SlideShare a Scribd company logo
1 of 22
1
ertyuiopasdfghjklzxcvbnmrtyuiopasd
fghjklzxcvbnmqwertyuiopasdfghjklzx
cvbnmqwertyuiopasdfghjklzxcvbnmq
wertyuiopasdfghjklzxcvbnmqwertyui
opasdfghjklzxcvbnmqwertyuiopasdfg
hjklzxcvbnmqwertyuiopasdfghjklzxc
vbnmqwertyuiopasdfghjklzxcvbnmq
wertyuiopasdfghjklzxcvbnmqwertyui
opasdfghjklzxcvbnmqwertyuiopasdfg
hjklzxcvbnmqwertyuiopasdfghjklzxc
vbnmqwertyuiopasdfghjklzxcvbnmrt
yuiopasdfghjklzxcvbnmqwertyuiopas
dfghjklzxcvbnmqwertyuiopasdfghjklz
xcvbnmqwertyuiopasdfghjklzxcvbnm
qwertyuiopasdfghjklzxcvbnmqwerty
uiopasdfghjklzxcvbnmqwertyuiopasd
fghjklzxcvbnmqwertyuiopasdfghjklzx
,
Wiki Wiki Web
wiki
28/03/57
User
ประเมินค่าวิกิเช่นเดียวกับเครื่องมือสาหรับพัฒนาร่วมกันและความชานาญในความรู้เพื่อการจัดการ
ปีแอร์ เบนเคนดอร์ฟ
มหาวิทยาลัยเจมส์คุ๊ก ออสเตรเลีย
ในความรู้พื้นฐานเศรษฐกิจดิจิตอลสามารถเป็นเทคนิคดิจิตอลที่ชานาญเพื่อจับและจัดการสารสนเทศเป็นความเชี่ยวชาญ
ที่สาคัญสาหรับผู้มีอาชีพจัดนาเที่ยว
บทความนี้สารวจการใช้วิกิเป็นการสอนและเรียนรู้เครื่องมือที่จะช่วยให้นักศึกษาพัฒนา
ระดับของความรู้ความชานาญในการจัดการรวมทั้งริเริ่มการอยู่ร่วมกันการมีข้อตกลงและเทคนิคของผู้มีการศึกษา
จุดประสงค์ของการเรียนรู้ เพื่อแยกการวิเคราะห์เชิงสารวจตามทัศนคติของนักศึกษา
โดยการใช้วิกิเช่นเดียวกับหน่วยงานที่ประเมินร่วมกัน
ผลชี้ว่าวิกิสามารถยืดหยุ่นได้สะดวกสบายและผู้สอบด้านเทคนิคที่ยุติธรรมสาหรับการเรียนรู้ร่วมกัน
นักศึกษาหลายคนเข้าใจและใช้ประโยชน์ร่วมกันและการย้อนกลับเป็นธรรมชาติของวิกิ อย่างไรก็ดี
นักศึกษาบางคนไม่ใช้เวลาอย่างเพียงพอในงานและไม่พบว่าได้กาไรมากพอจากการเรียนรู้ประสบการณ์
ผลกระทบต่อความตั้งใจและคุณภาพของการทางานร่วมกับกลุ่ม
แนะนาว่าการประเมินวิกิอาจจะได้รับชัยชนะในข้อบกพร่องของรายงานโดยนักศึกษา
คาสาคัญ การเรียนรู้ที่ยืดหยุ่น ,หน้าเอกสารบนเวิลด์ไวด์เว็บ2.0,วิกิ,การสอนและการเรียน,สร้างสรรค์การอยู่ร่วมกัน,
การจัดการความรู้
สารสนเทศ การตลาดหรือการวิจัยเป็นสิ่งสาคัญที่สุดของอุตสาหกรรมการท่องเที่ยว
ผู้สาเร็จการศึกษาด้านท่องเที่ยวซึ่งสามารถนาเสนอความรู้ที่เกิดขึ้นได้โดยใช้สารสนเทศและเทคโนโลยี(ไอซีทีเอส)เหมือนกั
บเป็นการเพิ่มการท่องเที่ยวตามความต้องการ ความสามารถค้นหาอธิบาย
รวบรวมและสร้างสรรค์ความรู้สาหรับผู้มีอาชีพจัดนาเที่ยว
วามต้องการจับและจัดการความรู้เป็นการท้าทายที่สาคัญขององค์การท่องเที่ยวและจุดมุ่งหมาย(คูเปอร์ 2006)
ในพื้นฐานความรู้
นักศึกษาเครือข่ายด้านเศรษฐกิจที่ออกจากมหาวิทยาลัยแล้วต้องการความสาเร็จในการทางานร่วมกันและสร้างทีมงานแล
ะต้องการพัฒนาจุดเปลี่ยนที่สาคัญหรือการปฏิบัติที่วกกลับ(เบอร์น&ฮัมฟรีส์
2005)ขณะที่งานเขียนใหม่เกี่ยวข้องกับสารสนเทศและความรู้เรื่องการจัดการซึ่งมีจุดสนใจอยู่ที่องค์การการท่องเที่ยว
มันเป็นประโยชน์ที่จะคิดว่าการสอนที่แตกต่างกันไปและสนับสนุนการพัฒนาความเชี่ยวชาญความรู้ด้านการจัดการ(ราแม
น,ไรอัน,&อัล์ฟแมน,2005)
บิกก์ (1999)แนะนาว่าการเพิ่มความสาคัญความชานาญในการแลกเปลี่ยนเรื่องทั่วไป
ต้องการเค้าโครงและการคิดใหม่ของวิธีการสอนที่จะได้ผลลัพธ์การเรียนรู้ที่ต้องการ ในเวลาเดียวกัน
การพัฒนาโดยการใช้ไอซีทีในการสอนและการเรียน ยกคาถามทั้งหมดจัดลาดับจากการได้ประโยชน์ของ
“ชอล์คและการพูด”
ความสอดคล้อง ตัวอย่าง ผ่านบทบาทของการประเมิน,ต้องการความพอใจในการเรียนแบบที่แตกต่างกัน(โฮล์ม,
เทคนี่ย์,ฟิทซ์กิบบอน,ซาเวช &มีฮัน,2001หน้า 1)
ผู้เขียนหลายคนเขียนเกี่ยวกับบทบาทของไอซีทีในการสอนและการเรียนแนะนาว่าการพัฒนาที่ดาเนินต่อไปของเว็บ2.0
เทคโนโลยี่เช่น
บล็อก,วิกิ,อาร์เอสเอสเสนอโอกาสต่างๆในการพัฒนาสารสนเทศและความชานาญในความรู้เรื่องการจัดการ(อเล็กซานเด
อร์ 2006; บัวโรส,มาแรมบา&วีลเลอร์,2006;อีวานส์,2006;ป๊ ากเกอร์ &เชา2007)
วัตถุประสงค์ของการเรียนนี้จัดให้มีการวิเคราะห์เชิงสารวจทัศนคติของนักศึกษาในการใช้วิกิเป็นการทางานประเมินร่วมกั
นในหน่วยของการท่องเที่ยวคาว่า“วิกิ”เป็นคาที่หดสั้นเข้าของคาว่า“วิกิ วิกิ เว็บ”
ซึ่งมีต้นกาเนิดมาจากคาพูดของชาวฮาวายวิกิ วิกิ มีความหมายว่ารวดเร็วหรือเร่งรีบ เลย์ฟและคันนิ่งแฮม(2001)
ผู้สร้างสรรค์แนวคิดของวิกิ
ให้คาจากัดความของวิกิว่ารวบรวมการสื่อสารอย่างเป็นมิตรของการเชื่อมต่อเอกสารแสดงบนเว็บระบบไฮเปอร์เท็กซ์
(การแสดงผลและการดึงข้อมูลที่ผู้ใช้นามาได้โดยไม่ต้องเรียงลาดับ)สาหรับเก็บและปรับปรุงข้อมูลสารสนเทศ-ข้อมูล-
ฐาน(ขอบเขตของตัวเลขในการนับ)ซึ่งแต่ละหน้าผู้ใช้จะเพิ่มเติมได้ง่ายโดยมีรูปแบบ-
ลูกค้าเว็บเบราเซอร์(โปรแกรมที่ช่วยให้ดูเอกสารHTMLและสื่อต่างๆ)ที่ชานาญ(หน้า14)
บทความต่อไปนี้จะนาเสนอความคิดเห็นโดยย่อที่เห็นในเว็บ2.0
เทคโนโลยีและการเกี่ยวพันกับการสอนและการเรียนก่อนที่จะเพ่งความสนใจไปที่การใช้วิกิเป็นเครื่องมือของการพัฒนาคว
ามรู้เรื่องการจัดการและความชานาญในการจัดการสารสนเทศ
บทความนี้จะไปประเมินจากนักศึกษาว่าเมื่อใช้วิกิแล้วมีผลตอบรับเช่นเดียวกับหน่วยงานท่องเที่ยวที่มหาวิทยาลัยออสเตร
เลีย
การพัฒนาเทคโนโลยีของเว็บ2.0 เว็บ2.0 ได้รับการเพิ่มความสนใจจากสื่อจานวนมาก
โดยเฉพาะการเจริญเติบโตอย่างรวดเร็วของการมีส่วนร่วมในเทคโนโลยีและเครื่องหมายที่มีจุดประสงค์เพื่อการค้า
แน่นอนว่าเมื่อมีโปรแกรม“ใหม่”ของเว็บราวกับว่ามีความหมายเว็บ2.0
เสนอการแลกเปลี่ยนหรือการพัฒนาในทางที่สร้างสรรค์แสดงภาพทางหน้าจอคอมพิวเตอร์และแบ่งปันในอินเตอร์เน็ตเว็บ
2.0อนุญาตให้ผู้ใช้มีส่วนร่วมในสารสนเทศ อย่างไรก็ตามพวกเขาสามารถแลกเปลี่ยนวีดิโอในยูทูบ
สร้างฐานความรู้ธรรมดาในการใช้วิกิเครือข่ายมายสเปดในเฟซบุ๊กหรือแบ่งความรู้โดยใช้บล็อกระบบงานเว็บ2.0 เช่น
ชีวิตที่
2อนุญาตให้ผู้ใช้มีปฏิกิริยาซึ่งกันและกันในคู่ขนานโลกเสมือนจริงและบางมหาวิทยาลัยมีปฏิกิริยากับการพัฒนาเหล่านี้โด
ยจัดตั้งเสมือนจริงในสถานศึกษาในการกาหนดดิจิตอลเหล่านี้
เทคโนโลยีเว็บ2.0อ้างถึงซอฟแวร์ทางสังคมด้วยเหมือนกัน(อาเล็กซานเดอร์ 2006)
ตามที่บอย์ด(2003)ระบุว่าซอฟแวร์ทางสังคมมีลักษณะ3ชนิด:
 สนับสนุนการพูดคุยในการมีปฏิกิริยาระหว่างส่วนบุคคลหรือกลุ่มที่จัดเรียงลาดับจากเวลาจริงเตรียมส่งข้อความ
ไปถึงทีมงานที่ทางานร่วมกันโดยไม่ประสานจังหวะในพื้นที่ว่าง
 สนับสนุนสาหรับข้อมูลที่สะท้อนกลับมาในสังคมที่อนุญาตให้กลุ่มโต้ตอบไปยังผู้สนับสนุนกลุ่มที่แตกต่าง
 สนับสนุนเครือข่ายสังคมอย่างเปิดเผยสร้างและจัดการกับการใช้ดิจิตอลของคนที่มีความสัมพันธ์กันและช่วยพว
กเขาสร้างความสัมพันธ์ใหม่ๆ
จากทัศนวิสัยในการออกแบบสารสนเทศอาเล็กซานเดอร์(2006)แนะนาว่า เทคโนโลยีเว็บ2.0
แยกมาจากหน้าการเปรียบเทียบเพราะสารสนเทศยืนยันอยู่ในบล็อก
(ข้อมูลที่รวมเข้าด้วยกันเพื่อความสะดวก)ของความจุที่เรียกว่าความจุขนาดเล็ก
เขาสังเกตว่า”บล็อกเป็นที่ใส่ข้อมูลเข้าเก็บไม่ใช่หน้าหนังสือ
วิกิเป็นกระแสแสดงความคิดเห็นของคาถามคาตอบการแก้ไขการปรับปรุงและตัดข้อความ
พอดเคสเป็นการเดินทางไปกลับระหว่างเว็บไซด์การป้ อนอาร์เอสเอสและผู้เล่นที่หลากหลาย(หน้า33)
ความจุขนาดเล็กสามารถรักษาได้ง่ายสรุป,ดัดแปลง,คัดลอกการยกข้อความของผู้อื่นมาอ้าง,
เชื่อมต่อและการสร้างความรู้ใหม่
เทปสก็อตต์และวิลเลียม(2006)อธิบายว่าเว็บ2.0ก่อตั้งให้เป็นเว็บพื้นฐานของชุมชนได้อย่างไร
ซึ่งมีการทางานร่วมกันจานวนมากอาจเป็นไปได้ว่าระหว่างบุคคลที่กระจัดกระจายกันตามภูมิศาสตร์ ผู้สร้าง
เพิ่มตัด หรือเปลี่ยนแปลงข้อมูล
มีผลกระทบจากทุกสิ่งทุกอย่างจากโครงการของมนุษย์ไปยังสื่อมวลชนระหว่างประเทศพวกเขายกตัวอย่างว่า
บางบริษัทมีกิจกรรมเทคโนโลยีเว็บ2.0อย่างกล้าหาญเพื่อขับเคลื่อนให้ประสบความสาเร็จและมีสิ่งใหม่ๆ
เหตุการณ์ที่สามารถรับรู้ได้ด้วยประสาทสัมผัสและพิสูจน์ทางวิทยาศาสตร์ได้ ซึ่งพวกเขาเรียกว่าวิกิ-โนมิคส์
ซึ่งพื้นฐานมาจากหลักรอบๆที่จาเป็นยิ่ง4ประการคือความเปิดเผย มองดู แบ่งปัน การแสดงทั่วโลก
เป็นความจริงที่ว่าเทคโนโลยีเหล่านี้จะกระตือรือร้นที่จะรวมเข้าด้วยกันโดยส่วนมากจะประสบผลสาเร็จเป็น
“การใช้คุ้มค่าแบบใหม่”บริษัทแนะนาว่า
มหาวิทยาลัยต้องการมีบทบาทกระตือรือล้นในการเตรียมผู้สาเร็จการศึกษาสาหรับการจ้างงานในการใช้อย่างคุ้
มค่าแบบใหม่
ความพอใจในความสะดวกของเว็บ2.0
สามารถควบคุมและมีอิทธิพลพัวพันกับการสอนในห้องเรียนและการเรียนรู้แต่ละคนบางความเห็นแนะนาว่า
นักศึกษาที่ยังอ่อนหัดจะกลายเป็นผู้ใช้ที่ย้อนกลับของซอฟแวร์ในสังคมและคาดหวังว่าเครื่องมือนี้จะทาให้มีควา
มสะดวกขึ้นในปฏิกิริยาทางการศึกษาที่จัดให้มีและลูกจ้าง
(อีวานส์,2006) นี่มีความหมายว่าหากนักศึกษาต้องการอ่านบล็อกของมหาวิทยาลัยและใช้เทคโนโลยีร่วมกัน
เช่นวิกิที่สร้างและแบ่งปันความรู้ อย่างไรก็ตามคอลลิสและมูเน็น(2008)เตือนว่าระบบงานเว็บ
2.0จะเห็นได้เมื่อเพิ่มคุณภาพในกระบวนการสอนเพื่อเครื่องมือและกระบวนการนี้จะกลับเป็นสิ่งที่ตรึงในวิธีปฏิบั
ติของการศึกษาที่สูงขึ้นไป
วิกิส์
วิกิส์เป็นเว็บไซด์ที่สร้างขึ้นเต็มที่เพื่ออนุญาตให้ผู้ใช้เข้าเยี่ยมชม อ่านทักทาย และทาให้โครงสร้างทันสมัย
และความจุที่เหมาะสม(ออการ์,ไรท์แมน,&เชาว์2004)
แม้ว่าผู้เขียนหลายคนจะสร้างและทาให้วิกิทันสมัยจนเลยเวลาทางานปรกติส่วนประกอบค่อยๆเพิ่มขึ้น
เริ่มต้นที่จะนาเสนอเพื่อแบ่งปันความรู้หรือเชื่อมั่นการสนับสนุน
การเปิดแหล่งการใช้บริการออนไลน์สารานุกรมวิกิพีเดียบางทีจะเป็นตัวอย่างที่ดีที่สุดของวิกิ
โดยทั่วไปวิกิส์แบ่งปันพื้นฐานของคุณลักษณะต่อไปนี้
 วิกิส์ส่วนมากไม่มีการจากัดอนุญาตให้ใครก็ได้อ่านแก้ไขปรับปรุงจัดตั้งหรือแม้แต่จะลบจนพอใจ
ระบบนี้เป็นการควบคุมตัวเองมีสมาชิกที่ช่วยเหลือ
เมื่ออ่านเรียบร้อยแล้วจะแก้ไขข้อผิดพลาดให้ถูกต้องและปรับปรุงจนเป็นที่พอใจ
อย่างไรก็ตามในการศึกษาวิกิส์สามารถจากัดเป็นกลุ่มเล็กของผู้สนับสนุน(ดัฟฟี่ &บรันส์
2006,เชฟเฟอร์ด,บิสชอฟ, เบเกอร์์, ดรูเบอร์,ไฮเซนซอสเซอร์,& เชฟเฟอร์ด2006)
 วิกิส์อนุญาตให้ทีมที่กระจายเขียนและเพิ่ม/ตัด
เปลี่ยนแปลงข้อมูลในอินเตอร์เน็ตและการแบ่งปันข้อมูลในงานที่ว่าง(มิโนชา&โทมัส2007)
ความพอใจจะสร้างจากที่ไหนก็ได้ในโลกนี้ผ่านเว็บที่ง่าย
ทาให้ไม่จาเป็นที่ต้องใช้ซอฟแวร์เพิ่มเติมหรือเว็บมาสเตอร์บุคคลที่3(เชฟเฟอร์ด2006,สจ๊วต
,คลาร์ก,คอสซาริน&รูดอล์ฟ2004)
 ความพอใจปรกติจะสร้างโดยการใช้การจัดรูปแบบสาระสาคัญอย่างง่าย ทาให้ง่าย
โดยผู้ใช้โดยผู้ใช้ไม่ต้องใช้เทคนิคเพื่อให้กระจาย เทคโนโลยีวิกิบางอย่างใช้ WYSIWYG
ตัวเชื่อมประสานกับทูลบาร์ สามารถย้ายรายละเอียดความรู้เกี่ยวกับเทคนิคออกไปตามความต้องการ
(ดัฟฟี่ &บรันส์2006,อีเบอร์บาส,กลาเซอร์ &ไฮล์ 2006,เชฟเฟอร์ด2006)
 การเปลี่ยนความพอใจเป็นเอกสารและเก็บรักษาไว้ในเวลาเดียวกับการแก้ไขปรับปรุงทาได้
อนุญาตให้ผู้ใช้ทบทวนและหันกลับไปทาแบบเดิมในตอนต้นของเวอร์ชั่นของหน้านั้น
สามารถทาให้ทางเดินเปลี่ยนโดยผู้ใช้มากในสมัยก่อน หน้าที่ทาอย่างรอบคอบ
แต่ทาลายสาธารณสมบัติของแผ่นดินหรือลบทิ้งสามารถกลับไปสู่เวอร์ชั่นเดิมและทาได้ง่าย(ดัฟฟี่ &
บรันส์ 2006,อีเบอร์บาส 2006,เชฟเฟอร์ด
2006)
 หน้าในวิกิปรกติจะเชื่อมต่อซึ่งกันและกันอนุญาตสาหรับการเชื่อมต่อโดยเนื้อแท้
ระหว่างพื้นที่ความจุหลากหลาย (เชฟเฟอร์ด2006)
ความคิดที่บังคับเช่นเดียวกับความสัมพันธ์ระหว่างหน้า
ดังเช่นการสร้างเครือขายหัวข้อที่เกี่ยวข้องระหว่างกัน(ดัฟฟี่&บรันส์2006,อีเบอร์บาส2006)
 วิกิมีเรื่องเกี่ยวกับอวกาศมากกว่าโครงสร้างชั่วคราว
เพราะว่าการเปลี่ยนเจ้าของไม่เป็นไปตามระยะเวลา
แต่ตามการพัฒนาความสัมพันธ์ระหว่างการเชื่อมโยงความพอใจ(ดัฟฟี่ &บรันส์2006)
 วิกิจัดไห้มีที่ว่างซึ่งความรู้เป็นเครือข่ายและข้อความที่ขยายคาหลัก แต่ยังคงเหลือสิ่งที่ไม่ยั่งยืน
มันเปลี่ยนและสามารถเปลี่ยนและเป็นสื่อกลางของชุมชน(ดัฟฟี่ & บรันส์ 2006)
 ความพอใจที่จะส่งข้อความทางอีเล็คทรอนิคทันที
กาจัดความต้องการกระจายสาหรับการร่วมงานกับความเสี่ยงการระบาดของไวรัส(สจ๊วต2004)
 การประกอบกันของหน่วยย่อยแต่ละหน่วยหมายความว่าวิกิ สามารถทาให้ง่าย
หรือซับซ้อนตามความต้องการของผู้ใช้ และระดับที่ชานาญ(สจ๊วต2004) ชัยชนะของความซับซ้อน
วิกิส่วนมากจะเสนอรูปแบบที่เรียบง่ายเต็มรูปแบบและหัวข้อสาหรับคนหาในหน้าวิกิ(อีเบอร์บาส
2006)
หน้าวิกิสามรถเชื่อมต่อกันและจัดตามที่ต้องการ
เพราะไม่มีโครงสร้างที่ไม่เป็นธรรมชาติเขียนแบบไม่ยืดหยุ่นในเทคโนโลยีวิกิ(ดัฟฟี่ &บรันส์2006)
วิกิจัดทาแบบการจัดการความรู้ที่มีความยืดหยุ่นสูงมีที่ว่างเพื่อสนับสนุนการอยู่ร่วมกันหรือ
“กระบวนการเรียนรู้จากการรวมตัวกัน“ขั้นตอนที่คน2 คนหรือมากกว่านั้นสามารถเข้าใจอย่างลึกซึ้ง
ที่ไม่ได้เข้าใจเพียงคนเดียว(ลันด์&สมอเดล2006)การออกแบบมีความคิดที่จะให้มีความเสมอภาคกัน
ในความคิดที่ว่าผู้ใช้ทุกคนสามารถที่จะใช้เช่นเดียวกับผู้ใช้คนอื่น(คาร์รอลล์กัสเดลฮอลโลเวย์ –
แอตต้าเวย์,ริค&วอคเกอร์ 2002)วิกิส์กลับเพิ่มขึ้นในองค์การซึ่งพวกเขาสามารถใช้ขอบเขตของความร่วมมือกัน
(บีน &ฮอท 2005)เคอร์นี่ 2008 ทานายว่าบริษัทในสหรัฐอเมริกาครึ่งหนึ่งมีวิกิในปลายปี 2009
ใช้วิกิส์ในการสอนและการเรียน
ดัฟฟี่&บรันส์(2006หน้า1)เรียกร้องว่า
“การพัฒนาอย่างรวดเร็วของดิจิตอลเทคโนโลยีและการที่พวกเขาใช้ในการศึกษาตามความสามารถส่วนบุคคลที่
จะมีปฏิกิริยากับการศึกษาในกลุ่มคอมพิวเตอร์ในการเรียนใหม่ที่หาความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อ
ม” ความคิดเห็นนี้สนับสนุนโดยรีนโฮลด์(2006หน้า47)
ผู้ที่สังเกตว่าความคิดในการใช้เทคโนโลยีและสื่ออีเล็คทรอนิกที่มีส่วนเสริมโลกที่แท้จริงห้องเรียนสิ่งแวดล้อมปัจจุ
บันที่ได้รับการเปลี่ยนจากความคิดที่ได้มาที่หลังซึ่งเป็นส่วนประกอบสาคัญที่ได้มาจากการสอน
แม้ว่าความกระตือรือร้นเรื่องดิจิตอลเทคโนโลยี ตามความจริงว่าวิกิออกมาเป็นเวลา10
ปีแล้วเขาใช้เกี่ยวกับการเรียนการสอนที่เป็นวิชาการ(อีวานส์2006เชฟเฟอร์ด2006)
การทบทวนวรรณกรรมชี้ว่าวิกิส์ใช้ค้นหาการสอนต่างๆและเรียนระบบงาน ขณะที่วิกิส์
สามารถใช้เช่นเดียวกับแหล่งที่มาที่จะได้รับสารสนเทศและความรู้
พวกเขาจัดให้มีวิธีที่ทาเหมือนร่วมมือกันอนุญาตให้นักศึกษาแบ่งปันสารสนเทศในโครงการกลุ่ม
การริเริ่มของวิกิสามารถช่วยนักศึกษาพัฒนาความสามารถที่จะร่วมงานกันและสร้างสรรค์ความรู้
มากกว่าดึงดูดความสนใจโดยง่าย(โครนิน2009)ดังนั้น
วิกิส์จึงอนุญาตให้นักศึกษาเข้าร่วมในการเรียนซึ่งกันและกัน
การใช้เทคโนโลยีเช่นเดียวกับการเข้าร่วมเสมือนสิ่งแวดล้อมที่จะสร้างความรู้ให้พวกเขา(บัวลอส2006)
อย่างไรก็ดีการศึกษาใหม่ของนักศึกษาปีที่1ที่มีความชานาญด้านเทคโนโลยีพบว่า
81.6%ของนักศึกษาไม่เคยใช้วิกิมาก่อนเข้ามหาวิทยาลัย (เคนเนดี้,จูดด์,เชิชวาร์ด,เกรย์,2008)
ในการเรียนที่เตรียมไว้ วิกิจัดให้มีการทางานร่วมกัน
ที่สามารถแสดงเอกสารทางออนไลน์โดยปราศจากค่าใช้จ่ายสูงจากการทางานด้านความรู้ของเอชทีเอ็มแอล
บอล์ด 2006)ความชานาญของผู้ใช้ทาให้ต้องการความชานาญด้านเทคโนโลยีน้อยลงต้องการใช้วิกิ
อนุญาตให้ผู้ใช้มีศูนย์รวมบนสารสนเทศและการทางานร่วมกันด้วยตนเองซึ่งจะได้รับอุปสรรค2-3อย่าง
ความสามารถในการสร้าง
ตัดแต่งหรือต่อเติมในคอมพิวเตอร์และปรับปรุงโครงสร้างพื้นฐานของเว็บอนุญาตให้นักศึกษานาเสนอข้อมูลมากกว่าการจั
ดรูปแบบโดยไม่ประสานเครื่องมือการเรียนรู้เช่นการแสดงความเห็นในคณะกรรมการและการบล๊อค(ชอย & นจ 2007)
ผู้ที่เริ่มใหม่ ความแตกต่างระหว่างวิกิและเว็บ2.0ทั่วไปอื่นๆ ในห้องเรียนเทคโนโลยีเช่นบล็อกดูเหมือนว่าไม่ชัดเจน
ขณะที่วิกิสามารถสร้างโดยแต่ละคนมากมาย
การบล็อกเป็นการเขียนบันทึกอีเล็คทรอนิคโดยบุคคลคนเดียวและบุคคลอื่นเป็นผู้วิจารณ์ บล็อกมีประโยชน์ในการเรียน
ซึ่งมีคนน้อยต้องการมีปฏิกิริยาในขณะที่วิกิดีกว่าเมื่อนักศึกษามากมายต้องการทางานผ่านความสาเร็จมาตรฐาน
(สตาช์เมอร์ 2006) โครงสร้างที่ไม่ซับซ้อนของวิกิส์ยอมให้นักศึกษาทาการเชื่อมต่อใหม่ระหว่างความคิดเห็นต่างๆ
ในขณะที่ความสามารถในการใช้สื่อต่างๆในการสื่อสารจัดเตรียมขอบข่ายของการใช้ให้ใหญ่กว่าสาหรับการถ่ายทอดผ่านง
านในรูปแบบที่หลากหลาย(แมคเปอร์สัน2006)
จากความคิดเห็นตามกฎ ปาคเกอร์และเชาว์(2007)แนะนาว่า
การใช้วิกิส์ปรากฏว่าได้รับการสนับสนุนอย่างดีพิเศษโดยการเรียน2แบบ แบบการมีส่วนร่วมและแบบการสร้างสังคม
การเรียนแบบมีส่วนร่วม
มีฐานมาจากความคิดในการทางานของนักศึกษาในกลุ่มที่แตกต่างกันอย่างสิ้นเชิงโดยสนับสนุนการเรียนของแต่ละคน
(ปากเกอร์ &เชาว์2007)
การใช้วิกิส์ในการประเมินเครื่องมือมีศักยภาพที่จะชนะบางปัญหาของผู้ร่วมงานซึ่งสืบทอดการเรียนรู้ที่จะทางานร่วมกัน
ในขณะที่จานวนมากเขียนประโยชน์ของกลุ่มงานกลุ่มที่ทางานตามจารีตประเพณีสร้างความท้าทายสาหรับนักศึกษา
เหตูการณ์ที่เกิดขึ้นในสังคมที่ปล่อยเวลาไปเรื่อยๆในกลุ่มบางเวลายากสาหรับสถาบันที่จะตรวจตราและนักศึกษาจะรู้สึกว่
า อยากจะช่วยเหลือมากกว่าตามสมาชิกในกลุ่มจะพัฒนาได้อย่างรวดเร็วไปยังกลุ่มประเมิน(ลูค่า&แมคลอร์ดลิน2005)
“ประโยชน์ที่สาคัญมากของวิกิส์อยู่ที่นักศึกษาแต่ละคนที่จะช่วยเหลือสามารถแสดงความคิดโดยใช้ปฏิบัติงานหน้าประวัติ
ศาสตร์ และสิ่งนี้เป็นประโยชน์มากในการจัดการและการทางานเป็นทีมง่ายขึ้น(อัลกอร์ท,สมิท&ทูแลนด์2008,มิโนชา &
โทมัส 2007)
การเรียนแบบการสร้างที่มีประโยชน์
ความคิดในการเรียนเหมือนขั้นตอนของกิจกรรมซึ่งผู้เรียนมีส่วนร่วมในการสร้างความรู้และความเข้าใจ(บัวลอส
2006,โจนัสเซนพีค &วิลสัน1999) นี่คือความแตกต่างของประเพณีเข้าไปยังการสอนของมหาวิทยาลัยที่ว่า
ไว้ใจในการโอนสารสนเทศจากสถาบันไปยังนักศึกษาการทบทวนการสร้างสังคมการเรียนรู้เป็นการเรียนที่เกิดขึ้นอีก
การอ้างอิงตนเอง กระบวนการที่ผู้เรียนมีปฏิกิริยากับสิ่งแวดล้อม
เลือกและการเปลี่ยนแปลงสารสนเทศและสร้างความรู้ของตนเอง(ปาคเกอร์&เชาว์2007รีนโฮล2006)
การสร้างแบบที่มีประโยชน์ ในช่วงเวลา 10 ปีที่ผ่านมา
การขยายขอบเขตห่างไกลจากศูนย์รวมของประเพณีในการเรียนของแต่ละคนที่จะทางานร่วมกันและระดับการเรียนรู้ของสั
งคม (บรันส์ & ฮัมฟรีส์ 2005,เชฟเฟอร์ด 2006) ความคิดเห็นในการที่สังคมได้ประโยชน์ ( หรือการใช้ประโยชน์ร่วมกัน )
แนะว่า
นักศึกษาและอาจารย์ไม่เพียงแต่เกี่ยวพันในการพัฒนาสารสนเทศของตนแต่มีกิจกรรมที่เกี่ยวกับการสร้างความรู้ที่จะมีปร
ะโยชน์ตามหลังนักศึกษา(โฮล์ม2001)
เช่นเดียวกับนักศึกษาที่ร่วมกันในวิกิและเรียนที่ขึ้นอยู่กับบุคคลอื่นในการมีผลย้อนกลับ
พวกเขากลายเป็นมีผลน้อยในการสร้างและมีความรู้สึกรับผิดชอบเพิ่มขึ้นในการเขียนของพวกเขา (กัทท์ 2007)
มีโครงสร้างเป็นเครื่องแสดงว่านักศึกษาชอบที่จะเรียนจากการเรียนร่วมกันโดยมีไอซีทีเป็นสื่อกลางมากกว่าการสื่อสารผ่า
นผู้สอน(จอห์นสัน & จอห์นสัน1996)
การใช้ไอซีทีเช่นเดียวกับวิกิส์เพิ่มประโยชน์ให้กลุ่มงานและการพึ่งพากันโดยจัดเตรียมการศึกษาสิ่งแวดล้อมที่สามารถทาใ
ห้นักศึกษาได้พัฒนาสังคม การอยู่ร่วมกันอย่างมืออาชีพและความชานาญในการมีข้อมูลมาก(ลูค่า &แมคลูทลิน 2005)
ดังนั้น จากการเรียนรู้การอยู่ร่วมกันและการสร้างสังคม
วิกิส์เสนอศักยภาพสาหรับชัยชนะประเพณีที่ท้าทายในการสอนและการเรียนรู้โดยยอมให้นักศึกษา
รวมกันในสิ่งแวดล้อมเสมือนจริงตามเวลาและสถานที่ที่เหมาะสมสาหรับพวกเขา
มันเป็นที่เข้าใจได้ง่ายว่าผู้สนับสนุนในปัจจุบันที่เป็นเด็กในสังคมเมืองที่เกิดตั้งแต่ปี 1984
รู้เรื่องคอมพิวเตอร์และอินเตอร์เน็ตเป็นอย่างดียิ่งเพิ่มการบังคับโดยส่งเรื่องให้พิจารณาการว่าจ้างซึ่งไม่นาไปสู่การเผชิญห
น้าในกลุ่มที่ประชุมเสมอไป(เคราส์ฮาร์ทเล่ย์เจมส์&แมคอินน์ 2005)
นักศึกษาเคลื่อนย้ายได้ง่ายกว่าที่เคยและบ่อยครั้งที่พบว่าพวกเขาทางานมากมาย ทางานนอกเวลาปรกติ
หรือสารวจหาระยะทางจากบริเวณสถานศึกษาของพวกเขา(บัวลอส2006)
แนวโน้มนี้ชี้ว่าความต้องการเรียนรวมกันอย่างยืดหยุ่นใกล้เข้ามา ซึ่งแต่ละคนสามารถพัฒนาความชานาญตามต้องการ
(เรียนตามความต้องการ)และเมื่อเขามีเวลา(เรียนทันเวลา)เหตุการณ์ที่น่าสนใจ
การใช้วิกิส์เท่ากับเป็นเครื่องมือการศึกษาที่ปรากฎในปัจจุบันเด็กในสังคมเมืองที่เกิดตั้งแต่ปี 1984
ผู้สนับสนุนนักศึกษาที่โตขึ้นในยุคที่มีสื่อในสิ่งแวดล้อมและยากที่จะเกี่ยวข้องกับการส่งผ่านสื่อ เบนเคนดอร์ฟ
(2007)พบว่า
นักศึกษาด้านการจัดท่องเที่ยวซึ่งกระตือรือร้นเกี่ยวกับการเรียนที่ยืดหยุ่นได้ให้พวกเขาจัดการเรียนที่ดีกว่าและการทางานที่
มีข้อผูกมัด ขณะที่สังคมที่เต็มไปด้วยความสงบมีความเห็นเกี่ยวกับการเรียนรู้ว่า
“เวลาไหนที่ใดก็ได้”เป็นการยากที่บรรลุถึงเป้ าหมายเทคโนโลยีก้าวหน้าเช่น
วิกิส์ทาให้การเรียนที่เคลื่อนที่ได้มีความเป็นไปได้
วิกิส์ชัดเจนว่าสามารถก่อให้เกิดการรวมกันของเครือข่ายคอมพิวเตอร์หรือปฎิกิริยาระหว่างนักศึกษาผู้ซึ่งทาให้วิชาภูมิศาส
ตร์สลายไป(บอล์ด2006)แต่ขณะที่วิกิส์เทคโนโลยีมีประโยชน์สาหรับการศึกษาที่มีระยะห่าง
พวกเขาใส่ใจโยเฉพาะเรื่องที่เกี่ยวข้องกับสิ่งแวดล้อมที่ได้รับจากการรวมเข้าด้วยกันของการเผชิญหน้าหรือการเรียนทางอ
อนไลน์ (รีนโฮลด์2006)
แม้แต่นักศึกษาผู้ซึ่งสามารถพบกับการเผชิญหน้าได้เป็นปรกติแต่ยังชื่นชมความสะดวกในปัจจัยของวิกิส์(วาสเซลล์เอมิน
& วินซ์ 2008)
ตามที่บรันส์และฮัมฟรีส์(2005)วิกิส์ยอมให้นักศึกษาได้พัฒนาระดับของความชานาญ
รวมทั้งเทคนิคของผู้มีการศึกษา การสร้างส่วนประกอบในสิ่งแวดล้อมดิจิตอลการสร้างการอยู่ร่วมกัน
การสร้างมติเอกฉันท์การสร้างความรู้ที่เกิดประโยชน์จากความเข้าใจ
ความคิดอย่างมีประสิทธิผลของชุมชนไปยังคนอื่นผ่านเครือข่ายความรู้สภาพแวดล้อม
ความชานาญเช่นการทาให้สาเร็จและข้อสรุปความขัดแย้งซึ่งแสดงเป็นนัยในการพัฒนาของวิกิ
เพราะเป้ าหมายของการสร้างสรรค์คือการให้กาลังใจสนับสนุนคนให้คนประสบความสาเร็จและแก้ปัญหาความขัดแย้ง
เพราะฉะนั้นวิกิส์จะมีความเชื่อถือได้ของโลกที่แท้จริงที่มีความขัดแย้งเรื่องการจัดการ
การประนีประนอมและสร้างมติเอกฉันท์ที่ต้องการบ่อยครั้ง(แมคเปียร์สัน2006)
ซึ่งแนะนาว่าวิกิส์สามารถพัฒนาแหล่งที่มาและความชานาญที่จาเป็นเพื่อจัดการกับสังคมและการเปลี่ยนเทคนิคในการเรี
ยนระยะยาว(โอเวนแกรนท์เซเยอร์ &เฟเซอร์ 2006)
ในการพูดคุยอย่างอื่นนักศึกษาเป็นผู้ควบคุมเทคนิคที่เหมาะสมเช่นเดียวกับหลักสูตรของสถาบันการศึกษา(บอล์ด2006)
นักศึกษาทางานร่วมกันในวิกิ ความพอใจย้ายผ่านขั้นตอนการวิวัฒนาการซึ่งบัวลอส(2006)เรียกว่าดาวิกินิส
กระบวนการสังคมดาวิเนียนต้องการประโยคที่ไม่เหมาะสมและส่วนที่รวบรวมความโหดร้ายแก้ไขปรับปรุงและแทนที่
ผลของการพัฒนาเรื่องที่เกี่ยวข้องกันมีส่วนของคุณภาพสูง
มีคาแนะนาว่าขั้นตอนของการสร้างวิกิต้องการนักศึกษาที่เข้าใจและสะท้อนการเรียนรู้เท่าที่มีการทบทวนไม่ใช่เพียงแต่งาน
ของตนแต่ต้องดูงานคนอื่นด้วย
การกระจายของวิกิทั้งส่วนบุคคลและกิจกรรมที่ทางานร่วมกันที่ต้องการให้นักศึกษาติดตามว่าผู้อื่นกาลังทาอะไร
จัดให้มีการเชื่อมต่อระหว่างงานของพวกเขาและและของสมาชิกทีมอื่นและจัดให้มีจุดเริ่มต้นของการสนับสนุนที่เห็นได้ชัดเ
จนที่แตกต่างไปจากการสนับสนุนอื่น(รูท&ฮูดตัน2009)ด้วยผลดังกล่าว
นักศึกษาไม่ได้เขียนเพื่อครูเท่านั้นแต่ต้องให้เพื่อนด้วย(กัท2007)
เพื่อรู้ว่าว่าคนจริงนั้นจะอ่านและบางครั้งอาจโต้ตอบข้อเขียนของเขา
เพิ่มที่จะเขียนแรงจูงใจสาหรับนักศึกษาที่จะเพิ่มความกระตือรือร้นมากกว่าและมีการประเมินโดยสมบูรณ์แล้ว
(แมคเปียร์สัน2006)
เป้ าหมายของการวิจัย
การทบทวนวรรณกรรมเมื่อไม่นานมานี้ชี้แนะความเจริญของอินเตอร์เน็ตในวิกิระหว่างผู้สอนเมื่อ2-3ปีที่แล้ว
อย่างไรก็ตามวรรณกรรมส่วนมากจะรวบรวมความคิดเห็นหรือคาอธิบายและมีการพิจารณาเพื่อจัดให้มีการประเมินผลผลิ
ตของผู้ร่วมงานที่ใช้วิกิส์ ขณะที่การพิจารณาหลายอย่างรวมทั้งผลสะท้อนกลับจากนักศึกษา
บ่อยครั้งที่ผลสะท้อนกลับนี้น่าสนใจหรืออยู่บนพื้นฐานความสังเกตของผู้วิจัย
วัตถุประสงค์ของการศึกษาเรื่องนี้เพื่อเตรียมวิเคราะห์การสารวจทัศนคติของนักศึกษาผู้ใช้วิกิส์เช่นการทางานประเมินร่วม
กันในหน่วยของการท่องเที่ยวจุดหมายพิเศษของการศึกษาเรื่องนี้คือ
 สารวจความคิดเห็นของนักศึกษาเกี่ยวกับการยืดหยุ่นและความสะดวกของการใช้วิกิส์
 ประเมินขอบเขตของวิกิส์ที่สนับสนุนให้มีการเรียนรู้ร่วมกันและผลสะท้อนกลับและ
 ประเมินขอบเขตที่วิกิส์สนับสนุนอย่างเป็นธรรมและความเสมอภาคของการทางานเป็นทีม
วิธีการ
การศึกษาพื้นฐานอยู่ที่การประเมินงานที่ต้องการนักศึกษาทางานเป็นกลุ่ม3หรือ4
คนเพื่อสร้างวิกิในวิชาที่มีจุดศูนย์รวมอยู่ที่การท่องเที่ยวระหว่างประเทศ ข้อมูลจะถูกรวบรวมมาจาก2
กลุ่มย่อยลงทะเบียนวิชาเดียวกันในปีต่างๆ ปี2007 เพื่อนประกอบด้วยนักศึกษา15 กลุ่มขณะที่ปี 2008เพื่อนนักศึกษา
12กลุ่มวิกิได้เชื่อม2 กลุ่มอื่นที่การประเมินต่างกันในหน่วยเดียวกัน
วิกิจะสรุป”จุดมุ่งหมายของประวัติย่อ”เสนอสมาชิกในทีมโดยถือเป็นประเพณีที่ใช้เวลา30นาทีนาเสนอรูปแบบในชั้นเรียน
หลายกลุ่มใช้วิกิเป็นเครื่องมือเป็นเครื่องมือในการวางแผนสาหรับนาเสนอในชั้น ถึงแม้ว่าจะม่ใช่จุดประสงค์หลักของงาน
นักศึกษาจะแนะนาว่าในการสอบครั้งสุดท้ายควรจะคาถามเกี่ยวกับวิกิ
อาจสร้างตัวกระตุ้นสาหรับนักศึกษาเพื่อเยี่ยมวิกิส์ในกลุ่มอื่น เพราะว่าตั้งใจให้เป็นข้อสรุป
นักศึกษาจากัดไว้ว่าสูงสุดไม่เกิน1,500 คา แต่ส่งเสริมให้เชื่อมข้อมูลแหล่งที่มาของสารสนเทศภายนอก
 นักศึกษาใช้วิกิเทคโนโลยีที่จัดเตรียมซอฟแวร์เพื่อสังคมเรียกว่าทีมแอลเอ็กซ์
ซึ่งฝังอยู่ในกระดานการเรียนของมหาวิทยาลัย
ทีมแอลเอ็กซ์ยอมรับโครงสร้างการรวมตัวของนักศึกษาเพื่อสร้างการแบ่งปันข้อมูลข้อมูลพื้นฐานภายในหลักสูตร
โปรแกรมต่างๆที่ใช้ในคอมพิวเตอร์ ใช้ WYSIWYG ผสมกันและเครื่องมือสาหรับสนับสนุนการสร้างความพอใจ วิกิ
การปรับกรุงแก้ไขของวิกิที่ไม่สาคัญคล้ายกับระบบงานที่ให้ผู้ใช้เขียนและแก้ไขข้อความในเอกสารได้แทนพิมพ์ดีดนัก
ศึกษายอมให้ใช้สี,ฟอนด์,รูปภาพ, การเชื่อมต่อภายนอกและตาราง
โปรแกรมต่างๆที่ใช้ในคอมพิวเตอร์ของทีมแอลเอ็กซ์แยกแยะการช่วยเหลือในระดับบุคคลและแนวทางพัฒนาของกลุ่
มที่มีปฏิกิริยาตอบสนอง
ยอมรับการสอนของเจ้าหน้าที่ที่จะประเมินที่จะประเมินนักศึกษาแต่ละคนที่ใส่ข้อมูลลงในคอมพิวเตอร์ในโครงการขอ
งกลุ่ม ในปี2008
ผู้สนับสนุนใช้โปรแกรมรุ่นใหม่ของคอมพิวเตอร์เพื่อสร้างวิกิและกระทบกับการเปลี่ยนแปลงนี้เมื่ออภิปรายภายหลังถึง
ผลลัพธ์ของมัน
การสรุป1 ชั่วโมงในภาคการศึกษาเพื่อชักนาในต้นภาคการศึกษาให้ปรับตัวมาใช้วิกิเทคโนโลยี
เทคโนโลยีที่ไม่สาคัญของโปรแกรมต่างๆในคอมพิวเตอร์ของวิกิแนะนาให้นักศึกษาและอธิบายการประเมินอย่างมีเห
ตุผล
การจัดเตรียมการฝึกอบรมมีข้อจากัดอย่างยุติธรรมที่สมมุติว่ามีส่วนรวมที่เป็นเจ้าของเกี่ยวพันกับความสามารถขั้นสูง
ของไอที และไม่ต้องการเทคโนโลยีมากสนับสนุนเพื่อพัฒนาความชานาญในการใช้วิกิ กลุ่มทางานกับวิกิประมาณ8
สัปดาห์ เวลาระหว่างนั้นไม่สามารถมองเห็นสมาชิกอื่นในชั้น
เมื่อถึงวันครบกาหนดที่ประเมินผ่านสมาชิกในห้องเรียนที่สามารถมองเห็นสมาชิกวิกิทั้งกลุ่มที่สร้างหน่วยนั้น
แต่วิกิไม่เหมาะกับงานสาธารณะทั่วไป
การประเมินค่าของการประเมินวิกิจากการสอบถามนักศึกษาให้ตอบแบบสอบถามด้วยตนเองในสัปดาห์สุดท้ายของ
ภาคการศึกษา
นักศึกษาแนะนาว่าการมีส่วนร่วมควรจะเป็นอาสาสมัครและแน่ใจว่าไม่รู้จักและยอมจานนกับหลักคุณธรรม
ไม่ชี้ชัดว่าบุคคลใดจดบันทึกไว้ หน้าแรกของแบบสอบถามรวมถึงคาถามเกี่ยวกับกราฟฟิคและกาหนดไว้ 5
คะแนนสาหรับอัตราส่วนของลิเกิร์ทเพื่อทดสอบนักศึกษาที่โต้ตอบเรื่องการประเมิน
บางเรื่องของลิเกิร์ทปรับปรุงมาจากเครื่องมือที่ลูค่าและแมคลูทลินเป็นผู้ใช้ (2005)
เพื่อประเมินนักศึกษาที่ใช้บล็อกเหมือนการเรียนรู้เรื่องเครื่องมือร่วมกัน
บางเรื่องปรับปรุงมาจากการทางานของฟอร์ทและบรัคแมน(2006)
บางเรื่องประกอบด้วยข้อความเกี่ยวกับความสะดวกของการใช้ ความยุติธรรมของการประเมิน
การยืดหยุ่นการทางานร่วมกันและการสะท้อนกลับ หน้าที่2 นักศึกษาสามารถถามในคาถามปลายปิดทั้ง3
หน้านักศึกษาควรถามเพื่อชี้ว่าชอบอะไรมากที่สุดและชอบอะไรน้อยที่สุดในการประเมินของวิกิและการประเมินของวิ
กิควรแก้ไขอย่างไร
สารสนเทศจากแบบสอบถามสถิติมีส่วนเสริมที่ดาเนินการโดยทีมแอลเอกซ์ที่ลงโปรแกรมต่างๆในคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างประกอบด้วยนักศึกษาปริญญาตรีปีที่1และปีที่2 ในหน่วยการท่องเที่ยวจานวน78คน(อัตราตอบ
81 % )ตางรางที่1แยกตามประวัติของผู้ตอบ ในตัวอย่างมีนักศึกษาหญิงจานวนมาก
แต่เปอรเซนต์ของการเป็นตัวแทนอยู่ในเกณฑ์ธรรมดา(71%เพศหญิง)
นักศึกษาส่วนใหญ่เรียนเต็มเวลาและมาจากเด็กในสังคมเมืองที่เกิดระหว่างปี 19821 -2001(สตรัสส์&ฮาวว์1991)
ตารางที่ 1 ประวัติย่อของผู้ให้คาตอบ
จานวนผู้ตอบ เปอร์เซนต์
เพศ
ชาย 17 21.8%
หญิง 61 78.2%
กลุ่ม
2007 49 62.8%
2008 29 37.2%
อายุ(จานวน 77, เฉลี่ย 20)
17-20 45 58.4%
21-25 19 24.7%
26-30 8 10.4%
เกิน 30 5 6.5%
ลักษณะพิเศษ
ประวัติพูดภาษาอังกฤษไม่ได้ 25 32.1%
บุคคลแรกในครอบครัวที่เรียนมหาวิทยาลัย 27 34.6%
ลงทะเบียนเต็มเวลา 76 97.4%
จานวนชั่วโมงที่ทางานด้วยวิกิ (จานวน 68,เฉลี่ย 7.5 ชั่วโมง)
3 ชั่วโมงหรือน้อยกว่า 18 26.5%
4 – 6 ชั่วโมง 15 22.1%
7 - 9 ชั่วโมง 2 2.9%
10 -12 ชั่วโมง 19 27.9%
มากกว่า12 ชั่วโมง 14 20.6%
ผลลัพธ์และความเห็น
นักศึกษาปรับตัวอย่างรวดเร็วในสิ่งแวดล้อมของวิกิและการประเมินงาน
ได้รับการสนับสนุนเล็กน้อยให้เดินหน้าตามความต้องการของเจ้าหน้าที่สถาบัน
ทีมแอลเอกซ์ที่ใช้โปรแกรมต่างๆสามารถเดินตามแนวความคิดของแต่ละบุคคลในวิกิและบันทึกแต่ละหน้าโดยบันทึกเ
ลขที่หน้าและใส่ข้อความที่ปรับปรุงแล้ว ตารางที่2จัดสรุปสถิติของผู้ใช้ตามชั้น
ผลลัพธ์ชี้ว่าบางกลุ่มและแต่ละคนเข้าใจความต้องการของงานและโอกาสสาหรับสร้างงานร่วมกัน
ค่าสูงสุดและบางพื้นที่มีความหมายชี้ว่ากิจกรรมที่เป็นสาระสาคัญในวิกิที่ตั้งอยู่ในสถานที่ใดๆ
เมื่อนักศึกษาเพิ่มความพอใจและเปลี่ยนแปลงเล็กน้อยและปรับปรุงทั้งงานของตนเองและงานของสมาชิกในทีมในเว
ลาเกินกว่า 8สัปดาห์ ไม่น่าเชื่อว่าวิกิที่ตั้งอยู่ที่หนึ่งบันทึกได้ 511 หน้า และ 2253ข้อความของเรื่องที่ปรับปรุง
โดยเฉลี่ยปรากฏวาการเผยแพร่แต่ละบุคคลประมาณ28%พอใจในวิกิ แต่ที่แตกต่างไม่มีการเผยแพร่ใน1
รายประมาณ88%ที่เป็นที่สูงสุดในที่อื่นการตัดสินใจช้าในหลายๆกลุ่ม
แต่ละคนรวบรวมความพอใจจากสมาชิกในกลุ่มทางอี-
เมล์และสร้างหน้าวิกิด้วยพวกเขาเองเพราะสมาชิกในกลุ่มไม่มีเทคโนโลยีที่สมบูรณ์
ความชัดเจนไม่ได้ยอมรับสาหรับความรู้ความเข้าใจที่เกิดขึ้นในความคิด ค่าที่น้อยที่สุดในคอลัมน์
คือการชี้ว่าแต่ละบุคคลและทีมไม่เข้าร่วมกับการประเมินงาน
จากการสังเกตก็ชัดเจนและทาให้ในที่สุดวิกิในบางกลุ่มก็ถูกพัฒนาเป็นรูปแบบเดียวกัน
การวางแผนที่ดีและการนาเสนอที่สวยงามพิสูจน์ว่านักศึกษาทางานเป็นกลุ่มได้ดี
ขณะที่วิกิอื่นก็ชัดเจนในผลลัพธ์ที่ไม่พยายามร่วมมือกันก่อหน้านั้น
การใช้วิกิรับประกันว่านักศึกษาจะรวมกันทาให้งานสมบูรณ์
ปัญหาที่ชนะโดยการฝังกลุ่มงานในโครงงานของผู้อาศัยที่ทาตัวเป็นครูคิดค้นเพื่อพัฒนาและสนับสนุนทีมงาน
การคิดค้นอย่างระมัดระวังจะปรากฏชัดและนักศึกษาต้องการมาตรฐานที่พิสูจน์การรวมกันอย่างแท้จริงและที่มีปฏิกิริ
ยาก็มีประโยชน์ด้วยเหมือนกัน
ตารางที่ 2 สถิติการใช้วิกิ
------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
น้อย มาก เฉลี่ย
-------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
จานวนหน้า/วิกิ 9 65 22
จานวนหน้ารวมที่เก็บ/วิกิ 29 681 242
จานวนข้อความรวมของเรื่องที่ปรับปรุง/วิกิ 89 2253 694
จานวนหน้ารวมเก็บ/แต่ละคน 0 511 65
จานวนข้อความรวมของเรื่องที่ปรับปรุง/แต่ละคน 0 1830 . 191
ความพอใจแต่ละคนต่อวิกิ(%) 0 88 28
-------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
ตารางที่3 จัดสรุปการรับรู้ของนักศึกษาต่อการประเมินวิกิ จุดประสงค์แรกของการศึกษาเรื่องนี้ต้องการสารวจ
ทัศนะของนักศึกษาเกี่ยวกับการยืดหยุ่นและความสะดวกในการใช้วิกิ ผลลัพธ์ที่ได้นักศึกษามีความคิดทั่วไปในทางบวกทั้ง
2 กรณีรี้นักศึกษาส่วนมากมีความรู้สึกว่าการประเมินของวิกิดีกว่าการมอบงานด้วยกระดาษที่ทากันมา(ค่าเฉลี่ย =3.97)
การประเมินจัดเจนและได้รับการยอมรับ(ค่าเฉลี่ย=4.17)สิ่งเหล่านี้พบว่าสะท้อนกลับจากข้อสังเกตคุณลักษณะเช่นกัน
นักศึกษาใช้คาและวลีเพื่อความสะดวกสบายง่ายสนุกสนานส่งผ่านเรียนรู้สิ่งใหม่ๆรวดเร็วและง่าย แตกต่างตื่นเต้น
แปลกใหม่ เมื่อถามว่าสิ่งที่ชอบที่สุดในการประเมิน
นักศึกษาหลายคนระบุว่าลดการประชุมที่ต้องเผชิญหน้าซึ่งเป็นงานในทางบวกที่สุดนักศึกษาคนหนึ่งระบุว่า
“เราสามารถเพิ่มสารสนเทศที่ไหนและเมื่อใดที่เราชอบ” ในขณะที่อีกคนระบุว่า
”ฉันสามารถทางานกับทีมแต่ความเร็วในการทางานของเราเองและไม่ต้องผูกพันในการเผชิญหน้าตลอดเวลา”
นักศึกษาส่วนมากรู้สึกว่าเทคโนโลยีใช้ง่ายแต่สองคาประกาศที่เกี่ยวพันกับลักษณะที่นามาแสดง
2รูปแบบการกระจายที่ไม่สาคัญ แนะนาว่านักศึกษาบางคนต่อสู้อย่างชัดแจ้งกับลักษณะของเทคนิค
การประเมินเกี่ยวกับคุณลักษณะความคิดเห็นเสนอว่าส่วนใหญ่ของการขัดขวางขึ้นอยู่กับข้อจากัดของชนิดวิกิเทคโนโลยี
นักศึกษาหลายคนจากปี 2007สนับสนุนความเห็นที่มีมากชนิดเช่น
ช่วยเหลือเรื่องตารางและเบื้องหลังของสีที่เป็นประโยชน์
นักศึกษาพบว่าเป็นการยากในตาแหน่งจินตนาการเพราะโปรแกรมต่างๆที่ใช้ในคอมพิวเตอร์ไม่ยอมรับตาราที่ปกคลุมไปด้
วยจินตนาการ ปี2008สนับสนุนให้ประเมินโดยเพิ่มชนิดใหม่ๆเช่น
ตารางและความสามารถในการจัดการที่ดีกว่าแทนที่จินตนาการแต่การเผชิญหน้ากับปัญหาเทคโนโลยีอื่นๆ
นักศึกษาบางคนพบว่าวิกิกลายเป็นช้ามากและทาให้สิ้นเปลืองเวลาโดยเฉพาะอย่างยิ่งการเพิ่มรูปภาพมากในที่นี้
นักศึกษาชี้ว่าวิกิไม่สามารถเก็บรักษางานได้เสมอไปข้อจากัดนี้คล้ายกับการรายงานของอัลกอร์ท
(2008)ผู้ซึ่งใช้เช่นเดียวกันกับทีมแอลเอกซ์ วิกิเทคโนโลยีมี2กลุ่มของนักศึกษาที่จบแล้ว
นักศึกษากลุ่มหนึ่งรายงานว่าการเลือกเช่นเชื่อมโยงและตาแหน่งของรูปภาพและตารางเป็นการจัดรูปแบบ”โกง”
ความปรารถนาอย่างอื่นที่
วิกิสร้างการตรวจการสะกดคา ทาให้เข้าใจได้ง่าย
นักศึกษาบางคนรู้สึกว่าการขาดชนิดนี้ขัดขวางความสามารถในการสร้างสรรค์คาพูดที่ถ่ายทอดจากการกระทา
จุดประสงค์ที่2
ของการเรียนนี้ต้องการประเมินปริมาณการสนับสนุนที่วิกิส์ส่งเสริมให้เรียนรู้ร่วมกันและผลสะท้อนกลับผลลัพธ์ในตารางที่
2 ชี้แนะว่าบางทีมประสบความสาเร็จมากกว่าในการใช้วิกิเช่นเดียวกับเครื่องมือที่ใช้ร่วมกัน ผลลัพธ์ในตารางที่
3ชี้แนะว่าสนับสนุนคาอธิบายนี้
นักศึกษาหลายคนไม่แน่ใจว่าเกี่ยวกับการช่วยเหลือทีมของวิกิที่จะทาให้ผลิตภัณฑ์ที่ออกมาดีกว่า(ค่าเฉลี่ย =3.29)
ในทานองเดียวกันนักศึกษาหลายคนรู้สึกว่าวิกิสนับสนุนเต็มไปด้วยความหมายเป็นการแลกเปลี่ยนของผู้มีปัญญาสูง
(ค่าเฉลี่ย=3.05)และสนับสนุนการแลกเปลี่ยนความคิดเห็น(ค่าเฉลี่ย=2.97)
แต่มีจานวนมากที่แน่ใจน้อยหรือไม่เห็นด้วยว่านี้คือตัวอย่าง
นักศึกษาส่วนใหญ่ชัดเจนว่าไม่มีปัญหากับการแก้ไขปรับปรุงต้นฉบับในงานของผู้อื่นๆ(ค่าเฉลี่ย
=3.45)แต่ต้องหมายเหตุว่าเรื่องนี้รวมในแบบสอบถามปี 2008
แต่คุณลักษณะของความคิดเห็นก็ชี้แนะด้วยเหมือนกันว่าขณะที่นักศึกษาชอบการแก้ไขปรับปรุงต้นฉบับในงานของผู้อื่น
บางครั้งพวกเขาไม่เห็นคุณค่าที่งานของตนเองถูกเปลี่ยนแปลงเมื่อถามว่าเธอชอบงานอะไรของวิกิน้อยที่สุด
นักศึกษาคนหนึ่งกล่าวว่า”ความจริงคนที่เข้ามาและลบเนื้อหาควรจะคงไว้ให้สมบูรณ์
เพราะพวกเขาไม่รู้ว่าจะเป็นอะไรต่อไป”คล้ายกับโคนิน(2009)พบรายงาน
ผู้ซึ่งสังเกตว่าบางเวลาวิกิสามารถทาให้ประสบการณ์พบกับความพ่ายแพ้เพราะความพยายามของแต่ละคนที่น้อยลงโดยไ
ม่แน่ใจหรือการเขียนเปลี่ยนแปลงที่ด้อยคุณภาพโดยนักศึกษาอื่น
อัตราส่วนที่เป็นบวกมากกว่าจะเกี่ยวพันกับเรื่องการแบ่งปันของกลุ่มวิกิ
นักศึกษาส่วนมากจะพึงพอใจที่จะดูวิกิของทีมงานอื่นและส่วนมากจะเห็นด้วยกับการแบ่งปันงานให้สาธารณะเพื่อให้มีอิท
ธิพลต่อวิธีการประเมินในการตอบคุณสมบัติ
นักศึกษาจานวนหนึ่งมีข้อสังเกตว่าสมาชิกของกลุ่มไม่ได้ช่วยเหลือเท่าๆกันหรือหรือบางกลุ่มสมาชิกทิ้งการช่วยเหลือในนา
ทีสุดท้าย
ความสามารถในการใช้วิกิเป็นเครื่องมือสาหรับการสะท้อนกลับในแต่ละบุคคลและความก้าวหน้าของกลุ่มมีค่ามากในทาง
บวก นักศึกษาจานวนมากชอบความสามารถในการชี้ชัดและแก้ไขรายละเอียดที่ผิดพลาดให้ถูกต้อง(ค่าเฉลี่ย=3.60)
แต่สิ่งเล็กๆน้อยๆนักศึกษาจานวนมากชี้ว่าวิกิไม่เตือนพวกเขาถึงปัญหาที่สมาชิกกลุ่มอื่นมี(ค่าเฉลี่ย =2.90) บางครั้ง
ข้อความแรกเกี่ยวข้องกับคุณภาพขณะที่การจัดการที่2
ขอให้อธิบายอย่างกว้างขวางและปัญหาของสมาชิกในกลุ่มอาจมีประสบการณ์ (เช่น
การขาดความสามารถที่จะใช้หรือการเข้าสู่ระบบเทคโนโลยี)เมื่อมีผลสะท้อนบนการเรียนของตนเอง
นักศึกษาส่วนใหญ่เห็นด้วยว่าวิกิมีประโยชน์กับการเรียนของพวกเขา
จุดประสงค์ที่3
ของการเรียนนี้ต้องการประเมินปริมาณที่วิกิส์ได้รับการสนับสนุนอย่างยุติธรรมและความเท่าเทียมกันของทีมงาน
นักศึกษาส่วนใหญ่ยอมรับว่าน้าหนักที่จัดสรรให้การประเมิน(10%)เหมาะสม
นักศึกษาส่วนมากกระตือรือร้นที่จะเห็นใช้วิกิในหน่วยอื่น
มีความหมายว่าตามความคิดทั่วๆไปของพวกเขาเป็นที่ยอมรับได้จากกลุ่มที่ประเมิน
นักศึกษาประมาณครึ่งหนึ่งเห็นด้วยหรือเห็นด้วยอย่างแข็งขันในงานที่ก้าวหน้าอย่างเป็นธรรมและทีมงานที่เหมาะสม
น่าสนที่การค้นพบนี้คล้ายกับการเรียนชั้นปริญญาโทในหลักสูตรเทคโนโลยีสารสนเทศ(อัลกอร์ท2008)
ถึงแม้ว่าเป็นการง่ายที่จะเดินตามการสนับสนุนของนักศึกษาแต่ละคนและเป็นการรอเวลาสาหรับการประเมินที่ลงโทษสังค
มที่ปล่อยเวลาโดยเปล่าประโยชน์ การประเมินปริมาณชี้ว่า
นักศึกษาบางคนยังคงขัดขวางโดยการขาดการนาเข้าจากสมาชิกบางกลุ่ม ในกรณีรี้เมื่อทีมอื่นต้องการประเมิน
สังคมที่ปล่อยเวลาให้ผ่านไปและเลื่อนการพิสูจน์โดยผู้วิจัยรายอื่น
ซึ่งเป็นการท้าทายเมื่อใช้วิกิสาหรับการประเมิน(มิโนชา &โทมัส2007)มิโนชาและโทมัส
(2007)พบว่าการทางานร่วมกันบในวิกิชั่วครั้งชั่วคราวและการริเริ่มสิ่งขัดขวางสาหรับนักศึกษาที่รอให้สมาชิกในกลุ่มอื่นช่ว
ยเหลือ เรื่องนี้เป็นหลักฐานในสมาชิกกลุ่มเล็กที่มีความคิดเห็นโดยนักศึกษาในการเรียนนี้ เป็นที่แน่ชัดว่า
ชนิดของพฤติกรรมกาหนดโอกาสในการพัฒนาที่ทาให้พอใจโดยเนื้อแท้ และการแสดงแกของการประเมิน
นักศึกษาหลายคนชี้แนะว่าฐานะการประเมินของวิกิใน
เวลาต่างๆกันในภาคการศึกษาอาจเป็นแรงจูงใจให้นักศึกษาร่วมงานกันตั้งแต่แรก
ตารางที่ 3 นักศึกษารับรู้การประเมินของวิกิ
การให้คาตอบ
ไม่เห็นด้วย เป็นกลาง เห็นด้วย ค่าเฉลี่ย
พึงพอใจและสะดวกในการใช้
วิกิดีกว่าการมอบหมายงานในทีมด้วยกระดาษ 9 14 55 3.97
ฉันพอใจที่ใช้วิกิในหน่วยนี้ 8 28 42 3.63
เครื่องมือวิกิใช้ง่าย 17 13 48 3.60
ไม่มีปัญหาเทคโนโลยีเมื่อใช้วิกิ 27 13 38 3.23
การยืดหยุ่น
วิกิยอมช่วยเหลือฉันในเวลาและสถานที่ที่สะดวกสาหรับฉัน 9 5 64 4.17
วิกิลดความต้องการเผชิญหน้าในกลุ่ม 9 17 51 3.77
การทางานร่วมกัน
ฉันได้รับการอานวยความสะดวกเมื่อสมาชิกทีมอื่นมาตรวจงาน 4 9 16 3.45
การใช้วิกิช่วยให้กลุ่มพัฒนาผลิตภัณฑ์ให้ดีขึ้น 13 34 31 3.29
วิกิปรับปรุงระดับจุดมุ่งหมายของผู้มีปัญญาเลิศแลกเปลี่ยนระหว่างสมาชิกในกลุ่มและผู้อื่นในชั้น 20 34 24 3.05
วิกิช่วยสนับสนุนการแสดงความเห็นกับสมาชิกกลุ่มอื่นเกี่ยวกับงานที่ต้องการเมื่อเสร็จการประเมิน 24 31 23 2.97
การแบ่งปัน
ฉันชอบดูวิกิของกลุ่มงานอื่น 8 16 53 3.84
ทราบว่าวิกิสามารถเป็นที่พักผ่อนของชั้นเรียนหลังจากวันครบกาหนดที่มีผลกระทบต่อการประเมิน 19 19 40 3.36
สะท้อนความก้าวหน้า
วิกิยอมให้ฉันพิสูจน์และแก้ไขรายละเอียดที่ผิดพลาดและปัญหาที่สมาชิกกลุ่มอื่นกระทา 11 20 47 3.60
การใช้วิกิช่วยเหลือการเรียนของฉัน 17 18 43 3.47
วิกิเป็นผู้ยิ่งใหญ่สาหรับแนวทางการทางานเพราะทาให้สมาชิกในกลุ่มก้าวหน้า 14 24 39 3.45
วิกิทาให้ง่ายในแนวทางและการสะท้อนความก้าวหน้า 21 29 28 3.19
วิกิช่วยให้ฉันกระตือรือร้นกับปัญหาที่ผู้อื่นในทีมมี 31 23 24 2.90
ซื่อสัตย์ยุติธรรม
การจัดสรรน ้าหนักสาหรับการประเมินของวิกิยุติธรรม 9 16 52 3.81
ฉันชอบที่จะเห็นการใช้วิกิในวิชาอื่นกับกลุ่มงานด้วย 17 17 44 3.56
การใช้วิกิช่วยให้เกิดความเป็นธรรมและทีมงานที่เสมอภาคกัน 15 26 37 3.40
นอกจากนี้การสารวจบางเหตุผลสาหรับขอบเขตของการตอบรับ
หมายถึงเครื่องทดสอบที่ควบคุมระหว่างนักศึกษาต่างกลุ่ม การทดสอบสารวจความแตกต่างของนักศึกษาตามเพศอายุ
ประวัติด้านภาษาผู้สนับสนุนและจานวนชั่วโมงที่ทางานด้วยวิกิ การให้ตัวอย่างขนาดเล็ก ไม่ใช้ตัวแปรทางสถิติผลชี้ว่า
อายุไม่มีส่วนร่วมในความแตกต่างของความสาคัญ
ในการจัดระดับมีความแตกต่างที่สาคัญระหว่างนักศึกษาชายและนักศึกษาหญิง
ผู้ชายค่อนข้างจะเห็นด้วยว่าวิกิช่วยให้เขามีความกระตือรือร้นในปัญหาที่สมาชิกของทีมอื่นมีอยู่ ค่าเฉลี่ยของผู้ชายคือ
3.41 ขณะที่ค่าเฉลี่ยของผู้หญิงคือ2.75(U=330.0p=.018)
ผู้ชายเห็นด้วยมากกว่าที่วิกิสนับสนุนความเห็นของสมาชิกทีมอื่น(ค่าเฉลี่ย =3.53)มากกว่าผู้หญิง(ค่าเฉลี่ย
2.82,U=328.5;p=.016) ความแตกต่างนี้ทาให้เกิดปัญหาแต่ได้ให้ตัวอย่างเล็กๆ
ไม่มีคุณภาพที่จะสารวจความแตกต่างการเรียนในอนาคต ตัวอย่าง
ส่วนใหญ่ระดับนักศึกษาที่มีประวัติไม่เคยพูดภาษาอังกฤษ(เอ็นอีเอสบี)ไม่ต่างจากส่วนมากที่มีประวัติการพูดภาษาอังกฤษ
อย่างไรก็ตามนักศึกษาที่มีประวัติไม่เคยพูดภาษาอังกฤษจะเห็นด้วยน้อยกว่าที่วิกิยอมให้รวมกับทีมงานเวลาใดและที่ไหน
ที่สะดวกก็ได้ (นักศึกษาที่มีประวัติไม่พูดภาษาอังกฤษ ค่าเฉลี่ย=3.84,นักศึกษาที่มีประวัติพูดภาษาอังกฤษค่าเฉลี่ย
=4.32,U=448.0,p=.012) นี่อาจเป็นไปได้ว่าตามความจริงนักศึกษาที่มีประวัติพูดภาษาอังกฤษ
เป็นนักศึกษาระหว่างประเทศซึ่งไม่เคยมีคอมพิวเตอร์ของตนเองที่บ้าน
และก่อนหน้านั้นการประเมินอย่างสมบูรณ์ใช้ความสะดวกที่มหาวิทยาลัย
มีเพียงอย่างเดียวที่มีความแตกต่างอย่างสาคัญในค่าเฉลี่ยระหว่างกลุ่มคนปี 2007และปี 2008 นักศึกษาปี 2008
กลุ่มคนที่มาไกลมีโอกาสที่ไม่เห็นด้วย(ค่าเฉลี่ย =2.59)กับข้อความที่ว่า”ฉันไม่มีปัญหาเรื่องเทคโนโลยีเมื่อใช้วิกิ”
มากกว่ากลุ่มนักศึกษาปี 2007(ค่าเฉลี่ย =3.61,U=431.5;p=.003)นี่คือสิ่งที่น่าสนใจที่พบว่าเครื่องมือวิกิทันสมัยในปี
2007และ2008และนักศึกษาปี 2008มีเครื่องมือระดับที่ยิ่งใหญ่และชนิดสะดวกเมื่อคิดค้นโดยวิกิส์
เมื่อสารวจว่าจานวนชั่วโมงที่นักศึกษาใช้วิกิทางานจะกระทบกับการจัดระดับ นักศึกษาจะแยกเป็น2กลุ่ม
คนที่ใช้ชั่วโมงทางานน้อยกว่าค่าเฉลี่ยและคนที่ใช้มากกว่าค่าเฉลี่ยการเปรียบเทียบระหว่าง2กลุ่มนี้นาเสนอในตารางที่4
เป็นที่ชัดเจนว่านักศึกษาผู้ใช้เวลามากกว่าทางานในวิกิส่วนใหญ่จะเห็นด้วยกับข้อความทั้งหมด ยกเว้นข้อความที่ว่า
“การจัดสรรน้าหนักในวิกิเป็นธรรม”และ “ฉันรู้สึกว่าได้รับความสะดวกเมื่อสมาชิกทีมอื่นมาตรวจงาน”
นักศึกษาผู้ใช้เวลามากกว่ากับวิกิมีความรู้สึกว่าไม่ให้ความสาคัญกับการประเมิน ผลลัพธ์ชี้ว่ามี 6
สาระสาคัญที่แตกต่างกันในนักศึกษา 2 กลุ่ม นักศึกษาที่ใช้เวลาน้อยกว่าในการทางานกับวิกิพบว่าไม่ง่ายที่จะใช้วิกิ
นักศึกษาเหล่านี้มีโอกาสน้อยที่จะเห็นด้วยว่า
Wiki (บันทึกอัตโนมัติ)
Wiki (บันทึกอัตโนมัติ)
Wiki (บันทึกอัตโนมัติ)
Wiki (บันทึกอัตโนมัติ)
Wiki (บันทึกอัตโนมัติ)

More Related Content

Viewers also liked

Norma cs подъемно транспортное оборудование
Norma cs подъемно транспортное оборудованиеNorma cs подъемно транспортное оборудование
Norma cs подъемно транспортное оборудованиеCotline
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากลใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากลleemeanshun minzstar
 
Public Relations Proposal for Cayuga Dog Rescue
Public Relations Proposal for Cayuga Dog Rescue Public Relations Proposal for Cayuga Dog Rescue
Public Relations Proposal for Cayuga Dog Rescue Sarah Lombard
 
Lync 2013 モバイル アプリ ガイド (iOS)
Lync 2013 モバイル アプリ ガイド (iOS)Lync 2013 モバイル アプリ ガイド (iOS)
Lync 2013 モバイル アプリ ガイド (iOS)kumo2010
 
Social Media presentation by Ernstjan Alber / Ganda
Social Media presentation by Ernstjan Alber / GandaSocial Media presentation by Ernstjan Alber / Ganda
Social Media presentation by Ernstjan Alber / GandaErnstjan_Albers
 
Como hacer una celula de gelatina
Como hacer una celula de gelatinaComo hacer una celula de gelatina
Como hacer una celula de gelatinabelenromera1
 

Viewers also liked (9)

Norma cs подъемно транспортное оборудование
Norma cs подъемно транспортное оборудованиеNorma cs подъемно транспортное оборудование
Norma cs подъемно транспортное оборудование
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากลใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากล
 
Hydrulic
HydrulicHydrulic
Hydrulic
 
Звук ы. Буква ы
Звук ы. Буква ыЗвук ы. Буква ы
Звук ы. Буква ы
 
Public Relations Proposal for Cayuga Dog Rescue
Public Relations Proposal for Cayuga Dog Rescue Public Relations Proposal for Cayuga Dog Rescue
Public Relations Proposal for Cayuga Dog Rescue
 
Lync 2013 モバイル アプリ ガイド (iOS)
Lync 2013 モバイル アプリ ガイド (iOS)Lync 2013 モバイル アプリ ガイド (iOS)
Lync 2013 モバイル アプリ ガイド (iOS)
 
Social Media presentation by Ernstjan Alber / Ganda
Social Media presentation by Ernstjan Alber / GandaSocial Media presentation by Ernstjan Alber / Ganda
Social Media presentation by Ernstjan Alber / Ganda
 
Audit Report Model and Sample
Audit Report Model and SampleAudit Report Model and Sample
Audit Report Model and Sample
 
Como hacer una celula de gelatina
Como hacer una celula de gelatinaComo hacer una celula de gelatina
Como hacer una celula de gelatina
 

More from leemeanshun minzstar

ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 10 เรื่อง การอ่านและการบันทึกโน้ตสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 10 เรื่อง การอ่านและการบันทึกโน้ตสากลใบความรู้ที่ 1 บทที่ 10 เรื่อง การอ่านและการบันทึกโน้ตสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 10 เรื่อง การอ่านและการบันทึกโน้ตสากลleemeanshun minzstar
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 9 เรื่อง จังหวะและเครื่องหมายกำหนดจังหวะ
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 9 เรื่อง จังหวะและเครื่องหมายกำหนดจังหวะใบความรู้ที่ 1 บทที่ 9 เรื่อง จังหวะและเครื่องหมายกำหนดจังหวะ
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 9 เรื่อง จังหวะและเครื่องหมายกำหนดจังหวะleemeanshun minzstar
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 8 เรื่อง กุญแจประจำหลัก
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 8 เรื่อง กุญแจประจำหลักใบความรู้ที่ 1 บทที่ 8 เรื่อง กุญแจประจำหลัก
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 8 เรื่อง กุญแจประจำหลักleemeanshun minzstar
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 7 เรื่อง โน้ตสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 7 เรื่อง โน้ตสากลใบความรู้ที่ 1 บทที่ 7 เรื่อง โน้ตสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 7 เรื่อง โน้ตสากลleemeanshun minzstar
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 5 เรื่อง ประเภทของเครื่องดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 5 เรื่อง ประเภทของเครื่องดนตรีสากลใบความรู้ที่ 1 บทที่ 5 เรื่อง ประเภทของเครื่องดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 5 เรื่อง ประเภทของเครื่องดนตรีสากลleemeanshun minzstar
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากลใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากลleemeanshun minzstar
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 3 เรื่อง ลักษณะของวงดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 3 เรื่อง ลักษณะของวงดนตรีสากลใบความรู้ที่ 1 บทที่ 3 เรื่อง ลักษณะของวงดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 3 เรื่อง ลักษณะของวงดนตรีสากลleemeanshun minzstar
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 1 เรื่อง ประวัติดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 1 เรื่อง ประวัติดนตรีสากลใบความรู้ที่ 1 บทที่ 1 เรื่อง ประวัติดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 1 เรื่อง ประวัติดนตรีสากลleemeanshun minzstar
 
โฮมเพจวารสาร
โฮมเพจวารสารโฮมเพจวารสาร
โฮมเพจวารสารleemeanshun minzstar
 
เหนือ ท่องเที่ยว
เหนือ  ท่องเที่ยวเหนือ  ท่องเที่ยว
เหนือ ท่องเที่ยวleemeanshun minzstar
 
เหนือ เที่ยว
เหนือ   เที่ยวเหนือ   เที่ยว
เหนือ เที่ยวleemeanshun minzstar
 
เหนือ ท่องเที่ยว
เหนือ   ท่องเที่ยวเหนือ   ท่องเที่ยว
เหนือ ท่องเที่ยวleemeanshun minzstar
 
โรงเรียนมัธยมสังคีตวิทยา กรุงเทพมหานคร
โรงเรียนมัธยมสังคีตวิทยา กรุงเทพมหานครโรงเรียนมัธยมสังคีตวิทยา กรุงเทพมหานคร
โรงเรียนมัธยมสังคีตวิทยา กรุงเทพมหานครleemeanshun minzstar
 
ภาคเหนือ เที่ยว
ภาคเหนือ เที่ยวภาคเหนือ เที่ยว
ภาคเหนือ เที่ยวleemeanshun minzstar
 
ภาคตะวันออก เที่ยว
ภาคตะวันออก เที่ยวภาคตะวันออก เที่ยว
ภาคตะวันออก เที่ยวleemeanshun minzstar
 
การท่องเที่ยว
การท่องเที่ยวการท่องเที่ยว
การท่องเที่ยวleemeanshun minzstar
 
ภาคตะวันตก เที่ยว
ภาคตะวันตก เที่ยวภาคตะวันตก เที่ยว
ภาคตะวันตก เที่ยวleemeanshun minzstar
 
การจัดการความรู้ของมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
การจัดการความรู้ของมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชการจัดการความรู้ของมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
การจัดการความรู้ของมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชleemeanshun minzstar
 
กลยุทธ์การจัดการความรู้สำหรับการรับประกันคุณภาพ
กลยุทธ์การจัดการความรู้สำหรับการรับประกันคุณภาพกลยุทธ์การจัดการความรู้สำหรับการรับประกันคุณภาพ
กลยุทธ์การจัดการความรู้สำหรับการรับประกันคุณภาพleemeanshun minzstar
 

More from leemeanshun minzstar (20)

ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 10 เรื่อง การอ่านและการบันทึกโน้ตสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 10 เรื่อง การอ่านและการบันทึกโน้ตสากลใบความรู้ที่ 1 บทที่ 10 เรื่อง การอ่านและการบันทึกโน้ตสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 10 เรื่อง การอ่านและการบันทึกโน้ตสากล
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 9 เรื่อง จังหวะและเครื่องหมายกำหนดจังหวะ
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 9 เรื่อง จังหวะและเครื่องหมายกำหนดจังหวะใบความรู้ที่ 1 บทที่ 9 เรื่อง จังหวะและเครื่องหมายกำหนดจังหวะ
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 9 เรื่อง จังหวะและเครื่องหมายกำหนดจังหวะ
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 8 เรื่อง กุญแจประจำหลัก
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 8 เรื่อง กุญแจประจำหลักใบความรู้ที่ 1 บทที่ 8 เรื่อง กุญแจประจำหลัก
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 8 เรื่อง กุญแจประจำหลัก
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 7 เรื่อง โน้ตสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 7 เรื่อง โน้ตสากลใบความรู้ที่ 1 บทที่ 7 เรื่อง โน้ตสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 7 เรื่อง โน้ตสากล
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 5 เรื่อง ประเภทของเครื่องดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 5 เรื่อง ประเภทของเครื่องดนตรีสากลใบความรู้ที่ 1 บทที่ 5 เรื่อง ประเภทของเครื่องดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 5 เรื่อง ประเภทของเครื่องดนตรีสากล
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากลใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากล
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 3 เรื่อง ลักษณะของวงดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 3 เรื่อง ลักษณะของวงดนตรีสากลใบความรู้ที่ 1 บทที่ 3 เรื่อง ลักษณะของวงดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 3 เรื่อง ลักษณะของวงดนตรีสากล
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 1 เรื่อง ประวัติดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 1 เรื่อง ประวัติดนตรีสากลใบความรู้ที่ 1 บทที่ 1 เรื่อง ประวัติดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 1 เรื่อง ประวัติดนตรีสากล
 
โฮมเพจวารสาร
โฮมเพจวารสารโฮมเพจวารสาร
โฮมเพจวารสาร
 
เหนือ ท่องเที่ยว
เหนือ  ท่องเที่ยวเหนือ  ท่องเที่ยว
เหนือ ท่องเที่ยว
 
เหนือ เที่ยว
เหนือ   เที่ยวเหนือ   เที่ยว
เหนือ เที่ยว
 
เหนือ ท่องเที่ยว
เหนือ   ท่องเที่ยวเหนือ   ท่องเที่ยว
เหนือ ท่องเที่ยว
 
โรงเรียนมัธยมสังคีตวิทยา กรุงเทพมหานคร
โรงเรียนมัธยมสังคีตวิทยา กรุงเทพมหานครโรงเรียนมัธยมสังคีตวิทยา กรุงเทพมหานคร
โรงเรียนมัธยมสังคีตวิทยา กรุงเทพมหานคร
 
ภาคเหนือ เที่ยว
ภาคเหนือ เที่ยวภาคเหนือ เที่ยว
ภาคเหนือ เที่ยว
 
ภาคตะวันออก เที่ยว
ภาคตะวันออก เที่ยวภาคตะวันออก เที่ยว
ภาคตะวันออก เที่ยว
 
การท่องเที่ยว
การท่องเที่ยวการท่องเที่ยว
การท่องเที่ยว
 
ภาคตะวันตก เที่ยว
ภาคตะวันตก เที่ยวภาคตะวันตก เที่ยว
ภาคตะวันตก เที่ยว
 
การจัดการความรู้ของมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
การจัดการความรู้ของมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชการจัดการความรู้ของมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
การจัดการความรู้ของมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
 
กลยุทธ์การจัดการความรู้สำหรับการรับประกันคุณภาพ
กลยุทธ์การจัดการความรู้สำหรับการรับประกันคุณภาพกลยุทธ์การจัดการความรู้สำหรับการรับประกันคุณภาพ
กลยุทธ์การจัดการความรู้สำหรับการรับประกันคุณภาพ
 
Wiki
WikiWiki
Wiki
 

Wiki (บันทึกอัตโนมัติ)

  • 2. ประเมินค่าวิกิเช่นเดียวกับเครื่องมือสาหรับพัฒนาร่วมกันและความชานาญในความรู้เพื่อการจัดการ ปีแอร์ เบนเคนดอร์ฟ มหาวิทยาลัยเจมส์คุ๊ก ออสเตรเลีย ในความรู้พื้นฐานเศรษฐกิจดิจิตอลสามารถเป็นเทคนิคดิจิตอลที่ชานาญเพื่อจับและจัดการสารสนเทศเป็นความเชี่ยวชาญ ที่สาคัญสาหรับผู้มีอาชีพจัดนาเที่ยว บทความนี้สารวจการใช้วิกิเป็นการสอนและเรียนรู้เครื่องมือที่จะช่วยให้นักศึกษาพัฒนา ระดับของความรู้ความชานาญในการจัดการรวมทั้งริเริ่มการอยู่ร่วมกันการมีข้อตกลงและเทคนิคของผู้มีการศึกษา จุดประสงค์ของการเรียนรู้ เพื่อแยกการวิเคราะห์เชิงสารวจตามทัศนคติของนักศึกษา โดยการใช้วิกิเช่นเดียวกับหน่วยงานที่ประเมินร่วมกัน ผลชี้ว่าวิกิสามารถยืดหยุ่นได้สะดวกสบายและผู้สอบด้านเทคนิคที่ยุติธรรมสาหรับการเรียนรู้ร่วมกัน นักศึกษาหลายคนเข้าใจและใช้ประโยชน์ร่วมกันและการย้อนกลับเป็นธรรมชาติของวิกิ อย่างไรก็ดี นักศึกษาบางคนไม่ใช้เวลาอย่างเพียงพอในงานและไม่พบว่าได้กาไรมากพอจากการเรียนรู้ประสบการณ์ ผลกระทบต่อความตั้งใจและคุณภาพของการทางานร่วมกับกลุ่ม แนะนาว่าการประเมินวิกิอาจจะได้รับชัยชนะในข้อบกพร่องของรายงานโดยนักศึกษา คาสาคัญ การเรียนรู้ที่ยืดหยุ่น ,หน้าเอกสารบนเวิลด์ไวด์เว็บ2.0,วิกิ,การสอนและการเรียน,สร้างสรรค์การอยู่ร่วมกัน, การจัดการความรู้ สารสนเทศ การตลาดหรือการวิจัยเป็นสิ่งสาคัญที่สุดของอุตสาหกรรมการท่องเที่ยว ผู้สาเร็จการศึกษาด้านท่องเที่ยวซึ่งสามารถนาเสนอความรู้ที่เกิดขึ้นได้โดยใช้สารสนเทศและเทคโนโลยี(ไอซีทีเอส)เหมือนกั บเป็นการเพิ่มการท่องเที่ยวตามความต้องการ ความสามารถค้นหาอธิบาย รวบรวมและสร้างสรรค์ความรู้สาหรับผู้มีอาชีพจัดนาเที่ยว วามต้องการจับและจัดการความรู้เป็นการท้าทายที่สาคัญขององค์การท่องเที่ยวและจุดมุ่งหมาย(คูเปอร์ 2006) ในพื้นฐานความรู้ นักศึกษาเครือข่ายด้านเศรษฐกิจที่ออกจากมหาวิทยาลัยแล้วต้องการความสาเร็จในการทางานร่วมกันและสร้างทีมงานแล ะต้องการพัฒนาจุดเปลี่ยนที่สาคัญหรือการปฏิบัติที่วกกลับ(เบอร์น&ฮัมฟรีส์ 2005)ขณะที่งานเขียนใหม่เกี่ยวข้องกับสารสนเทศและความรู้เรื่องการจัดการซึ่งมีจุดสนใจอยู่ที่องค์การการท่องเที่ยว มันเป็นประโยชน์ที่จะคิดว่าการสอนที่แตกต่างกันไปและสนับสนุนการพัฒนาความเชี่ยวชาญความรู้ด้านการจัดการ(ราแม น,ไรอัน,&อัล์ฟแมน,2005)
  • 3. บิกก์ (1999)แนะนาว่าการเพิ่มความสาคัญความชานาญในการแลกเปลี่ยนเรื่องทั่วไป ต้องการเค้าโครงและการคิดใหม่ของวิธีการสอนที่จะได้ผลลัพธ์การเรียนรู้ที่ต้องการ ในเวลาเดียวกัน การพัฒนาโดยการใช้ไอซีทีในการสอนและการเรียน ยกคาถามทั้งหมดจัดลาดับจากการได้ประโยชน์ของ “ชอล์คและการพูด” ความสอดคล้อง ตัวอย่าง ผ่านบทบาทของการประเมิน,ต้องการความพอใจในการเรียนแบบที่แตกต่างกัน(โฮล์ม, เทคนี่ย์,ฟิทซ์กิบบอน,ซาเวช &มีฮัน,2001หน้า 1) ผู้เขียนหลายคนเขียนเกี่ยวกับบทบาทของไอซีทีในการสอนและการเรียนแนะนาว่าการพัฒนาที่ดาเนินต่อไปของเว็บ2.0 เทคโนโลยี่เช่น บล็อก,วิกิ,อาร์เอสเอสเสนอโอกาสต่างๆในการพัฒนาสารสนเทศและความชานาญในความรู้เรื่องการจัดการ(อเล็กซานเด อร์ 2006; บัวโรส,มาแรมบา&วีลเลอร์,2006;อีวานส์,2006;ป๊ ากเกอร์ &เชา2007) วัตถุประสงค์ของการเรียนนี้จัดให้มีการวิเคราะห์เชิงสารวจทัศนคติของนักศึกษาในการใช้วิกิเป็นการทางานประเมินร่วมกั นในหน่วยของการท่องเที่ยวคาว่า“วิกิ”เป็นคาที่หดสั้นเข้าของคาว่า“วิกิ วิกิ เว็บ” ซึ่งมีต้นกาเนิดมาจากคาพูดของชาวฮาวายวิกิ วิกิ มีความหมายว่ารวดเร็วหรือเร่งรีบ เลย์ฟและคันนิ่งแฮม(2001) ผู้สร้างสรรค์แนวคิดของวิกิ ให้คาจากัดความของวิกิว่ารวบรวมการสื่อสารอย่างเป็นมิตรของการเชื่อมต่อเอกสารแสดงบนเว็บระบบไฮเปอร์เท็กซ์ (การแสดงผลและการดึงข้อมูลที่ผู้ใช้นามาได้โดยไม่ต้องเรียงลาดับ)สาหรับเก็บและปรับปรุงข้อมูลสารสนเทศ-ข้อมูล- ฐาน(ขอบเขตของตัวเลขในการนับ)ซึ่งแต่ละหน้าผู้ใช้จะเพิ่มเติมได้ง่ายโดยมีรูปแบบ- ลูกค้าเว็บเบราเซอร์(โปรแกรมที่ช่วยให้ดูเอกสารHTMLและสื่อต่างๆ)ที่ชานาญ(หน้า14) บทความต่อไปนี้จะนาเสนอความคิดเห็นโดยย่อที่เห็นในเว็บ2.0 เทคโนโลยีและการเกี่ยวพันกับการสอนและการเรียนก่อนที่จะเพ่งความสนใจไปที่การใช้วิกิเป็นเครื่องมือของการพัฒนาคว ามรู้เรื่องการจัดการและความชานาญในการจัดการสารสนเทศ บทความนี้จะไปประเมินจากนักศึกษาว่าเมื่อใช้วิกิแล้วมีผลตอบรับเช่นเดียวกับหน่วยงานท่องเที่ยวที่มหาวิทยาลัยออสเตร เลีย การพัฒนาเทคโนโลยีของเว็บ2.0 เว็บ2.0 ได้รับการเพิ่มความสนใจจากสื่อจานวนมาก โดยเฉพาะการเจริญเติบโตอย่างรวดเร็วของการมีส่วนร่วมในเทคโนโลยีและเครื่องหมายที่มีจุดประสงค์เพื่อการค้า แน่นอนว่าเมื่อมีโปรแกรม“ใหม่”ของเว็บราวกับว่ามีความหมายเว็บ2.0 เสนอการแลกเปลี่ยนหรือการพัฒนาในทางที่สร้างสรรค์แสดงภาพทางหน้าจอคอมพิวเตอร์และแบ่งปันในอินเตอร์เน็ตเว็บ 2.0อนุญาตให้ผู้ใช้มีส่วนร่วมในสารสนเทศ อย่างไรก็ตามพวกเขาสามารถแลกเปลี่ยนวีดิโอในยูทูบ
  • 4. สร้างฐานความรู้ธรรมดาในการใช้วิกิเครือข่ายมายสเปดในเฟซบุ๊กหรือแบ่งความรู้โดยใช้บล็อกระบบงานเว็บ2.0 เช่น ชีวิตที่ 2อนุญาตให้ผู้ใช้มีปฏิกิริยาซึ่งกันและกันในคู่ขนานโลกเสมือนจริงและบางมหาวิทยาลัยมีปฏิกิริยากับการพัฒนาเหล่านี้โด ยจัดตั้งเสมือนจริงในสถานศึกษาในการกาหนดดิจิตอลเหล่านี้ เทคโนโลยีเว็บ2.0อ้างถึงซอฟแวร์ทางสังคมด้วยเหมือนกัน(อาเล็กซานเดอร์ 2006) ตามที่บอย์ด(2003)ระบุว่าซอฟแวร์ทางสังคมมีลักษณะ3ชนิด:  สนับสนุนการพูดคุยในการมีปฏิกิริยาระหว่างส่วนบุคคลหรือกลุ่มที่จัดเรียงลาดับจากเวลาจริงเตรียมส่งข้อความ ไปถึงทีมงานที่ทางานร่วมกันโดยไม่ประสานจังหวะในพื้นที่ว่าง  สนับสนุนสาหรับข้อมูลที่สะท้อนกลับมาในสังคมที่อนุญาตให้กลุ่มโต้ตอบไปยังผู้สนับสนุนกลุ่มที่แตกต่าง  สนับสนุนเครือข่ายสังคมอย่างเปิดเผยสร้างและจัดการกับการใช้ดิจิตอลของคนที่มีความสัมพันธ์กันและช่วยพว กเขาสร้างความสัมพันธ์ใหม่ๆ จากทัศนวิสัยในการออกแบบสารสนเทศอาเล็กซานเดอร์(2006)แนะนาว่า เทคโนโลยีเว็บ2.0 แยกมาจากหน้าการเปรียบเทียบเพราะสารสนเทศยืนยันอยู่ในบล็อก (ข้อมูลที่รวมเข้าด้วยกันเพื่อความสะดวก)ของความจุที่เรียกว่าความจุขนาดเล็ก เขาสังเกตว่า”บล็อกเป็นที่ใส่ข้อมูลเข้าเก็บไม่ใช่หน้าหนังสือ วิกิเป็นกระแสแสดงความคิดเห็นของคาถามคาตอบการแก้ไขการปรับปรุงและตัดข้อความ พอดเคสเป็นการเดินทางไปกลับระหว่างเว็บไซด์การป้ อนอาร์เอสเอสและผู้เล่นที่หลากหลาย(หน้า33) ความจุขนาดเล็กสามารถรักษาได้ง่ายสรุป,ดัดแปลง,คัดลอกการยกข้อความของผู้อื่นมาอ้าง, เชื่อมต่อและการสร้างความรู้ใหม่ เทปสก็อตต์และวิลเลียม(2006)อธิบายว่าเว็บ2.0ก่อตั้งให้เป็นเว็บพื้นฐานของชุมชนได้อย่างไร ซึ่งมีการทางานร่วมกันจานวนมากอาจเป็นไปได้ว่าระหว่างบุคคลที่กระจัดกระจายกันตามภูมิศาสตร์ ผู้สร้าง เพิ่มตัด หรือเปลี่ยนแปลงข้อมูล มีผลกระทบจากทุกสิ่งทุกอย่างจากโครงการของมนุษย์ไปยังสื่อมวลชนระหว่างประเทศพวกเขายกตัวอย่างว่า บางบริษัทมีกิจกรรมเทคโนโลยีเว็บ2.0อย่างกล้าหาญเพื่อขับเคลื่อนให้ประสบความสาเร็จและมีสิ่งใหม่ๆ เหตุการณ์ที่สามารถรับรู้ได้ด้วยประสาทสัมผัสและพิสูจน์ทางวิทยาศาสตร์ได้ ซึ่งพวกเขาเรียกว่าวิกิ-โนมิคส์ ซึ่งพื้นฐานมาจากหลักรอบๆที่จาเป็นยิ่ง4ประการคือความเปิดเผย มองดู แบ่งปัน การแสดงทั่วโลก เป็นความจริงที่ว่าเทคโนโลยีเหล่านี้จะกระตือรือร้นที่จะรวมเข้าด้วยกันโดยส่วนมากจะประสบผลสาเร็จเป็น “การใช้คุ้มค่าแบบใหม่”บริษัทแนะนาว่า มหาวิทยาลัยต้องการมีบทบาทกระตือรือล้นในการเตรียมผู้สาเร็จการศึกษาสาหรับการจ้างงานในการใช้อย่างคุ้ มค่าแบบใหม่
  • 5. ความพอใจในความสะดวกของเว็บ2.0 สามารถควบคุมและมีอิทธิพลพัวพันกับการสอนในห้องเรียนและการเรียนรู้แต่ละคนบางความเห็นแนะนาว่า นักศึกษาที่ยังอ่อนหัดจะกลายเป็นผู้ใช้ที่ย้อนกลับของซอฟแวร์ในสังคมและคาดหวังว่าเครื่องมือนี้จะทาให้มีควา มสะดวกขึ้นในปฏิกิริยาทางการศึกษาที่จัดให้มีและลูกจ้าง (อีวานส์,2006) นี่มีความหมายว่าหากนักศึกษาต้องการอ่านบล็อกของมหาวิทยาลัยและใช้เทคโนโลยีร่วมกัน เช่นวิกิที่สร้างและแบ่งปันความรู้ อย่างไรก็ตามคอลลิสและมูเน็น(2008)เตือนว่าระบบงานเว็บ 2.0จะเห็นได้เมื่อเพิ่มคุณภาพในกระบวนการสอนเพื่อเครื่องมือและกระบวนการนี้จะกลับเป็นสิ่งที่ตรึงในวิธีปฏิบั ติของการศึกษาที่สูงขึ้นไป วิกิส์ วิกิส์เป็นเว็บไซด์ที่สร้างขึ้นเต็มที่เพื่ออนุญาตให้ผู้ใช้เข้าเยี่ยมชม อ่านทักทาย และทาให้โครงสร้างทันสมัย และความจุที่เหมาะสม(ออการ์,ไรท์แมน,&เชาว์2004) แม้ว่าผู้เขียนหลายคนจะสร้างและทาให้วิกิทันสมัยจนเลยเวลาทางานปรกติส่วนประกอบค่อยๆเพิ่มขึ้น เริ่มต้นที่จะนาเสนอเพื่อแบ่งปันความรู้หรือเชื่อมั่นการสนับสนุน การเปิดแหล่งการใช้บริการออนไลน์สารานุกรมวิกิพีเดียบางทีจะเป็นตัวอย่างที่ดีที่สุดของวิกิ โดยทั่วไปวิกิส์แบ่งปันพื้นฐานของคุณลักษณะต่อไปนี้  วิกิส์ส่วนมากไม่มีการจากัดอนุญาตให้ใครก็ได้อ่านแก้ไขปรับปรุงจัดตั้งหรือแม้แต่จะลบจนพอใจ ระบบนี้เป็นการควบคุมตัวเองมีสมาชิกที่ช่วยเหลือ เมื่ออ่านเรียบร้อยแล้วจะแก้ไขข้อผิดพลาดให้ถูกต้องและปรับปรุงจนเป็นที่พอใจ อย่างไรก็ตามในการศึกษาวิกิส์สามารถจากัดเป็นกลุ่มเล็กของผู้สนับสนุน(ดัฟฟี่ &บรันส์ 2006,เชฟเฟอร์ด,บิสชอฟ, เบเกอร์์, ดรูเบอร์,ไฮเซนซอสเซอร์,& เชฟเฟอร์ด2006)  วิกิส์อนุญาตให้ทีมที่กระจายเขียนและเพิ่ม/ตัด เปลี่ยนแปลงข้อมูลในอินเตอร์เน็ตและการแบ่งปันข้อมูลในงานที่ว่าง(มิโนชา&โทมัส2007) ความพอใจจะสร้างจากที่ไหนก็ได้ในโลกนี้ผ่านเว็บที่ง่าย ทาให้ไม่จาเป็นที่ต้องใช้ซอฟแวร์เพิ่มเติมหรือเว็บมาสเตอร์บุคคลที่3(เชฟเฟอร์ด2006,สจ๊วต ,คลาร์ก,คอสซาริน&รูดอล์ฟ2004)  ความพอใจปรกติจะสร้างโดยการใช้การจัดรูปแบบสาระสาคัญอย่างง่าย ทาให้ง่าย โดยผู้ใช้โดยผู้ใช้ไม่ต้องใช้เทคนิคเพื่อให้กระจาย เทคโนโลยีวิกิบางอย่างใช้ WYSIWYG ตัวเชื่อมประสานกับทูลบาร์ สามารถย้ายรายละเอียดความรู้เกี่ยวกับเทคนิคออกไปตามความต้องการ (ดัฟฟี่ &บรันส์2006,อีเบอร์บาส,กลาเซอร์ &ไฮล์ 2006,เชฟเฟอร์ด2006)  การเปลี่ยนความพอใจเป็นเอกสารและเก็บรักษาไว้ในเวลาเดียวกับการแก้ไขปรับปรุงทาได้ อนุญาตให้ผู้ใช้ทบทวนและหันกลับไปทาแบบเดิมในตอนต้นของเวอร์ชั่นของหน้านั้น
  • 6. สามารถทาให้ทางเดินเปลี่ยนโดยผู้ใช้มากในสมัยก่อน หน้าที่ทาอย่างรอบคอบ แต่ทาลายสาธารณสมบัติของแผ่นดินหรือลบทิ้งสามารถกลับไปสู่เวอร์ชั่นเดิมและทาได้ง่าย(ดัฟฟี่ & บรันส์ 2006,อีเบอร์บาส 2006,เชฟเฟอร์ด 2006)  หน้าในวิกิปรกติจะเชื่อมต่อซึ่งกันและกันอนุญาตสาหรับการเชื่อมต่อโดยเนื้อแท้ ระหว่างพื้นที่ความจุหลากหลาย (เชฟเฟอร์ด2006) ความคิดที่บังคับเช่นเดียวกับความสัมพันธ์ระหว่างหน้า ดังเช่นการสร้างเครือขายหัวข้อที่เกี่ยวข้องระหว่างกัน(ดัฟฟี่&บรันส์2006,อีเบอร์บาส2006)  วิกิมีเรื่องเกี่ยวกับอวกาศมากกว่าโครงสร้างชั่วคราว เพราะว่าการเปลี่ยนเจ้าของไม่เป็นไปตามระยะเวลา แต่ตามการพัฒนาความสัมพันธ์ระหว่างการเชื่อมโยงความพอใจ(ดัฟฟี่ &บรันส์2006)  วิกิจัดไห้มีที่ว่างซึ่งความรู้เป็นเครือข่ายและข้อความที่ขยายคาหลัก แต่ยังคงเหลือสิ่งที่ไม่ยั่งยืน มันเปลี่ยนและสามารถเปลี่ยนและเป็นสื่อกลางของชุมชน(ดัฟฟี่ & บรันส์ 2006)  ความพอใจที่จะส่งข้อความทางอีเล็คทรอนิคทันที กาจัดความต้องการกระจายสาหรับการร่วมงานกับความเสี่ยงการระบาดของไวรัส(สจ๊วต2004)  การประกอบกันของหน่วยย่อยแต่ละหน่วยหมายความว่าวิกิ สามารถทาให้ง่าย หรือซับซ้อนตามความต้องการของผู้ใช้ และระดับที่ชานาญ(สจ๊วต2004) ชัยชนะของความซับซ้อน วิกิส่วนมากจะเสนอรูปแบบที่เรียบง่ายเต็มรูปแบบและหัวข้อสาหรับคนหาในหน้าวิกิ(อีเบอร์บาส 2006) หน้าวิกิสามรถเชื่อมต่อกันและจัดตามที่ต้องการ เพราะไม่มีโครงสร้างที่ไม่เป็นธรรมชาติเขียนแบบไม่ยืดหยุ่นในเทคโนโลยีวิกิ(ดัฟฟี่ &บรันส์2006) วิกิจัดทาแบบการจัดการความรู้ที่มีความยืดหยุ่นสูงมีที่ว่างเพื่อสนับสนุนการอยู่ร่วมกันหรือ “กระบวนการเรียนรู้จากการรวมตัวกัน“ขั้นตอนที่คน2 คนหรือมากกว่านั้นสามารถเข้าใจอย่างลึกซึ้ง ที่ไม่ได้เข้าใจเพียงคนเดียว(ลันด์&สมอเดล2006)การออกแบบมีความคิดที่จะให้มีความเสมอภาคกัน ในความคิดที่ว่าผู้ใช้ทุกคนสามารถที่จะใช้เช่นเดียวกับผู้ใช้คนอื่น(คาร์รอลล์กัสเดลฮอลโลเวย์ – แอตต้าเวย์,ริค&วอคเกอร์ 2002)วิกิส์กลับเพิ่มขึ้นในองค์การซึ่งพวกเขาสามารถใช้ขอบเขตของความร่วมมือกัน (บีน &ฮอท 2005)เคอร์นี่ 2008 ทานายว่าบริษัทในสหรัฐอเมริกาครึ่งหนึ่งมีวิกิในปลายปี 2009 ใช้วิกิส์ในการสอนและการเรียน ดัฟฟี่&บรันส์(2006หน้า1)เรียกร้องว่า “การพัฒนาอย่างรวดเร็วของดิจิตอลเทคโนโลยีและการที่พวกเขาใช้ในการศึกษาตามความสามารถส่วนบุคคลที่ จะมีปฏิกิริยากับการศึกษาในกลุ่มคอมพิวเตอร์ในการเรียนใหม่ที่หาความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อ
  • 7. ม” ความคิดเห็นนี้สนับสนุนโดยรีนโฮลด์(2006หน้า47) ผู้ที่สังเกตว่าความคิดในการใช้เทคโนโลยีและสื่ออีเล็คทรอนิกที่มีส่วนเสริมโลกที่แท้จริงห้องเรียนสิ่งแวดล้อมปัจจุ บันที่ได้รับการเปลี่ยนจากความคิดที่ได้มาที่หลังซึ่งเป็นส่วนประกอบสาคัญที่ได้มาจากการสอน แม้ว่าความกระตือรือร้นเรื่องดิจิตอลเทคโนโลยี ตามความจริงว่าวิกิออกมาเป็นเวลา10 ปีแล้วเขาใช้เกี่ยวกับการเรียนการสอนที่เป็นวิชาการ(อีวานส์2006เชฟเฟอร์ด2006) การทบทวนวรรณกรรมชี้ว่าวิกิส์ใช้ค้นหาการสอนต่างๆและเรียนระบบงาน ขณะที่วิกิส์ สามารถใช้เช่นเดียวกับแหล่งที่มาที่จะได้รับสารสนเทศและความรู้ พวกเขาจัดให้มีวิธีที่ทาเหมือนร่วมมือกันอนุญาตให้นักศึกษาแบ่งปันสารสนเทศในโครงการกลุ่ม การริเริ่มของวิกิสามารถช่วยนักศึกษาพัฒนาความสามารถที่จะร่วมงานกันและสร้างสรรค์ความรู้ มากกว่าดึงดูดความสนใจโดยง่าย(โครนิน2009)ดังนั้น วิกิส์จึงอนุญาตให้นักศึกษาเข้าร่วมในการเรียนซึ่งกันและกัน การใช้เทคโนโลยีเช่นเดียวกับการเข้าร่วมเสมือนสิ่งแวดล้อมที่จะสร้างความรู้ให้พวกเขา(บัวลอส2006) อย่างไรก็ดีการศึกษาใหม่ของนักศึกษาปีที่1ที่มีความชานาญด้านเทคโนโลยีพบว่า 81.6%ของนักศึกษาไม่เคยใช้วิกิมาก่อนเข้ามหาวิทยาลัย (เคนเนดี้,จูดด์,เชิชวาร์ด,เกรย์,2008) ในการเรียนที่เตรียมไว้ วิกิจัดให้มีการทางานร่วมกัน ที่สามารถแสดงเอกสารทางออนไลน์โดยปราศจากค่าใช้จ่ายสูงจากการทางานด้านความรู้ของเอชทีเอ็มแอล บอล์ด 2006)ความชานาญของผู้ใช้ทาให้ต้องการความชานาญด้านเทคโนโลยีน้อยลงต้องการใช้วิกิ อนุญาตให้ผู้ใช้มีศูนย์รวมบนสารสนเทศและการทางานร่วมกันด้วยตนเองซึ่งจะได้รับอุปสรรค2-3อย่าง ความสามารถในการสร้าง ตัดแต่งหรือต่อเติมในคอมพิวเตอร์และปรับปรุงโครงสร้างพื้นฐานของเว็บอนุญาตให้นักศึกษานาเสนอข้อมูลมากกว่าการจั ดรูปแบบโดยไม่ประสานเครื่องมือการเรียนรู้เช่นการแสดงความเห็นในคณะกรรมการและการบล๊อค(ชอย & นจ 2007) ผู้ที่เริ่มใหม่ ความแตกต่างระหว่างวิกิและเว็บ2.0ทั่วไปอื่นๆ ในห้องเรียนเทคโนโลยีเช่นบล็อกดูเหมือนว่าไม่ชัดเจน ขณะที่วิกิสามารถสร้างโดยแต่ละคนมากมาย การบล็อกเป็นการเขียนบันทึกอีเล็คทรอนิคโดยบุคคลคนเดียวและบุคคลอื่นเป็นผู้วิจารณ์ บล็อกมีประโยชน์ในการเรียน ซึ่งมีคนน้อยต้องการมีปฏิกิริยาในขณะที่วิกิดีกว่าเมื่อนักศึกษามากมายต้องการทางานผ่านความสาเร็จมาตรฐาน (สตาช์เมอร์ 2006) โครงสร้างที่ไม่ซับซ้อนของวิกิส์ยอมให้นักศึกษาทาการเชื่อมต่อใหม่ระหว่างความคิดเห็นต่างๆ ในขณะที่ความสามารถในการใช้สื่อต่างๆในการสื่อสารจัดเตรียมขอบข่ายของการใช้ให้ใหญ่กว่าสาหรับการถ่ายทอดผ่านง านในรูปแบบที่หลากหลาย(แมคเปอร์สัน2006) จากความคิดเห็นตามกฎ ปาคเกอร์และเชาว์(2007)แนะนาว่า การใช้วิกิส์ปรากฏว่าได้รับการสนับสนุนอย่างดีพิเศษโดยการเรียน2แบบ แบบการมีส่วนร่วมและแบบการสร้างสังคม
  • 8. การเรียนแบบมีส่วนร่วม มีฐานมาจากความคิดในการทางานของนักศึกษาในกลุ่มที่แตกต่างกันอย่างสิ้นเชิงโดยสนับสนุนการเรียนของแต่ละคน (ปากเกอร์ &เชาว์2007) การใช้วิกิส์ในการประเมินเครื่องมือมีศักยภาพที่จะชนะบางปัญหาของผู้ร่วมงานซึ่งสืบทอดการเรียนรู้ที่จะทางานร่วมกัน ในขณะที่จานวนมากเขียนประโยชน์ของกลุ่มงานกลุ่มที่ทางานตามจารีตประเพณีสร้างความท้าทายสาหรับนักศึกษา เหตูการณ์ที่เกิดขึ้นในสังคมที่ปล่อยเวลาไปเรื่อยๆในกลุ่มบางเวลายากสาหรับสถาบันที่จะตรวจตราและนักศึกษาจะรู้สึกว่ า อยากจะช่วยเหลือมากกว่าตามสมาชิกในกลุ่มจะพัฒนาได้อย่างรวดเร็วไปยังกลุ่มประเมิน(ลูค่า&แมคลอร์ดลิน2005) “ประโยชน์ที่สาคัญมากของวิกิส์อยู่ที่นักศึกษาแต่ละคนที่จะช่วยเหลือสามารถแสดงความคิดโดยใช้ปฏิบัติงานหน้าประวัติ ศาสตร์ และสิ่งนี้เป็นประโยชน์มากในการจัดการและการทางานเป็นทีมง่ายขึ้น(อัลกอร์ท,สมิท&ทูแลนด์2008,มิโนชา & โทมัส 2007) การเรียนแบบการสร้างที่มีประโยชน์ ความคิดในการเรียนเหมือนขั้นตอนของกิจกรรมซึ่งผู้เรียนมีส่วนร่วมในการสร้างความรู้และความเข้าใจ(บัวลอส 2006,โจนัสเซนพีค &วิลสัน1999) นี่คือความแตกต่างของประเพณีเข้าไปยังการสอนของมหาวิทยาลัยที่ว่า ไว้ใจในการโอนสารสนเทศจากสถาบันไปยังนักศึกษาการทบทวนการสร้างสังคมการเรียนรู้เป็นการเรียนที่เกิดขึ้นอีก การอ้างอิงตนเอง กระบวนการที่ผู้เรียนมีปฏิกิริยากับสิ่งแวดล้อม เลือกและการเปลี่ยนแปลงสารสนเทศและสร้างความรู้ของตนเอง(ปาคเกอร์&เชาว์2007รีนโฮล2006) การสร้างแบบที่มีประโยชน์ ในช่วงเวลา 10 ปีที่ผ่านมา การขยายขอบเขตห่างไกลจากศูนย์รวมของประเพณีในการเรียนของแต่ละคนที่จะทางานร่วมกันและระดับการเรียนรู้ของสั งคม (บรันส์ & ฮัมฟรีส์ 2005,เชฟเฟอร์ด 2006) ความคิดเห็นในการที่สังคมได้ประโยชน์ ( หรือการใช้ประโยชน์ร่วมกัน ) แนะว่า นักศึกษาและอาจารย์ไม่เพียงแต่เกี่ยวพันในการพัฒนาสารสนเทศของตนแต่มีกิจกรรมที่เกี่ยวกับการสร้างความรู้ที่จะมีปร ะโยชน์ตามหลังนักศึกษา(โฮล์ม2001) เช่นเดียวกับนักศึกษาที่ร่วมกันในวิกิและเรียนที่ขึ้นอยู่กับบุคคลอื่นในการมีผลย้อนกลับ พวกเขากลายเป็นมีผลน้อยในการสร้างและมีความรู้สึกรับผิดชอบเพิ่มขึ้นในการเขียนของพวกเขา (กัทท์ 2007) มีโครงสร้างเป็นเครื่องแสดงว่านักศึกษาชอบที่จะเรียนจากการเรียนร่วมกันโดยมีไอซีทีเป็นสื่อกลางมากกว่าการสื่อสารผ่า นผู้สอน(จอห์นสัน & จอห์นสัน1996) การใช้ไอซีทีเช่นเดียวกับวิกิส์เพิ่มประโยชน์ให้กลุ่มงานและการพึ่งพากันโดยจัดเตรียมการศึกษาสิ่งแวดล้อมที่สามารถทาใ ห้นักศึกษาได้พัฒนาสังคม การอยู่ร่วมกันอย่างมืออาชีพและความชานาญในการมีข้อมูลมาก(ลูค่า &แมคลูทลิน 2005) ดังนั้น จากการเรียนรู้การอยู่ร่วมกันและการสร้างสังคม
  • 9. วิกิส์เสนอศักยภาพสาหรับชัยชนะประเพณีที่ท้าทายในการสอนและการเรียนรู้โดยยอมให้นักศึกษา รวมกันในสิ่งแวดล้อมเสมือนจริงตามเวลาและสถานที่ที่เหมาะสมสาหรับพวกเขา มันเป็นที่เข้าใจได้ง่ายว่าผู้สนับสนุนในปัจจุบันที่เป็นเด็กในสังคมเมืองที่เกิดตั้งแต่ปี 1984 รู้เรื่องคอมพิวเตอร์และอินเตอร์เน็ตเป็นอย่างดียิ่งเพิ่มการบังคับโดยส่งเรื่องให้พิจารณาการว่าจ้างซึ่งไม่นาไปสู่การเผชิญห น้าในกลุ่มที่ประชุมเสมอไป(เคราส์ฮาร์ทเล่ย์เจมส์&แมคอินน์ 2005) นักศึกษาเคลื่อนย้ายได้ง่ายกว่าที่เคยและบ่อยครั้งที่พบว่าพวกเขาทางานมากมาย ทางานนอกเวลาปรกติ หรือสารวจหาระยะทางจากบริเวณสถานศึกษาของพวกเขา(บัวลอส2006) แนวโน้มนี้ชี้ว่าความต้องการเรียนรวมกันอย่างยืดหยุ่นใกล้เข้ามา ซึ่งแต่ละคนสามารถพัฒนาความชานาญตามต้องการ (เรียนตามความต้องการ)และเมื่อเขามีเวลา(เรียนทันเวลา)เหตุการณ์ที่น่าสนใจ การใช้วิกิส์เท่ากับเป็นเครื่องมือการศึกษาที่ปรากฎในปัจจุบันเด็กในสังคมเมืองที่เกิดตั้งแต่ปี 1984 ผู้สนับสนุนนักศึกษาที่โตขึ้นในยุคที่มีสื่อในสิ่งแวดล้อมและยากที่จะเกี่ยวข้องกับการส่งผ่านสื่อ เบนเคนดอร์ฟ (2007)พบว่า นักศึกษาด้านการจัดท่องเที่ยวซึ่งกระตือรือร้นเกี่ยวกับการเรียนที่ยืดหยุ่นได้ให้พวกเขาจัดการเรียนที่ดีกว่าและการทางานที่ มีข้อผูกมัด ขณะที่สังคมที่เต็มไปด้วยความสงบมีความเห็นเกี่ยวกับการเรียนรู้ว่า “เวลาไหนที่ใดก็ได้”เป็นการยากที่บรรลุถึงเป้ าหมายเทคโนโลยีก้าวหน้าเช่น วิกิส์ทาให้การเรียนที่เคลื่อนที่ได้มีความเป็นไปได้ วิกิส์ชัดเจนว่าสามารถก่อให้เกิดการรวมกันของเครือข่ายคอมพิวเตอร์หรือปฎิกิริยาระหว่างนักศึกษาผู้ซึ่งทาให้วิชาภูมิศาส ตร์สลายไป(บอล์ด2006)แต่ขณะที่วิกิส์เทคโนโลยีมีประโยชน์สาหรับการศึกษาที่มีระยะห่าง พวกเขาใส่ใจโยเฉพาะเรื่องที่เกี่ยวข้องกับสิ่งแวดล้อมที่ได้รับจากการรวมเข้าด้วยกันของการเผชิญหน้าหรือการเรียนทางอ อนไลน์ (รีนโฮลด์2006) แม้แต่นักศึกษาผู้ซึ่งสามารถพบกับการเผชิญหน้าได้เป็นปรกติแต่ยังชื่นชมความสะดวกในปัจจัยของวิกิส์(วาสเซลล์เอมิน & วินซ์ 2008) ตามที่บรันส์และฮัมฟรีส์(2005)วิกิส์ยอมให้นักศึกษาได้พัฒนาระดับของความชานาญ รวมทั้งเทคนิคของผู้มีการศึกษา การสร้างส่วนประกอบในสิ่งแวดล้อมดิจิตอลการสร้างการอยู่ร่วมกัน การสร้างมติเอกฉันท์การสร้างความรู้ที่เกิดประโยชน์จากความเข้าใจ ความคิดอย่างมีประสิทธิผลของชุมชนไปยังคนอื่นผ่านเครือข่ายความรู้สภาพแวดล้อม ความชานาญเช่นการทาให้สาเร็จและข้อสรุปความขัดแย้งซึ่งแสดงเป็นนัยในการพัฒนาของวิกิ เพราะเป้ าหมายของการสร้างสรรค์คือการให้กาลังใจสนับสนุนคนให้คนประสบความสาเร็จและแก้ปัญหาความขัดแย้ง เพราะฉะนั้นวิกิส์จะมีความเชื่อถือได้ของโลกที่แท้จริงที่มีความขัดแย้งเรื่องการจัดการ การประนีประนอมและสร้างมติเอกฉันท์ที่ต้องการบ่อยครั้ง(แมคเปียร์สัน2006)
  • 10. ซึ่งแนะนาว่าวิกิส์สามารถพัฒนาแหล่งที่มาและความชานาญที่จาเป็นเพื่อจัดการกับสังคมและการเปลี่ยนเทคนิคในการเรี ยนระยะยาว(โอเวนแกรนท์เซเยอร์ &เฟเซอร์ 2006) ในการพูดคุยอย่างอื่นนักศึกษาเป็นผู้ควบคุมเทคนิคที่เหมาะสมเช่นเดียวกับหลักสูตรของสถาบันการศึกษา(บอล์ด2006) นักศึกษาทางานร่วมกันในวิกิ ความพอใจย้ายผ่านขั้นตอนการวิวัฒนาการซึ่งบัวลอส(2006)เรียกว่าดาวิกินิส กระบวนการสังคมดาวิเนียนต้องการประโยคที่ไม่เหมาะสมและส่วนที่รวบรวมความโหดร้ายแก้ไขปรับปรุงและแทนที่ ผลของการพัฒนาเรื่องที่เกี่ยวข้องกันมีส่วนของคุณภาพสูง มีคาแนะนาว่าขั้นตอนของการสร้างวิกิต้องการนักศึกษาที่เข้าใจและสะท้อนการเรียนรู้เท่าที่มีการทบทวนไม่ใช่เพียงแต่งาน ของตนแต่ต้องดูงานคนอื่นด้วย การกระจายของวิกิทั้งส่วนบุคคลและกิจกรรมที่ทางานร่วมกันที่ต้องการให้นักศึกษาติดตามว่าผู้อื่นกาลังทาอะไร จัดให้มีการเชื่อมต่อระหว่างงานของพวกเขาและและของสมาชิกทีมอื่นและจัดให้มีจุดเริ่มต้นของการสนับสนุนที่เห็นได้ชัดเ จนที่แตกต่างไปจากการสนับสนุนอื่น(รูท&ฮูดตัน2009)ด้วยผลดังกล่าว นักศึกษาไม่ได้เขียนเพื่อครูเท่านั้นแต่ต้องให้เพื่อนด้วย(กัท2007) เพื่อรู้ว่าว่าคนจริงนั้นจะอ่านและบางครั้งอาจโต้ตอบข้อเขียนของเขา เพิ่มที่จะเขียนแรงจูงใจสาหรับนักศึกษาที่จะเพิ่มความกระตือรือร้นมากกว่าและมีการประเมินโดยสมบูรณ์แล้ว (แมคเปียร์สัน2006) เป้ าหมายของการวิจัย การทบทวนวรรณกรรมเมื่อไม่นานมานี้ชี้แนะความเจริญของอินเตอร์เน็ตในวิกิระหว่างผู้สอนเมื่อ2-3ปีที่แล้ว อย่างไรก็ตามวรรณกรรมส่วนมากจะรวบรวมความคิดเห็นหรือคาอธิบายและมีการพิจารณาเพื่อจัดให้มีการประเมินผลผลิ ตของผู้ร่วมงานที่ใช้วิกิส์ ขณะที่การพิจารณาหลายอย่างรวมทั้งผลสะท้อนกลับจากนักศึกษา บ่อยครั้งที่ผลสะท้อนกลับนี้น่าสนใจหรืออยู่บนพื้นฐานความสังเกตของผู้วิจัย วัตถุประสงค์ของการศึกษาเรื่องนี้เพื่อเตรียมวิเคราะห์การสารวจทัศนคติของนักศึกษาผู้ใช้วิกิส์เช่นการทางานประเมินร่วม กันในหน่วยของการท่องเที่ยวจุดหมายพิเศษของการศึกษาเรื่องนี้คือ  สารวจความคิดเห็นของนักศึกษาเกี่ยวกับการยืดหยุ่นและความสะดวกของการใช้วิกิส์  ประเมินขอบเขตของวิกิส์ที่สนับสนุนให้มีการเรียนรู้ร่วมกันและผลสะท้อนกลับและ  ประเมินขอบเขตที่วิกิส์สนับสนุนอย่างเป็นธรรมและความเสมอภาคของการทางานเป็นทีม วิธีการ การศึกษาพื้นฐานอยู่ที่การประเมินงานที่ต้องการนักศึกษาทางานเป็นกลุ่ม3หรือ4 คนเพื่อสร้างวิกิในวิชาที่มีจุดศูนย์รวมอยู่ที่การท่องเที่ยวระหว่างประเทศ ข้อมูลจะถูกรวบรวมมาจาก2
  • 11. กลุ่มย่อยลงทะเบียนวิชาเดียวกันในปีต่างๆ ปี2007 เพื่อนประกอบด้วยนักศึกษา15 กลุ่มขณะที่ปี 2008เพื่อนนักศึกษา 12กลุ่มวิกิได้เชื่อม2 กลุ่มอื่นที่การประเมินต่างกันในหน่วยเดียวกัน วิกิจะสรุป”จุดมุ่งหมายของประวัติย่อ”เสนอสมาชิกในทีมโดยถือเป็นประเพณีที่ใช้เวลา30นาทีนาเสนอรูปแบบในชั้นเรียน หลายกลุ่มใช้วิกิเป็นเครื่องมือเป็นเครื่องมือในการวางแผนสาหรับนาเสนอในชั้น ถึงแม้ว่าจะม่ใช่จุดประสงค์หลักของงาน นักศึกษาจะแนะนาว่าในการสอบครั้งสุดท้ายควรจะคาถามเกี่ยวกับวิกิ อาจสร้างตัวกระตุ้นสาหรับนักศึกษาเพื่อเยี่ยมวิกิส์ในกลุ่มอื่น เพราะว่าตั้งใจให้เป็นข้อสรุป นักศึกษาจากัดไว้ว่าสูงสุดไม่เกิน1,500 คา แต่ส่งเสริมให้เชื่อมข้อมูลแหล่งที่มาของสารสนเทศภายนอก  นักศึกษาใช้วิกิเทคโนโลยีที่จัดเตรียมซอฟแวร์เพื่อสังคมเรียกว่าทีมแอลเอ็กซ์ ซึ่งฝังอยู่ในกระดานการเรียนของมหาวิทยาลัย ทีมแอลเอ็กซ์ยอมรับโครงสร้างการรวมตัวของนักศึกษาเพื่อสร้างการแบ่งปันข้อมูลข้อมูลพื้นฐานภายในหลักสูตร โปรแกรมต่างๆที่ใช้ในคอมพิวเตอร์ ใช้ WYSIWYG ผสมกันและเครื่องมือสาหรับสนับสนุนการสร้างความพอใจ วิกิ การปรับกรุงแก้ไขของวิกิที่ไม่สาคัญคล้ายกับระบบงานที่ให้ผู้ใช้เขียนและแก้ไขข้อความในเอกสารได้แทนพิมพ์ดีดนัก ศึกษายอมให้ใช้สี,ฟอนด์,รูปภาพ, การเชื่อมต่อภายนอกและตาราง โปรแกรมต่างๆที่ใช้ในคอมพิวเตอร์ของทีมแอลเอ็กซ์แยกแยะการช่วยเหลือในระดับบุคคลและแนวทางพัฒนาของกลุ่ มที่มีปฏิกิริยาตอบสนอง ยอมรับการสอนของเจ้าหน้าที่ที่จะประเมินที่จะประเมินนักศึกษาแต่ละคนที่ใส่ข้อมูลลงในคอมพิวเตอร์ในโครงการขอ งกลุ่ม ในปี2008 ผู้สนับสนุนใช้โปรแกรมรุ่นใหม่ของคอมพิวเตอร์เพื่อสร้างวิกิและกระทบกับการเปลี่ยนแปลงนี้เมื่ออภิปรายภายหลังถึง ผลลัพธ์ของมัน การสรุป1 ชั่วโมงในภาคการศึกษาเพื่อชักนาในต้นภาคการศึกษาให้ปรับตัวมาใช้วิกิเทคโนโลยี เทคโนโลยีที่ไม่สาคัญของโปรแกรมต่างๆในคอมพิวเตอร์ของวิกิแนะนาให้นักศึกษาและอธิบายการประเมินอย่างมีเห ตุผล การจัดเตรียมการฝึกอบรมมีข้อจากัดอย่างยุติธรรมที่สมมุติว่ามีส่วนรวมที่เป็นเจ้าของเกี่ยวพันกับความสามารถขั้นสูง ของไอที และไม่ต้องการเทคโนโลยีมากสนับสนุนเพื่อพัฒนาความชานาญในการใช้วิกิ กลุ่มทางานกับวิกิประมาณ8 สัปดาห์ เวลาระหว่างนั้นไม่สามารถมองเห็นสมาชิกอื่นในชั้น เมื่อถึงวันครบกาหนดที่ประเมินผ่านสมาชิกในห้องเรียนที่สามารถมองเห็นสมาชิกวิกิทั้งกลุ่มที่สร้างหน่วยนั้น แต่วิกิไม่เหมาะกับงานสาธารณะทั่วไป การประเมินค่าของการประเมินวิกิจากการสอบถามนักศึกษาให้ตอบแบบสอบถามด้วยตนเองในสัปดาห์สุดท้ายของ ภาคการศึกษา นักศึกษาแนะนาว่าการมีส่วนร่วมควรจะเป็นอาสาสมัครและแน่ใจว่าไม่รู้จักและยอมจานนกับหลักคุณธรรม
  • 12. ไม่ชี้ชัดว่าบุคคลใดจดบันทึกไว้ หน้าแรกของแบบสอบถามรวมถึงคาถามเกี่ยวกับกราฟฟิคและกาหนดไว้ 5 คะแนนสาหรับอัตราส่วนของลิเกิร์ทเพื่อทดสอบนักศึกษาที่โต้ตอบเรื่องการประเมิน บางเรื่องของลิเกิร์ทปรับปรุงมาจากเครื่องมือที่ลูค่าและแมคลูทลินเป็นผู้ใช้ (2005) เพื่อประเมินนักศึกษาที่ใช้บล็อกเหมือนการเรียนรู้เรื่องเครื่องมือร่วมกัน บางเรื่องปรับปรุงมาจากการทางานของฟอร์ทและบรัคแมน(2006) บางเรื่องประกอบด้วยข้อความเกี่ยวกับความสะดวกของการใช้ ความยุติธรรมของการประเมิน การยืดหยุ่นการทางานร่วมกันและการสะท้อนกลับ หน้าที่2 นักศึกษาสามารถถามในคาถามปลายปิดทั้ง3 หน้านักศึกษาควรถามเพื่อชี้ว่าชอบอะไรมากที่สุดและชอบอะไรน้อยที่สุดในการประเมินของวิกิและการประเมินของวิ กิควรแก้ไขอย่างไร สารสนเทศจากแบบสอบถามสถิติมีส่วนเสริมที่ดาเนินการโดยทีมแอลเอกซ์ที่ลงโปรแกรมต่างๆในคอมพิวเตอร์ ตัวอย่างประกอบด้วยนักศึกษาปริญญาตรีปีที่1และปีที่2 ในหน่วยการท่องเที่ยวจานวน78คน(อัตราตอบ 81 % )ตางรางที่1แยกตามประวัติของผู้ตอบ ในตัวอย่างมีนักศึกษาหญิงจานวนมาก แต่เปอรเซนต์ของการเป็นตัวแทนอยู่ในเกณฑ์ธรรมดา(71%เพศหญิง) นักศึกษาส่วนใหญ่เรียนเต็มเวลาและมาจากเด็กในสังคมเมืองที่เกิดระหว่างปี 19821 -2001(สตรัสส์&ฮาวว์1991) ตารางที่ 1 ประวัติย่อของผู้ให้คาตอบ จานวนผู้ตอบ เปอร์เซนต์ เพศ ชาย 17 21.8% หญิง 61 78.2% กลุ่ม 2007 49 62.8% 2008 29 37.2% อายุ(จานวน 77, เฉลี่ย 20) 17-20 45 58.4% 21-25 19 24.7% 26-30 8 10.4% เกิน 30 5 6.5% ลักษณะพิเศษ ประวัติพูดภาษาอังกฤษไม่ได้ 25 32.1% บุคคลแรกในครอบครัวที่เรียนมหาวิทยาลัย 27 34.6% ลงทะเบียนเต็มเวลา 76 97.4% จานวนชั่วโมงที่ทางานด้วยวิกิ (จานวน 68,เฉลี่ย 7.5 ชั่วโมง) 3 ชั่วโมงหรือน้อยกว่า 18 26.5% 4 – 6 ชั่วโมง 15 22.1% 7 - 9 ชั่วโมง 2 2.9% 10 -12 ชั่วโมง 19 27.9%
  • 13. มากกว่า12 ชั่วโมง 14 20.6% ผลลัพธ์และความเห็น นักศึกษาปรับตัวอย่างรวดเร็วในสิ่งแวดล้อมของวิกิและการประเมินงาน ได้รับการสนับสนุนเล็กน้อยให้เดินหน้าตามความต้องการของเจ้าหน้าที่สถาบัน ทีมแอลเอกซ์ที่ใช้โปรแกรมต่างๆสามารถเดินตามแนวความคิดของแต่ละบุคคลในวิกิและบันทึกแต่ละหน้าโดยบันทึกเ ลขที่หน้าและใส่ข้อความที่ปรับปรุงแล้ว ตารางที่2จัดสรุปสถิติของผู้ใช้ตามชั้น ผลลัพธ์ชี้ว่าบางกลุ่มและแต่ละคนเข้าใจความต้องการของงานและโอกาสสาหรับสร้างงานร่วมกัน ค่าสูงสุดและบางพื้นที่มีความหมายชี้ว่ากิจกรรมที่เป็นสาระสาคัญในวิกิที่ตั้งอยู่ในสถานที่ใดๆ เมื่อนักศึกษาเพิ่มความพอใจและเปลี่ยนแปลงเล็กน้อยและปรับปรุงทั้งงานของตนเองและงานของสมาชิกในทีมในเว ลาเกินกว่า 8สัปดาห์ ไม่น่าเชื่อว่าวิกิที่ตั้งอยู่ที่หนึ่งบันทึกได้ 511 หน้า และ 2253ข้อความของเรื่องที่ปรับปรุง โดยเฉลี่ยปรากฏวาการเผยแพร่แต่ละบุคคลประมาณ28%พอใจในวิกิ แต่ที่แตกต่างไม่มีการเผยแพร่ใน1 รายประมาณ88%ที่เป็นที่สูงสุดในที่อื่นการตัดสินใจช้าในหลายๆกลุ่ม แต่ละคนรวบรวมความพอใจจากสมาชิกในกลุ่มทางอี- เมล์และสร้างหน้าวิกิด้วยพวกเขาเองเพราะสมาชิกในกลุ่มไม่มีเทคโนโลยีที่สมบูรณ์ ความชัดเจนไม่ได้ยอมรับสาหรับความรู้ความเข้าใจที่เกิดขึ้นในความคิด ค่าที่น้อยที่สุดในคอลัมน์ คือการชี้ว่าแต่ละบุคคลและทีมไม่เข้าร่วมกับการประเมินงาน จากการสังเกตก็ชัดเจนและทาให้ในที่สุดวิกิในบางกลุ่มก็ถูกพัฒนาเป็นรูปแบบเดียวกัน การวางแผนที่ดีและการนาเสนอที่สวยงามพิสูจน์ว่านักศึกษาทางานเป็นกลุ่มได้ดี ขณะที่วิกิอื่นก็ชัดเจนในผลลัพธ์ที่ไม่พยายามร่วมมือกันก่อหน้านั้น การใช้วิกิรับประกันว่านักศึกษาจะรวมกันทาให้งานสมบูรณ์ ปัญหาที่ชนะโดยการฝังกลุ่มงานในโครงงานของผู้อาศัยที่ทาตัวเป็นครูคิดค้นเพื่อพัฒนาและสนับสนุนทีมงาน การคิดค้นอย่างระมัดระวังจะปรากฏชัดและนักศึกษาต้องการมาตรฐานที่พิสูจน์การรวมกันอย่างแท้จริงและที่มีปฏิกิริ ยาก็มีประโยชน์ด้วยเหมือนกัน ตารางที่ 2 สถิติการใช้วิกิ ------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------ น้อย มาก เฉลี่ย ------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- จานวนหน้า/วิกิ 9 65 22 จานวนหน้ารวมที่เก็บ/วิกิ 29 681 242
  • 14. จานวนข้อความรวมของเรื่องที่ปรับปรุง/วิกิ 89 2253 694 จานวนหน้ารวมเก็บ/แต่ละคน 0 511 65 จานวนข้อความรวมของเรื่องที่ปรับปรุง/แต่ละคน 0 1830 . 191 ความพอใจแต่ละคนต่อวิกิ(%) 0 88 28 ------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- ตารางที่3 จัดสรุปการรับรู้ของนักศึกษาต่อการประเมินวิกิ จุดประสงค์แรกของการศึกษาเรื่องนี้ต้องการสารวจ ทัศนะของนักศึกษาเกี่ยวกับการยืดหยุ่นและความสะดวกในการใช้วิกิ ผลลัพธ์ที่ได้นักศึกษามีความคิดทั่วไปในทางบวกทั้ง 2 กรณีรี้นักศึกษาส่วนมากมีความรู้สึกว่าการประเมินของวิกิดีกว่าการมอบงานด้วยกระดาษที่ทากันมา(ค่าเฉลี่ย =3.97) การประเมินจัดเจนและได้รับการยอมรับ(ค่าเฉลี่ย=4.17)สิ่งเหล่านี้พบว่าสะท้อนกลับจากข้อสังเกตคุณลักษณะเช่นกัน นักศึกษาใช้คาและวลีเพื่อความสะดวกสบายง่ายสนุกสนานส่งผ่านเรียนรู้สิ่งใหม่ๆรวดเร็วและง่าย แตกต่างตื่นเต้น แปลกใหม่ เมื่อถามว่าสิ่งที่ชอบที่สุดในการประเมิน นักศึกษาหลายคนระบุว่าลดการประชุมที่ต้องเผชิญหน้าซึ่งเป็นงานในทางบวกที่สุดนักศึกษาคนหนึ่งระบุว่า “เราสามารถเพิ่มสารสนเทศที่ไหนและเมื่อใดที่เราชอบ” ในขณะที่อีกคนระบุว่า ”ฉันสามารถทางานกับทีมแต่ความเร็วในการทางานของเราเองและไม่ต้องผูกพันในการเผชิญหน้าตลอดเวลา” นักศึกษาส่วนมากรู้สึกว่าเทคโนโลยีใช้ง่ายแต่สองคาประกาศที่เกี่ยวพันกับลักษณะที่นามาแสดง 2รูปแบบการกระจายที่ไม่สาคัญ แนะนาว่านักศึกษาบางคนต่อสู้อย่างชัดแจ้งกับลักษณะของเทคนิค การประเมินเกี่ยวกับคุณลักษณะความคิดเห็นเสนอว่าส่วนใหญ่ของการขัดขวางขึ้นอยู่กับข้อจากัดของชนิดวิกิเทคโนโลยี นักศึกษาหลายคนจากปี 2007สนับสนุนความเห็นที่มีมากชนิดเช่น ช่วยเหลือเรื่องตารางและเบื้องหลังของสีที่เป็นประโยชน์ นักศึกษาพบว่าเป็นการยากในตาแหน่งจินตนาการเพราะโปรแกรมต่างๆที่ใช้ในคอมพิวเตอร์ไม่ยอมรับตาราที่ปกคลุมไปด้ วยจินตนาการ ปี2008สนับสนุนให้ประเมินโดยเพิ่มชนิดใหม่ๆเช่น ตารางและความสามารถในการจัดการที่ดีกว่าแทนที่จินตนาการแต่การเผชิญหน้ากับปัญหาเทคโนโลยีอื่นๆ นักศึกษาบางคนพบว่าวิกิกลายเป็นช้ามากและทาให้สิ้นเปลืองเวลาโดยเฉพาะอย่างยิ่งการเพิ่มรูปภาพมากในที่นี้ นักศึกษาชี้ว่าวิกิไม่สามารถเก็บรักษางานได้เสมอไปข้อจากัดนี้คล้ายกับการรายงานของอัลกอร์ท (2008)ผู้ซึ่งใช้เช่นเดียวกันกับทีมแอลเอกซ์ วิกิเทคโนโลยีมี2กลุ่มของนักศึกษาที่จบแล้ว นักศึกษากลุ่มหนึ่งรายงานว่าการเลือกเช่นเชื่อมโยงและตาแหน่งของรูปภาพและตารางเป็นการจัดรูปแบบ”โกง” ความปรารถนาอย่างอื่นที่ วิกิสร้างการตรวจการสะกดคา ทาให้เข้าใจได้ง่าย นักศึกษาบางคนรู้สึกว่าการขาดชนิดนี้ขัดขวางความสามารถในการสร้างสรรค์คาพูดที่ถ่ายทอดจากการกระทา จุดประสงค์ที่2 ของการเรียนนี้ต้องการประเมินปริมาณการสนับสนุนที่วิกิส์ส่งเสริมให้เรียนรู้ร่วมกันและผลสะท้อนกลับผลลัพธ์ในตารางที่ 2 ชี้แนะว่าบางทีมประสบความสาเร็จมากกว่าในการใช้วิกิเช่นเดียวกับเครื่องมือที่ใช้ร่วมกัน ผลลัพธ์ในตารางที่
  • 15. 3ชี้แนะว่าสนับสนุนคาอธิบายนี้ นักศึกษาหลายคนไม่แน่ใจว่าเกี่ยวกับการช่วยเหลือทีมของวิกิที่จะทาให้ผลิตภัณฑ์ที่ออกมาดีกว่า(ค่าเฉลี่ย =3.29) ในทานองเดียวกันนักศึกษาหลายคนรู้สึกว่าวิกิสนับสนุนเต็มไปด้วยความหมายเป็นการแลกเปลี่ยนของผู้มีปัญญาสูง (ค่าเฉลี่ย=3.05)และสนับสนุนการแลกเปลี่ยนความคิดเห็น(ค่าเฉลี่ย=2.97) แต่มีจานวนมากที่แน่ใจน้อยหรือไม่เห็นด้วยว่านี้คือตัวอย่าง นักศึกษาส่วนใหญ่ชัดเจนว่าไม่มีปัญหากับการแก้ไขปรับปรุงต้นฉบับในงานของผู้อื่นๆ(ค่าเฉลี่ย =3.45)แต่ต้องหมายเหตุว่าเรื่องนี้รวมในแบบสอบถามปี 2008 แต่คุณลักษณะของความคิดเห็นก็ชี้แนะด้วยเหมือนกันว่าขณะที่นักศึกษาชอบการแก้ไขปรับปรุงต้นฉบับในงานของผู้อื่น บางครั้งพวกเขาไม่เห็นคุณค่าที่งานของตนเองถูกเปลี่ยนแปลงเมื่อถามว่าเธอชอบงานอะไรของวิกิน้อยที่สุด นักศึกษาคนหนึ่งกล่าวว่า”ความจริงคนที่เข้ามาและลบเนื้อหาควรจะคงไว้ให้สมบูรณ์ เพราะพวกเขาไม่รู้ว่าจะเป็นอะไรต่อไป”คล้ายกับโคนิน(2009)พบรายงาน ผู้ซึ่งสังเกตว่าบางเวลาวิกิสามารถทาให้ประสบการณ์พบกับความพ่ายแพ้เพราะความพยายามของแต่ละคนที่น้อยลงโดยไ ม่แน่ใจหรือการเขียนเปลี่ยนแปลงที่ด้อยคุณภาพโดยนักศึกษาอื่น อัตราส่วนที่เป็นบวกมากกว่าจะเกี่ยวพันกับเรื่องการแบ่งปันของกลุ่มวิกิ นักศึกษาส่วนมากจะพึงพอใจที่จะดูวิกิของทีมงานอื่นและส่วนมากจะเห็นด้วยกับการแบ่งปันงานให้สาธารณะเพื่อให้มีอิท ธิพลต่อวิธีการประเมินในการตอบคุณสมบัติ นักศึกษาจานวนหนึ่งมีข้อสังเกตว่าสมาชิกของกลุ่มไม่ได้ช่วยเหลือเท่าๆกันหรือหรือบางกลุ่มสมาชิกทิ้งการช่วยเหลือในนา ทีสุดท้าย ความสามารถในการใช้วิกิเป็นเครื่องมือสาหรับการสะท้อนกลับในแต่ละบุคคลและความก้าวหน้าของกลุ่มมีค่ามากในทาง บวก นักศึกษาจานวนมากชอบความสามารถในการชี้ชัดและแก้ไขรายละเอียดที่ผิดพลาดให้ถูกต้อง(ค่าเฉลี่ย=3.60) แต่สิ่งเล็กๆน้อยๆนักศึกษาจานวนมากชี้ว่าวิกิไม่เตือนพวกเขาถึงปัญหาที่สมาชิกกลุ่มอื่นมี(ค่าเฉลี่ย =2.90) บางครั้ง ข้อความแรกเกี่ยวข้องกับคุณภาพขณะที่การจัดการที่2 ขอให้อธิบายอย่างกว้างขวางและปัญหาของสมาชิกในกลุ่มอาจมีประสบการณ์ (เช่น การขาดความสามารถที่จะใช้หรือการเข้าสู่ระบบเทคโนโลยี)เมื่อมีผลสะท้อนบนการเรียนของตนเอง นักศึกษาส่วนใหญ่เห็นด้วยว่าวิกิมีประโยชน์กับการเรียนของพวกเขา จุดประสงค์ที่3 ของการเรียนนี้ต้องการประเมินปริมาณที่วิกิส์ได้รับการสนับสนุนอย่างยุติธรรมและความเท่าเทียมกันของทีมงาน นักศึกษาส่วนใหญ่ยอมรับว่าน้าหนักที่จัดสรรให้การประเมิน(10%)เหมาะสม นักศึกษาส่วนมากกระตือรือร้นที่จะเห็นใช้วิกิในหน่วยอื่น มีความหมายว่าตามความคิดทั่วๆไปของพวกเขาเป็นที่ยอมรับได้จากกลุ่มที่ประเมิน นักศึกษาประมาณครึ่งหนึ่งเห็นด้วยหรือเห็นด้วยอย่างแข็งขันในงานที่ก้าวหน้าอย่างเป็นธรรมและทีมงานที่เหมาะสม
  • 16. น่าสนที่การค้นพบนี้คล้ายกับการเรียนชั้นปริญญาโทในหลักสูตรเทคโนโลยีสารสนเทศ(อัลกอร์ท2008) ถึงแม้ว่าเป็นการง่ายที่จะเดินตามการสนับสนุนของนักศึกษาแต่ละคนและเป็นการรอเวลาสาหรับการประเมินที่ลงโทษสังค มที่ปล่อยเวลาโดยเปล่าประโยชน์ การประเมินปริมาณชี้ว่า นักศึกษาบางคนยังคงขัดขวางโดยการขาดการนาเข้าจากสมาชิกบางกลุ่ม ในกรณีรี้เมื่อทีมอื่นต้องการประเมิน สังคมที่ปล่อยเวลาให้ผ่านไปและเลื่อนการพิสูจน์โดยผู้วิจัยรายอื่น ซึ่งเป็นการท้าทายเมื่อใช้วิกิสาหรับการประเมิน(มิโนชา &โทมัส2007)มิโนชาและโทมัส (2007)พบว่าการทางานร่วมกันบในวิกิชั่วครั้งชั่วคราวและการริเริ่มสิ่งขัดขวางสาหรับนักศึกษาที่รอให้สมาชิกในกลุ่มอื่นช่ว ยเหลือ เรื่องนี้เป็นหลักฐานในสมาชิกกลุ่มเล็กที่มีความคิดเห็นโดยนักศึกษาในการเรียนนี้ เป็นที่แน่ชัดว่า ชนิดของพฤติกรรมกาหนดโอกาสในการพัฒนาที่ทาให้พอใจโดยเนื้อแท้ และการแสดงแกของการประเมิน นักศึกษาหลายคนชี้แนะว่าฐานะการประเมินของวิกิใน เวลาต่างๆกันในภาคการศึกษาอาจเป็นแรงจูงใจให้นักศึกษาร่วมงานกันตั้งแต่แรก ตารางที่ 3 นักศึกษารับรู้การประเมินของวิกิ การให้คาตอบ ไม่เห็นด้วย เป็นกลาง เห็นด้วย ค่าเฉลี่ย พึงพอใจและสะดวกในการใช้ วิกิดีกว่าการมอบหมายงานในทีมด้วยกระดาษ 9 14 55 3.97 ฉันพอใจที่ใช้วิกิในหน่วยนี้ 8 28 42 3.63 เครื่องมือวิกิใช้ง่าย 17 13 48 3.60 ไม่มีปัญหาเทคโนโลยีเมื่อใช้วิกิ 27 13 38 3.23 การยืดหยุ่น วิกิยอมช่วยเหลือฉันในเวลาและสถานที่ที่สะดวกสาหรับฉัน 9 5 64 4.17 วิกิลดความต้องการเผชิญหน้าในกลุ่ม 9 17 51 3.77 การทางานร่วมกัน ฉันได้รับการอานวยความสะดวกเมื่อสมาชิกทีมอื่นมาตรวจงาน 4 9 16 3.45 การใช้วิกิช่วยให้กลุ่มพัฒนาผลิตภัณฑ์ให้ดีขึ้น 13 34 31 3.29 วิกิปรับปรุงระดับจุดมุ่งหมายของผู้มีปัญญาเลิศแลกเปลี่ยนระหว่างสมาชิกในกลุ่มและผู้อื่นในชั้น 20 34 24 3.05 วิกิช่วยสนับสนุนการแสดงความเห็นกับสมาชิกกลุ่มอื่นเกี่ยวกับงานที่ต้องการเมื่อเสร็จการประเมิน 24 31 23 2.97 การแบ่งปัน ฉันชอบดูวิกิของกลุ่มงานอื่น 8 16 53 3.84 ทราบว่าวิกิสามารถเป็นที่พักผ่อนของชั้นเรียนหลังจากวันครบกาหนดที่มีผลกระทบต่อการประเมิน 19 19 40 3.36 สะท้อนความก้าวหน้า วิกิยอมให้ฉันพิสูจน์และแก้ไขรายละเอียดที่ผิดพลาดและปัญหาที่สมาชิกกลุ่มอื่นกระทา 11 20 47 3.60 การใช้วิกิช่วยเหลือการเรียนของฉัน 17 18 43 3.47 วิกิเป็นผู้ยิ่งใหญ่สาหรับแนวทางการทางานเพราะทาให้สมาชิกในกลุ่มก้าวหน้า 14 24 39 3.45 วิกิทาให้ง่ายในแนวทางและการสะท้อนความก้าวหน้า 21 29 28 3.19 วิกิช่วยให้ฉันกระตือรือร้นกับปัญหาที่ผู้อื่นในทีมมี 31 23 24 2.90 ซื่อสัตย์ยุติธรรม
  • 17. การจัดสรรน ้าหนักสาหรับการประเมินของวิกิยุติธรรม 9 16 52 3.81 ฉันชอบที่จะเห็นการใช้วิกิในวิชาอื่นกับกลุ่มงานด้วย 17 17 44 3.56 การใช้วิกิช่วยให้เกิดความเป็นธรรมและทีมงานที่เสมอภาคกัน 15 26 37 3.40 นอกจากนี้การสารวจบางเหตุผลสาหรับขอบเขตของการตอบรับ หมายถึงเครื่องทดสอบที่ควบคุมระหว่างนักศึกษาต่างกลุ่ม การทดสอบสารวจความแตกต่างของนักศึกษาตามเพศอายุ ประวัติด้านภาษาผู้สนับสนุนและจานวนชั่วโมงที่ทางานด้วยวิกิ การให้ตัวอย่างขนาดเล็ก ไม่ใช้ตัวแปรทางสถิติผลชี้ว่า อายุไม่มีส่วนร่วมในความแตกต่างของความสาคัญ ในการจัดระดับมีความแตกต่างที่สาคัญระหว่างนักศึกษาชายและนักศึกษาหญิง ผู้ชายค่อนข้างจะเห็นด้วยว่าวิกิช่วยให้เขามีความกระตือรือร้นในปัญหาที่สมาชิกของทีมอื่นมีอยู่ ค่าเฉลี่ยของผู้ชายคือ 3.41 ขณะที่ค่าเฉลี่ยของผู้หญิงคือ2.75(U=330.0p=.018) ผู้ชายเห็นด้วยมากกว่าที่วิกิสนับสนุนความเห็นของสมาชิกทีมอื่น(ค่าเฉลี่ย =3.53)มากกว่าผู้หญิง(ค่าเฉลี่ย 2.82,U=328.5;p=.016) ความแตกต่างนี้ทาให้เกิดปัญหาแต่ได้ให้ตัวอย่างเล็กๆ ไม่มีคุณภาพที่จะสารวจความแตกต่างการเรียนในอนาคต ตัวอย่าง ส่วนใหญ่ระดับนักศึกษาที่มีประวัติไม่เคยพูดภาษาอังกฤษ(เอ็นอีเอสบี)ไม่ต่างจากส่วนมากที่มีประวัติการพูดภาษาอังกฤษ อย่างไรก็ตามนักศึกษาที่มีประวัติไม่เคยพูดภาษาอังกฤษจะเห็นด้วยน้อยกว่าที่วิกิยอมให้รวมกับทีมงานเวลาใดและที่ไหน ที่สะดวกก็ได้ (นักศึกษาที่มีประวัติไม่พูดภาษาอังกฤษ ค่าเฉลี่ย=3.84,นักศึกษาที่มีประวัติพูดภาษาอังกฤษค่าเฉลี่ย =4.32,U=448.0,p=.012) นี่อาจเป็นไปได้ว่าตามความจริงนักศึกษาที่มีประวัติพูดภาษาอังกฤษ เป็นนักศึกษาระหว่างประเทศซึ่งไม่เคยมีคอมพิวเตอร์ของตนเองที่บ้าน และก่อนหน้านั้นการประเมินอย่างสมบูรณ์ใช้ความสะดวกที่มหาวิทยาลัย มีเพียงอย่างเดียวที่มีความแตกต่างอย่างสาคัญในค่าเฉลี่ยระหว่างกลุ่มคนปี 2007และปี 2008 นักศึกษาปี 2008 กลุ่มคนที่มาไกลมีโอกาสที่ไม่เห็นด้วย(ค่าเฉลี่ย =2.59)กับข้อความที่ว่า”ฉันไม่มีปัญหาเรื่องเทคโนโลยีเมื่อใช้วิกิ” มากกว่ากลุ่มนักศึกษาปี 2007(ค่าเฉลี่ย =3.61,U=431.5;p=.003)นี่คือสิ่งที่น่าสนใจที่พบว่าเครื่องมือวิกิทันสมัยในปี 2007และ2008และนักศึกษาปี 2008มีเครื่องมือระดับที่ยิ่งใหญ่และชนิดสะดวกเมื่อคิดค้นโดยวิกิส์ เมื่อสารวจว่าจานวนชั่วโมงที่นักศึกษาใช้วิกิทางานจะกระทบกับการจัดระดับ นักศึกษาจะแยกเป็น2กลุ่ม คนที่ใช้ชั่วโมงทางานน้อยกว่าค่าเฉลี่ยและคนที่ใช้มากกว่าค่าเฉลี่ยการเปรียบเทียบระหว่าง2กลุ่มนี้นาเสนอในตารางที่4 เป็นที่ชัดเจนว่านักศึกษาผู้ใช้เวลามากกว่าทางานในวิกิส่วนใหญ่จะเห็นด้วยกับข้อความทั้งหมด ยกเว้นข้อความที่ว่า “การจัดสรรน้าหนักในวิกิเป็นธรรม”และ “ฉันรู้สึกว่าได้รับความสะดวกเมื่อสมาชิกทีมอื่นมาตรวจงาน” นักศึกษาผู้ใช้เวลามากกว่ากับวิกิมีความรู้สึกว่าไม่ให้ความสาคัญกับการประเมิน ผลลัพธ์ชี้ว่ามี 6 สาระสาคัญที่แตกต่างกันในนักศึกษา 2 กลุ่ม นักศึกษาที่ใช้เวลาน้อยกว่าในการทางานกับวิกิพบว่าไม่ง่ายที่จะใช้วิกิ นักศึกษาเหล่านี้มีโอกาสน้อยที่จะเห็นด้วยว่า