตุนี้ได้ทาธงตะขาบ(ภาษาพื้นเมืองเรียกว่าตุง)
ใหญ่ยาวถึงพันวาปักไว้บนยอดดอย ถ้าหากปลายธงปลิวไปไกลถึงเมืองไหนก็จะกาหนดเป็นฐานพระสถูป
เหตุนี้ดอยซึ่งเป็นที่ประดิษฐานปฐมเจดีย์แห่งล้านนาไทยจึงปรากฏนามว่าดอยตุงพระธาตุดอยตุงเป็นปูชนียสถานที่สาคัญ
เมื่อถึงเทศกาลนมัสการพระธาตุดอยตุงจะมีพุทธศาสนิกชนทั้งชาวไทยและเพื่อนบ้านจากประเทศใกล้เคียง เช่น
ชาวเชียงตุงในรัฐฉานประเทศสหภาพพม่าชาวหลวงพระบางเวียงจันทน์ เดินทางเข้ามานมัสการทุกปี
-9-
หอแห่งแรงบันดาลใจ มูลนิธิแม่ฟ้ าหลวงในพระบรมราชูปถัมภ์ได้ทาการปรับปรุงหอพระราชประวัติ
สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนีและเปลี่ยนเนื้อหานิทรรศการเป็น"หอแห่งแรงบันดาลใจ"
ถ่ายทอดพระราชจริยวัตรในการทางาน
และพระวิริยะอุตสาหะที่มุ่งพัฒนาความเป็นอยู่ของคนไทย โดยหวังให้ผู้เข้าชมได้เกิดแรงบันดาลใจยึดมั่นในความดีคิดดี
ประพฤติปฏิบัติดีเท่าที่ตนเองจะสามารถทาได้ เพื่อพลังแห่งความดีนี้จะได้ผลิดอกออกผลบานสะพรั่งไปทั่วทุกหนทุกแห่งเช่น
ราชสกุลมหิดลที่เปรียบเสมือนหยดน้าหยดเล็กๆที่ค่อยๆหลั่งรินสร้างแรงกระเพื่อม ดับร้อน
และบันดาลความชุ่มชื่นผาสุกไปทั่วแผ่นดินไทย
พระตาหนักดอยตุง พระธาตุดอยตุง หอแห่งแรงบันดาลใจ
วัดพระสิงห์ ตั้งอยู่ ถนนสิงหไคลริมแม่น้ากกใกล้ศาลากลางจังหวัดแต่เดิมเคยเป็นที่ประดิษฐาน
พระพุทธสิหิงค์องค์ที่ประดิษฐานอยู่ณวิหารลายคาวัดพระสิงห์เชียงใหม่ในปัจจุบัน ตามประวัติเล่าว่าเจ้ามหาพรหม
พระอนุชาของพระเจ้ากือนากษัตริย์ผู้ครองนครเชียงใหม่ได้อัญเชิญพระพุทธสิหิงค์มาจากเมืองกาแพงเพชร
พระเจ้ากือนาได้โปรดฯให้ประดิษฐานไว้ ณเมืองเชียงใหม่ต่อมาพระเจ้ามหาพรหม
ทูลขอยืมพระพุทธสิหิงค์มาประดิษฐานไว้ที่เมืองเชียงรายเพื่อหล่อจาลอง แต่เมื่อสิ้นบุญพระเจ้ากือนาและพระเจ้าแสนเมือง
ราชนัดดาของพระองค์ได้เสด็จขึ้นครองเมืองเชียงใหม่เจ้ามหาพรหมคิดจะชิงราชสมบัติจึงยกกองทัพจากเชียงราย
ไปประชิดเมืองเชียงใหม่ แต่เจ้าแสนเมืองก็สามารถป้ องกันเมืองได้อีกทั้งยกทัพตีทัพเจ้ามหาพรหมมาถึงเชียงราย
และครั้งนี้เองที่ทรงอัญเชิญพระพุทธสิหิงค์คืนกลับไปประดิษฐานอยู่ที่พระสิงห์เชียงใหม่สืบมา
วัดนี้นอกจากเคยเป็นที่ประดิษฐานพระพุทธสิหิงค์แล้ว ยังมีรอยพระพุทธบาทจาลองบนแผ่นศิลากว้าง5นิ้วยาว2 ฟุต
มีอักษรขอมโบราณจารึกว่า"กุศลาธมมา-อกุศลาธมมา"สันนิษฐานว่าสร้างในสมัยพระเจ้าเม็งรายมหาราช
วัดพระธาตุดอยจอมทอง หรือวัดดอยทอง ตาบลเวียงอาเภอเมืองเชียงราย พระธาตุเป็นมงคลนามแห่งเมืองเชียงราย
เดิมเป็นวัดเก่าแก่สันนิษฐานว่ามีมาก่อนที่พ่อขุนเม็งรายจะมาพบพื้นที่และสร้างเป็นเมืองเชียงรายในปี พ.ศ. ๑๘o๕
ตามหลักฐานปรากฏในหนังสือพงศวดารโยนกของพระยาประชากรจักรกล่าวว่า เมื่อพระพุทธศาสนาล่วงแล้ว๙๕๖
พรรษามีพระเถระเจ้ารูปหนึ่งนามพระพุทธโฆษาเป็นชาวโกศลเมื่อสุธรรมวดี(สะเทิ้ม)
ในสามัญประเทศได้ออกไปสู่เมืองลังกาทวีปนาคัมภีร์พระไตรปิฏก แห่งลังกาทวีปมาสู่สามัญทวีปและพุกามประเทศ
และเข้ามาสู่โยนกนครไชยบุรีศรีเชียงแสนในวันจันทร์ขึ้น๘ค่าเดือน ๖ ปีชวด มหาศักราชได้ ๓๓๕(พ.ศ.๑๔๘๓)
นาพระบรมสารีริกธาตุ๓ขนาดรวม๑๖ องค์ ถวายแก่พระเจ้าพังคราชเจ้าเมืองโยนกนาคพันธ์
พระองค์ได้แบ่งได้แบ่งเป็นพระธาตุขนาดใหญ่หนึ่งขนาดกลางสองรวมสามองค์ส่งให้พญาเรือนแก้วเจ้าเมืองไชยนารายณ์
(บริเวณอาเภอเวียงชัยในปัจจุบัน)ส่วนหนึ่งบรรจุลงมหาสถูปบนดอยทอง ขนานนามว่าพระธาตุดอยจอมทอง
เพื่อเป็นมงคลนามของเมืองมีพิธีสรงน้าพระธาตุทุกวันขึ้น๑๕ค่าเดือน ๓(เดือน ๕ เหนือ)
-10
วัดร่องขุ่น เป็นวัดที่มีความสวยงามโดดเด่นต่างจากวัดอื่นๆด้วยฝีมือการออกแบบและก่อสร้างของอ.เฉลิมชัยโฆษิตพิพัฒน์
ศิลปินชื่อดัง เพื่อเป็นวัดประจาบ้านเกิดสร้างโดยจินตนาการของอาจารย์จัดเป็นงานพุทธศิลป์ ที่ยิ่งใหญ่
และงดงามน่าแวะชมมากแห่งหนึ่ง อ.เฉลิมชัยโฆษิตพิพัฒน์มีแรงบันดาลใจในการสร้างวัดแห่งนี้อยู่3ประการคือเพื่อชาติ
ศาสนาและพระมหากษัตริย์ซึ่งอาจารย์บอกว่า จึงตั้งความปรารถนาที่จะถวายชีวิตใช้ช่วงเวลาที่ดีที่สุดของตนเอง
สร้างงานพุทธศิลป์ เพื่อเป็นงานประจารัชกาลของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวให้ได้ และจะถวายชีวิตไปจนตายคาวัด"
(จากเอกสารของวัดร่องขุ่น)ความงดงามของวัดแห่งนี้อยู่ที่"โบสถ์"เพราะอาจารย์อยากจะเนรมิตวัดให้เหมือนเมืองสวรรค์
เป็นวิมานบนดินที่มนุษย์สามารถสัมผัสได้ โบสถ์ เปรียบเหมือนบ้านของพระพุทธเจ้า สีขาวแทนพระบริสุทธิคุณของพระพุทธเจ้า
กระจกขาวหมายถึงพระปัญญาธิคุณของพระพุทธเจ้าที่เปล่งประกายไปทั่วโลกมนุษย์และจักรวาล สะพานหมายถึง
การเดินข้ามวัฏสงสารมุ่งสู่พุทธภูมิก่อนขึ้นสะพานครึ่งวงกลมเล็กหมายถึง โลกมนุษย์
วงใหญ่ที่มีเขี้ยวเป็นปากของพญามารหรือพระราหูหมายถึงกิเลสในใจแทนขุมนรกคือทุกข์
ผู้ที่จะเข้าเฝ้ าพระพุทธเจ้าในพุทธภูมิต้องตั้งจิตปลดปล่อยกิเลสตัณหาของตนเองลงไปในปากพญามาร
เพื่อเป็นการชาระจิตให้ผ่องใสก่อนที่จะเดินผ่านขึ้นไปพบกับพระราหูอยู่เบื้องซ้าย และพญามัจจุราชอยู่เบื้องขวา
บนสันของสะพานจะประกอบไปด้วยอสูรกลืนกัน16ตนข้างละ8 ตนหมายถึงอุปกิเลส16
จากนั้นก็จะถึงกึ่งกลางสะพานหมายถึงเขาพระสุเมรุ ซึ่งเป็นที่อยู่ของเทวดาด้านล่างเป็นสระน้าหมายถึงสีทันดรมหาสมุทร
มีสวรรค์ตั้งอยู่ด้วยกัน6ชั้นด้วยกันผ่านสวรรค์6เดินลงไปสู่พรหม16ชั้นแทนด้วยดอกบัวทิพย์16ดอกรอบพระอุโบสถ
ดอกที่ใหญ่สุด4 ดอก ตรงทางขึ้นด้านข้างโบสถ์หมายถึงซุ้มพระอริยเจ้า 4พระองค์ประกอบด้วยพระโสดาบันพระสกิทาคามี
พระอนาคามีและพระอรหันต์เป็นสงฆ์สาวกที่ควรกราบไหว้บูชา ก่อนขึ้นบันไดครึ่งวงกลมหมายถึงโลกุตตรปัญญา
บันไดทางขึ้น 3 ขั้นแทนอนิจจัง ทุกขัง และอนัตตาผ่านแล้วจึ้งขึ้นไปสู่อรูปพรหม4แทนด้วยดอกบัวทิพย์4ดอกและบานประตู4
บานบานสุดท้ายเป็นกระจกสามเหลี่ยมแทนความว่าง ซึ่งหมายถึงความหลุดพ้น
แล้วจึงก้าวข้ามธรณีประตูเข้าสู่พุทธภูมิ ภายในประกอบด้วยภาพเขียนโทนสีทองทั้งหมดผนัง4 ด้าน
เพดานและพื้นล้วนเป็นภาพเขียนที่แสดงถึงการหลุดพ้นจากกิเลสมารมุ่งเข้าสู่โลกุตตรธรรมส่วนบนของหลังคาโบสถ์
ได้นาหลักการของการปฏิบัติจิต3ข้อ คือศีล สมาธิปัญญา
นาไปสู่ความว่างคือความหลุดพ้นนั่นเอง นี่เป็นเพียงรายละเอียดคร่าวๆของโบสถ์ของวัดร่องขุ่นส่วนรายละเอียดจริงๆนั้น
อาจารย์บอกว่าจะสร้างทั้งหมด9หลังแต่ละหลังมีความหมายเป็นคติธรรมทุกหลัง
ผมหวังจะสร้างงานพุทธศิลป์ ของแผ่นดินให้ยิ่งใหญ่อลังการเพื่อให้คนทั้งโลกยอมรับและปรารถนาจะมาชื่นชมให้ได้
จะถวายชีวิตสร้างจนลมหายใจสุดท้ายและได้สร้างลูกศิษย์รอรับช่วงต่ออีก2รุ่นหลังผมตายคาดว่าจะเสร็จสมบูรณ์ทั้ง9หลัง
คงใช้เวลาทั้งหมด60-70ปีครับ" นอกจากจะชมความงดงามของพระอุโบสถแล้ว ยังสามารถเข้าชมผลงานของอาจารย์
และเลือกซื้อของที่ระลึกจากวัดร่องขุ่นได้อีกด้วย
วัดพระสิงห์ วัดพระธาตุดอยจอมทอง วัดร่องขุ่น
-11-
วัดพระแก้ว ถนนไตรรัตน์เป็นวัดที่ค้นพบพระแก้วมรกตหรือพระพุทธมหามณีรัตนปฏิมากรที่ประดิษฐานอยู่ณวัดพระแก้ว
กรุงเทพฯในปัจจุบัน ตามประวัติเล่าว่าเมื่อปี พ.ศ. ๑๘๙๗ในสมัยพระเจ้าสามฝั่งแกนเป็นเจ้าเมืองเชียงใหม่นั้น
ฟ้ าได้ผ่าเจดีย์ร้างองค์หนึ่งและได้พบพระพุทธรูปลงรักปิดทองอยู่ภายในเจดีย์
ต่อมารักกะเทาะออกจึงได้พบว่าเป็นพระพุทธรูปสีเขียวสร้างด้วยหยก คือพระแก้วมรกตนั่นเอง
ปัจจุบันวัดพระแก้วเชียงรายเป็นที่ประดิษฐานพระหยก ซึ่งสร้างขึ้นใหม่ในวโรกาสที่สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี
มีพระชนมายุครบ90 พรรษา
วัดกลางเวียง วัดกลางเวียงคือวัดที่ตั้งอยู่ใจกลางเวียงเชียงรายเดิมชาวบ้านเรียกว่า วัดจันทน์โลกหรือวัดจั๋นตะโลก
เพราะในวัดเคยมีต้นจันทน์แดงขนาดใหญ่ขึ้นอยู่ถือเป็นไม้มงคลใช้บูชาพระตามธรรมเนียมโบราณ
วัดมิ่งเมือง ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมาเมื่อพ.ศ.2513 เป็นวัดใหญ่ สมัยก่อนมีชุมชนไทยใหญ่อยู่เรียกว่าวัดเงี้ยวหรือ
วัดช้างมูบเวลานี้มีการบูรณะเจดีย์โบราณณของวัดพบจารึกบนแผ่นเงินจารึกเป็นภาษาพม่าแปลออกมาเป็นผู้สร้างจากเจดีย์
โบราณวัดภาษายังมีปรากฎอยู่เป็นศิลปะผสมระหว่างพม่าและล้านนา
วัดพระแก้ว วัดกลางเวียง วัดมิ่งเมือง
วัดพระธาตุเจดีย์หลวง ตั้งอยู่ติดกับพิพิธภัณฑ์สถานแห่งชาติเชียงแสนด้านทิศตะวันออก สร้างโดยพระเจ้าแสนภู
เมื่อประมาณกลางพุทธศตวรรษที่๑๙โบราณสถานประกอบด้วยเจดีย์ประธานทรงระฆังแบบล้านนาสูง๘๘ม. ฐานกว้าง๒๔
ม. เป็นเจดีย์ใหญ่ที่สุดในเชียงแสนนอกจากนี้มีพระวิหาร ซึ่งเก่าแก่มากพังทลายเกือบหมดแล้วและเจดีย์รายแบบต่างๆ๔องค์
วัดพระเจ้าล้านทอง อยู่ในเขตกาแพงเมืองเจ้าทองงั่วราชโอรสพระเจ้าติโลกราชเป็นผู้สร้างเมื่อพ.ศ. 2032
ได้ทรงหล่อพระพุทธรูปองค์หนื่งหนักล้านทอง(1,200กก.)ขนานนามว่าพระเจ้าล้านทองเป็นพระประธานหน้าตักกว้าง2ม.สูง
3 ม.เศษ ในวัดนี้ยังมีพระพุทธรูปอีกองค์หนึ่งได้มาจากวัดทองทิพย์ซึ่งเป็นวัดร้าง เรียกกันว่า
พรเจ้าทองทิพย์เป็นพระพุทธรูปทองเหลืองพระพักตร์งดงามมาก ลักษณะเป็นพระพุทธรูปสมัยสุโขทัยหน้าตักกว้าง1ศอก 15 นิ้ว
สูง 2 ศอก 10 นิ้ว
-12-
วัดป่าสัก อยู่ห่างจากที่ว่าการอาเภอเชียงแสนประมาณ ๑กม.ในเขต ต.เวียงพระเจ้าแสนภูทรงสร้างเมื่อพ.ศ. 1838
และให้ปลูกต้นสักล้อมกาแพง300ต้น วัดนี้จึงได้ชื่อว่า"วัดป่าสัก"ภายในวัดมีโบราณสถานที่สาคัญคือ
เจดีย์ประธานทรงมณฑปยอดระฆังตกแต่งด้วยลวดลายปูนปั้นอันวิจิตรมีฐานกว้าง 8ม.สูง 12.5 ม.
เป็นที่บรรจุพระบรมสารีริกธาตุกระดูกตาตุ่มข้างขวาจากเมืองปาฏลีบุตร
วัดพระธาตุเจดีย์หลวง วัดพระเจ้าล้านทอง วัดป่าสัก
วัดสังฆาแก้วดอนหัน มีประวัติว่าสร้างโดยพรเจ้าลวจักราชเมื่อต้นพุทธศตวรรษที่ 12
แต่หลักฐานที่พบแสดงว่ามีอายุอยู่ในช่วงไม่เกินพุทธศตวรรษที่21
กรมศิลปากรได้ขุดพบหลักฐานที่พบแสดงว่ามีอายุอยู่ในช่วงไม่เกินพุทธศตวรรษที่ 21
กรมศิลปากรได้ขุดพบภาพขูดขีดบนแผ่นอิฐเป็นเรื่องราวเกี่ยวกับพระชาติของพระพุทธเจ้า ตอนพระเวสสันดรชาดกเช่น
พระเวสสันดรเดินป่าชูชกเฝ้ าพระเวสสันดรเป็นต้น
นอกจากนี้ยังพบชิ้นส่วนจิตรกรรมฝาผนังที่หลุดพังมาจากผนังวิหารมีสภาพแตกหัก
แต่ยังคงเหลือลักษณะของสีและตัวภาพซึ่งใช้สีชาดและสีแดงเพียง 2สีนับได้ว่าเป็นการค้นพบที่สาคัญทางวิชาการอย่างยิ่ง
วัดพระธาตุผาเงา อยู่ห่างจากอาเภอเชียงแสนไปตามเส้นทางเชียงแสน-เชียงของประมาณ4กม. อยู่ตรงข้ามโรงเรียนสบคา
เป็นสถานที่ปฏิบัติธรรมมีเนื้อที่143 ไร่ มีเจดีย์ทรงระฆังขนาดเล็กตั้งอยู่บนหินก้อนใหญ่ วิหารปัจจุบันสร้างทับซากวิหารเดิม
บนยอดเขาข้างหลังวัดเป็นที่ตั้งของพระบรมพุทธนิมิตรเจดีย์ที่มองเห็นทิวทัศน์สวยงามได้โดยรอบ
วัดเจดีย์เจ็ดยอด อยู่เหนือวัดพระธาตุผาเงาขึ้นไปบนดอยประมาณ1กิโลเมตรตัววัดหักพังหมดแล้ว เหลือแต่เพียงซากอิฐเก่าๆ
แทบไม่เห็นรูปร่างเดิมอาจกล่าวได้ว่า วัดพระธาตุผาเงาและวัดเจดีย์เจ็ดยอดอยู่บนเขาลูกเดียวกัน
มีบริเวณต่อเนื่องกันอย่างกว้างขวางบริเวณร่มรื่นด้วยไม้ใหญ่ สมกับเป็นสถานปฏิบัติธรรม
วัดสังฆาแก้วดอนหัน วัดพระธาตุผาเงา วัดเจดีย์เจ็ดยอด
-13-
วัดพระเจ้าทองน้อยตั้งอยู่หมู่ที่ ๓ถนนพหลโยธินตาบลเวียงอาเภอเชียงแสนจังหวัดเชียงราย
อยู่(ตรงข้ามกับวัดพระเจ้าล้านทอง)วัดนี้ประกอบด้วยเจดีย์ตั้งอยู่ด้านหลังวิหารซึ่งหันหน้าไปทางทิศตะวันออก
กาแพงวัดและอาคารอื่นๆถูกทาลายไปแล้ว ปัจจุบันเป็นวัดร้างไม่ปรากฏหลักฐานเกี่ยวกับการก่อสร้างน่าจะถูกทิ้งร้างไปหลัง
พ.ศ. 2347เมื่อทัพล้านนายกมาขับไล่พม่าสันนิษฐานได้ว่าน่าจะสร้างขึ้นเมื่อประมาณพุทธศตวรรษที่21
วัดพระยืนเชียงแสน ปัจจุบันเหลืออยู่เพียงพระเจดีย์เท่านั้นเป็นเจดีย์รูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสซ้อนลดหลั่นกันสามชั้น
มีเรือนธาตุย่อมุมมีลวดบัวคาดกลางโดยตลอดตอนบนเป็นระฆังแปดเหลี่ยมตามตานานและพงศาวดารกล่าวว่าพญาคาฟู
โอรสของพญาแสนภูทรงโปรดให้สร้างขึ้นเมื่อปีพ.ศ.1875 ต่อมาพระเจดีย์เกิดชารุด
พระยาหลวงไชยชิตจึงทาการซ่อมแซมเมื่อพ.ศ.2181 จากรูปแบบของสถาปัตยกรรม
สันนิษฐานว่าน่าจะก่อสร้างประมาณพุทธศตวรรษที่21
วัดพระแก้ว เชียงของ ตั้งอยู่ หมู่ที่ 13 ตาบลเวียงอาเภอเชียงของจังหวัดเชียงราย สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย
เป็นอีกวัดหนี่งในเชียงของที่ตั้งอยู่กลางเมืองตั้งอยู่ห่างที่ว่าการอาเภอฯประมาณ 400เมตรบนถนนสายหลักเชียงของ-เชียงแสน
(ติดกับที่ทาการไปรษณีย์)ทางเข้าวัดจะติดถนนสายหลักแต่อีกด้านหนึ่งจะติดแม่น้าโขง
ดังนั้นบริเวณวัดจึงสามารถมองเห็นวิวน้าโขงสวยงามมากรวมทั้งมองเห็นฝั่งลาวได้ชัดเจนอีกด้วย
ภายในวัดมีพระพุทธรูปเก่าแก่มากมาย โดยเฉพาะพระพุทธรูปที่ทาจากหินน้าโขงที่งดงามมาก
บริเวณด้านติดแม่น้าโขงมีม้านั่งหินอ่อนให้ท่านนั่งชมทัศนียภาพน้าโขงและฝั่งลาวตลอดแนววัด
วัดพระเจ้าทองน้อย วัดพระยืนเชียงแสน วัดพระแก้ว เชียงของ
วัดศรีดอนชัย เดิมชื่อ “วัดตุงคา”ตั้งอยู่บริเวณสถานีตารวจภูธรอาเภอเชียงของปัจจุบันต่อมาประมาณปี พ.ศ. 2400
ได้ย้ายมาสร้างวัดใหม่ทางทิศตะวันตกติดกับประตูชัย(ที่ตั้งวัดปัจจุบัน) และได้เปลี่ยนชื่อวัดใหม่ว่า“วัดศรีดอนชัย”วัดศรีดอนชัย
เป็นศูนย์กลางจัดการศึกษาของคณะสงฆ์อาเภอเชียงของโดยได้เปิดสอนพระปริยัติธรรมแผนกธรรมมาตั้งแต่พ.ศ.2580
แผนกสามัญศึกษามาตั้งแต่พ.ศ.2525 และเป็นสถานที่สอบธรรมสนามหลวงประจาอาเภอเชียงของประจาทุกปี
และได้รับยกย่องจากกรมการศาสนาให้เป็น“วัดพัฒนาตัวอย่าง”เมื่อพ.ศ. 2519
มีปูชนียวัตถุที่สาคัญอันเป็นที่สักการบูชาของพุทธศาสนานิกชนคือ“ หลวงพ่อเพชร”ซึ่งเป็นพระคู่บ้านคู่เมืองเชียงของ
และพระธาตุศรีเวียงดอนชัยมีประเพณีสักการบูชาเป็นประจาทุกปีในวันมาฆบูชา
วัดหลวงหรือวัดไชยสถานเป็นอีกวัดหนึ่งที่ด้านหน้าติดถนนสายหลักเชียงของ-เชียงแสนและอีกด้านอยู่ติดกับแม่น้าโขง
วัดหลวงอยู่ห่างจากวัดพระแก้วไม่เกิน100เมตรตัววิหารหันหน้าไปทางทิศตะวันออก(ทางแม่น้าโขงและเมืองห้วยทราย
สปป.ลาว) ดังนั้นอยู่บนบริเวณวัดจึงมองเห็นทัศนียภาพน้าโขงและเมืองลาวได้อย่างชัดเจน
ถัดจากชั้นบริเวณวัดมีบริเวณให้อีกชั้นหนึ่งที่สาหรับจอดรถและนั่งชมวิวก่อนที่จะถึงชั้นถนนตัวหนอนเลียบน้าโขง ช่วงเย็นๆ
อากาศเย็นสบายและทิวทัศน์สวยงามมาก
-14-
วัดหาดไคร้ สังกัดคณะสงฆ์มหานิกายที่เด่นๆในวัดจะมีเพียงพระประธานและพญานาคหน้าวัด
แม่น้าโขงช่วงผ่านหน้าวัดหาดไคร้นี้เป็นวังน้าลึก และเป็นช่องแคบกว่าแม่น้าโขงช่วงอื่น
เป็นจับปลาบึกเพียงแห่งเดียวของประเทศไทยการจับปลาบึกที่บ้านหาดไคร้ มักจะทาพิธีอยู่ที่ลานหน้าวัดไคร้
ดาเนินการโดยชมรมจับปลาบึกอาเภอเชียงของโดยมีการจับฉลากระหว่างเรือจากฝั่งไทยและลาวสลับกัน
ก่อนเปิดฤดูจับปลาจะมีพิธีบวงสรวงเจ้าพ่อปลาบึกในวันที่18เม.ย.ที่ลานจับปลาบึกริมแม่น้าโขงด้านหลังวัดหาดไคร้
ปลาบึกที่จะจับขายได้คือปลาบึกตัวผู้ที่โตเต็มวัยเท่านั้นหากเป็นปลาตัวเมียจะรีดไข่หรือขายให้กับกรมประมงเพื่อนาไปขยายพันธุ์
วัดศรีดอนชัย วัดหลวงหรือวัดไชยสถาน วัดหาดไคร้
พระธาตุดอยปูเข้า ตามเส้นทางเชียงแสน-สบรวกแยกซ้ายก่อนถึงสามเหลี่ยมทองคาเล็กน้อย
รถยนต์สามารถขึ้นไปถึงยอดเขาหรือจะเดินขึ้นบันไดก็ได้ พระธาตุดอยปูเข้านี้สร้างขึ้นบนดอยเชียงเมี่ยงริมปากน้ารวกเมื่อพ.ศ.
1302 ในสมัยพระยาลาวเก้าแก้วมาเมืองกษัตริย์องค์ที่2แห่งเวียงหิรัญนครเงินยางโบราณสถานประกอบด้วยพระวิหาร
และกลุ่มเจดีย์ที่พังทลายก่อด้วยอิฐมีร่องรอยการตกแต่งด้วยลวดลายปูนปั้นนอกจากนี้บนดอยเชียงเมี่ยงยังเป็นจุดชมวิว
สามารถมองเห็นสามเหลี่ยมทองคาได้ชัดเจน
พระธาตุจอมแว่ อยู่บนภูเขาจอมแว่ หมู่ที่ 2 ต.เมืองพาน 3 กม.
เป็นพระธาตุที่มีประชาชนชาวอ.พานและอ.ใกล้เคียงนับถือกันว่าเป็นพระธาตุอันศักดิ์สิทธิเมื่อถึงเดือน8 เหนือหรือเดือน 9 ใต้ ขึ้น
15 ค่า จะมีงานนมัสการองค์พระธาตุทุกปี
วัดทรายขาว พาน เป็นวัดมหานิกายเริ่มก่อสร้างเมื่อปี พ.ศ2400 โดยมีพ่อหนานอริยะ-แม่มัง
ได้พาญาติพี่น้องอพยพครอบครัวจากบ้านหลวงอ.ดอยสะเก็ดจ. เชียงใหม่ มาตั้งภูมิลาเนาอยู่ริมลาห้วยทรายขาว
ตั้งชื่อหมู่บ้านว่าบ้านห้วยทรายขาวต.แม่หนาดอ.พานจ.เชียงรายจนถึงพ.ศ. 2436 พ่ออุ้ยตา-แม่อุ้ยป้ ออริยะมั่ง
เป็นบุตรพ่อหนานอริยะ-แม่มั่งเป็นผู้มีฐานะดีได้เสียสละกาลังทรัพย์เป็นผู้นาย้ายวัดทรายขาวมาตั้งที่อยู่ ปัจจุบัน
พระธาตุดอยปูเข้า พระธาตุจอมแว่ วัดทรายขาว พาน
-15-
ธรรมชาติ
ไร่แม่ฟ้ าหลวง อุทยานศิลปะและวัฒนธรรมบนเนื้อที่กว่า 150ไร่ กลางเมืองเชียงราย
เป็นที่เก็บรักษาศิลปะวัตถุอันล้าค่าของวัฒนธรรมล้านนา เชิญนมัสการพระพุทธรูปศักดิ์สิทธิ์ในหอคาชมงานนิทรรศการเรื่องไม้สัก
พร้อมชมงานศิลปะพื้นบ้านในหอแก้วล้อมรอบตัวด้วยบึงน้าอันสงบเงียบมีสวนไม้หอมและพฤกษานานาพันธ์
สวนแม่ฟ้ าหลวง ตั้งอยู่ด้านหน้าพระตาหนักดอยตุงมีเนื้อที่ประมาณ 10ไร่ เป็นสวนไม้ดอกไม้ประดับนานาพรรณ
มีดอกไม้เมืองหนาวอาทิ ดอกซัลเวียพิทูเนีย บีโกเนียกุหลาบดอกลาโพงไม้มงคลต่างๆ
นอกจากนั้นยังมีไม้ยืนต้นและซุ้มไม้เลี้อยอีกมากกว่า 70ชนิดและยังมีรูปปั้นต่อเนื่อง ฝีมือปั้นของคุณมีเซียมยิปอินซอย
มีศาลาชมวิวและร้านจาหน่ายสินค้าของที่ระลึกโดยมูลนิธิแม่ฟ้ าหลวง สวนแม่ฟ้ าหลวงสร้างโดยการท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย
เพื่อถวายสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี
และในบริเวณใกล้กับสวนแม่ฟ้ าหลวงจะมีหอพระราชประวัติซึ่งจัดแสดงนิทรรศการเกี่ยวกับพระราชประวัติ
และพระราชกรณียกิจของสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี
สวนรุกขชาติแม่ฟ้ าหลวง มีเนื้อที่250 ไร่ มีเส้นทางให้เดินลัดเลาะเข้าไปในดงกุหลาบพันปี
สถานที่รวบรวมพันธุ์ไม้ตระกูลกุหลาบพันปีไว้มากที่สุดในประเทศ จุดชมวิวที่สูงที่สุดของเทือกเขานางนอนดอยช้างมูบ และยังมี
กล้วยไม้ป่ากล้วยไม้ดินและรองเท้านารี จะสวยงามมากในช่วงที่ต้นพญาเสือโคร่งและเสี้ยวดอกขาวบานสะพรั่ง
ช่วงเดือนมกราคมบริเวณด้านในมีลานชมวิวต่างๆเช่นลานรุ่งอรุณลานอัสดงจุดส่องสามแคว้น (ไทย-พม่า-ลาว)
ไร่แม่ฟ้ าหลวง สวนแม่ฟ้ าหลวง สวนรุกขชาติแม่ฟ้ าหลวง
วนอุทยานภูชี้ฟ้ าอยู่ในเขตป่าสงวนแห่งชาติป่าแม่อิงฝั่งขวาและป่าแม่งาวท้องที่บ้านร่มฟ้ าทองหมู่ที่9 และบ้านร่มฟ้ าไทย
หมู่ที่ 10 ตาบลปออาเภอเวียงแก่นจังหวัดเชียงราย
สถานที่แห่งนี้ครั้งหนึ่งเคยเป็นสมรภูมิรบที่เกิดจากความขัดแย้งทางความคิดและนโยบายการบริหารการปกครองระหว่างกลุ่มคนที่
จัดตั้งตนเป็นพรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศไทยและเจ้าหน้าที่รัฐที่ต้องเข้ามาปราบปรามหลังจากมีเหตุการณ์นองเลือด
แต่หลังจากเรื่องราวต่างๆได้คลี่คลายลงความสงบสุขได้กลับคืนสู่ผืนป่าอีกครั้ง
ความสวยงามของสถานที่แห่งนี้จึงได้ถูกค้นพบและบอกเล่ากล่าวขานกันเรื่อยมา
วนอุทยานแห่งนี้อยู่สูงจากระดับน้าทะเล1200-1628เมตรมีหน้าผาสูงที่มีแนวยื่นเข้าไปในประเทศลาว
และสูงที่สุดในเทือกเขาดอยผาหม่นจุดนี้เองที่เป็นจุดชมวิวที่ได้ชื่อว่าสวยที่สุดแห่งหนึ่ง
เหนือ  ท่องเที่ยว
เหนือ  ท่องเที่ยว
เหนือ  ท่องเที่ยว
เหนือ  ท่องเที่ยว
เหนือ  ท่องเที่ยว
เหนือ  ท่องเที่ยว
เหนือ  ท่องเที่ยว
เหนือ  ท่องเที่ยว
เหนือ  ท่องเที่ยว
เหนือ  ท่องเที่ยว
เหนือ  ท่องเที่ยว
เหนือ  ท่องเที่ยว
เหนือ  ท่องเที่ยว
เหนือ  ท่องเที่ยว
เหนือ  ท่องเที่ยว
เหนือ  ท่องเที่ยว
เหนือ  ท่องเที่ยว
เหนือ  ท่องเที่ยว
เหนือ  ท่องเที่ยว
เหนือ  ท่องเที่ยว
เหนือ  ท่องเที่ยว
เหนือ  ท่องเที่ยว
เหนือ  ท่องเที่ยว
เหนือ  ท่องเที่ยว
เหนือ  ท่องเที่ยว
เหนือ  ท่องเที่ยว
เหนือ  ท่องเที่ยว
เหนือ  ท่องเที่ยว
เหนือ  ท่องเที่ยว
เหนือ  ท่องเที่ยว
เหนือ  ท่องเที่ยว
เหนือ  ท่องเที่ยว
เหนือ  ท่องเที่ยว
เหนือ  ท่องเที่ยว
เหนือ  ท่องเที่ยว
เหนือ  ท่องเที่ยว
เหนือ  ท่องเที่ยว
เหนือ  ท่องเที่ยว
เหนือ  ท่องเที่ยว
เหนือ  ท่องเที่ยว
เหนือ  ท่องเที่ยว

More Related Content

Viewers also liked

การประยุกต์ใช้ดนตรีในงานอื่นๆ
การประยุกต์ใช้ดนตรีในงานอื่นๆการประยุกต์ใช้ดนตรีในงานอื่นๆ
การประยุกต์ใช้ดนตรีในงานอื่นๆleemeanshun minzstar
 
ภาคตะวันออก เที่ยว
ภาคตะวันออก เที่ยวภาคตะวันออก เที่ยว
ภาคตะวันออก เที่ยวleemeanshun minzstar
 
คอมพิวเตอร์ในพฤติกรรมของมนุษย์
คอมพิวเตอร์ในพฤติกรรมของมนุษย์คอมพิวเตอร์ในพฤติกรรมของมนุษย์
คอมพิวเตอร์ในพฤติกรรมของมนุษย์leemeanshun minzstar
 
โฮมเพจวารสาร
โฮมเพจวารสารโฮมเพจวารสาร
โฮมเพจวารสารleemeanshun minzstar
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 3 เรื่อง ลักษณะของวงดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 3 เรื่อง ลักษณะของวงดนตรีสากลใบความรู้ที่ 1 บทที่ 3 เรื่อง ลักษณะของวงดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 3 เรื่อง ลักษณะของวงดนตรีสากลleemeanshun minzstar
 
Wiki (บันทึกอัตโนมัติ)
Wiki (บันทึกอัตโนมัติ)Wiki (บันทึกอัตโนมัติ)
Wiki (บันทึกอัตโนมัติ)leemeanshun minzstar
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากลใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากลleemeanshun minzstar
 
เครื่องดนตรีไทย ประเภท เครื่องดนตรีไทยพื้นเมือง
เครื่องดนตรีไทย ประเภท เครื่องดนตรีไทยพื้นเมืองเครื่องดนตรีไทย ประเภท เครื่องดนตรีไทยพื้นเมือง
เครื่องดนตรีไทย ประเภท เครื่องดนตรีไทยพื้นเมืองleemeanshun minzstar
 
หนังสือ การจัดโต๊ะหมู่บูชา
หนังสือ การจัดโต๊ะหมู่บูชาหนังสือ การจัดโต๊ะหมู่บูชา
หนังสือ การจัดโต๊ะหมู่บูชาleemeanshun minzstar
 
ชื่อของเครื่องดนตรีไทย
ชื่อของเครื่องดนตรีไทยชื่อของเครื่องดนตรีไทย
ชื่อของเครื่องดนตรีไทยleemeanshun minzstar
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 8 เรื่อง กุญแจประจำหลัก
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 8 เรื่อง กุญแจประจำหลักใบความรู้ที่ 1 บทที่ 8 เรื่อง กุญแจประจำหลัก
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 8 เรื่อง กุญแจประจำหลักleemeanshun minzstar
 
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับทวีปออสเตรเลีย
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับทวีปออสเตรเลียความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับทวีปออสเตรเลีย
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับทวีปออสเตรเลียleemeanshun minzstar
 
ชื่อของเครื่องดนตรีสากล
ชื่อของเครื่องดนตรีสากลชื่อของเครื่องดนตรีสากล
ชื่อของเครื่องดนตรีสากลleemeanshun minzstar
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากลใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากลleemeanshun minzstar
 
พระพุทธศาสนากับสถานการณ์ปัจจุบัน
พระพุทธศาสนากับสถานการณ์ปัจจุบันพระพุทธศาสนากับสถานการณ์ปัจจุบัน
พระพุทธศาสนากับสถานการณ์ปัจจุบันleemeanshun minzstar
 

Viewers also liked (17)

การประยุกต์ใช้ดนตรีในงานอื่นๆ
การประยุกต์ใช้ดนตรีในงานอื่นๆการประยุกต์ใช้ดนตรีในงานอื่นๆ
การประยุกต์ใช้ดนตรีในงานอื่นๆ
 
ภาคตะวันออก เที่ยว
ภาคตะวันออก เที่ยวภาคตะวันออก เที่ยว
ภาคตะวันออก เที่ยว
 
Chap2
Chap2Chap2
Chap2
 
คอมพิวเตอร์ในพฤติกรรมของมนุษย์
คอมพิวเตอร์ในพฤติกรรมของมนุษย์คอมพิวเตอร์ในพฤติกรรมของมนุษย์
คอมพิวเตอร์ในพฤติกรรมของมนุษย์
 
โฮมเพจวารสาร
โฮมเพจวารสารโฮมเพจวารสาร
โฮมเพจวารสาร
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 3 เรื่อง ลักษณะของวงดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 3 เรื่อง ลักษณะของวงดนตรีสากลใบความรู้ที่ 1 บทที่ 3 เรื่อง ลักษณะของวงดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 3 เรื่อง ลักษณะของวงดนตรีสากล
 
Kms
KmsKms
Kms
 
Wiki (บันทึกอัตโนมัติ)
Wiki (บันทึกอัตโนมัติ)Wiki (บันทึกอัตโนมัติ)
Wiki (บันทึกอัตโนมัติ)
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากลใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากล
 
เครื่องดนตรีไทย ประเภท เครื่องดนตรีไทยพื้นเมือง
เครื่องดนตรีไทย ประเภท เครื่องดนตรีไทยพื้นเมืองเครื่องดนตรีไทย ประเภท เครื่องดนตรีไทยพื้นเมือง
เครื่องดนตรีไทย ประเภท เครื่องดนตรีไทยพื้นเมือง
 
หนังสือ การจัดโต๊ะหมู่บูชา
หนังสือ การจัดโต๊ะหมู่บูชาหนังสือ การจัดโต๊ะหมู่บูชา
หนังสือ การจัดโต๊ะหมู่บูชา
 
ชื่อของเครื่องดนตรีไทย
ชื่อของเครื่องดนตรีไทยชื่อของเครื่องดนตรีไทย
ชื่อของเครื่องดนตรีไทย
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 8 เรื่อง กุญแจประจำหลัก
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 8 เรื่อง กุญแจประจำหลักใบความรู้ที่ 1 บทที่ 8 เรื่อง กุญแจประจำหลัก
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 8 เรื่อง กุญแจประจำหลัก
 
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับทวีปออสเตรเลีย
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับทวีปออสเตรเลียความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับทวีปออสเตรเลีย
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับทวีปออสเตรเลีย
 
ชื่อของเครื่องดนตรีสากล
ชื่อของเครื่องดนตรีสากลชื่อของเครื่องดนตรีสากล
ชื่อของเครื่องดนตรีสากล
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากลใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากล
 
พระพุทธศาสนากับสถานการณ์ปัจจุบัน
พระพุทธศาสนากับสถานการณ์ปัจจุบันพระพุทธศาสนากับสถานการณ์ปัจจุบัน
พระพุทธศาสนากับสถานการณ์ปัจจุบัน
 

Similar to เหนือ ท่องเที่ยว

ภูมิศาสตร์ประเทศไทย22
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย22ภูมิศาสตร์ประเทศไทย22
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย22Nongruk Srisukha
 
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย22
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย22ภูมิศาสตร์ประเทศไทย22
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย22Nongruk Srisukha
 
บัตรเนื้อหา1
บัตรเนื้อหา1บัตรเนื้อหา1
บัตรเนื้อหา1neena5339
 
วัชราวรรณ มหาวรรณ
วัชราวรรณ  มหาวรรณวัชราวรรณ  มหาวรรณ
วัชราวรรณ มหาวรรณKruParn1st
 

Similar to เหนือ ท่องเที่ยว (9)

จังหวัดน่าน
จังหวัดน่านจังหวัดน่าน
จังหวัดน่าน
 
จังหวัดลำปาง
 จังหวัดลำปาง จังหวัดลำปาง
จังหวัดลำปาง
 
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย22
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย22ภูมิศาสตร์ประเทศไทย22
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย22
 
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย22
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย22ภูมิศาสตร์ประเทศไทย22
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย22
 
จังหวัดน่าน
จังหวัดน่านจังหวัดน่าน
จังหวัดน่าน
 
บัตรเนื้อหา1
บัตรเนื้อหา1บัตรเนื้อหา1
บัตรเนื้อหา1
 
เชียงราย
เชียงรายเชียงราย
เชียงราย
 
วัชราวรรณ มหาวรรณ
วัชราวรรณ  มหาวรรณวัชราวรรณ  มหาวรรณ
วัชราวรรณ มหาวรรณ
 
จังหวัดเเม่ฮ่องสอน
จังหวัดเเม่ฮ่องสอนจังหวัดเเม่ฮ่องสอน
จังหวัดเเม่ฮ่องสอน
 

More from leemeanshun minzstar

ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 10 เรื่อง การอ่านและการบันทึกโน้ตสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 10 เรื่อง การอ่านและการบันทึกโน้ตสากลใบความรู้ที่ 1 บทที่ 10 เรื่อง การอ่านและการบันทึกโน้ตสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 10 เรื่อง การอ่านและการบันทึกโน้ตสากลleemeanshun minzstar
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 9 เรื่อง จังหวะและเครื่องหมายกำหนดจังหวะ
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 9 เรื่อง จังหวะและเครื่องหมายกำหนดจังหวะใบความรู้ที่ 1 บทที่ 9 เรื่อง จังหวะและเครื่องหมายกำหนดจังหวะ
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 9 เรื่อง จังหวะและเครื่องหมายกำหนดจังหวะleemeanshun minzstar
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 8 เรื่อง กุญแจประจำหลัก
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 8 เรื่อง กุญแจประจำหลักใบความรู้ที่ 1 บทที่ 8 เรื่อง กุญแจประจำหลัก
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 8 เรื่อง กุญแจประจำหลักleemeanshun minzstar
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 7 เรื่อง โน้ตสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 7 เรื่อง โน้ตสากลใบความรู้ที่ 1 บทที่ 7 เรื่อง โน้ตสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 7 เรื่อง โน้ตสากลleemeanshun minzstar
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 5 เรื่อง ประเภทของเครื่องดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 5 เรื่อง ประเภทของเครื่องดนตรีสากลใบความรู้ที่ 1 บทที่ 5 เรื่อง ประเภทของเครื่องดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 5 เรื่อง ประเภทของเครื่องดนตรีสากลleemeanshun minzstar
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 3 เรื่อง ลักษณะของวงดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 3 เรื่อง ลักษณะของวงดนตรีสากลใบความรู้ที่ 1 บทที่ 3 เรื่อง ลักษณะของวงดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 3 เรื่อง ลักษณะของวงดนตรีสากลleemeanshun minzstar
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 1 เรื่อง ประวัติดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 1 เรื่อง ประวัติดนตรีสากลใบความรู้ที่ 1 บทที่ 1 เรื่อง ประวัติดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 1 เรื่อง ประวัติดนตรีสากลleemeanshun minzstar
 
โรงเรียนมัธยมสังคีตวิทยา กรุงเทพมหานคร
โรงเรียนมัธยมสังคีตวิทยา กรุงเทพมหานครโรงเรียนมัธยมสังคีตวิทยา กรุงเทพมหานคร
โรงเรียนมัธยมสังคีตวิทยา กรุงเทพมหานครleemeanshun minzstar
 
ภาคเหนือ เที่ยว
ภาคเหนือ เที่ยวภาคเหนือ เที่ยว
ภาคเหนือ เที่ยวleemeanshun minzstar
 
การท่องเที่ยว
การท่องเที่ยวการท่องเที่ยว
การท่องเที่ยวleemeanshun minzstar
 
การจัดการความรู้ของมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
การจัดการความรู้ของมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชการจัดการความรู้ของมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
การจัดการความรู้ของมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชleemeanshun minzstar
 
กลยุทธ์การจัดการความรู้สำหรับการรับประกันคุณภาพ
กลยุทธ์การจัดการความรู้สำหรับการรับประกันคุณภาพกลยุทธ์การจัดการความรู้สำหรับการรับประกันคุณภาพ
กลยุทธ์การจัดการความรู้สำหรับการรับประกันคุณภาพleemeanshun minzstar
 
ประตูเข้าสู่การรวมกลุ่ม
ประตูเข้าสู่การรวมกลุ่มประตูเข้าสู่การรวมกลุ่ม
ประตูเข้าสู่การรวมกลุ่มleemeanshun minzstar
 

More from leemeanshun minzstar (20)

ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 10 เรื่อง การอ่านและการบันทึกโน้ตสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 10 เรื่อง การอ่านและการบันทึกโน้ตสากลใบความรู้ที่ 1 บทที่ 10 เรื่อง การอ่านและการบันทึกโน้ตสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 10 เรื่อง การอ่านและการบันทึกโน้ตสากล
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 9 เรื่อง จังหวะและเครื่องหมายกำหนดจังหวะ
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 9 เรื่อง จังหวะและเครื่องหมายกำหนดจังหวะใบความรู้ที่ 1 บทที่ 9 เรื่อง จังหวะและเครื่องหมายกำหนดจังหวะ
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 9 เรื่อง จังหวะและเครื่องหมายกำหนดจังหวะ
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 8 เรื่อง กุญแจประจำหลัก
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 8 เรื่อง กุญแจประจำหลักใบความรู้ที่ 1 บทที่ 8 เรื่อง กุญแจประจำหลัก
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 8 เรื่อง กุญแจประจำหลัก
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 7 เรื่อง โน้ตสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 7 เรื่อง โน้ตสากลใบความรู้ที่ 1 บทที่ 7 เรื่อง โน้ตสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 7 เรื่อง โน้ตสากล
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 5 เรื่อง ประเภทของเครื่องดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 5 เรื่อง ประเภทของเครื่องดนตรีสากลใบความรู้ที่ 1 บทที่ 5 เรื่อง ประเภทของเครื่องดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 5 เรื่อง ประเภทของเครื่องดนตรีสากล
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 3 เรื่อง ลักษณะของวงดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 3 เรื่อง ลักษณะของวงดนตรีสากลใบความรู้ที่ 1 บทที่ 3 เรื่อง ลักษณะของวงดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 3 เรื่อง ลักษณะของวงดนตรีสากล
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 1 เรื่อง ประวัติดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 1 เรื่อง ประวัติดนตรีสากลใบความรู้ที่ 1 บทที่ 1 เรื่อง ประวัติดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 1 เรื่อง ประวัติดนตรีสากล
 
โรงเรียนมัธยมสังคีตวิทยา กรุงเทพมหานคร
โรงเรียนมัธยมสังคีตวิทยา กรุงเทพมหานครโรงเรียนมัธยมสังคีตวิทยา กรุงเทพมหานคร
โรงเรียนมัธยมสังคีตวิทยา กรุงเทพมหานคร
 
ภาคเหนือ เที่ยว
ภาคเหนือ เที่ยวภาคเหนือ เที่ยว
ภาคเหนือ เที่ยว
 
การท่องเที่ยว
การท่องเที่ยวการท่องเที่ยว
การท่องเที่ยว
 
การจัดการความรู้ของมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
การจัดการความรู้ของมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชการจัดการความรู้ของมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
การจัดการความรู้ของมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
 
กลยุทธ์การจัดการความรู้สำหรับการรับประกันคุณภาพ
กลยุทธ์การจัดการความรู้สำหรับการรับประกันคุณภาพกลยุทธ์การจัดการความรู้สำหรับการรับประกันคุณภาพ
กลยุทธ์การจัดการความรู้สำหรับการรับประกันคุณภาพ
 
Wiki
WikiWiki
Wiki
 
Rm tqm1
Rm tqm1Rm tqm1
Rm tqm1
 
Rm tqm1.
Rm tqm1.Rm tqm1.
Rm tqm1.
 
Rm tqm
Rm tqmRm tqm
Rm tqm
 
Iisd
IisdIisd
Iisd
 
Constitution2550
Constitution2550Constitution2550
Constitution2550
 
Computer
ComputerComputer
Computer
 
ประตูเข้าสู่การรวมกลุ่ม
ประตูเข้าสู่การรวมกลุ่มประตูเข้าสู่การรวมกลุ่ม
ประตูเข้าสู่การรวมกลุ่ม
 

เหนือ ท่องเที่ยว

  • 1. ภาคเหนือ การนาเสนอประวัติคาขวัญวัฒนธรรมวังวัดธรรมชาติและของดีของจังหวัดต่างๆแยกภาคตามภูมิศาสตร์ เพื่อใช้เป็นข้อมูลพื้นฐานเบื้องต้นของจังหวัดนั้นๆ 1.เชียงราย จังหวัดเหนือสุดของประเทศไทยที่เต็มไปด้วยวัฒนธรรมล้านนาและธรรมชาติที่งดงาม คาขวัญ “เหนือสุดในสยามชายแดนสามแผ่นดินถิ่นวัฒนธรรมล้านนาล้าค่าพระธาตุดอยตุง” ประวัติ ดินแดนแห่งขุนเขาเป็นจังหวัดที่อยู่เหนือสุดของประเทศไทย เป็นเมืองเก่าแก่ที่มีประวัติศาสตร์ยาวนานตั้งแต่สมัยเชียงแสนของพญามังรายผู้ก่อตั้งเมืองเชียงรายบนพื้นที่ราบลุ่มแม่น้ากก อุดมสมบูรณ์ไปด้วยป่าไม้บนดอยสูงที่สลับซับซ้อนเป็นแหล่งกาเนิดต้นน้าและน้าตกอันงดงามหลายแห่ง และมีเทือกเขาผีปันน้าที่เป็นพรมแดนกั้นประเทศสหภาพพม่าจนถึงด้านทิศเหนือ อีกทั้งเป็นจุดแรกที่แม่น้าโขงไหลผ่านประเทศไทย เป็นพรมแดนกั้นกลางระหว่างประเทศไทยกับประเทศสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาวเชียงรายมีประชากรหลายเชื้อชาติ ทั้งชาวไทยพื้นราบชาวไทยภูเขาและชาวจีนฮ่อที่อพยพเข้ามาอาศัยอยู่บนดอยสูงแต่ละชนชาติจะมีประเพณี วัฒนธรรม และวิถีชีวิตที่มีเอกลักษณ์ เป็นเสน่ห์อีกอย่างที่ทาให้เชียงรายได้รับความสนใจจากนักท่องเที่ยวทั้งชาวไทยและชาวต่างประเทศ ทิศเหนือติดต่อกับสหภาพพม่าทิศใต้ ติดต่อกับจังหวัดพะเยาทิศตะวันออก ติดต่อกับสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาวทิศตะวันตกติดต่อกับจังหวัดเชียงใหม่ การปกครองแบ่งออกเป็น18 อาเภอได้แก่ อาเภอเมืองเชียงราย อาเภอเวียงชัย อาเภอเชียงของ อาเภอเทิง อาเภอพานอาเภอป่าแดด อาเภอแม่จัน อาเภอเชียงแสน อาเภอแม่สาย อาเภอแม่สรวย อาเภอเวียงป่าเป้ า อาเภอพญาเม็งราย อาเภอเวียงแก่น อาเภอขุนตาล อาเภอแม่ฟ้ าหลวง อาเภอแม่ลาว อาเภอเวียงเชียงรุ้ง อาเภอดอยหลวง วัฒนธรรม เสาสะดือเมืองเชียงราย (เสาหลักเมือง)เป็นเครื่องหมายหรือสัญลักษณ์ของการก่อตั้งชุมชนและเมือง สาหรับจังหวัดเชียงรายจะเรียกเสาหลักเมืองว่าเสาสะดือเมืองจากหลักฐานทางประวัติศาสตร์ระบุว่า เมื่อครั้งการสร้างเมืองครั้งแรกใช้คาว่า "เสาสะดือเมือง"ไม่ใช้คาว่าเสาหลักเมือง เสาสะดือเมืองเชียงรายสร้างขึ้นใหม่ในปี พ.ศ.2530 เนื่องในโอกาสมงคลยิ่งคือฉลองพระชนมพรรษาครบรอบ5 รอบของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่9และโอกาสการสมโภชน์เมืองเชียงรายครบ725ปี เพื่อเป็นที่ระลึกถึงพระมหากรุณาธิคุณของพ่อขุนเม็งรายมหาราชผู้สร้างเมืองเชียงราย ซึ่งเสาสะดือเมืองมีอยู่108หลัก อนุสาวรีย์พ่อขุนเม็งรายมหาราช ตั้งอยู่ที่ถนนห้าแยกพ่อขุนเม็งรายถนนเชียงราย-แม่จัน(ติดถนนซุปเปอร์ไฮเวย์)ในเขต เทศบาลนครเชียงรายจังหวัดเชียงรายตามประวัตินั้นพ่อขุนเม็งรายเป็นกษัตริย์องค์ที่25แห่งราชวงศ์ลวะเป็นโอรสของพญา
  • 2. -2- ลาวเม็งและพระนางเทพคาขยายหรือพระนางอั้วมิ่งจอมเมืองประสูติเมื่อวันอาทิตย์แรม9 ค่าเดือน 3 ปีจอ พุทธศักราช1782 และเสด็จสวรรคตที่เมืองเชียงใหม่ในปี พ.ศ.1854รวมพระชนมายุได้ 72พรรษาสถูป(กู่)บรรจุพระอัฐิหรือกู่พญามังรายมหาราช ตั้งอยู่ที่วัดงาเมือง การสร้างบ้านแปลงเมืองของท่านพ่อขุนเม็งรายได้สร้างเมืองเชียงรายขึ้นบนดอยทองจากรากฐานเดิมที่เคยเป็นเมืองมาก่อน เมื่อปี พ.ศ. 1805ทรงเป็นปฐมกษัตริย์ แห่งราชวงศ์มังรายและรวบรวมบ้านเล็กเมืองน้อยเข้าเป็นอาณาจักรล้านนาไทยจนเจริญรุ่งเรืองจวบจนปัจจุบัน อนุสาวรีย์พ่อขุนเม็งรายมีลักษณะเป็นพระรูปของพระองค์หล่อด้วยทองสัมฤทธิ์ ขนาดหนึ่งเท่าครึ่ง ทรงฉลองพระองค์ด้วยเครื่องทรงพระมหากษัตริย์แบบล้านนาโบราณประทับยืนบนฐานสูงประมาณ3เมตร ทรงถือดาบด้วยพระหัตถ์ซ้ายแนบกับพระเพลาทรงสวมมาลัยพระกรและสวมพระธามรงค์ที่พระหัตถ์ขวาตรงนิ้วนางและนิ้วก้อย และตรงนิ้วชี้ที่พระหัตถ์ข้างซ้ายและทรงฉลองพระบาท ปัจจุบันมีตุงหลวงเฉลิมพระเกียรติสีทองอร่ามขนาดใหญ่ประดับอยู่ทางด้านหลังอนุสาวรีย์ด้วย สาหรับฐานใต้พระบรมรูปมีคาจารึกว่า"พ่อขุนเม็งรายมหาราชพ.ศ.1782 -1860 ทรงสร้างเมืองเชียงรายขึ้นเป็นเมืองแรกเมื่อ พ.ศ. 1805ทรงสถาปนาอาณาจักรล้านนาไทยให้เป็นปึกแผ่นและทรงสร้างความสามัคคีระหว่างชนชาติไทย" อนุสาวรีย์พ่อขุนเม็งรายแห่งนี้เป็นที่เคารพสักการะของชาวเชียงรายและคนล้านนาเป็นอย่างมาก มีผู้คนมาสักการะทั้งกลางวันและกลางคืนอย่างไม่ขาดสาย กู่พระเจ้าเม็งราย จังหวัดเชียงรายเป็นอีกหนึ่งจังหวัดที่มีความสาคัญต่อประวัติศาสตร์ชาติไทยที่ได้มีการบันทึกเรื่องราวที่ได้เกิด ขึ้นณ อาณาจักรแห่งนี้ไว้มากมายซึ่งถือว่าเป็นยุคแห่งประวัติศาสตร์ที่สาคัญยุคหนึ่งของประเทศไทย ในประวัติศาสตร์ช่วงแรกๆเลยก็ว่าได้ โดยเฉพาะที่มีความเกี่ยวพันกับเรื่องดินแดนการเมืองการปกครอง วัฒนธรรมรวมไปถึงผู้ปกครอง ซึ่งผู้ที่เคยศึกษาประวัติศาสตร์ความเป็นมาของจังหวัดเชียงรายก็คงไม่มีใครไม่เคยได้ยินชื่อของพระเจ้าเม็งรายหรือพ่อขุนเม็งราย ซึ่งจังหวัดเชียงรายนอกจากจะมีอนุสาวรีย์สามกษัตริย์แล้วกู่พระเจ้าเม็งรายก็เป็นอีกสถานที่หนึ่งที่เป็นอนุสาวรีย์ที่สาคัญแห่งหนึ่ง เนื่องจากสถานที่แห่งนี้เป็นที่เก็บและบรรจุอัฐิของพ่อขุนเม็งรายมหาราชอดีตเจ้าเมืองแห่งดินแดนนี้ กู่พระเจ้าเม็งรายตั้งอยู่หน้าวัดงาเมืองบนดอยงาเมืองนอกจากนี้ตามประวัติกล่าวว่า พระเจ้าไชยสงครามราชโอรสพระเจ้าเม็งรายเมื่อได้มอบราชสมบัติให้พระเจ้าแสนภูราชโอรสขึ้นครองนครเชียงใหม่ แล้วพระองค์ได้นาอัฐิพระราชบิดามาประทับอยู่ที่เมืองเชียงรายและได้โปรดเกล้าฯสร้างกู่บรรจุอัฐิของพระราชบิดาไว้ ณ ดอยงาเมืองแห่งนี้ซึ่งก็คือกู่เม็งรายแห่งนี้นี่เอง
  • 3. เสาสะดิอเมือง(เสาหลักเมือง) อนุสาวรีย์พ่อขุนเม็งรายมหาราช กู่พระเจ้าเม็งราย -3- พิพิธภัณฑ์สถานแห่งชาติเชียงแสน ตั้งอยู่ในเขตกาแพงเมือง เป็นที่เก็บรวบรวมโบราณวัตถุที่ได้จากบริเวณเชียงแสนและพื้นที่ใกล้เคียงเช่น ลวดลายปูนปั้นฝีมือล้านนา พระพุทธรูปและศิลาจารึกจากเชียงแสนและจากพะเยา พร้อมทั้งให้ข้อมูลทางด้านวิชาการเกี่ยวกับแหล่งโบราณคดีการตั้งถิ่นฐานของชุมชน และประวัติการสร้างเมืองเชียงแสน นอกจากนี้ยังมีการจัดแสดงศิลปะพื้นบ้านของ ชาวไทยใหญ่ ไทยลื้อและชาวเขาเผ่าต่างๆได้แก่ เครื่องเขินเครื่องดนตรี เครื่องประดับอุปกรณ์การสูบฝิ่นเป็นต้นเปิดทาการตั้งแต่เวลา ๙.๐๐-๑๖.๐๐น. ทุกวันเว้นวันจันทร์ อังคาร และวันหยุดนักขัตฤกษ์ พิพิธภัณฑ์อูบคาศูนย์อนุรักษ์มรดกอันล้าค่าของอาณาจักรล้านนาโบราณ อาภรณ์ของชนชาติไตเผ่าต่างในอาณาจักรล้านนา ด้วยความมุ่งมั่นตั้งใจที่จะอนุรักษ์ความเป็นมาอันยิ่งใหญ่ของชาวล้านนาทาให้ อาจารย์จุลศักดิ์สุริยะไชย จึงได้จัดตั้งพิพิธภัณฑ์อูบคาเพื่อเป็นศูนย์อนุรักษ์มรดกล้าค่าของอานาจักรล้านนาโบราณ เช่นเครื่องใช้ในราชสานักล้านนา เครื่องใช้ในราชสานักคุ้มเจ้าต่างๆในล้านนา ซึ่งเกิดจากการตั้งใจของผู้รวบรวมที่ต้องการเก็บของมีค่าสมัยล้านนาที่กระจายอยู่ในที่ต่างๆ ให้คืนกลับสู่แผ่นดินไทย และเพื่อให้อนุชนรุ่นหลังได้ศึกษาต่อไปในอนาคต เมืองเก่าเชียงแสน เป็นอาเภอหนึ่งของจังหวัดเชียงรายมีซากโบราณสถานของเมืองเชียงแสนเก่าอยู่ในบริเวณตัวอาเภอ ลักษณะภูมิประเทศเป็นที่ราบปัจจุบันเป็นแหล่งท่องเที่ยวและท่าเรือขนส่งสินค้าที่สาคัญในภาคเหนือ นอกจากนี้เชียงแสนมีพื้นที่ซึ่งเรียกว่าสามเหลี่ยมทองคาในพื้นที่หมู่ที่ 1 บ้านสบรวกตาบลเวียงอาเภอเชียงแสน อันเป็นบริเวณที่บรรจบกันของชายแดนสามประเทศคือไทย ลาวและพม่า
  • 4. พิพิธภัณฑ์สถานแห่งชาติเชียงแสน พิพิธภัณฑ์อูบคา เมืองเก่าเชียงแสน พิพิธภัณฑ์บ้านดาตั้งอยู่ที่414 หมู่ที่ 13 ตาบลนางแลเป็นผลงานของอาจารย์ถวัลย์ดัชนีศิลปินแห่งชาติสาขาทัศนศิลป์ (จิตรกรรม)ในพื้นที่กว่าร้อยไร่ ประกอบด้วยอาคารสถาปัตยกรรมท้องถิ่นภาคเหนือกว่า25หลัง และอาคารสถาปัตยกรรมท้องถิ่นประยุกต์หลายหลังที่จัดแสดงศิลปะพื้นบ้าน ซึ่งเป็นผลงานสร้างสรรค์ของช่างท้องถิ่นตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน ทั้งหมดทาด้วยสีดาแต่ละหลังประดับประดาด้วยไม้แกะสลักที่มีลวดลายสวยงามวิจิตรยิ่งและยังประดับด้วยเขาสัตว์เช่น เขาควายเขากวางและกระดูกช้างเป็นต้น พิพิธภัณฑ์บ้านดาเป็นศิลปะสถานที่สร้างจินตนาการให้แก่ผู้พบเห็นในหลายมุมมองและยังเป็นที่เก็บสะสมสิ่งของต่างๆ ที่ใช้ในการดารงชีวิตมาตั้งแต่อดีตซึ่งของบางชิ้นคนรุ่นใหม่ก็ไม่อาจพบเห็นหรือหาได้ในปัจจุบัน พิพิธภัณฑ์พระ -ประทีปโกลด์แลนด์ พิพิธภัณฑ์พระแห่งนี้สร้างขึ้นโดยคุณประทีปประทีปอุษานนท์ ซึ่งอาจจะไม่เป็นที่รู้จักกันในวงการพระเท่าไรนักเพราะคุณประทีปนั้นไม่ได้เข้ามาคลุกคลีกับคนในวงการมากนัก แต่เนื่องจากคุณประทีปนั้นเคยเป็นผู้รับ -4- สัมปทานการก่อสร้างและบริหารท่าเรือการค้าระหว่างประเทศหลายๆแห่งจึงเป็นที่รู้ จักของคนในวงการธุรกิจเป็นอย่างดี คุณประทีปได้เริ่มเก็บสะสมพระมาตั้งแต่อายุประมาณ20ปี แล้วค่อยๆแสวงหาพระมาเก็บสะสมเรื่อยๆจนมีมากเพียงพอกับการจัดสร้างพิพิธภัณฑ์แห่งนี้ซึ่งมีงบประมาณในการสร้างกว่า40ล้ านบาทบนเนื้อที่หลายพันไร่ ซึ่งในอนาคตมีแผนว่าจะพัฒนาสถานที่แห่งนี้ให้มีทั้งที่พักอาศัยโรงแรมและศูนย์การค้าอีกด้วย ภายในพิพิธภัณฑ์พระได้มีการจัดแสดงพระพุทธรูปยุคต่างๆตั้งแต่โบราณเริ่มจากยุคคันธราษฎร์ ทวารวดีเชียงแสนสุโขทัย อู่ทอง ลพบุรี อยุธยาและรัตนโกสินทร์ มากกว่า500องค์นอกจากนี้ยังมีพระบูชาอีกคือพระเครื่องชุดเบญจภาคีจานวน3ชุด พระเบญจภาคียอดขุนพลพระร่วงหลังร่างปืนพระสมเด็จวัดระฆังซึ่งมีทุกพิมพ์พระกริ่งปวเรศ(ซึ่งเป็นพระ1ในจานวน22 องค์ในประเทศไทย)พระกริ่งจีนพระกิ่งเขมรพระกริ่งสายวัดสุทัศน์เทพวรารามพระกริ่งวัดบวรฯพระสมเด็จจิตรดา พระหลวงปู่ทวดทุกพิมพ์นอกจากนี้แล้วยังมีการสะสมเหรียญยอดนิยมต่างๆอีกเป็นจานวนมากอาทิเช่นหลวงพ่อกลั่นเหรียญ ร.5ในแบบต่างๆให้ชมมากกว่า2,000องค์ รวมถึงที่พิพิธภัณฑ์แห่งนี้ยังมีพระพุทธรูปที่แกะจากหยกล้านปี ซึ่งมีน้าหนักรวมกว่า8 ตันผู้ที่ชื่นชอบศิลปะการสร้างพระพุทธรูปและมีศรัทธาไม่ควรพลาดชมเปิดบริการทุกวันเวลา09.00-17.00น. พิพิธภัณฑ์และศูนย์ศึกษาชาวเขา พิพิธภัณฑ์แห่งนี้ตั้งอยู่บนชั้น3ของอาคารPDA(The Population&Community
  • 5. DevelopmentAssociation) หรืออาคารสมาคมพัฒนาประชากรและชุมชนจังหวัดเชียงราย ซึ่งสมาคมพัฒนาประชากรและชุมชนดังกล่าวเป็นองค์กรที่ไม่แสวงหาผลกาไรที่ทางานด้านพัฒนาคุณภาพชีวิตและส่งเสริมให้การ ศึกษาแก่ชาวเขาการจัดตั้งพิพิธภัณฑ์แห่งนี้ได้ดาเนินงานมากว่า18ปีแล้ว มีจุดประสงค์เพื่อเสริมสร้างความสัมพันธ์ระหว่างประเทศไทยกับชนกลุ่มน้อยและประชาคมระหว่างประเทศให้แน่นแฟ้ นมากขึ้น ซึ่งจะส่งผลให้ประชาชนชาวไทยและนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติได้เรียนรู้และเข้าใจวิถีชีวิตของของชาวเขาซึ่งมีด้วยกัน6เผ่ามากขึ้น การจัดแสดงภายในพิพิธภัณฑ์จะประกอบด้วยการแสดงวิถีชีวิตของชนเผ่าทั้งอาข่ามูเซอเย้ากะเหรี่ยงลีซอและ ม้ง ในรูปแบบของบอร์ดจัดแสดง การนาเครื่องใช้ในชีวิตจริงมาจัดแสดงซึ่งล้วนมาจากวัสดุที่หาได้ตามธรรมชาติซึ่งแสดงให้เห็นถึงวิถีชีวิตที่อยู่กับธรรมชาติอย่างแท้ จริงเครื่องแต่งกายของแต่ละเผ่า รวมถึงการจัดให้ความรู้ในรูปแบบของการฉายสไลด์มัลติวิชั่น(multivision)หรือวิดิทัศน์ซึ่งอธิบายเกี่ยวกับชาวเขา ในจังหวัดเชียงรายการเพาะปลูกอุปกรณ์ในการเก็บเกี่ยวรวมถึงการอพยพย้ายถิ่นฐานเข้ามาอยู่ในเอเชียอาคเนย์ มีให้บริการทั้งหมด5 ภาษา ได้แก่ ภาษาไทยภาษาอังกฤษภาษาฝรั่งเศสภาษาเยอรมันและภาษาญี่ปุ่น นอกจากนี้ภายในพื้นที่จัดแสดงยังนาเครื่องจักรสานและหัตถกรรมพื้นเมืองเช่นย่ามเสื้อผ้าเครื่องประดับ มาให้ได้ชมและจัดจาหน่ายเป็นของที่ระลึกซึ่งอยู่ภายในร้านค้าของพิพิธภัณฑ์อีกด้วย เหมาะเป็นอย่างยิ่งสาหรับนักท่องเที่ยวที่ชื่นชอบวัฒนธรรมอันมีเอกลักษณ์ รวมทั้งของที่ระลึกสวยงามมีเสน่ห์แปลกตาอันหาได้เฉพาะในภาคเหนือค่าเข้าชมเพียง50บาทสามารถเข้าชมได้วันจันทร์-ศุกร์ เวลา09.00-18.00น. ส่วนวันเสาร์-อาทิตย์เวลา10.00-18.00น. -5- พิพิธภัณฑ์ดา พิพิธภัณฑ์พระ-ประทีปโกลด์แลนด์ พิพิธภัณฑ์และศูนย์ศึกษาชาวเขา
  • 6. อนุสรณ์ชาวไทยเชื้อสายจีนหมู่บ้านสันติคีรี หรือ"ดอยแม่สลอง"หรือ"เหมย เซอ เล่อ" ที่อาเภอแม่ฟ้ าหลวงจังหวัดเชียงรายนั้น หมายถึงดินแดนแห่งความสงบสุขเดิมเป็นหมู่บ้านของอดีตทหารจีนคณะชาติ(ก๊กมินตั๋ง)กองพล 93 เป็นที่ตั้งของอนุสรณ์ชาวไทยเชื้อสายจีน ซึ่งทหารจีนดังกล่าวได้ช่วยราชการไทยต่อสู้และปราบปรามคอมมิวนิสต์ในพื้นที่ดอยหลวงดอยขาวและดอยผาหม่นจ.เชียงราย พ.ศ.2514-2528และพื้นที่เขาย่าจ.เพชรบูรณ์ ในปี 2524 และต่อมาได้รับสัญชาติไทยในที่สุด พิพิธภัณฑ์และอนุสรณ์แห่งนี้จึงถูกสร้างโดยความรักความศรัทธาของคนในชุมชน เพื่อเป็นการราลึกถึงคุณงามความดีของอดีตทหารจีนคณะชาติในการช่วยรักษาผืนแผ่นดินไทย พร้อมทั้งส่งเสริมและพัฒนาการท่องเที่ยวดอยแม่สลอง เมื่อเดินเข้าไปเราจะพบ“พิพิธภัณฑ์วีรชนอดีตทหารจีนคณะชาติภาคเหนือประจาประเทศไทย” ตัวอาคารหลักคืออาคารที่อยู่ตรงกลางออกแบบก่อสร้างอย่างสวยงามด้วยสถาปัตยกรรมแบบจีน เป็น "อนุสรณ์สถานทหารจีนคณะชาติภาคเหนือประจาประเทศไทย" ภายในมี“ป้ ายวิญญาณ”ของเหล่าทหารผู้วายชนม์ อาคารทางซ้ายมือเป็นอาคารพิพิธภัณฑ์ห้องที่1บอกเล่าเรื่องราวการเดินทาง ความเป็นมาของทหารชื้อสายจีนตั้งแต่ก่อนมาอยู่ประเทศไทยยึดตามวันเวลาในการรบเป็นสาคัญ มีโมเดลแสดงถึงสนามรบและเส้นทางการเดินทัพรวมถึงจัดแสดงข้าวของเครื่องใช้ของทหารในยุคนั้นส่วนอาคารทางขวาคือ พิพิธภัณฑ์ห้องที่2 และ3 แสดงให้เห็นถึงการสงเคราะห์ต่างๆของสมาคมจีนเพื่อสงเคราะห์ผู้ประสบภัย ทั้งการสงเคราะห์ในรูปแบบของสิ่งของและทุนการศึกษา เวียงกาหลง “เมืองวัฒนธรรมแดนพุทธภูมิถิ่นกาขาวชาวศรีวิไล” คือคาขวัญของสถานปฏิบัติธรรมและเมืองสมัยโบราณ เป็นศูนย์การเรียนรู้ชุมชนชื่อ“เวียงกาหลง” เวียงกาหลงตั้งอยู่บนเทือกเขาดอยดงในเทือกเขาดอยหลวงในเขตบ้านป่าส้านหมู่ที่5 ตาบลหัวฝายอาเภอเวียงป่าเป้ า จังหวัดเชียงรายเป็นแหล่งท่องเที่ยวทางวัฒนธรรมที่สาคัญอีกที่หนึ่ง ชุมชนโบราณแห่งนี้ไม่สามารถระบุได้ว่า เป็นเมืองที่สร้างขึ้นในยุคสมัยใดเพราะไม่พบการพูดถึงเมืองนี้ในหลักฐานหรือบันทึกเลย เรื่องราวของเมืองจึงบอกเล่าผ่านวัตถุต่างๆที่พบที่นี่เท่านั้น สาหรับแผนผังในเมืองโบราณแห่งนี้เมื่อผ่านซุ้มประตูทางเข้าเข้าไปเราจะพบป้ ายอธิบายสถานที่ต่างๆ ภายในเมืองนี้ประกอบด้วยวัดศูนย์การเรียนรู้ และเตาเผาโบราณ นอกจากนี้ผู้มาเยือนสามารถเดินท่องเที่ยวไปตามกาแพงทางเดินรอบๆเมือง -6- ชมทัศนียภาพอันสวยงามแวะสักการะสิ่งศักดิ์สิทธิ์สัมผัสบรรยากาศสมัยก่อนได้ นอกจากวัดเวียงกาหลงอันสงบร่มรื่นแล้วสิ่งที่พลาดไม่ได้ของการมาเยือนที่นี่คือเตาเผาโบราณ ใช้เผาเครื่องปั้นดินเผาอันเลื่องทั้งความงามและและคุณภาพของที่นี้บนเครื่องเคลือบแต่ละชิ้นปรากฏลวดลายอ่อนช้อยงดงาม ทั้งสัตว์เช่นลายกา ลานกิเลนลายพันธุ์ไม้ เช่นลายก้านขด ลายกาคู่ โดยเฉพาะลายกานั้นถือเป็นเอกลักษณ์ของที่นี่เลยทีเดียว ลายนี้เกิดจากการดัดแปลงรูปกลีบดอกไม้หรือใบไม้ ให้เหมือนรูปนกกา จึงเรียกว่าลายกาหรือดอกกาหลงนั่นเอง
  • 7. ศูนย์ภาษาและวัฒนธรรมจีนสิรินธร ภายในมหาวิทยาลัยแม่ฟ้ าหลวง ตั้งขึ้นด้วยความร่วมมือระหว่างรัฐบาลสาธารณรัฐประชาชนจีนและมหาวิทยาลัยแม่ฟ้ าหลวงเพื่อเป็นที่ระลึกในโอกาสครบรอบ 100 ปี แห่งวันพระราชสมภพสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี นับเป็นเครื่องหมายแห่งมิตรภาพระหว่างประชาชนของทั้งสองประเทศ เป็นศูนย์กลางการพัฒนาการเรียนการสอนภาษาจีนในประเทศไทยและในภูมิภาครวมทั้งเป็นศูนย์กลางแลกเปลี่ยนศิลปวัฒนธรร มระหว่างประเทศจีน-ไทยลักษณะสถาปัตยกรรมเป็นแบบจีนแท้มีสวนน้าตรงกลางแบบซูโจว ออกแบบโดยสถาปนิกชาวจีนจากมณฑลเสฉวนวัสดุกระเบื้องหลังคารูปปั้นประดับหลังคา สิงโตคู่แกะสลักด้วยหินอ่อนที่หน้าศูนย์ฯนามาจากประเทศจีนทั้งสิ้น ภายในอาคารจัดแสดงนิทรรศการภาพถ่ายสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯสยามบรมราชกุมารี เสด็จเยือนประเทศจีนและมีห้องสมุดให้ค้นคว้า อนุสรณ์ชาวไทยเชื้อสายจีน เวียงกาหลง ศูนย์ภาษาและวัฒนธรรมจีนสิรินธร รอยพระบาทแห่งสันติภาพ รอยพระบาทแห่งสันติภาพที่ปัจจุบันอยู่ภายในค่ายเม็งมหาราชนั้น เป็นหนึ่งสิ่งที่แสดงถึงพระบารมีของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวผู้นาพาความสงบสุขกลับคืนสู่แผ่นดินไทยตอนเหนือซึ่งในอดีต ราว3- 4ทศวรรษที่ผ่านมาได้เกิดความไม่สงบขึ้นเนื่องจากการสู้รบกันของพรรคคอมมิวนิสต์ที่ยึดฐานที่ตั้งอยู่ที่ดอยผาหม่นหรือดอยภูชี้ฟ้ า ในปัจจุบันกับเจ้าหน้าที่รัฐ สถานที่แห่งนี้ถือเป็นสมรภูมิรบบนยอดดอยที่วีรบุรุษผู้กล้าของไทยมากมายต้องต่อสู้และเสียสละชีวิตเพื่อปกป้ องอธิปไตยของชาติ จากความพรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศไทย(พคท.)จนกระทั่งวันที่27 กุมภาพันธ์พ.ศ.2525 การรบพุ่งสงบลง
  • 8. พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่9สมเด็จพระนางเจ้าพระบรมราชินีนาถ และสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาสยามบรมราชกุมารี เสด็จพร้อมด้วยพระเจ้าวรวงศ์เธอพระองค์เจ้าโสมสวลี พระวรราชาธินัดดามาตุทรงเยี่ยมบ้านพญาพิภักดิ์ณสันดอยยาวพอ.วิโรจน์ทองมิตรได้นาอดีตผู้นา ผู้ก่อการร้ายคอมมิวนิสต์เข้าเฝ้ าทูลละอองธุลีพระบาทเพื่อแสดงความจงรักภักดีและได้กราบบังคมทูลขอพระราชทาน “รอยพระบาท”ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่9ประทับลงบนแบบพิมพ์ปูนปลาสเตอร์ เพื่อ -7- จารึกไว้เป็นประวัติศาสตร์แห่งชัยชนะเหนือดอยยาวและดอยผาหม่นนับตั้งแต่นั้นเป็นต้นมาก็ไม่มีการสู้รบบนยอดดอยอีก นายเล่าลีแซ่จางชาวเขาเผ่าม้งได้เล่าว่าณช่วงเวลาที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวเสด็จมานั้นมีเรื่องราวอัศจรรย์เกิดขึ้นคือ ในวันนั้นเป็นวันที่หนาวมากมีหมอกปกคลุมทั่วทั้งบริเวณแต่เมื่อพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวได้ประทับรอยพระบาทนั้น หมอกทั้งหลายกลับหายไปมีเพียงแสงอาทิตย์ที่ส่องให้ความอบอุ่นเท่านั้นและหลังจากที่พระองค์เสด็จกลับหมอกก็ลงปกคลุม ความหนาวก็มาเยือนอีกครั้งและต่อมาเนื่องในวโรกาสที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงครองสิริราชสมบัติครบ60ปี กองพันทหารราบที่3 กรมทหารราบที่17ในองค์สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี ได้อัญเชิญรอยพระบาทคู่นั้นมาประทับที่ค่ายเม็งรายมหาราชจังหวัดเชียงราย กลายเป็นสถานที่ท่องเที่ยวที่น่าประทับใจทางประวัติศาสตร์ หอวัฒนธรรมนิทัศน์เฉลิมพระเกียรติ กาญจนาภิเษกจังหวัดเชียงรายคือศาลากลางหลังเดิมของจังหวัดตั้งอยู่ที่ถนนสิงห์ไคล อาเภอเมือง หอแห่งนี้แสดงให้เห็นถึงพระมหากรุณาธิคุณของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ความเป็นมาอันยาวนานของจังหวัดเชียงรายในรูปแบบของกลุ่มชาติพันธุ์ วิถีชีวิตและวัฒนธรรม ตลอดจนภาพปัจจุบันของจังหวัดว่ามีบทบาททางเศรษฐกิจในระดับภูมิภาคอย่างไรด้วยการใช้สื่อผสมต่าง ๆ ในการนาเสนอเรื่องราวทั้งมัลติมีเดียวีดีทัศน์และภาพดูราแทนทาให้การชมพิพิธภัณฑ์ แห่งนี้ไม่น่าเบื่ออย่างที่คิด หอวัฒนธรรมแห่งนี้แบ่งการจัดแสดงออกเป็นหกห้องด้วยกันห้องแรกคือ “พระมหากรุณาธิคุณในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯรอยพระบาท” นิทรรศการถาวรเกี่ยวกับพระราชกรณียกิจของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯและพระบรมวงศานุวงศ์ในพื้นที่จังหวัดเชียงราย ห้องต่อมาคือ“ประวัติความเป็นมาของเมืองเชียงราย”ห้องนี้นาเสนอข้อมูลทางประวัติศาสตร์ของเมืองเชียงราย ตั้งแต่ยุคดึกดาบรรพ์สมัยสถาปนาเมืองเชียงรายจนถึงเชียงรายในปัจจุบันห้องถัดมา “ชนพื้นเมืองและกลุ่มชาติพันธุ์” แสดงถึงความหลากหลายทางชาติพันธุ์และวัฒนธรรมของกลุ่มคนที่อาศัยในจังหวัดเชียงรายและพื้นที่ใกล้เคียงห้องที่4 คือ “ภาษาและวรรณกรรม” ห้องนี้เก็บความทรงจาเกี่ยวกับระบบภาษาพูดและภาษาเขียนอันเป็นวัฒนธรรมร่วมกันของชาวล้านนา ที่ได้บันทึกนิทานตานานตารายาคาสอนต่างๆไว้ในใบลานพับสาจารึกเป็นต้น ถัดมาคือห้อง “วัฒนธรรม5 เชียง” จัดแสดงความสัมพันธ์อันดีและวัฒนธรรมร่วมกันระหว่างเมืองเชียงรายเชียงใหม่เชียงตุงเชียงรุ้ง(สิบสองปันนา)เชียงทอง (หลวงพระบาง)ก่อนที่การสร้างรัฐชาติปิดกั้นความสัมพันธ์ของทั้งห้าเมืองนี้และห้องสุดท้ายคือห้อง “สี่เหลี่ยมเศรษฐกิจ” แสดงการพัฒนาเศรษฐกิจร่วมกันของจีนลาวพม่า ไทยทั้งด้านการศึกษาการคมนาคมการสื่อสารการบริการศิลปวัฒนธรรม และการท่องเที่ยว
  • 9. สถูปดอยช้างมูบตั้งอยู่บนดอยช้างมูบริมถนนสายพระธาตุดอยตุงบ้านผาหมีห่างจากทางแยกวัดน้อยดอยตุงประมาร 4กม. ตานานสิงหนวัติและตานานโยนกนาคพันธ์กล่าวถึงดอยช้างมูบว่าในรัชกาลที่ 10พระเจ้าชาติรายได้มีกัมระปติสะโลเทพบุตร นาไม้นิโครธมาปลูกณดอยช้างมูบต้นไม้นั้นเมื่อโตได้สูง 7 ศอก ได้แตกสาขาเป็น4กิ่ง สามารถให้ร่มเงาให้แก่คนได้ 20คน ประชาชนมีความเชื่อว่าหากนาไม้มาค้ากิ่งนิโครธน้าจะทาให้บรรลุความปรารถนาเช่นเดียวกับต้นกัลปพฤกษ์ กล่าวคือ ทิศตะวันออกได้บุตรสมประสงค์ทิศเหนือได้ทรัพย์ทิศตะวันตกเจริญรุ่งเรือง และทิศใต้อายุยืนนาน ปัจจุบันคงเหลือเพียงพระสถูปช้างมูบเป็นเจดีย์ขนาดเล็กตั้งอยู่บนก้อนหินใหญ่ ซึ่งมีลักษณะเหมือนช้างหมอบอยู่ สภาพโดยเป็นต้นโพธิ์ใหญ่ และต้นสนซึ่งใช้ปลูกเพื่ออนุรักษ์ดินและน้า -8- รอยพระบาทแห่งสันติภาพ หอวัฒนธรรมนิทัศน์เฉลิมพระเกียรติ สถูปดอยช้างมูบ ชมวัง เที่ยววัด พระตาหนักดอยตุง อยู่บริเวณกม.ที่ 12 ทางหลวงหมายเลข1149 เป็นที่ประทับแปรพระราชฐานเพื่อทรงงานของสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี พระ-ตาหนักเป็นอาคารสองชั้น มีรูปทรงผสมผสานระหว่างศิลปะล้านนากับชาเลย์ของสวิส มีการแกะสลักไม้ตามกาแลเชิงชายและขอบหน้าต่างเป็นลวดลายต่าง ๆ ฝีมือช่างชาวเหนือ ดอยตุงนอกจากจะมีพระธาตุดอยตุงที่เป็นที่เลื่อมใสแล้วยังมีสถานที่ท่องเที่ยวที่น่าสนใจอย่างมากคือ“พระตาหนักดอยตุง”หรือ “พระตาหนักสมเด็จย่า”นั่นเองตัวสถาปัตยกรรมเป็นแบบผสมมีกลิ่นอายล้านนาและความเรียบง่าย รอบพระตาหนักรายล้อมด้วยต้นไม้ดอกไม้นานาพันธุ์ทาให้ที่นี่สวยงามร่มรื่นมาก พระตาหนักดอยตุงถูกสร้างขึ้นในช่วงเวลาเดียวกับที่เกิดโครงการพัฒนาดอยตุงฯ โดยพระราชดารัสของสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนีด้วยพระราชทรัพย์ส่วนพระองค์เมื่อเดือนธันวาคมพ.ศ.2530 พระองค์ทรงแปรพระราชฐานมาทรงงานที่นี่และนับได้ว่าเป็น“บ้าน”หลังแรกของพระองค์ พระตาหนักสร้างอยู่บนเนินเขาทาให้มองเห็นทิวทัศน์กว้างไกลลักษณะเด่นคือเป็นศิลปะแบบล้านนาบ้านปีกไม้ มีกาแล ผสมกับลักษณะบ้านพื้นเมืองของชาวสวิตเซอร์แลนด์ที่เรียกว่าชาเลต์(SwissChalet) มีไม้แกะสลักเป็นเชิงชายลายเมฆไหลอ่อนช้อยเน้นความเรียบง่ายแต่ใช้สอยได้อย่างครบครันมีสองชั้นและชั้นลอย
  • 10. สิ่งที่น่าตื่นตาตื่นใจเป็นพิเศษคือเพดานดาวที่มีตาแหน่งของดาวเรียงกันเหมือนเช่นในวันพระราชสมภพ นอกจากนี้ยังสามารถเข้าชมห้องบรรทมและห้องทรงงานที่สงบเรียบง่ายแต่ไม่อนุญาตให้ถ่ายรูป รอบพระตาหนักตกแต่งเป็นสวนสวยงามด้วยดอกไม้หลายสายพันธุ์ พระธาตุดอยตุง ตั้งอยู่บริเวณกม.ที่ 17.5 ของทางหลวงหมายเลข1149เป็นที่บรรจุพระรากขวัญเบื้องซ้าย (กระดูกไหปลาร้า)ของพระพุทธเจ้านามาจากมัธยมประเทศนับเป็นครั้งแรกที่พระพุทธศาสนาลัทธิลังกาวงศ์ ได้มาประดิษฐานที่ล้านนาไทยเมื่อก่อสร้างพระสถูปบรรจุพระบรมสารีริกธาตุนี้ได้ทาธงตะขาบ(ภาษาพื้นเมืองเรียกว่าตุง) ใหญ่ยาวถึงพันวาปักไว้บนยอดดอย ถ้าหากปลายธงปลิวไปไกลถึงเมืองไหนก็จะกาหนดเป็นฐานพระสถูป เหตุนี้ดอยซึ่งเป็นที่ประดิษฐานปฐมเจดีย์แห่งล้านนาไทยจึงปรากฏนามว่าดอยตุงพระธาตุดอยตุงเป็นปูชนียสถานที่สาคัญ เมื่อถึงเทศกาลนมัสการพระธาตุดอยตุงจะมีพุทธศาสนิกชนทั้งชาวไทยและเพื่อนบ้านจากประเทศใกล้เคียง เช่น ชาวเชียงตุงในรัฐฉานประเทศสหภาพพม่าชาวหลวงพระบางเวียงจันทน์ เดินทางเข้ามานมัสการทุกปี -9- หอแห่งแรงบันดาลใจ มูลนิธิแม่ฟ้ าหลวงในพระบรมราชูปถัมภ์ได้ทาการปรับปรุงหอพระราชประวัติ สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนีและเปลี่ยนเนื้อหานิทรรศการเป็น"หอแห่งแรงบันดาลใจ" ถ่ายทอดพระราชจริยวัตรในการทางาน และพระวิริยะอุตสาหะที่มุ่งพัฒนาความเป็นอยู่ของคนไทย โดยหวังให้ผู้เข้าชมได้เกิดแรงบันดาลใจยึดมั่นในความดีคิดดี ประพฤติปฏิบัติดีเท่าที่ตนเองจะสามารถทาได้ เพื่อพลังแห่งความดีนี้จะได้ผลิดอกออกผลบานสะพรั่งไปทั่วทุกหนทุกแห่งเช่น ราชสกุลมหิดลที่เปรียบเสมือนหยดน้าหยดเล็กๆที่ค่อยๆหลั่งรินสร้างแรงกระเพื่อม ดับร้อน และบันดาลความชุ่มชื่นผาสุกไปทั่วแผ่นดินไทย พระตาหนักดอยตุง พระธาตุดอยตุง หอแห่งแรงบันดาลใจ วัดพระสิงห์ ตั้งอยู่ ถนนสิงหไคลริมแม่น้ากกใกล้ศาลากลางจังหวัดแต่เดิมเคยเป็นที่ประดิษฐาน พระพุทธสิหิงค์องค์ที่ประดิษฐานอยู่ณวิหารลายคาวัดพระสิงห์เชียงใหม่ในปัจจุบัน ตามประวัติเล่าว่าเจ้ามหาพรหม
  • 11. พระอนุชาของพระเจ้ากือนากษัตริย์ผู้ครองนครเชียงใหม่ได้อัญเชิญพระพุทธสิหิงค์มาจากเมืองกาแพงเพชร พระเจ้ากือนาได้โปรดฯให้ประดิษฐานไว้ ณเมืองเชียงใหม่ต่อมาพระเจ้ามหาพรหม ทูลขอยืมพระพุทธสิหิงค์มาประดิษฐานไว้ที่เมืองเชียงรายเพื่อหล่อจาลอง แต่เมื่อสิ้นบุญพระเจ้ากือนาและพระเจ้าแสนเมือง ราชนัดดาของพระองค์ได้เสด็จขึ้นครองเมืองเชียงใหม่เจ้ามหาพรหมคิดจะชิงราชสมบัติจึงยกกองทัพจากเชียงราย ไปประชิดเมืองเชียงใหม่ แต่เจ้าแสนเมืองก็สามารถป้ องกันเมืองได้อีกทั้งยกทัพตีทัพเจ้ามหาพรหมมาถึงเชียงราย และครั้งนี้เองที่ทรงอัญเชิญพระพุทธสิหิงค์คืนกลับไปประดิษฐานอยู่ที่พระสิงห์เชียงใหม่สืบมา วัดนี้นอกจากเคยเป็นที่ประดิษฐานพระพุทธสิหิงค์แล้ว ยังมีรอยพระพุทธบาทจาลองบนแผ่นศิลากว้าง5นิ้วยาว2 ฟุต มีอักษรขอมโบราณจารึกว่า"กุศลาธมมา-อกุศลาธมมา"สันนิษฐานว่าสร้างในสมัยพระเจ้าเม็งรายมหาราช วัดพระธาตุดอยจอมทอง หรือวัดดอยทอง ตาบลเวียงอาเภอเมืองเชียงราย พระธาตุเป็นมงคลนามแห่งเมืองเชียงราย เดิมเป็นวัดเก่าแก่สันนิษฐานว่ามีมาก่อนที่พ่อขุนเม็งรายจะมาพบพื้นที่และสร้างเป็นเมืองเชียงรายในปี พ.ศ. ๑๘o๕ ตามหลักฐานปรากฏในหนังสือพงศวดารโยนกของพระยาประชากรจักรกล่าวว่า เมื่อพระพุทธศาสนาล่วงแล้ว๙๕๖ พรรษามีพระเถระเจ้ารูปหนึ่งนามพระพุทธโฆษาเป็นชาวโกศลเมื่อสุธรรมวดี(สะเทิ้ม) ในสามัญประเทศได้ออกไปสู่เมืองลังกาทวีปนาคัมภีร์พระไตรปิฏก แห่งลังกาทวีปมาสู่สามัญทวีปและพุกามประเทศ และเข้ามาสู่โยนกนครไชยบุรีศรีเชียงแสนในวันจันทร์ขึ้น๘ค่าเดือน ๖ ปีชวด มหาศักราชได้ ๓๓๕(พ.ศ.๑๔๘๓) นาพระบรมสารีริกธาตุ๓ขนาดรวม๑๖ องค์ ถวายแก่พระเจ้าพังคราชเจ้าเมืองโยนกนาคพันธ์ พระองค์ได้แบ่งได้แบ่งเป็นพระธาตุขนาดใหญ่หนึ่งขนาดกลางสองรวมสามองค์ส่งให้พญาเรือนแก้วเจ้าเมืองไชยนารายณ์ (บริเวณอาเภอเวียงชัยในปัจจุบัน)ส่วนหนึ่งบรรจุลงมหาสถูปบนดอยทอง ขนานนามว่าพระธาตุดอยจอมทอง เพื่อเป็นมงคลนามของเมืองมีพิธีสรงน้าพระธาตุทุกวันขึ้น๑๕ค่าเดือน ๓(เดือน ๕ เหนือ) -10 วัดร่องขุ่น เป็นวัดที่มีความสวยงามโดดเด่นต่างจากวัดอื่นๆด้วยฝีมือการออกแบบและก่อสร้างของอ.เฉลิมชัยโฆษิตพิพัฒน์ ศิลปินชื่อดัง เพื่อเป็นวัดประจาบ้านเกิดสร้างโดยจินตนาการของอาจารย์จัดเป็นงานพุทธศิลป์ ที่ยิ่งใหญ่ และงดงามน่าแวะชมมากแห่งหนึ่ง อ.เฉลิมชัยโฆษิตพิพัฒน์มีแรงบันดาลใจในการสร้างวัดแห่งนี้อยู่3ประการคือเพื่อชาติ ศาสนาและพระมหากษัตริย์ซึ่งอาจารย์บอกว่า จึงตั้งความปรารถนาที่จะถวายชีวิตใช้ช่วงเวลาที่ดีที่สุดของตนเอง สร้างงานพุทธศิลป์ เพื่อเป็นงานประจารัชกาลของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวให้ได้ และจะถวายชีวิตไปจนตายคาวัด" (จากเอกสารของวัดร่องขุ่น)ความงดงามของวัดแห่งนี้อยู่ที่"โบสถ์"เพราะอาจารย์อยากจะเนรมิตวัดให้เหมือนเมืองสวรรค์ เป็นวิมานบนดินที่มนุษย์สามารถสัมผัสได้ โบสถ์ เปรียบเหมือนบ้านของพระพุทธเจ้า สีขาวแทนพระบริสุทธิคุณของพระพุทธเจ้า กระจกขาวหมายถึงพระปัญญาธิคุณของพระพุทธเจ้าที่เปล่งประกายไปทั่วโลกมนุษย์และจักรวาล สะพานหมายถึง การเดินข้ามวัฏสงสารมุ่งสู่พุทธภูมิก่อนขึ้นสะพานครึ่งวงกลมเล็กหมายถึง โลกมนุษย์ วงใหญ่ที่มีเขี้ยวเป็นปากของพญามารหรือพระราหูหมายถึงกิเลสในใจแทนขุมนรกคือทุกข์ ผู้ที่จะเข้าเฝ้ าพระพุทธเจ้าในพุทธภูมิต้องตั้งจิตปลดปล่อยกิเลสตัณหาของตนเองลงไปในปากพญามาร เพื่อเป็นการชาระจิตให้ผ่องใสก่อนที่จะเดินผ่านขึ้นไปพบกับพระราหูอยู่เบื้องซ้าย และพญามัจจุราชอยู่เบื้องขวา บนสันของสะพานจะประกอบไปด้วยอสูรกลืนกัน16ตนข้างละ8 ตนหมายถึงอุปกิเลส16 จากนั้นก็จะถึงกึ่งกลางสะพานหมายถึงเขาพระสุเมรุ ซึ่งเป็นที่อยู่ของเทวดาด้านล่างเป็นสระน้าหมายถึงสีทันดรมหาสมุทร มีสวรรค์ตั้งอยู่ด้วยกัน6ชั้นด้วยกันผ่านสวรรค์6เดินลงไปสู่พรหม16ชั้นแทนด้วยดอกบัวทิพย์16ดอกรอบพระอุโบสถ
  • 12. ดอกที่ใหญ่สุด4 ดอก ตรงทางขึ้นด้านข้างโบสถ์หมายถึงซุ้มพระอริยเจ้า 4พระองค์ประกอบด้วยพระโสดาบันพระสกิทาคามี พระอนาคามีและพระอรหันต์เป็นสงฆ์สาวกที่ควรกราบไหว้บูชา ก่อนขึ้นบันไดครึ่งวงกลมหมายถึงโลกุตตรปัญญา บันไดทางขึ้น 3 ขั้นแทนอนิจจัง ทุกขัง และอนัตตาผ่านแล้วจึ้งขึ้นไปสู่อรูปพรหม4แทนด้วยดอกบัวทิพย์4ดอกและบานประตู4 บานบานสุดท้ายเป็นกระจกสามเหลี่ยมแทนความว่าง ซึ่งหมายถึงความหลุดพ้น แล้วจึงก้าวข้ามธรณีประตูเข้าสู่พุทธภูมิ ภายในประกอบด้วยภาพเขียนโทนสีทองทั้งหมดผนัง4 ด้าน เพดานและพื้นล้วนเป็นภาพเขียนที่แสดงถึงการหลุดพ้นจากกิเลสมารมุ่งเข้าสู่โลกุตตรธรรมส่วนบนของหลังคาโบสถ์ ได้นาหลักการของการปฏิบัติจิต3ข้อ คือศีล สมาธิปัญญา นาไปสู่ความว่างคือความหลุดพ้นนั่นเอง นี่เป็นเพียงรายละเอียดคร่าวๆของโบสถ์ของวัดร่องขุ่นส่วนรายละเอียดจริงๆนั้น อาจารย์บอกว่าจะสร้างทั้งหมด9หลังแต่ละหลังมีความหมายเป็นคติธรรมทุกหลัง ผมหวังจะสร้างงานพุทธศิลป์ ของแผ่นดินให้ยิ่งใหญ่อลังการเพื่อให้คนทั้งโลกยอมรับและปรารถนาจะมาชื่นชมให้ได้ จะถวายชีวิตสร้างจนลมหายใจสุดท้ายและได้สร้างลูกศิษย์รอรับช่วงต่ออีก2รุ่นหลังผมตายคาดว่าจะเสร็จสมบูรณ์ทั้ง9หลัง คงใช้เวลาทั้งหมด60-70ปีครับ" นอกจากจะชมความงดงามของพระอุโบสถแล้ว ยังสามารถเข้าชมผลงานของอาจารย์ และเลือกซื้อของที่ระลึกจากวัดร่องขุ่นได้อีกด้วย วัดพระสิงห์ วัดพระธาตุดอยจอมทอง วัดร่องขุ่น -11- วัดพระแก้ว ถนนไตรรัตน์เป็นวัดที่ค้นพบพระแก้วมรกตหรือพระพุทธมหามณีรัตนปฏิมากรที่ประดิษฐานอยู่ณวัดพระแก้ว กรุงเทพฯในปัจจุบัน ตามประวัติเล่าว่าเมื่อปี พ.ศ. ๑๘๙๗ในสมัยพระเจ้าสามฝั่งแกนเป็นเจ้าเมืองเชียงใหม่นั้น ฟ้ าได้ผ่าเจดีย์ร้างองค์หนึ่งและได้พบพระพุทธรูปลงรักปิดทองอยู่ภายในเจดีย์ ต่อมารักกะเทาะออกจึงได้พบว่าเป็นพระพุทธรูปสีเขียวสร้างด้วยหยก คือพระแก้วมรกตนั่นเอง ปัจจุบันวัดพระแก้วเชียงรายเป็นที่ประดิษฐานพระหยก ซึ่งสร้างขึ้นใหม่ในวโรกาสที่สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี มีพระชนมายุครบ90 พรรษา วัดกลางเวียง วัดกลางเวียงคือวัดที่ตั้งอยู่ใจกลางเวียงเชียงรายเดิมชาวบ้านเรียกว่า วัดจันทน์โลกหรือวัดจั๋นตะโลก เพราะในวัดเคยมีต้นจันทน์แดงขนาดใหญ่ขึ้นอยู่ถือเป็นไม้มงคลใช้บูชาพระตามธรรมเนียมโบราณ วัดมิ่งเมือง ได้รับพระราชทานวิสุงคามสีมาเมื่อพ.ศ.2513 เป็นวัดใหญ่ สมัยก่อนมีชุมชนไทยใหญ่อยู่เรียกว่าวัดเงี้ยวหรือ วัดช้างมูบเวลานี้มีการบูรณะเจดีย์โบราณณของวัดพบจารึกบนแผ่นเงินจารึกเป็นภาษาพม่าแปลออกมาเป็นผู้สร้างจากเจดีย์ โบราณวัดภาษายังมีปรากฎอยู่เป็นศิลปะผสมระหว่างพม่าและล้านนา
  • 13. วัดพระแก้ว วัดกลางเวียง วัดมิ่งเมือง วัดพระธาตุเจดีย์หลวง ตั้งอยู่ติดกับพิพิธภัณฑ์สถานแห่งชาติเชียงแสนด้านทิศตะวันออก สร้างโดยพระเจ้าแสนภู เมื่อประมาณกลางพุทธศตวรรษที่๑๙โบราณสถานประกอบด้วยเจดีย์ประธานทรงระฆังแบบล้านนาสูง๘๘ม. ฐานกว้าง๒๔ ม. เป็นเจดีย์ใหญ่ที่สุดในเชียงแสนนอกจากนี้มีพระวิหาร ซึ่งเก่าแก่มากพังทลายเกือบหมดแล้วและเจดีย์รายแบบต่างๆ๔องค์ วัดพระเจ้าล้านทอง อยู่ในเขตกาแพงเมืองเจ้าทองงั่วราชโอรสพระเจ้าติโลกราชเป็นผู้สร้างเมื่อพ.ศ. 2032 ได้ทรงหล่อพระพุทธรูปองค์หนื่งหนักล้านทอง(1,200กก.)ขนานนามว่าพระเจ้าล้านทองเป็นพระประธานหน้าตักกว้าง2ม.สูง 3 ม.เศษ ในวัดนี้ยังมีพระพุทธรูปอีกองค์หนึ่งได้มาจากวัดทองทิพย์ซึ่งเป็นวัดร้าง เรียกกันว่า พรเจ้าทองทิพย์เป็นพระพุทธรูปทองเหลืองพระพักตร์งดงามมาก ลักษณะเป็นพระพุทธรูปสมัยสุโขทัยหน้าตักกว้าง1ศอก 15 นิ้ว สูง 2 ศอก 10 นิ้ว -12- วัดป่าสัก อยู่ห่างจากที่ว่าการอาเภอเชียงแสนประมาณ ๑กม.ในเขต ต.เวียงพระเจ้าแสนภูทรงสร้างเมื่อพ.ศ. 1838 และให้ปลูกต้นสักล้อมกาแพง300ต้น วัดนี้จึงได้ชื่อว่า"วัดป่าสัก"ภายในวัดมีโบราณสถานที่สาคัญคือ เจดีย์ประธานทรงมณฑปยอดระฆังตกแต่งด้วยลวดลายปูนปั้นอันวิจิตรมีฐานกว้าง 8ม.สูง 12.5 ม. เป็นที่บรรจุพระบรมสารีริกธาตุกระดูกตาตุ่มข้างขวาจากเมืองปาฏลีบุตร
  • 14. วัดพระธาตุเจดีย์หลวง วัดพระเจ้าล้านทอง วัดป่าสัก วัดสังฆาแก้วดอนหัน มีประวัติว่าสร้างโดยพรเจ้าลวจักราชเมื่อต้นพุทธศตวรรษที่ 12 แต่หลักฐานที่พบแสดงว่ามีอายุอยู่ในช่วงไม่เกินพุทธศตวรรษที่21 กรมศิลปากรได้ขุดพบหลักฐานที่พบแสดงว่ามีอายุอยู่ในช่วงไม่เกินพุทธศตวรรษที่ 21 กรมศิลปากรได้ขุดพบภาพขูดขีดบนแผ่นอิฐเป็นเรื่องราวเกี่ยวกับพระชาติของพระพุทธเจ้า ตอนพระเวสสันดรชาดกเช่น พระเวสสันดรเดินป่าชูชกเฝ้ าพระเวสสันดรเป็นต้น นอกจากนี้ยังพบชิ้นส่วนจิตรกรรมฝาผนังที่หลุดพังมาจากผนังวิหารมีสภาพแตกหัก แต่ยังคงเหลือลักษณะของสีและตัวภาพซึ่งใช้สีชาดและสีแดงเพียง 2สีนับได้ว่าเป็นการค้นพบที่สาคัญทางวิชาการอย่างยิ่ง วัดพระธาตุผาเงา อยู่ห่างจากอาเภอเชียงแสนไปตามเส้นทางเชียงแสน-เชียงของประมาณ4กม. อยู่ตรงข้ามโรงเรียนสบคา เป็นสถานที่ปฏิบัติธรรมมีเนื้อที่143 ไร่ มีเจดีย์ทรงระฆังขนาดเล็กตั้งอยู่บนหินก้อนใหญ่ วิหารปัจจุบันสร้างทับซากวิหารเดิม บนยอดเขาข้างหลังวัดเป็นที่ตั้งของพระบรมพุทธนิมิตรเจดีย์ที่มองเห็นทิวทัศน์สวยงามได้โดยรอบ วัดเจดีย์เจ็ดยอด อยู่เหนือวัดพระธาตุผาเงาขึ้นไปบนดอยประมาณ1กิโลเมตรตัววัดหักพังหมดแล้ว เหลือแต่เพียงซากอิฐเก่าๆ แทบไม่เห็นรูปร่างเดิมอาจกล่าวได้ว่า วัดพระธาตุผาเงาและวัดเจดีย์เจ็ดยอดอยู่บนเขาลูกเดียวกัน มีบริเวณต่อเนื่องกันอย่างกว้างขวางบริเวณร่มรื่นด้วยไม้ใหญ่ สมกับเป็นสถานปฏิบัติธรรม วัดสังฆาแก้วดอนหัน วัดพระธาตุผาเงา วัดเจดีย์เจ็ดยอด -13- วัดพระเจ้าทองน้อยตั้งอยู่หมู่ที่ ๓ถนนพหลโยธินตาบลเวียงอาเภอเชียงแสนจังหวัดเชียงราย อยู่(ตรงข้ามกับวัดพระเจ้าล้านทอง)วัดนี้ประกอบด้วยเจดีย์ตั้งอยู่ด้านหลังวิหารซึ่งหันหน้าไปทางทิศตะวันออก
  • 15. กาแพงวัดและอาคารอื่นๆถูกทาลายไปแล้ว ปัจจุบันเป็นวัดร้างไม่ปรากฏหลักฐานเกี่ยวกับการก่อสร้างน่าจะถูกทิ้งร้างไปหลัง พ.ศ. 2347เมื่อทัพล้านนายกมาขับไล่พม่าสันนิษฐานได้ว่าน่าจะสร้างขึ้นเมื่อประมาณพุทธศตวรรษที่21 วัดพระยืนเชียงแสน ปัจจุบันเหลืออยู่เพียงพระเจดีย์เท่านั้นเป็นเจดีย์รูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสซ้อนลดหลั่นกันสามชั้น มีเรือนธาตุย่อมุมมีลวดบัวคาดกลางโดยตลอดตอนบนเป็นระฆังแปดเหลี่ยมตามตานานและพงศาวดารกล่าวว่าพญาคาฟู โอรสของพญาแสนภูทรงโปรดให้สร้างขึ้นเมื่อปีพ.ศ.1875 ต่อมาพระเจดีย์เกิดชารุด พระยาหลวงไชยชิตจึงทาการซ่อมแซมเมื่อพ.ศ.2181 จากรูปแบบของสถาปัตยกรรม สันนิษฐานว่าน่าจะก่อสร้างประมาณพุทธศตวรรษที่21 วัดพระแก้ว เชียงของ ตั้งอยู่ หมู่ที่ 13 ตาบลเวียงอาเภอเชียงของจังหวัดเชียงราย สังกัดคณะสงฆ์มหานิกาย เป็นอีกวัดหนี่งในเชียงของที่ตั้งอยู่กลางเมืองตั้งอยู่ห่างที่ว่าการอาเภอฯประมาณ 400เมตรบนถนนสายหลักเชียงของ-เชียงแสน (ติดกับที่ทาการไปรษณีย์)ทางเข้าวัดจะติดถนนสายหลักแต่อีกด้านหนึ่งจะติดแม่น้าโขง ดังนั้นบริเวณวัดจึงสามารถมองเห็นวิวน้าโขงสวยงามมากรวมทั้งมองเห็นฝั่งลาวได้ชัดเจนอีกด้วย ภายในวัดมีพระพุทธรูปเก่าแก่มากมาย โดยเฉพาะพระพุทธรูปที่ทาจากหินน้าโขงที่งดงามมาก บริเวณด้านติดแม่น้าโขงมีม้านั่งหินอ่อนให้ท่านนั่งชมทัศนียภาพน้าโขงและฝั่งลาวตลอดแนววัด วัดพระเจ้าทองน้อย วัดพระยืนเชียงแสน วัดพระแก้ว เชียงของ วัดศรีดอนชัย เดิมชื่อ “วัดตุงคา”ตั้งอยู่บริเวณสถานีตารวจภูธรอาเภอเชียงของปัจจุบันต่อมาประมาณปี พ.ศ. 2400 ได้ย้ายมาสร้างวัดใหม่ทางทิศตะวันตกติดกับประตูชัย(ที่ตั้งวัดปัจจุบัน) และได้เปลี่ยนชื่อวัดใหม่ว่า“วัดศรีดอนชัย”วัดศรีดอนชัย เป็นศูนย์กลางจัดการศึกษาของคณะสงฆ์อาเภอเชียงของโดยได้เปิดสอนพระปริยัติธรรมแผนกธรรมมาตั้งแต่พ.ศ.2580 แผนกสามัญศึกษามาตั้งแต่พ.ศ.2525 และเป็นสถานที่สอบธรรมสนามหลวงประจาอาเภอเชียงของประจาทุกปี และได้รับยกย่องจากกรมการศาสนาให้เป็น“วัดพัฒนาตัวอย่าง”เมื่อพ.ศ. 2519 มีปูชนียวัตถุที่สาคัญอันเป็นที่สักการบูชาของพุทธศาสนานิกชนคือ“ หลวงพ่อเพชร”ซึ่งเป็นพระคู่บ้านคู่เมืองเชียงของ และพระธาตุศรีเวียงดอนชัยมีประเพณีสักการบูชาเป็นประจาทุกปีในวันมาฆบูชา วัดหลวงหรือวัดไชยสถานเป็นอีกวัดหนึ่งที่ด้านหน้าติดถนนสายหลักเชียงของ-เชียงแสนและอีกด้านอยู่ติดกับแม่น้าโขง วัดหลวงอยู่ห่างจากวัดพระแก้วไม่เกิน100เมตรตัววิหารหันหน้าไปทางทิศตะวันออก(ทางแม่น้าโขงและเมืองห้วยทราย สปป.ลาว) ดังนั้นอยู่บนบริเวณวัดจึงมองเห็นทัศนียภาพน้าโขงและเมืองลาวได้อย่างชัดเจน ถัดจากชั้นบริเวณวัดมีบริเวณให้อีกชั้นหนึ่งที่สาหรับจอดรถและนั่งชมวิวก่อนที่จะถึงชั้นถนนตัวหนอนเลียบน้าโขง ช่วงเย็นๆ อากาศเย็นสบายและทิวทัศน์สวยงามมาก -14-
  • 16. วัดหาดไคร้ สังกัดคณะสงฆ์มหานิกายที่เด่นๆในวัดจะมีเพียงพระประธานและพญานาคหน้าวัด แม่น้าโขงช่วงผ่านหน้าวัดหาดไคร้นี้เป็นวังน้าลึก และเป็นช่องแคบกว่าแม่น้าโขงช่วงอื่น เป็นจับปลาบึกเพียงแห่งเดียวของประเทศไทยการจับปลาบึกที่บ้านหาดไคร้ มักจะทาพิธีอยู่ที่ลานหน้าวัดไคร้ ดาเนินการโดยชมรมจับปลาบึกอาเภอเชียงของโดยมีการจับฉลากระหว่างเรือจากฝั่งไทยและลาวสลับกัน ก่อนเปิดฤดูจับปลาจะมีพิธีบวงสรวงเจ้าพ่อปลาบึกในวันที่18เม.ย.ที่ลานจับปลาบึกริมแม่น้าโขงด้านหลังวัดหาดไคร้ ปลาบึกที่จะจับขายได้คือปลาบึกตัวผู้ที่โตเต็มวัยเท่านั้นหากเป็นปลาตัวเมียจะรีดไข่หรือขายให้กับกรมประมงเพื่อนาไปขยายพันธุ์ วัดศรีดอนชัย วัดหลวงหรือวัดไชยสถาน วัดหาดไคร้ พระธาตุดอยปูเข้า ตามเส้นทางเชียงแสน-สบรวกแยกซ้ายก่อนถึงสามเหลี่ยมทองคาเล็กน้อย รถยนต์สามารถขึ้นไปถึงยอดเขาหรือจะเดินขึ้นบันไดก็ได้ พระธาตุดอยปูเข้านี้สร้างขึ้นบนดอยเชียงเมี่ยงริมปากน้ารวกเมื่อพ.ศ. 1302 ในสมัยพระยาลาวเก้าแก้วมาเมืองกษัตริย์องค์ที่2แห่งเวียงหิรัญนครเงินยางโบราณสถานประกอบด้วยพระวิหาร และกลุ่มเจดีย์ที่พังทลายก่อด้วยอิฐมีร่องรอยการตกแต่งด้วยลวดลายปูนปั้นนอกจากนี้บนดอยเชียงเมี่ยงยังเป็นจุดชมวิว สามารถมองเห็นสามเหลี่ยมทองคาได้ชัดเจน พระธาตุจอมแว่ อยู่บนภูเขาจอมแว่ หมู่ที่ 2 ต.เมืองพาน 3 กม. เป็นพระธาตุที่มีประชาชนชาวอ.พานและอ.ใกล้เคียงนับถือกันว่าเป็นพระธาตุอันศักดิ์สิทธิเมื่อถึงเดือน8 เหนือหรือเดือน 9 ใต้ ขึ้น 15 ค่า จะมีงานนมัสการองค์พระธาตุทุกปี วัดทรายขาว พาน เป็นวัดมหานิกายเริ่มก่อสร้างเมื่อปี พ.ศ2400 โดยมีพ่อหนานอริยะ-แม่มัง ได้พาญาติพี่น้องอพยพครอบครัวจากบ้านหลวงอ.ดอยสะเก็ดจ. เชียงใหม่ มาตั้งภูมิลาเนาอยู่ริมลาห้วยทรายขาว ตั้งชื่อหมู่บ้านว่าบ้านห้วยทรายขาวต.แม่หนาดอ.พานจ.เชียงรายจนถึงพ.ศ. 2436 พ่ออุ้ยตา-แม่อุ้ยป้ ออริยะมั่ง เป็นบุตรพ่อหนานอริยะ-แม่มั่งเป็นผู้มีฐานะดีได้เสียสละกาลังทรัพย์เป็นผู้นาย้ายวัดทรายขาวมาตั้งที่อยู่ ปัจจุบัน พระธาตุดอยปูเข้า พระธาตุจอมแว่ วัดทรายขาว พาน
  • 17. -15- ธรรมชาติ ไร่แม่ฟ้ าหลวง อุทยานศิลปะและวัฒนธรรมบนเนื้อที่กว่า 150ไร่ กลางเมืองเชียงราย เป็นที่เก็บรักษาศิลปะวัตถุอันล้าค่าของวัฒนธรรมล้านนา เชิญนมัสการพระพุทธรูปศักดิ์สิทธิ์ในหอคาชมงานนิทรรศการเรื่องไม้สัก พร้อมชมงานศิลปะพื้นบ้านในหอแก้วล้อมรอบตัวด้วยบึงน้าอันสงบเงียบมีสวนไม้หอมและพฤกษานานาพันธ์ สวนแม่ฟ้ าหลวง ตั้งอยู่ด้านหน้าพระตาหนักดอยตุงมีเนื้อที่ประมาณ 10ไร่ เป็นสวนไม้ดอกไม้ประดับนานาพรรณ มีดอกไม้เมืองหนาวอาทิ ดอกซัลเวียพิทูเนีย บีโกเนียกุหลาบดอกลาโพงไม้มงคลต่างๆ นอกจากนั้นยังมีไม้ยืนต้นและซุ้มไม้เลี้อยอีกมากกว่า 70ชนิดและยังมีรูปปั้นต่อเนื่อง ฝีมือปั้นของคุณมีเซียมยิปอินซอย มีศาลาชมวิวและร้านจาหน่ายสินค้าของที่ระลึกโดยมูลนิธิแม่ฟ้ าหลวง สวนแม่ฟ้ าหลวงสร้างโดยการท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย เพื่อถวายสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี และในบริเวณใกล้กับสวนแม่ฟ้ าหลวงจะมีหอพระราชประวัติซึ่งจัดแสดงนิทรรศการเกี่ยวกับพระราชประวัติ และพระราชกรณียกิจของสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี สวนรุกขชาติแม่ฟ้ าหลวง มีเนื้อที่250 ไร่ มีเส้นทางให้เดินลัดเลาะเข้าไปในดงกุหลาบพันปี สถานที่รวบรวมพันธุ์ไม้ตระกูลกุหลาบพันปีไว้มากที่สุดในประเทศ จุดชมวิวที่สูงที่สุดของเทือกเขานางนอนดอยช้างมูบ และยังมี กล้วยไม้ป่ากล้วยไม้ดินและรองเท้านารี จะสวยงามมากในช่วงที่ต้นพญาเสือโคร่งและเสี้ยวดอกขาวบานสะพรั่ง ช่วงเดือนมกราคมบริเวณด้านในมีลานชมวิวต่างๆเช่นลานรุ่งอรุณลานอัสดงจุดส่องสามแคว้น (ไทย-พม่า-ลาว) ไร่แม่ฟ้ าหลวง สวนแม่ฟ้ าหลวง สวนรุกขชาติแม่ฟ้ าหลวง วนอุทยานภูชี้ฟ้ าอยู่ในเขตป่าสงวนแห่งชาติป่าแม่อิงฝั่งขวาและป่าแม่งาวท้องที่บ้านร่มฟ้ าทองหมู่ที่9 และบ้านร่มฟ้ าไทย หมู่ที่ 10 ตาบลปออาเภอเวียงแก่นจังหวัดเชียงราย สถานที่แห่งนี้ครั้งหนึ่งเคยเป็นสมรภูมิรบที่เกิดจากความขัดแย้งทางความคิดและนโยบายการบริหารการปกครองระหว่างกลุ่มคนที่ จัดตั้งตนเป็นพรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศไทยและเจ้าหน้าที่รัฐที่ต้องเข้ามาปราบปรามหลังจากมีเหตุการณ์นองเลือด แต่หลังจากเรื่องราวต่างๆได้คลี่คลายลงความสงบสุขได้กลับคืนสู่ผืนป่าอีกครั้ง ความสวยงามของสถานที่แห่งนี้จึงได้ถูกค้นพบและบอกเล่ากล่าวขานกันเรื่อยมา วนอุทยานแห่งนี้อยู่สูงจากระดับน้าทะเล1200-1628เมตรมีหน้าผาสูงที่มีแนวยื่นเข้าไปในประเทศลาว และสูงที่สุดในเทือกเขาดอยผาหม่นจุดนี้เองที่เป็นจุดชมวิวที่ได้ชื่อว่าสวยที่สุดแห่งหนึ่ง