SlideShare a Scribd company logo
1 of 12
องค์ประกอบของดนตรี
ตัวโน้ตดนตรีหรือสัญลักษณ์ที่ใช้แทนเสียงดนตรี
ตัวโน้ตดนตรีหรือสัญลักษณ์ที่ใช้แทนเสียงดนตรี
(Music Notation)
การอ่านโน้ตดนตรีหรือบทเพลงต่าง ๆ ก็เฉกเช่นเดียวกันกับการอ่านหนังสือโดย
ทั่วไป กล่าวคือผู้เรียนหรือผู้อ่านจะต้องจดจำาสัญลักษณ์หรือพยัญชนะเบื้องต้นที่ใช้ แทน
เสียง เช่น ก,ข,ค,……ฮ. หรือสระต่าง ๆ แล้วจึงนำาสิ่งเหล่านั้นมารวมกันแล้วสะกดเป็นคำา
ๆ จึงจะมีความหมาย ที่เราสามารถใช้เขียนเป็นการแสดงออกถึงความรู้สึกนึกคิดต่าง ๆ
และเป็นการติดต่อสื่อสารกับผู้อื่น
ในทางดนตรีก็เช่นกันความคิดของผู้ประพันธ์เพลง (Composer) ที่แต่งเพลง
ออกมาจะถูกบันทึกไว้ด้วยตัวโน้ตเพื่อให้นักดนตรีได้เล่นและถ่าย ทอดอารมณ์ออกมาให้ผู้
ฟังได้โดยที่นักดนตรีผู้นั้นไม่เคยรู้จักมาก่อนได้ ตัวโน้ตที่ใช้บันทึกในลักษณะต่าง ๆ นั้นจะ
กลายเป็นโสตภาษาของผู้ฟัง
ตัวโน้ตดนตรี
สามารถอธิบายได้ว่า
โน้ตตัวกลม 1 ตัว ได้ตัวขาว 2 ตัว หรือได้ตัวดำา 4 ตัว
โน้ตตัวขาว 1 ตัว ได้ตัวดำา 2 ตัว
โน้ตตัวดำา 1 ตัว ได้ตัวเขบ็ตหนึ่งชั้น 2 ตัว
โน้ตตัวเขบ็ตหนึ่งชั้น 1 ตัว ได้ตัวเขบ็ตสองชั้น 2 ตัว
การที่จะกำาหนดให้ตัวโน้ตหางชี้ขึ้นหรือลงให้ยึดเส้นที่ 3 ของบรรทัด 5 เส้น
(Staff) เป็นหลัก กล่าวคือตัวโน้ตที่คาบอยู่เส้นที่ 3 และตำ่าลงมาหางตัวโน้ตจะต้องชี้ขึ้น
ส่วนโน้ตที่คาบอยู่เส้นที่ 3 หรือสูงขึ้นไปหางตัวโน้ตจะต้องชี้ลง สำาหรับโน้ตที่คาบอยู่เส้น
ที่ 3 เองนั้นหางจะขึ้นหรือลงก็ได้ให้ยึดตัวโน้ตที่อยู่ภายในห้องหรือโน้ตที่อยู่ข้างเคียง
เป็นหลัก ดังตัวอย่าง
ภาพแสดงการกำาหนดหางและชายธง (stem&flag) ของตัวโน้ต
ตัวหยุด หรือเครื่องหมายพักเสียง (Rest)
“การบันทึกตัวหยุดนั้นได้กำาหนดเป็นสัญลักษณ์ เช่นเดียวกันตัวโน้ต ซึ่งโดยทั่วไปเรียกว่า ตัว
”หยุด (Rest) หมายถึง สัญลักษณ์ที่ใช้ในการเงียบเสียงดนตรีหรือเสียงร้องแต่อัตราจังหวะยังคง
ดำาเนินไปตลอด ตัวหยุดจะถูกเขียนลงบนบรรทัด 5 เส้น เช่นเดียวกับตัวโน้ต มีลักษณะต่างกันดังนี้
การเพิ่มอัตราจังหวะตัวโน้ตและตัวหยุด
หมายเหตุ : มีเครื่องหมายอีกลักษณะหนึ่งที่คล้ายกับการโยงเสียง คือเครื่องหมายสเลอ (Slur)เครื่องหมายส
เลอเป็นเส้นโค้งมีไว้สำาหรับเชื่อมกลุ่มตัวโน้ตที่ต่าง ระดับกันหรือคนละเสียงเพียงเพื่อต้องการให้เล่นโน้ตที่มี
เครื่องหมายสเลอนี้ คล่อมอยู่ให้เสียงต่อเนื่องกัน
ระดับเสียง (Pith)
ด้วยการบันทึกโน้ตทางดนตรีเราสามารถทำาให้เราทราบถึงระดับเสียง (Pith) หรือความแตกต่างของ
เสียงที่แน่นอนได้ ในการบันทึกเสียงโดยใช้บรรทัด 5 เส้น (Staff) ซึ่งจะแสดงให้เห็นความสูงตำ่าของเสียง
ชัดเจน โดยการวางตัวโน้ตต่าง ๆ ไว้บนบรรทัด 5 เส้น ซึ่งประกอบด้วย เส้น 5 เส้น 4 ช่อง ดังนี้
ภาพแสดงบรรทัด 5 เส้น (Staff)จากบรรทัด 5 เส้น (Staff) ข้างต้นซึ่งหมายถึงเส้นตรง 5 เส้น ที่ลาก
–ขนานกันในแนวนอนเราสามารถจำาแนกระดับเสียงสูง ตำ่า ได้อย่างเป็นรูปธรรมได้ดังนี้
จากข้างต้นเราจะเห็นว่ามีตัวโน้ตที่บันทึกอยู่บนบรรทัด 5 เสียงมีเพียง 11 ตัวโน้ตหรือ 11เสียงเท่านั้น แต่
ความเป็นจริงแล้วผู้ประพันธ์เพลงหรือคีตกวีต่าง ๆ ได้เขียนเพลงซึ่งต้องมีระดับเสียงที่สูงหรือตำ่ากว่าโน้ตทั้ง
11 ตัวดังกล่าวแน่นอน เพื่อให้การบันทึกเสียงตัวโน้ตดนตรีได้เป็นไปตามความต้องการของผู้ประพันธ์ เพลง
“ ”ก็จึงได้มีการคิดวิธีการที่จะทำาให้การบันทึกโน้ตได้มากขึ้นจึงใช้ เส้นน้อย (ledger line) มาบันทึกโดยวิธี
–การขีดเส้นตรงทับตัวโน้ตและให้ตัวโน้ตอยู่ระหว่างช่องจึงทำา ให้เสียงนั้นสูง ตำ่าได้ตามต้องการ
กุญแจประจำาหลัก (Clef)
กุญแจประจำาหลัก (Clef) ถือว่าเป็นเครื่องหมายทางดนตรีที่สำาคัญ เพื่อใช้ในการกำาหนดหรือบงชี้ว่าตัวโน้ตแต่ละตัวมีชื่อ
เรียกว่าอย่างไร
1) กุญแจซอลเป็นเครื่องหมายประจำาหลักที่ใช้กันมากสำาหรับบันทึกระดับเสียงของเครื่องดนตรีหรือเสียงร้องที่มีระดับกลาง
“ ”ถึงสูง ภาษาอังกฤษเรียก จี เคลฟ (G Clef) “ ”หรือ เทร็บเบิ้ล เครฟ (Treble Clef) “ ”โดยทั่วไปเรียกว่า กุญแจซอล
ในการเขียนกุญแจซอลบันทึกโดยหัวกุญแจให้คาบเส้นที่ 2 ของบรรทัด 5 เส้น โน้ตทุกตัวที่คาบอยู่บนเส้นที่ 2 ของ
บรรทัด 5 “ ”เส้น จะมีเสียงเดียวกับชื่อกุญแจคือ ซอล ดังตัวอย่าง
โดยปกติแล้วในทางดนตรีได้มีนักปราชญ์ทางดนตรีได้กำาหนดชื่อเรียก ระดับเสียงตัวโน้ตและได้ถือปฏิบัติสืบเนื่องกันต่อ
มาจนถึงปัจจุบัน โดยจัดเรียงจากระดับเสียงตำ่าไปหาสูง 7 เสียงดังนี้ C D E F G A B C ไม่ว่าระดับเสียงจะสูงหรือตำ่าก็
คงมีชื่อกำากับเพียง 7 เสียงหลัก ๆ เท่านั้น เพียงแต่การบันทึกโน้ตลงบนบรรทัด 5 เส้น เสียงที่เรียกชื่อเหมือนกัน แต่
“ ”ระดับเสียงต่างกันเรียกว่ามีระยะขั้นคู่แปดระดับเสียงที่ต่างกันเราเรียก ว่า อ๊อคเทฟ (Octave)
2) กุญแจฟาเป็นเครื่องหมายประจำาหลักที่ใช้กันมากสำาหรับบันทึกระดับเสียงของเครื่องดนตรีหรือเสียงร้องที่มีระดับ
“ ”ตำ่า ภาษาอังกฤษเรียก เอฟ เคลฟ (F Clef) “ ”หรือ เบส เครฟ (Bass Clef) “ ”โดยทั่ว ๆ ไปมักเรียกว่า กุญแจฟา
ในการเขียนกุญแจฟาเขียนโดยหัวกุญแจให้คาบเส้นที่ 4 ของบรรทัด 5เส้น โน้ตทุกตัวที่คาบอยู่บนเส้นที่ 4 ของ
บรรทัด 5 “ ”เส้น จะมีเสียงเดียวกับชื่อกุญแจคือ ฟา ดังตัวอย่าง

More Related Content

What's hot

ใบความรู้ สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 2+443+dltvsocp3+T2 p1 3-sheet
ใบความรู้  สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 2+443+dltvsocp3+T2 p1 3-sheetใบความรู้  สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 2+443+dltvsocp3+T2 p1 3-sheet
ใบความรู้ สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 2+443+dltvsocp3+T2 p1 3-sheetPrachoom Rangkasikorn
 
การประยุกต์ใช้ดนตรีในงานอื่นๆ
การประยุกต์ใช้ดนตรีในงานอื่นๆการประยุกต์ใช้ดนตรีในงานอื่นๆ
การประยุกต์ใช้ดนตรีในงานอื่นๆleemeanshun minzstar
 
สรุปเนื้อหาภาษาไทย..ม.ต้น
สรุปเนื้อหาภาษาไทย..ม.ต้นสรุปเนื้อหาภาษาไทย..ม.ต้น
สรุปเนื้อหาภาษาไทย..ม.ต้นTook Took Rachataporn
 
การประยุกต์ดนตรีไทยและดนตรีสากล
การประยุกต์ดนตรีไทยและดนตรีสากลการประยุกต์ดนตรีไทยและดนตรีสากล
การประยุกต์ดนตรีไทยและดนตรีสากลThanakrit Muangjun
 
โครงงานปลาร้าสมุนไพร
โครงงานปลาร้าสมุนไพรโครงงานปลาร้าสมุนไพร
โครงงานปลาร้าสมุนไพรChok Ke
 
การบ้านป.1
การบ้านป.1การบ้านป.1
การบ้านป.1krumolticha
 
วิธีการสร้างคำในภาษาไทย
วิธีการสร้างคำในภาษาไทย วิธีการสร้างคำในภาษาไทย
วิธีการสร้างคำในภาษาไทย rattasath
 
ธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาkingkarn somchit
 
ลักษณะเด่นของดนตรีในแต่ละวัฒนธรรม
ลักษณะเด่นของดนตรีในแต่ละวัฒนธรรมลักษณะเด่นของดนตรีในแต่ละวัฒนธรรม
ลักษณะเด่นของดนตรีในแต่ละวัฒนธรรมอำนาจ ศรีทิม
 
ความพกพร่องทางการพูดและภาษา
ความพกพร่องทางการพูดและภาษาความพกพร่องทางการพูดและภาษา
ความพกพร่องทางการพูดและภาษาguesta3f6cb
 
แบบทดสอบอาเซียน 30 ข้อ
แบบทดสอบอาเซียน 30 ข้อแบบทดสอบอาเซียน 30 ข้อ
แบบทดสอบอาเซียน 30 ข้อKruthai Kidsdee
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 ศ 32101 วิชาดนตรี ม.5 ครูอภิชิต กลีบม่วง
แผนการจัดการเรียนรู้ที่  1 ศ 32101 วิชาดนตรี ม.5  ครูอภิชิต กลีบม่วงแผนการจัดการเรียนรู้ที่  1 ศ 32101 วิชาดนตรี ม.5  ครูอภิชิต กลีบม่วง
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 ศ 32101 วิชาดนตรี ม.5 ครูอภิชิต กลีบม่วงอภิชิต กลีบม่วง
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 7 เรื่อง โน้ตสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 7 เรื่อง โน้ตสากลใบความรู้ที่ 1 บทที่ 7 เรื่อง โน้ตสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 7 เรื่อง โน้ตสากลsangkeetwittaya stourajini
 
คำอธิบายรายวิชาดนตรี นาฎศิลป์ ม.4
คำอธิบายรายวิชาดนตรี   นาฎศิลป์ ม.4 คำอธิบายรายวิชาดนตรี   นาฎศิลป์ ม.4
คำอธิบายรายวิชาดนตรี นาฎศิลป์ ม.4 อำนาจ ศรีทิม
 
ดนตรีสากล
ดนตรีสากลดนตรีสากล
ดนตรีสากลTua Acoustic
 

What's hot (20)

ใบงานการร้องเพลง ม.1
ใบงานการร้องเพลง ม.1ใบงานการร้องเพลง ม.1
ใบงานการร้องเพลง ม.1
 
ใบความรู้ สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 2+443+dltvsocp3+T2 p1 3-sheet
ใบความรู้  สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 2+443+dltvsocp3+T2 p1 3-sheetใบความรู้  สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 2+443+dltvsocp3+T2 p1 3-sheet
ใบความรู้ สังคม ป.1-3 ภาคเรียนที่ 2+443+dltvsocp3+T2 p1 3-sheet
 
การประยุกต์ใช้ดนตรีในงานอื่นๆ
การประยุกต์ใช้ดนตรีในงานอื่นๆการประยุกต์ใช้ดนตรีในงานอื่นๆ
การประยุกต์ใช้ดนตรีในงานอื่นๆ
 
สรุปเนื้อหาภาษาไทย..ม.ต้น
สรุปเนื้อหาภาษาไทย..ม.ต้นสรุปเนื้อหาภาษาไทย..ม.ต้น
สรุปเนื้อหาภาษาไทย..ม.ต้น
 
การประยุกต์ดนตรีไทยและดนตรีสากล
การประยุกต์ดนตรีไทยและดนตรีสากลการประยุกต์ดนตรีไทยและดนตรีสากล
การประยุกต์ดนตรีไทยและดนตรีสากล
 
วงดนตรีไทย ม.2 56
วงดนตรีไทย ม.2 56วงดนตรีไทย ม.2 56
วงดนตรีไทย ม.2 56
 
โครงงานปลาร้าสมุนไพร
โครงงานปลาร้าสมุนไพรโครงงานปลาร้าสมุนไพร
โครงงานปลาร้าสมุนไพร
 
การบ้านป.1
การบ้านป.1การบ้านป.1
การบ้านป.1
 
วิธีการสร้างคำในภาษาไทย
วิธีการสร้างคำในภาษาไทย วิธีการสร้างคำในภาษาไทย
วิธีการสร้างคำในภาษาไทย
 
ธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษา
 
ลักษณะเด่นของดนตรีในแต่ละวัฒนธรรม
ลักษณะเด่นของดนตรีในแต่ละวัฒนธรรมลักษณะเด่นของดนตรีในแต่ละวัฒนธรรม
ลักษณะเด่นของดนตรีในแต่ละวัฒนธรรม
 
ความพกพร่องทางการพูดและภาษา
ความพกพร่องทางการพูดและภาษาความพกพร่องทางการพูดและภาษา
ความพกพร่องทางการพูดและภาษา
 
วัฒนธรรมไทย
วัฒนธรรมไทยวัฒนธรรมไทย
วัฒนธรรมไทย
 
แบบทดสอบอาเซียน 30 ข้อ
แบบทดสอบอาเซียน 30 ข้อแบบทดสอบอาเซียน 30 ข้อ
แบบทดสอบอาเซียน 30 ข้อ
 
ใบความรู้ หนังตะลุง ม52
ใบความรู้  หนังตะลุง ม52ใบความรู้  หนังตะลุง ม52
ใบความรู้ หนังตะลุง ม52
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 ศ 32101 วิชาดนตรี ม.5 ครูอภิชิต กลีบม่วง
แผนการจัดการเรียนรู้ที่  1 ศ 32101 วิชาดนตรี ม.5  ครูอภิชิต กลีบม่วงแผนการจัดการเรียนรู้ที่  1 ศ 32101 วิชาดนตรี ม.5  ครูอภิชิต กลีบม่วง
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 ศ 32101 วิชาดนตรี ม.5 ครูอภิชิต กลีบม่วง
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 7 เรื่อง โน้ตสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 7 เรื่อง โน้ตสากลใบความรู้ที่ 1 บทที่ 7 เรื่อง โน้ตสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 7 เรื่อง โน้ตสากล
 
ระบบเสียงและอวัยวะในการออกเสียงในภาษาไทย
ระบบเสียงและอวัยวะในการออกเสียงในภาษาไทยระบบเสียงและอวัยวะในการออกเสียงในภาษาไทย
ระบบเสียงและอวัยวะในการออกเสียงในภาษาไทย
 
คำอธิบายรายวิชาดนตรี นาฎศิลป์ ม.4
คำอธิบายรายวิชาดนตรี   นาฎศิลป์ ม.4 คำอธิบายรายวิชาดนตรี   นาฎศิลป์ ม.4
คำอธิบายรายวิชาดนตรี นาฎศิลป์ ม.4
 
ดนตรีสากล
ดนตรีสากลดนตรีสากล
ดนตรีสากล
 

Viewers also liked

PPT ทรัพยากรสำหรับการพัฒนาเมืองสงขลา
PPT ทรัพยากรสำหรับการพัฒนาเมืองสงขลาPPT ทรัพยากรสำหรับการพัฒนาเมืองสงขลา
PPT ทรัพยากรสำหรับการพัฒนาเมืองสงขลาFURD_RSU
 
Ppt เสนอโปรเจค2
Ppt เสนอโปรเจค2Ppt เสนอโปรเจค2
Ppt เสนอโปรเจค2Lovely Pim
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์Sup's Tueng
 
งานนำเสนอโครงการ
งานนำเสนอโครงการงานนำเสนอโครงการ
งานนำเสนอโครงการkeeree samerpark
 
โครงงาน เพาว์เวอร์พอย
โครงงาน เพาว์เวอร์พอยโครงงาน เพาว์เวอร์พอย
โครงงาน เพาว์เวอร์พอยNick Nook
 

Viewers also liked (7)

PPT ทรัพยากรสำหรับการพัฒนาเมืองสงขลา
PPT ทรัพยากรสำหรับการพัฒนาเมืองสงขลาPPT ทรัพยากรสำหรับการพัฒนาเมืองสงขลา
PPT ทรัพยากรสำหรับการพัฒนาเมืองสงขลา
 
Ppt เสนอโปรเจค2
Ppt เสนอโปรเจค2Ppt เสนอโปรเจค2
Ppt เสนอโปรเจค2
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
งานนำเสนอโครงการ
งานนำเสนอโครงการงานนำเสนอโครงการ
งานนำเสนอโครงการ
 
2ตัวอย่างนำเสนอโครงการ
2ตัวอย่างนำเสนอโครงการ2ตัวอย่างนำเสนอโครงการ
2ตัวอย่างนำเสนอโครงการ
 
โครงงาน เพาว์เวอร์พอย
โครงงาน เพาว์เวอร์พอยโครงงาน เพาว์เวอร์พอย
โครงงาน เพาว์เวอร์พอย
 
การนำเสนองานวิจัย
การนำเสนองานวิจัยการนำเสนองานวิจัย
การนำเสนองานวิจัย
 

Similar to พาวเวอพอย

ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 7 เรื่อง โน้ตสากล.pdf
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 7 เรื่อง โน้ตสากล.pdfใบความรู้ที่ 1 บทที่ 7 เรื่อง โน้ตสากล.pdf
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 7 เรื่อง โน้ตสากล.pdfPingladaPingladaz
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 7 เรื่อง โน้ตสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 7 เรื่อง โน้ตสากลใบความรู้ที่ 1 บทที่ 7 เรื่อง โน้ตสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 7 เรื่อง โน้ตสากลleemeanshun minzstar
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 7 เรื่อง โน้ตสากล.pdf
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 7 เรื่อง โน้ตสากล.pdfใบความรู้ที่ 1 บทที่ 7 เรื่อง โน้ตสากล.pdf
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 7 เรื่อง โน้ตสากล.pdfpinglada
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 7 เรื่อง โน้ตสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 7 เรื่อง โน้ตสากลใบความรู้ที่ 1 บทที่ 7 เรื่อง โน้ตสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 7 เรื่อง โน้ตสากลleemeanshun minzstar
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 7 เรื่อง โน้ตสากล.pdf
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 7 เรื่อง โน้ตสากล.pdfใบความรู้ที่ 1 บทที่ 7 เรื่อง โน้ตสากล.pdf
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 7 เรื่อง โน้ตสากล.pdfเวียงพิงค์ พิงค์ลดา
 
ชื่อของเครื่องดนตรีไทย
ชื่อของเครื่องดนตรีไทยชื่อของเครื่องดนตรีไทย
ชื่อของเครื่องดนตรีไทยleemeanshun minzstar
 
9789740333449
97897403334499789740333449
9789740333449CUPress
 
ธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาwattanaka
 
ธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาwattanaka
 

Similar to พาวเวอพอย (10)

ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 7 เรื่อง โน้ตสากล.pdf
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 7 เรื่อง โน้ตสากล.pdfใบความรู้ที่ 1 บทที่ 7 เรื่อง โน้ตสากล.pdf
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 7 เรื่อง โน้ตสากล.pdf
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 7 เรื่อง โน้ตสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 7 เรื่อง โน้ตสากลใบความรู้ที่ 1 บทที่ 7 เรื่อง โน้ตสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 7 เรื่อง โน้ตสากล
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 7 เรื่อง โน้ตสากล.pdf
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 7 เรื่อง โน้ตสากล.pdfใบความรู้ที่ 1 บทที่ 7 เรื่อง โน้ตสากล.pdf
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 7 เรื่อง โน้ตสากล.pdf
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 7 เรื่อง โน้ตสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 7 เรื่อง โน้ตสากลใบความรู้ที่ 1 บทที่ 7 เรื่อง โน้ตสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 7 เรื่อง โน้ตสากล
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 7 เรื่อง โน้ตสากล.pdf
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 7 เรื่อง โน้ตสากล.pdfใบความรู้ที่ 1 บทที่ 7 เรื่อง โน้ตสากล.pdf
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 7 เรื่อง โน้ตสากล.pdf
 
Poem
PoemPoem
Poem
 
ชื่อของเครื่องดนตรีไทย
ชื่อของเครื่องดนตรีไทยชื่อของเครื่องดนตรีไทย
ชื่อของเครื่องดนตรีไทย
 
9789740333449
97897403334499789740333449
9789740333449
 
ธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษา
 
ธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษา
 

พาวเวอพอย

  • 2. ตัวโน้ตดนตรีหรือสัญลักษณ์ที่ใช้แทนเสียงดนตรี (Music Notation) การอ่านโน้ตดนตรีหรือบทเพลงต่าง ๆ ก็เฉกเช่นเดียวกันกับการอ่านหนังสือโดย ทั่วไป กล่าวคือผู้เรียนหรือผู้อ่านจะต้องจดจำาสัญลักษณ์หรือพยัญชนะเบื้องต้นที่ใช้ แทน เสียง เช่น ก,ข,ค,……ฮ. หรือสระต่าง ๆ แล้วจึงนำาสิ่งเหล่านั้นมารวมกันแล้วสะกดเป็นคำา ๆ จึงจะมีความหมาย ที่เราสามารถใช้เขียนเป็นการแสดงออกถึงความรู้สึกนึกคิดต่าง ๆ และเป็นการติดต่อสื่อสารกับผู้อื่น ในทางดนตรีก็เช่นกันความคิดของผู้ประพันธ์เพลง (Composer) ที่แต่งเพลง ออกมาจะถูกบันทึกไว้ด้วยตัวโน้ตเพื่อให้นักดนตรีได้เล่นและถ่าย ทอดอารมณ์ออกมาให้ผู้ ฟังได้โดยที่นักดนตรีผู้นั้นไม่เคยรู้จักมาก่อนได้ ตัวโน้ตที่ใช้บันทึกในลักษณะต่าง ๆ นั้นจะ กลายเป็นโสตภาษาของผู้ฟัง
  • 3. ตัวโน้ตดนตรี สามารถอธิบายได้ว่า โน้ตตัวกลม 1 ตัว ได้ตัวขาว 2 ตัว หรือได้ตัวดำา 4 ตัว โน้ตตัวขาว 1 ตัว ได้ตัวดำา 2 ตัว โน้ตตัวดำา 1 ตัว ได้ตัวเขบ็ตหนึ่งชั้น 2 ตัว โน้ตตัวเขบ็ตหนึ่งชั้น 1 ตัว ได้ตัวเขบ็ตสองชั้น 2 ตัว
  • 4.
  • 5. การที่จะกำาหนดให้ตัวโน้ตหางชี้ขึ้นหรือลงให้ยึดเส้นที่ 3 ของบรรทัด 5 เส้น (Staff) เป็นหลัก กล่าวคือตัวโน้ตที่คาบอยู่เส้นที่ 3 และตำ่าลงมาหางตัวโน้ตจะต้องชี้ขึ้น ส่วนโน้ตที่คาบอยู่เส้นที่ 3 หรือสูงขึ้นไปหางตัวโน้ตจะต้องชี้ลง สำาหรับโน้ตที่คาบอยู่เส้น ที่ 3 เองนั้นหางจะขึ้นหรือลงก็ได้ให้ยึดตัวโน้ตที่อยู่ภายในห้องหรือโน้ตที่อยู่ข้างเคียง เป็นหลัก ดังตัวอย่าง ภาพแสดงการกำาหนดหางและชายธง (stem&flag) ของตัวโน้ต
  • 6. ตัวหยุด หรือเครื่องหมายพักเสียง (Rest) “การบันทึกตัวหยุดนั้นได้กำาหนดเป็นสัญลักษณ์ เช่นเดียวกันตัวโน้ต ซึ่งโดยทั่วไปเรียกว่า ตัว ”หยุด (Rest) หมายถึง สัญลักษณ์ที่ใช้ในการเงียบเสียงดนตรีหรือเสียงร้องแต่อัตราจังหวะยังคง ดำาเนินไปตลอด ตัวหยุดจะถูกเขียนลงบนบรรทัด 5 เส้น เช่นเดียวกับตัวโน้ต มีลักษณะต่างกันดังนี้
  • 7. การเพิ่มอัตราจังหวะตัวโน้ตและตัวหยุด หมายเหตุ : มีเครื่องหมายอีกลักษณะหนึ่งที่คล้ายกับการโยงเสียง คือเครื่องหมายสเลอ (Slur)เครื่องหมายส เลอเป็นเส้นโค้งมีไว้สำาหรับเชื่อมกลุ่มตัวโน้ตที่ต่าง ระดับกันหรือคนละเสียงเพียงเพื่อต้องการให้เล่นโน้ตที่มี เครื่องหมายสเลอนี้ คล่อมอยู่ให้เสียงต่อเนื่องกัน
  • 8.
  • 9. ระดับเสียง (Pith) ด้วยการบันทึกโน้ตทางดนตรีเราสามารถทำาให้เราทราบถึงระดับเสียง (Pith) หรือความแตกต่างของ เสียงที่แน่นอนได้ ในการบันทึกเสียงโดยใช้บรรทัด 5 เส้น (Staff) ซึ่งจะแสดงให้เห็นความสูงตำ่าของเสียง ชัดเจน โดยการวางตัวโน้ตต่าง ๆ ไว้บนบรรทัด 5 เส้น ซึ่งประกอบด้วย เส้น 5 เส้น 4 ช่อง ดังนี้ ภาพแสดงบรรทัด 5 เส้น (Staff)จากบรรทัด 5 เส้น (Staff) ข้างต้นซึ่งหมายถึงเส้นตรง 5 เส้น ที่ลาก –ขนานกันในแนวนอนเราสามารถจำาแนกระดับเสียงสูง ตำ่า ได้อย่างเป็นรูปธรรมได้ดังนี้
  • 10. จากข้างต้นเราจะเห็นว่ามีตัวโน้ตที่บันทึกอยู่บนบรรทัด 5 เสียงมีเพียง 11 ตัวโน้ตหรือ 11เสียงเท่านั้น แต่ ความเป็นจริงแล้วผู้ประพันธ์เพลงหรือคีตกวีต่าง ๆ ได้เขียนเพลงซึ่งต้องมีระดับเสียงที่สูงหรือตำ่ากว่าโน้ตทั้ง 11 ตัวดังกล่าวแน่นอน เพื่อให้การบันทึกเสียงตัวโน้ตดนตรีได้เป็นไปตามความต้องการของผู้ประพันธ์ เพลง “ ”ก็จึงได้มีการคิดวิธีการที่จะทำาให้การบันทึกโน้ตได้มากขึ้นจึงใช้ เส้นน้อย (ledger line) มาบันทึกโดยวิธี –การขีดเส้นตรงทับตัวโน้ตและให้ตัวโน้ตอยู่ระหว่างช่องจึงทำา ให้เสียงนั้นสูง ตำ่าได้ตามต้องการ
  • 11. กุญแจประจำาหลัก (Clef) กุญแจประจำาหลัก (Clef) ถือว่าเป็นเครื่องหมายทางดนตรีที่สำาคัญ เพื่อใช้ในการกำาหนดหรือบงชี้ว่าตัวโน้ตแต่ละตัวมีชื่อ เรียกว่าอย่างไร 1) กุญแจซอลเป็นเครื่องหมายประจำาหลักที่ใช้กันมากสำาหรับบันทึกระดับเสียงของเครื่องดนตรีหรือเสียงร้องที่มีระดับกลาง “ ”ถึงสูง ภาษาอังกฤษเรียก จี เคลฟ (G Clef) “ ”หรือ เทร็บเบิ้ล เครฟ (Treble Clef) “ ”โดยทั่วไปเรียกว่า กุญแจซอล ในการเขียนกุญแจซอลบันทึกโดยหัวกุญแจให้คาบเส้นที่ 2 ของบรรทัด 5 เส้น โน้ตทุกตัวที่คาบอยู่บนเส้นที่ 2 ของ บรรทัด 5 “ ”เส้น จะมีเสียงเดียวกับชื่อกุญแจคือ ซอล ดังตัวอย่าง โดยปกติแล้วในทางดนตรีได้มีนักปราชญ์ทางดนตรีได้กำาหนดชื่อเรียก ระดับเสียงตัวโน้ตและได้ถือปฏิบัติสืบเนื่องกันต่อ มาจนถึงปัจจุบัน โดยจัดเรียงจากระดับเสียงตำ่าไปหาสูง 7 เสียงดังนี้ C D E F G A B C ไม่ว่าระดับเสียงจะสูงหรือตำ่าก็ คงมีชื่อกำากับเพียง 7 เสียงหลัก ๆ เท่านั้น เพียงแต่การบันทึกโน้ตลงบนบรรทัด 5 เส้น เสียงที่เรียกชื่อเหมือนกัน แต่ “ ”ระดับเสียงต่างกันเรียกว่ามีระยะขั้นคู่แปดระดับเสียงที่ต่างกันเราเรียก ว่า อ๊อคเทฟ (Octave)
  • 12. 2) กุญแจฟาเป็นเครื่องหมายประจำาหลักที่ใช้กันมากสำาหรับบันทึกระดับเสียงของเครื่องดนตรีหรือเสียงร้องที่มีระดับ “ ”ตำ่า ภาษาอังกฤษเรียก เอฟ เคลฟ (F Clef) “ ”หรือ เบส เครฟ (Bass Clef) “ ”โดยทั่ว ๆ ไปมักเรียกว่า กุญแจฟา ในการเขียนกุญแจฟาเขียนโดยหัวกุญแจให้คาบเส้นที่ 4 ของบรรทัด 5เส้น โน้ตทุกตัวที่คาบอยู่บนเส้นที่ 4 ของ บรรทัด 5 “ ”เส้น จะมีเสียงเดียวกับชื่อกุญแจคือ ฟา ดังตัวอย่าง