SlideShare a Scribd company logo
1 of 9
Download to read offline
จังหวะ (Rhythm)
..... จังหวะจัดว่าเป็นพืนฐานในชีวิตของมนุษย์เราจะพบกับจังหวะได้ในทุก ๆ
วัฎจักร นับตังแต่การเกิด กลางคืน–กลางวัน การมีฤดูกาลทัง 4 ฤดู การขึน–ลงของนํา
การหายใจ การเต้นของหัวใจ การเดิน หรือแม้กระทั1งการดําเนินชีวิตของคน
ในทางดนตรีแล้วจังหวะหมายถึง การเคลื1อนที1ของแนวทํานองหรือเสียงใน
ช่วงเวลาหนึ1งโดยปกติจังหวะประกอบด้วย
1. จังหวะหนัก (Strong beat) หมายถึงจังหวะที1หนักกว่าจังหวะอื1น ๆ ภายใน
ห้อง เพลงเดียวกันมีหลายกลุ่ม เช่น
กลุ่ม 2 จังหวะ (Duple Meter) คือ จังหวะหนักอยู่ที1จังหวะที1 1 จังหวะที1 2
เป็นจังหวะเบา
6
กลุ่ม 3 จังหวะ (Triple Meter) คือจังหวะหนักอยู่ที1จังหวะที1 1 จังหวะที1 2,3
เป็นจังหวะเบา
กลุ่ม 4 จังหวะ (Quadruple Meter) คือจังหวะหนักอยู่ที1จังหวะที1 1 และ 3
จังหวะที1 2 และ 4 เป็นจังหวะเบา
2. จังหวะทํานอง (Duration) หมายถึงความสันยาวของเสียงทุกเสียงใน
ทํานองเพลง
. เครื'องหมายกําหนดจังหวะ (Time Signature) ดนตรีเป็นโสตศิลป์ที1เกี1ยวข้อง
กับเสียงและเวลา เวลาในทางดนตรีถูกกําหนดโดยใช้เครื1องหมายกําหนดจังหวะเป็น
ตัวเลขคล้ายกับเลขเศษส่วน แต่ไม่มีเส้นตรงขีดระหว่างตัวเลขบนและล่าง เช่น
เป็นต้น
7
ตัวเลขตัวบน ใช้บอกจํานวนตัวโน้ต หรือจังหวะภายในแต่ละห้อง เช่น
เลข 2 หมายถึง มีตัวโน้ตได้ 2 ตัว
เลข 3 หมายถึง มีตัวโน้ตได้ 3 ตัว
เลข 4 หมายถึง มีตัวโน้ตได้ 4 ตัว
เลข 6 หมายถึง มีตัวโน้ตได้ 6 ตัว
ตัวเลขตัวล่าง ใช้บอกลักษณะตัวโน้ตที1ใช้เป็นเกณฑ์
เลข 2 ใช้แทนโน้ต ตัวขาว
เลข 4 ใช้แทนโน้ต ตัวดํา
เลข 8 ใช้แทนโน้ต ตัวเขบต 1 ชัน
เลข 16 ใช้แทนโน้ต ตัวเขบ็ต 2 ชัน
โดยทั1วไปในทางดนตรีสามารถจําแนกอัตราจังหวะได้2 ประเภทคือ อัตรา
จังหวะธรรมดา (Simple Time Signatures) และอัตราจังหวะผสม (Compound Time
Signatures)
8
จากตัวอย่างข้างต้น อ่านว่า “เครื1องหมายกําหนดจังหวะ สี1–สี1” หมายความว่า
ภายในหนึ1งห้องเพลงที1กําหนดด้วยเครื1องหมายกําหนดจังหวะนี ประกอบด้วยตัวโน้ต
ตัวดํา (เลข 4 ตัวล่าง) ได้จํานวน 4 ตัว (เลข 4 ตัวบน) ในการปฏิบัติให้ถือว่า 1 ห้อง
มี 4 จังหวะ ในอีกความหมายหนึ1งก็คือ ภายในหนึ1งห้องจะประกอบด้วยตัวโน้ตหรือตัว
หยุดชนิดใดก็ได้แต่รวมกันแล้วต้องไม่เกิน 4 จังหวะ
จากตัวอย่างข้างต้น อ่านว่า “เครื1องหมายกําหนดจังหวะ สาม–สี1” หมายความ
ว่าภายในหนึ1งห้องเพลงที1กําหนดด้วยเครื1องหมายกําหนดจังหวะนี ประกอบด้วยตัวโน้ต
ตัวดํา (เลข 4 ตัวล่าง) ได้จํานวน 3 ตัว (เลข 3 ตัวบน) ในการปฏิบัติให้ถือว่า 1 ห้อง
มี 3 จังหวะ ในอีกความหมายหนึ1งก็คือ ภายในหนึ1งห้องจะประกอบด้วยตัวโน้ตหรือตัว
หยุดชนิดใดก็ได้แต่รวมกันแล้วต้องไม่เกิน 3 จังหวะ
9
จากตัวอย่างข้างต้น อ่านว่า “เครื1องหมายกําหนดจังหวะ สาม–แปด”
หมายความว่า ภายในหนึ1งห้องเพลงที1กําหนดด้วยเครื1องหมายกําหนดจังหวะนี
ประกอบด้วยตัวโน้ตตัวเขบ็ต 1 ชัน (เลข 8 ตัวล่าง) ได้จํานวน 3 ตัว (เลข 3 ตัวบน) ใน
การปฏิบัติให้ถือว่า 1 ห้อง มี 3 จังหวะ ในอีกความหมายหนึ1งก็คือ ภายหนึ1งห้องจะ
ประกอบด้วย ตัวโน้ตหรือตัวหยุดชนิดใดก็ได้แต่รวมกันแล้วต้องไม่เกิน 3 จังหวะ
จากตัวอย่างข้างต้น อ่านว่า “เครื1องหมายกําหนดจังหวะ หก–สี1” หมายความว่า
ภายในหนึ1งห้องเพลงที1กําหนดด้วยเครื1องหมายกําหนดจังหวะนีประกอบด้วยตัวโน้ต ตัว
ดํา (เลข 4 ตัวล่าง) ได้จํานวน 6 ตัว (เลข 6 ตัวบน) ในการปฏิบัติให้ถือว่า 1 ห้องมี 2
จังหวะ เนื1องจากเป็นอัตราจังหวะผสม โน้ตตัวดํา 3 ตัวให้นับ 1 จังหวะ หรือ 1 เคาะใน
อีกความหมายหนึ1งก็คือ ภายในหนึ1งห้องจะประกอบด้วย ตัวโน้ตหรือตัวหยุดชนิดใด
ก็ได้แต่รวมกันแล้วต้องไม่เกิน 6 จังหวะ (อัตราตัวโน้ตปกติ)
10
จากตัวอย่างข้างต้น อ่านว่า “เครื1องหมายกําหนดจังหวะ หก–แปด”
หมายความว่า ภายในหนึ1งห้องเพลงที1กําหนดด้วยเครื1องหมายกําหนดจังหวะนี
ประกอบด้วยตัวโน้ตตัวเขบ็ต 1 ชัน (เลข 8 ตัวล่าง) ได้จํานวน 6 ตัว (เลข 6 ตัวบน) ใน
การปฏิบัติให้ถือว่า 1 ห้อง มี 2 จังหวะ เนื1องจากเป็นอัตราจังหวะผสม โน้ตเขบ็ต 1 ชัน 3
ตัว ให้นับ 1 จังหวะ หรือ 1 เคาะในอีกความหมายหนึ1งก็คือ ภายในหนึ1งห้องจะ
ประกอบด้วยตัวโน้ตหรือตัวหยุดชนิดใดก็ได้แต่รวมกันแล้วต้องไม่เกิน 3 จังหวะ (อัตรา
ตัวโน้ตปกติ)
จากตัวอย่างข้างต้น อ่านว่า “เครื1องหมายกําหนดจังหวะ เก้า–แปด”หมายความ
ความว่าภายในหนึ1งห้องเพลงที1กําหนดด้วยเครื1องหมายกําหนดจังหวะนีประกอบด้วย
ตัวโน้ตตัวเขบ็ต 1 ชัน (เลข 8 ตัวล่าง) ได้จํานวน 9 ตัว (เลข 9 ตัวบน) ในการปฏิบัติให้ถือ
ว่า 1 ห้อง มี 3 จังหวะ เนื1องจากเป็นอัตราจังหวะผสม โน้ตตัวเขบ็ต 1 ชัน 3 ตัว ให้นับ
1 จังหวะ หรือ 1 เคาะในอีกความหมายหนึ1งก็คือ ภายในหนึ1งห้องจะประกอบด้วยตัว
โน้ตหรือตัวหยุดชนิดใดก็ได้แต่รวมกันแล้วต้องไม่เกิน 41/2 จังหวะ (อัตราตัวโน้ตปกติ)
.
11
ความเร็วจังหวะ (Tempo)
ความเร็วจังหวะ หมายถึง ความเร็วของบทเพลงต่าง ๆ ที1อัตราความช้าเร็ว
ต่างกันออกไปทังนีขึนอยู่กับผู้ประพันธ์เพลงกําหนดว่าจะให้มีความช้า–เร็ว เท่าไรอาจมี
จังหวะเร็ว ปานกลาง หรือช้าก็ได้แต่ต้องเคาะจังหวะให้ช่องของจังหวะห่างเท่ากันเสมอ
ในทางปฏิบัตินันการกําหนดความช้า–เร็ว ของแต่ละคนนันไม่เท่ากันจึงมีผู้ประดิษฐ์
เครื1องมือที1ใช้เคาะจังหวะขึนมาเรียกว่า “เมโทรโนม” (Metronome) เพื1อให้ใช้ยึดว่าความ
ช้า–เร็ว เท่าใด ควรจะเคาะอย่างไรโดยการกําหนดเป็นคําศัพท์ทางดนตรีดังนีเช่น
Largo (Very slow, broad) 40-56 ช้ามาก
Grave (Very slow, solemn) ช้ามาก ๆ
Adagio (Slow) 58-70 ช้า ๆ ไม่รีบร้อน
Andante (Moderately slow) 72-90 ช้า ก้าวสบาย ๆ
Moderrato (Moderate) 93-100 ความเร็วปานกลาง
Allegretto (Moderately fast) 102-12 ค่อนข้างเร็ว
Allegro (Fast) 125-134 เร็ว
Vivace (Lively) 136-172 เร็วขึนแบบมีชีวิตชีวา
Presto (Very fast) 174-216 เร็วมากทันทีทันใด
Prestissimo (As fast as possible) 218-...... เร็วที1สุด
12
เมโทรโนม (Metronome) คือ เครื1องกําหนดจังหวะโดยใช้บอกว่าใน 1 นาที
จะมีจังหวะตบกี1ครัง เช่น Adagio มีความเร็ว 70 ครังต่อนาที เป็นต้น
จังหวะตบหรือจังหวะเคาะ (Beat) หมายถึง การเคาะหรือนับจังหวะอย่าง
สมํ1าเสมอที1ปรากฏในบทเพลง เป็นจังหวะธรรมดาที1ดําเนินไปเรื1อย ๆ คล้ายกับจังหวะ
การเต้นของหัวใจ (Pulse) ความช้า–เร็วนันขึนอยู่การกําหนดของผู้แต่ง หรือผู้ประพันธ์
(Composer)
13
1
ในทางปฏิบัติแล้วนิยมใช้เท้าในการตบจังหวะกับพืนเป็นการนับจังหวะการ
ตบเท้ากระทบกับพืนหนึ1งครังมีค่าเท่ากับ ½ จังหวะ ก็เท่ากับว่าถ้าเราตบเท้าลง–ยกขึน
ก็เท่ากับ 1 จังหวะ ดังตัวอย่าง = 1 จังหวะ
การเคาะจังหวะ 1 จังหวะ
การเคาะจังหวะ 2 จังหวะ
การเคาะจังหวะ 3 จังหวะ
การเคาะจังหวะ 4 จังหวะ
อัตราจังหวะ (Meter) หมายถึง การจัดกลุ่มของจังหวะตบหรือการจัดกลุ่มการ
เคาะ และการเน้นจังหวะเคาะอย่างสมํ1าเสมอ โดยปกติจังหวะที1 1 จัดเป็นจังหวะที1หนัก
ที1สุดเช่น
กลุ่มจังหวะธรรมดา
กลุ่มจังหวะผสม
14

More Related Content

More from leemeanshun minzstar

ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 8 เรื่อง กุญแจประจำหลัก
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 8 เรื่อง กุญแจประจำหลักใบความรู้ที่ 1 บทที่ 8 เรื่อง กุญแจประจำหลัก
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 8 เรื่อง กุญแจประจำหลัก
leemeanshun minzstar
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 5 เรื่อง ประเภทของเครื่องดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 5 เรื่อง ประเภทของเครื่องดนตรีสากลใบความรู้ที่ 1 บทที่ 5 เรื่อง ประเภทของเครื่องดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 5 เรื่อง ประเภทของเครื่องดนตรีสากล
leemeanshun minzstar
 

More from leemeanshun minzstar (20)

ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 8 เรื่อง กุญแจประจำหลัก
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 8 เรื่อง กุญแจประจำหลักใบความรู้ที่ 1 บทที่ 8 เรื่อง กุญแจประจำหลัก
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 8 เรื่อง กุญแจประจำหลัก
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 5 เรื่อง ประเภทของเครื่องดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 5 เรื่อง ประเภทของเครื่องดนตรีสากลใบความรู้ที่ 1 บทที่ 5 เรื่อง ประเภทของเครื่องดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 5 เรื่อง ประเภทของเครื่องดนตรีสากล
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากลใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากล
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 3 เรื่อง ลักษณะของวงดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 3 เรื่อง ลักษณะของวงดนตรีสากลใบความรู้ที่ 1 บทที่ 3 เรื่อง ลักษณะของวงดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 3 เรื่อง ลักษณะของวงดนตรีสากล
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 1 เรื่อง ประวัติดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 1 เรื่อง ประวัติดนตรีสากลใบความรู้ที่ 1 บทที่ 1 เรื่อง ประวัติดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 1 เรื่อง ประวัติดนตรีสากล
 
โฮมเพจวารสาร
โฮมเพจวารสารโฮมเพจวารสาร
โฮมเพจวารสาร
 
เหนือ ท่องเที่ยว
เหนือ  ท่องเที่ยวเหนือ  ท่องเที่ยว
เหนือ ท่องเที่ยว
 
เหนือ เที่ยว
เหนือ   เที่ยวเหนือ   เที่ยว
เหนือ เที่ยว
 
เหนือ ท่องเที่ยว
เหนือ   ท่องเที่ยวเหนือ   ท่องเที่ยว
เหนือ ท่องเที่ยว
 
โรงเรียนมัธยมสังคีตวิทยา กรุงเทพมหานคร
โรงเรียนมัธยมสังคีตวิทยา กรุงเทพมหานครโรงเรียนมัธยมสังคีตวิทยา กรุงเทพมหานคร
โรงเรียนมัธยมสังคีตวิทยา กรุงเทพมหานคร
 
ภาคเหนือ เที่ยว
ภาคเหนือ เที่ยวภาคเหนือ เที่ยว
ภาคเหนือ เที่ยว
 
ภาคตะวันออก เที่ยว
ภาคตะวันออก เที่ยวภาคตะวันออก เที่ยว
ภาคตะวันออก เที่ยว
 
การท่องเที่ยว
การท่องเที่ยวการท่องเที่ยว
การท่องเที่ยว
 
ภาคตะวันตก เที่ยว
ภาคตะวันตก เที่ยวภาคตะวันตก เที่ยว
ภาคตะวันตก เที่ยว
 
การจัดการความรู้ของมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
การจัดการความรู้ของมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชการจัดการความรู้ของมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
การจัดการความรู้ของมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
 
กลยุทธ์การจัดการความรู้สำหรับการรับประกันคุณภาพ
กลยุทธ์การจัดการความรู้สำหรับการรับประกันคุณภาพกลยุทธ์การจัดการความรู้สำหรับการรับประกันคุณภาพ
กลยุทธ์การจัดการความรู้สำหรับการรับประกันคุณภาพ
 
Wiki
WikiWiki
Wiki
 
Wiki (บันทึกอัตโนมัติ)
Wiki (บันทึกอัตโนมัติ)Wiki (บันทึกอัตโนมัติ)
Wiki (บันทึกอัตโนมัติ)
 
Rm tqm1
Rm tqm1Rm tqm1
Rm tqm1
 
Rm tqm1.
Rm tqm1.Rm tqm1.
Rm tqm1.
 

ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 9 เรื่อง จังหวะและเครื่องหมายกำหนดจังหวะ

  • 1. จังหวะ (Rhythm) ..... จังหวะจัดว่าเป็นพืนฐานในชีวิตของมนุษย์เราจะพบกับจังหวะได้ในทุก ๆ วัฎจักร นับตังแต่การเกิด กลางคืน–กลางวัน การมีฤดูกาลทัง 4 ฤดู การขึน–ลงของนํา การหายใจ การเต้นของหัวใจ การเดิน หรือแม้กระทั1งการดําเนินชีวิตของคน ในทางดนตรีแล้วจังหวะหมายถึง การเคลื1อนที1ของแนวทํานองหรือเสียงใน ช่วงเวลาหนึ1งโดยปกติจังหวะประกอบด้วย 1. จังหวะหนัก (Strong beat) หมายถึงจังหวะที1หนักกว่าจังหวะอื1น ๆ ภายใน ห้อง เพลงเดียวกันมีหลายกลุ่ม เช่น กลุ่ม 2 จังหวะ (Duple Meter) คือ จังหวะหนักอยู่ที1จังหวะที1 1 จังหวะที1 2 เป็นจังหวะเบา 6
  • 2. กลุ่ม 3 จังหวะ (Triple Meter) คือจังหวะหนักอยู่ที1จังหวะที1 1 จังหวะที1 2,3 เป็นจังหวะเบา กลุ่ม 4 จังหวะ (Quadruple Meter) คือจังหวะหนักอยู่ที1จังหวะที1 1 และ 3 จังหวะที1 2 และ 4 เป็นจังหวะเบา 2. จังหวะทํานอง (Duration) หมายถึงความสันยาวของเสียงทุกเสียงใน ทํานองเพลง . เครื'องหมายกําหนดจังหวะ (Time Signature) ดนตรีเป็นโสตศิลป์ที1เกี1ยวข้อง กับเสียงและเวลา เวลาในทางดนตรีถูกกําหนดโดยใช้เครื1องหมายกําหนดจังหวะเป็น ตัวเลขคล้ายกับเลขเศษส่วน แต่ไม่มีเส้นตรงขีดระหว่างตัวเลขบนและล่าง เช่น เป็นต้น 7
  • 3. ตัวเลขตัวบน ใช้บอกจํานวนตัวโน้ต หรือจังหวะภายในแต่ละห้อง เช่น เลข 2 หมายถึง มีตัวโน้ตได้ 2 ตัว เลข 3 หมายถึง มีตัวโน้ตได้ 3 ตัว เลข 4 หมายถึง มีตัวโน้ตได้ 4 ตัว เลข 6 หมายถึง มีตัวโน้ตได้ 6 ตัว ตัวเลขตัวล่าง ใช้บอกลักษณะตัวโน้ตที1ใช้เป็นเกณฑ์ เลข 2 ใช้แทนโน้ต ตัวขาว เลข 4 ใช้แทนโน้ต ตัวดํา เลข 8 ใช้แทนโน้ต ตัวเขบต 1 ชัน เลข 16 ใช้แทนโน้ต ตัวเขบ็ต 2 ชัน โดยทั1วไปในทางดนตรีสามารถจําแนกอัตราจังหวะได้2 ประเภทคือ อัตรา จังหวะธรรมดา (Simple Time Signatures) และอัตราจังหวะผสม (Compound Time Signatures) 8
  • 4. จากตัวอย่างข้างต้น อ่านว่า “เครื1องหมายกําหนดจังหวะ สี1–สี1” หมายความว่า ภายในหนึ1งห้องเพลงที1กําหนดด้วยเครื1องหมายกําหนดจังหวะนี ประกอบด้วยตัวโน้ต ตัวดํา (เลข 4 ตัวล่าง) ได้จํานวน 4 ตัว (เลข 4 ตัวบน) ในการปฏิบัติให้ถือว่า 1 ห้อง มี 4 จังหวะ ในอีกความหมายหนึ1งก็คือ ภายในหนึ1งห้องจะประกอบด้วยตัวโน้ตหรือตัว หยุดชนิดใดก็ได้แต่รวมกันแล้วต้องไม่เกิน 4 จังหวะ จากตัวอย่างข้างต้น อ่านว่า “เครื1องหมายกําหนดจังหวะ สาม–สี1” หมายความ ว่าภายในหนึ1งห้องเพลงที1กําหนดด้วยเครื1องหมายกําหนดจังหวะนี ประกอบด้วยตัวโน้ต ตัวดํา (เลข 4 ตัวล่าง) ได้จํานวน 3 ตัว (เลข 3 ตัวบน) ในการปฏิบัติให้ถือว่า 1 ห้อง มี 3 จังหวะ ในอีกความหมายหนึ1งก็คือ ภายในหนึ1งห้องจะประกอบด้วยตัวโน้ตหรือตัว หยุดชนิดใดก็ได้แต่รวมกันแล้วต้องไม่เกิน 3 จังหวะ 9
  • 5. จากตัวอย่างข้างต้น อ่านว่า “เครื1องหมายกําหนดจังหวะ สาม–แปด” หมายความว่า ภายในหนึ1งห้องเพลงที1กําหนดด้วยเครื1องหมายกําหนดจังหวะนี ประกอบด้วยตัวโน้ตตัวเขบ็ต 1 ชัน (เลข 8 ตัวล่าง) ได้จํานวน 3 ตัว (เลข 3 ตัวบน) ใน การปฏิบัติให้ถือว่า 1 ห้อง มี 3 จังหวะ ในอีกความหมายหนึ1งก็คือ ภายหนึ1งห้องจะ ประกอบด้วย ตัวโน้ตหรือตัวหยุดชนิดใดก็ได้แต่รวมกันแล้วต้องไม่เกิน 3 จังหวะ จากตัวอย่างข้างต้น อ่านว่า “เครื1องหมายกําหนดจังหวะ หก–สี1” หมายความว่า ภายในหนึ1งห้องเพลงที1กําหนดด้วยเครื1องหมายกําหนดจังหวะนีประกอบด้วยตัวโน้ต ตัว ดํา (เลข 4 ตัวล่าง) ได้จํานวน 6 ตัว (เลข 6 ตัวบน) ในการปฏิบัติให้ถือว่า 1 ห้องมี 2 จังหวะ เนื1องจากเป็นอัตราจังหวะผสม โน้ตตัวดํา 3 ตัวให้นับ 1 จังหวะ หรือ 1 เคาะใน อีกความหมายหนึ1งก็คือ ภายในหนึ1งห้องจะประกอบด้วย ตัวโน้ตหรือตัวหยุดชนิดใด ก็ได้แต่รวมกันแล้วต้องไม่เกิน 6 จังหวะ (อัตราตัวโน้ตปกติ) 10
  • 6. จากตัวอย่างข้างต้น อ่านว่า “เครื1องหมายกําหนดจังหวะ หก–แปด” หมายความว่า ภายในหนึ1งห้องเพลงที1กําหนดด้วยเครื1องหมายกําหนดจังหวะนี ประกอบด้วยตัวโน้ตตัวเขบ็ต 1 ชัน (เลข 8 ตัวล่าง) ได้จํานวน 6 ตัว (เลข 6 ตัวบน) ใน การปฏิบัติให้ถือว่า 1 ห้อง มี 2 จังหวะ เนื1องจากเป็นอัตราจังหวะผสม โน้ตเขบ็ต 1 ชัน 3 ตัว ให้นับ 1 จังหวะ หรือ 1 เคาะในอีกความหมายหนึ1งก็คือ ภายในหนึ1งห้องจะ ประกอบด้วยตัวโน้ตหรือตัวหยุดชนิดใดก็ได้แต่รวมกันแล้วต้องไม่เกิน 3 จังหวะ (อัตรา ตัวโน้ตปกติ) จากตัวอย่างข้างต้น อ่านว่า “เครื1องหมายกําหนดจังหวะ เก้า–แปด”หมายความ ความว่าภายในหนึ1งห้องเพลงที1กําหนดด้วยเครื1องหมายกําหนดจังหวะนีประกอบด้วย ตัวโน้ตตัวเขบ็ต 1 ชัน (เลข 8 ตัวล่าง) ได้จํานวน 9 ตัว (เลข 9 ตัวบน) ในการปฏิบัติให้ถือ ว่า 1 ห้อง มี 3 จังหวะ เนื1องจากเป็นอัตราจังหวะผสม โน้ตตัวเขบ็ต 1 ชัน 3 ตัว ให้นับ 1 จังหวะ หรือ 1 เคาะในอีกความหมายหนึ1งก็คือ ภายในหนึ1งห้องจะประกอบด้วยตัว โน้ตหรือตัวหยุดชนิดใดก็ได้แต่รวมกันแล้วต้องไม่เกิน 41/2 จังหวะ (อัตราตัวโน้ตปกติ) . 11
  • 7. ความเร็วจังหวะ (Tempo) ความเร็วจังหวะ หมายถึง ความเร็วของบทเพลงต่าง ๆ ที1อัตราความช้าเร็ว ต่างกันออกไปทังนีขึนอยู่กับผู้ประพันธ์เพลงกําหนดว่าจะให้มีความช้า–เร็ว เท่าไรอาจมี จังหวะเร็ว ปานกลาง หรือช้าก็ได้แต่ต้องเคาะจังหวะให้ช่องของจังหวะห่างเท่ากันเสมอ ในทางปฏิบัตินันการกําหนดความช้า–เร็ว ของแต่ละคนนันไม่เท่ากันจึงมีผู้ประดิษฐ์ เครื1องมือที1ใช้เคาะจังหวะขึนมาเรียกว่า “เมโทรโนม” (Metronome) เพื1อให้ใช้ยึดว่าความ ช้า–เร็ว เท่าใด ควรจะเคาะอย่างไรโดยการกําหนดเป็นคําศัพท์ทางดนตรีดังนีเช่น Largo (Very slow, broad) 40-56 ช้ามาก Grave (Very slow, solemn) ช้ามาก ๆ Adagio (Slow) 58-70 ช้า ๆ ไม่รีบร้อน Andante (Moderately slow) 72-90 ช้า ก้าวสบาย ๆ Moderrato (Moderate) 93-100 ความเร็วปานกลาง Allegretto (Moderately fast) 102-12 ค่อนข้างเร็ว Allegro (Fast) 125-134 เร็ว Vivace (Lively) 136-172 เร็วขึนแบบมีชีวิตชีวา Presto (Very fast) 174-216 เร็วมากทันทีทันใด Prestissimo (As fast as possible) 218-...... เร็วที1สุด 12
  • 8. เมโทรโนม (Metronome) คือ เครื1องกําหนดจังหวะโดยใช้บอกว่าใน 1 นาที จะมีจังหวะตบกี1ครัง เช่น Adagio มีความเร็ว 70 ครังต่อนาที เป็นต้น จังหวะตบหรือจังหวะเคาะ (Beat) หมายถึง การเคาะหรือนับจังหวะอย่าง สมํ1าเสมอที1ปรากฏในบทเพลง เป็นจังหวะธรรมดาที1ดําเนินไปเรื1อย ๆ คล้ายกับจังหวะ การเต้นของหัวใจ (Pulse) ความช้า–เร็วนันขึนอยู่การกําหนดของผู้แต่ง หรือผู้ประพันธ์ (Composer) 13
  • 9. 1 ในทางปฏิบัติแล้วนิยมใช้เท้าในการตบจังหวะกับพืนเป็นการนับจังหวะการ ตบเท้ากระทบกับพืนหนึ1งครังมีค่าเท่ากับ ½ จังหวะ ก็เท่ากับว่าถ้าเราตบเท้าลง–ยกขึน ก็เท่ากับ 1 จังหวะ ดังตัวอย่าง = 1 จังหวะ การเคาะจังหวะ 1 จังหวะ การเคาะจังหวะ 2 จังหวะ การเคาะจังหวะ 3 จังหวะ การเคาะจังหวะ 4 จังหวะ อัตราจังหวะ (Meter) หมายถึง การจัดกลุ่มของจังหวะตบหรือการจัดกลุ่มการ เคาะ และการเน้นจังหวะเคาะอย่างสมํ1าเสมอ โดยปกติจังหวะที1 1 จัดเป็นจังหวะที1หนัก ที1สุดเช่น กลุ่มจังหวะธรรมดา กลุ่มจังหวะผสม 14