SlideShare a Scribd company logo
1 of 10
1




                          บทที่ ١
            เรื่อง มารู้จักเมโลเดียนกันเถอะ
                                  ้
ลักษณะของเมโลเดี้ยน
      เมโลเดี้ยนเป็นเครื่องดนตรีประเภทคีย์บอร์ดชนิดหนึ่ง
ทำำให้เกิดเสียงได้โดยกำรเป่ำและใช้นวมือกดที่ลิ่มนิ้ว ปัจจุบัน
                                     ิ้
ทำำด้วยพลำสติก ลักษณะทั่วไปด้ำนหน้ำมีลิ่มนิ้วสำำหรับกด
ประมำณ 24 – 37 คีย์ แล้วแต่ชนิดและขนำดของเมโลเดี้ยนซึ่ง
ในปัจจุบันมีอยู่ 4 ขนำดแต่ละขนำดมีรปร่ำงลักษณะและช่วง
                                        ู
เสียงดังนี้ คือ
      1. เมโลเดี้ยนเสียงโซปรำโน เป็นขนำดเล็กที่สุดมีลิ่มนิ้ว
สำำหรับกดอยู่ 27 คีย์ มีเสียงแหลมสูง เหมำะสำำหรับใช้บรรเลง
แนวสูงสุดของทำำนองเพลงช่วงเสียงของเมโลเดี้ยนเสียง
โซปรำโน คือ




ภาพที่ 1 ช่วงเสียงและรูปร่างลักษณะของเมโลเดี้ยนเสียง
                     โซปราโน
2



     2. เมโลเดี้ยนเสียงอัลโต้ เป็นขนำดเล็กที่สุดมีลิ่มนิวสำำหรับ
                                                        ้
กดอยู่ 27 คีย์เท่ำกันกับ
เมโลเดี้ยนเสียงโซปรำโนแต่มีระดับเสียงสูงกว่ำ 1 ออคเทฟ มี
เสียงสูงปำนกลำงเหมำะสำำหรับ
ใช้บรรเลงแนวทำำนองรองจำกเมโลเดี้ยนเสียงโซปรำโน รูปร่ำง
ลักษณะของเมโลเดี้ยนเสียงอัลโต้และช่วงเสียง




 ภาพที่ 2 ช่วงเสียงและรูปร่างลักษณะของเมโลเดี้ยนเสีย
                        งอัลโต้

      3. เมโลเดี้ยนเสียงเทนเนอร์ มีลมนิ้วสำำหรับกดอยู่ 32 คีย์
                                    ิ่
มีเสียงระดับกลำง เหมำะสำำหรับใช้บรรเลงแนวทำำนองรองจำก
เสียงอัลโต้




ภาพที่ 3 ช่วงเสียงและรูปร่างลักษณะของเมโลเดี้ยนเสียง
                      เทนเนอร์
3



     4. เมโลเดี้ยนเสียงเบส มีลิ่มนิ้วสำำหรับกดอยู่ 24 คีย์ มี
เสียงตำ่ำ หนักแน่น มีอำำนำจ เหมำะสำำหรับใช้บรรเลงแนวตำ่ำสุด
ของทำำนองเพลง ช่วงเสียงของเมโลเดี้ยนเสียงเบส คือ




ภาพที่ 4 ช่วงเสียงและรูปร่างลักษณะของเมโลเดี้ยนเสียง
                        เบส
4



ส่วนประกอบของเมโลเดี้ยน
     เมโลเดี้ยนเป็นเครื่องดนตรีสำกลจัดอยู่ในเครื่องดนตรี
ประเภทคีย์บอร์ด (Keyboard Instruments) ทำำให้เกิดเสียงโดย
กำรเป่ำและใช้นิ้งกดที่ลิ่มนิ้ว ลักษณะทัวไปแบ่งเป็น 3 ส่วน คือ
                                       ่
ส่วนตัวเครื่องดนตรี ส่วนปำกเป่ำ และส่วนสำยเป่ำ
     ส่วนที่ 1 ปำกเป่ำ



     ส่วนที่ 2 สำยเป่ำ



     ส่วนที่ 3 ตัวเครื่องดนตรี




       ภาพที่ 5 แสดงส่วนประกอบของเมโลเดี้ยน

วิธีการดูแลรักษาเมโลเดียน
                       ้
       กำรดูแลรักษำและทำำควำมสะอำดเมโลเดี้ยนทีถูกต้อง จะ
                                                     ่
ช่วยให้อำยุกำรใช้งำนได้นำนขึ้น เครื่องดนตรีที่สะอำดไม่ก่อให้
เกิดอันตรำยต่อผู้เล่น หลังจำกปฏิบัติทุกครั้งควรดูแลรักษำดังนี้
คือ
       1. หลังจำกเลิกปฏิบัติแล้วให้ถอดปำกเป่ำหรือสำยเป่ำแล้ว
สบัดเอำนำ้ำลำยออกแล้วนำำสำยหรือปำกเป่ำไปล้ำงนำ้ำ แล้วสะบัด
เอำนำ้ำออกอีกครั้งจนนำ้ำหมด
       2. ใช้ผ้ำนุ่มเช็ดทำำควำมสะอำดส่วนต่ำง ๆ ของเมโลเดี้ยน
เช่นลิ่มนิ้วกด ตัวเมโลเดี้ยน
       3. เมื่อเช็ดจนแห้งดีแล้ว ควรเก็บใส่กล่องที่ติดมำกับตัว
เครื่องให้เป็นระเบียบ และจัดเก็บวำงไว้ในบริเวณปลอดภัย
5



     4. ไม่ควรใช้เมโลเดี้ยนร่วมกับผู้อื่น




          ภาพที่ 6 การเก็บเมโลเดี้ยนเข้ากล่อง


การจับเมโลเดี้ยน
      ในปัจจุบันจะเห็นว่ำ ท่ำทำงกำรจับเครื่องดนตรีเมโลเดียน
นั้น จะไม่มีกฎเกณฑ์ที่แน่นอนตำยตัว ทังนี้ขึ้นอยู่กับควำมเหมำะ
                                      ้
สมของลักษณะเครื่องดนตรีและเทคนิคท่ำทำงในกำรเดิน
ท่ำทำงกำรจับเครื่องดนตรีเมโลเดียนไม่วำจะอยู่ในลักษณะใด
                                        ่
ควรจะเป็นท่ำที่จับแล้วรู้สึกสบำยและมีควำมคล่องตัว ทั้งกำรเดิน
พำเหรด (Marching) และกำรแสดงดนตรีภำคสนำม (Display)
ท่ำทำงกำรจับเมโลเดียนที่นิยมใช้กันสำมำรถแบ่งได้ดังนี้ คือ

     1. ท่ำยืนตรง




          ภาพที่ 7 การจับเมโลเดี้ยนท่ายืนตรง
     2. ท่ำพักแถว
6




    ภาพที่ 8 การจับเมโลเดี้ยนท่าพักแถว

3. ท่ำเดินพำเหรด หรือ Marching Parade and Display




  ภาพที่ 9 การจับเมโลเดี้ยนท่าเดินพาเหรด
    4. ท่ำเดินที่ไม่มีกำรบรรเลง
7




   ภาพที่ 10 การจับเมโลเดี้ยนท่าเดินที่ไม่มีการบรรเลง

            5. ท่ำเดินที่มีกำรบรรเลง




      ภาพที่ 11 การจับเมโลเดี้ยนท่าเดินที่มีการบรรเลง
ตำาแหน่งเสียงของเมโลเดี้ยน
            ้
       ลิ่มนิวสำำหรับกดเมโลเดี้ยนประกอบด้วยลิมนิ้วสีขำว กับลิ่ม
                                                 ้
นิ้วสีดำำสลับกัน ยกเว้นตำำแหน่งเสียงระหว่ำงเสียง B - C และ E
– F ที่ไม่มีลิ่มนิวสีดำำคั่น เพรำะเป็นระดับเสียงที่ห่ำงกันครึ่งเสียง
                  ้
ตำมทฤษฏีของดนตรีสำกล ระบบเสียงของดนตรีสำกลมี
ลักษณะดังนี้คือ
8




                      หมำยถึง ระยะห่ำงของเสียง ครี่งเสียง

     เสียงทีมีระยะห่ำงกันหนึ่งเสียงคือ C-D, D-E, F-G, G-
            ่
A และ A-B
     เสียงทีมีระยะห่ำงกันครึ่งเสียงคือ E-F และ B-C
              ่




         ภาพที่ 12 ตำาแหน่งเสียงของเมโลเดี้ยน

      คู่เสียงเอ็นฮำร์โมนิค (Enharmonic) คือ เสียงที่เป็นระดับ
เสียงเดียวกันแต่เรียกชื่อต่ำงกัน คือ
      เสียง ฟำชำร์ป (F#) กับ ซอลแฟลช (Gb)              เสียง
ซอลชำร์ป (G#) กับ ลำแฟลช (Ab) เสียง ลำชำร์ป (A#)
กับ ทีแฟลช(Bb)               เสียง โดชำร์ป (C#) กับ เร
แฟลช(Db)           เสียง เรชำร์ป (D#) กับ มีแฟลช (Eb)
       ให้ดูภำพที่ 12 ประกอบ
                   แบบฝึกหัดที่ 1.1
                 เกม จิ๊กซอว์เมโลเดี้ยน

จุดประสงค์
    เพื่อให้นักเรียนรู้จักลักษณะของเมโลเดี้ยน

อุปกรณ์
      1. ภำพจิ๊กซอว์รูปเมโลเดี้ยน ด้ำนหลังติดสติ๊กเกอร์แม่
         เหล็ก
      2. แผ่นป้ำยเหล็กสำำหรับติดจิ๊กซอว์
9




วิธีเล่น
         1. แบ่งนักเรียนออกเป็น 3 กลุ่ม
         2. แต่ละกลุมมีจิ๊กซอว์กลุ่มละ 1 ชุด
                     ่
         3. แต่ละกลุมต่อแถวตอนลึก เพื่อเตรียมนำำจิ๊กซอว์มำ
                       ่
ประกอบบนแผ่นป้ำยเหล็กโดยมีเวลำคนละ 10 วินำที (ครูเป็นผู้
เป่ำนกหวีดหมดเวลำ)
         4. เมื่อหมดเวลำในแต่ละคน ให้วงกลับมำแตะมือคนต่อไป
                                         ิ่
ให้ออกไปต่อจิ๊กซอว์
แล้ววิงมำต่อแถวคนสุดท้ำย
       ่
         5. กลุ่มใดต่อเป็นรูปเมโลเดี้ยนเสร็จก่อนเป็นฝ่ำยชนะ
เรียงตำมลำำดับที่ 1,2




                    แบบฝึกหัดที่ 1.2
                 เกม 5 ข้อ ขอให้ดูแลฉัน

จุดประสงค์
    เพื่อให้นักเรียนรู้จักวิธีกำรดูแลรักษำเมโลเดี้ยน
อุปกรณ์
      1. แผ่นป้ำยประโยคกำรดูแลรักษำเมโลเดี้ยน แต่ละ
ประโยคถูกตัดแบ่งเป็นหลำยข้อควำม ด้ำนหลังติดสติ๊กเกอร์แม่
เหล็ก
      2. แผ่นป้ำยเหล็ก
10



วิธีเล่น
       1. แบ่งนักเรียนเป็น 3 กลุ่ม
       2. แต่ละกลุมได้รับแผ่นป้ำยสำำหรับเรียงประโยค กลุ่มละ 1
                    ่
ชุด
       3. แต่ละกลุมต่อแถวตอนลึก เพื่อเตรียมนำำแผ่นป้ำยมำ
                      ่
เรียงเป็นประโยคกำรดูแลรักษำ          เมโลเดี้ยน
       4. นักเรียนแต่ละคนมีเวลำในกำรเรียงแผ่นป้ำย คนละ 10
วินำที เมื่อเวลำหมด (ครูเป็นผู้เป่ำนกหวีดหมดเวลำ) ให้วงกลับ
                                                       ิ่
มำแตะมือคนต่อไป แล้ววิงมำต่อแถวคนสุดท้ำย
                          ่
       5. ครูจับเวลำรวมทังสิ้น 3 นำที
                            ้
       6. กลุ่มเรียงประโยคได้ใจควำมมำกที่สุด กลุ่มนั้นเป็นฝ่ำย
ชนะ

More Related Content

What's hot

แบบทดสอบวิวัฒน
แบบทดสอบวิวัฒนแบบทดสอบวิวัฒน
แบบทดสอบวิวัฒนWichai Likitponrak
 
แบบฝึกหัดรูปสี่เหลี่ยมป.5 6
แบบฝึกหัดรูปสี่เหลี่ยมป.5 6แบบฝึกหัดรูปสี่เหลี่ยมป.5 6
แบบฝึกหัดรูปสี่เหลี่ยมป.5 6Jaar Alissala
 
ค.ร.น.และห.ร.ม
ค.ร.น.และห.ร.มค.ร.น.และห.ร.ม
ค.ร.น.และห.ร.มkruminsana
 
4 พลังงานกับการดำเนินไปของปฏิกิริยา
4 พลังงานกับการดำเนินไปของปฏิกิริยา4 พลังงานกับการดำเนินไปของปฏิกิริยา
4 พลังงานกับการดำเนินไปของปฏิกิริยาSircom Smarnbua
 
บทเรียนแบบโปรแกรมวิชาเคมี
บทเรียนแบบโปรแกรมวิชาเคมีบทเรียนแบบโปรแกรมวิชาเคมี
บทเรียนแบบโปรแกรมวิชาเคมีSutisa Tantikulwijit
 
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์อัตราส่วนและร้อยละ
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์อัตราส่วนและร้อยละแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์อัตราส่วนและร้อยละ
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์อัตราส่วนและร้อยละkroojaja
 
ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4Thanawut Rattanadon
 
แบบทดสอบตามตัวชี้วัด ม.1.doc.pdf
แบบทดสอบตามตัวชี้วัด ม.1.doc.pdfแบบทดสอบตามตัวชี้วัด ม.1.doc.pdf
แบบทดสอบตามตัวชี้วัด ม.1.doc.pdfssuser2feafc1
 
ชุดที่ 1 แบบรูปและความสัมพันธ์
ชุดที่ 1  แบบรูปและความสัมพันธ์ ชุดที่ 1  แบบรูปและความสัมพันธ์
ชุดที่ 1 แบบรูปและความสัมพันธ์ Aobinta In
 
รายงานการเยี่ยมบ้าน ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน
รายงานการเยี่ยมบ้าน ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนรายงานการเยี่ยมบ้าน ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน
รายงานการเยี่ยมบ้าน ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนNontaporn Pilawut
 
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)dnavaroj
 
แบบทดสอบ ดนตรี ม.6
แบบทดสอบ ดนตรี ม.6แบบทดสอบ ดนตรี ม.6
แบบทดสอบ ดนตรี ม.6teerachon
 
สอบปลายภาคชีวะ51 2
สอบปลายภาคชีวะ51 2สอบปลายภาคชีวะ51 2
สอบปลายภาคชีวะ51 2Wichai Likitponrak
 
แบบฝึกเสริมทักษะภาคเรียนที่2ป.6
แบบฝึกเสริมทักษะภาคเรียนที่2ป.6แบบฝึกเสริมทักษะภาคเรียนที่2ป.6
แบบฝึกเสริมทักษะภาคเรียนที่2ป.6ทับทิม เจริญตา
 
แนวข้อสอบเข้า ม.4 วิชาคณิตศาสตร์โรงเรียนมหิดลฯและโรงเรียนจุฬาภรณ์ฯ
แนวข้อสอบเข้า ม.4 วิชาคณิตศาสตร์โรงเรียนมหิดลฯและโรงเรียนจุฬาภรณ์ฯ แนวข้อสอบเข้า ม.4 วิชาคณิตศาสตร์โรงเรียนมหิดลฯและโรงเรียนจุฬาภรณ์ฯ
แนวข้อสอบเข้า ม.4 วิชาคณิตศาสตร์โรงเรียนมหิดลฯและโรงเรียนจุฬาภรณ์ฯ sawed kodnara
 
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมแบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมJariya Jaiyot
 

What's hot (20)

แบบทดสอบวิวัฒน
แบบทดสอบวิวัฒนแบบทดสอบวิวัฒน
แบบทดสอบวิวัฒน
 
แบบฝึกหัดรูปสี่เหลี่ยมป.5 6
แบบฝึกหัดรูปสี่เหลี่ยมป.5 6แบบฝึกหัดรูปสี่เหลี่ยมป.5 6
แบบฝึกหัดรูปสี่เหลี่ยมป.5 6
 
เพลงนันทนาการ
เพลงนันทนาการเพลงนันทนาการ
เพลงนันทนาการ
 
ค.ร.น.และห.ร.ม
ค.ร.น.และห.ร.มค.ร.น.และห.ร.ม
ค.ร.น.และห.ร.ม
 
4 พลังงานกับการดำเนินไปของปฏิกิริยา
4 พลังงานกับการดำเนินไปของปฏิกิริยา4 พลังงานกับการดำเนินไปของปฏิกิริยา
4 พลังงานกับการดำเนินไปของปฏิกิริยา
 
บทเรียนแบบโปรแกรมวิชาเคมี
บทเรียนแบบโปรแกรมวิชาเคมีบทเรียนแบบโปรแกรมวิชาเคมี
บทเรียนแบบโปรแกรมวิชาเคมี
 
สรุปวิทยาศาสตร์พื้นฐาน
สรุปวิทยาศาสตร์พื้นฐานสรุปวิทยาศาสตร์พื้นฐาน
สรุปวิทยาศาสตร์พื้นฐาน
 
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์อัตราส่วนและร้อยละ
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์อัตราส่วนและร้อยละแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์อัตราส่วนและร้อยละ
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์อัตราส่วนและร้อยละ
 
ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
 
แบบทดสอบตามตัวชี้วัด ม.1.doc.pdf
แบบทดสอบตามตัวชี้วัด ม.1.doc.pdfแบบทดสอบตามตัวชี้วัด ม.1.doc.pdf
แบบทดสอบตามตัวชี้วัด ม.1.doc.pdf
 
ชุดที่ 1 แบบรูปและความสัมพันธ์
ชุดที่ 1  แบบรูปและความสัมพันธ์ ชุดที่ 1  แบบรูปและความสัมพันธ์
ชุดที่ 1 แบบรูปและความสัมพันธ์
 
รายงานการเยี่ยมบ้าน ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน
รายงานการเยี่ยมบ้าน ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนรายงานการเยี่ยมบ้าน ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน
รายงานการเยี่ยมบ้าน ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน
 
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)
 
แบบทดสอบ ดนตรี ม.6
แบบทดสอบ ดนตรี ม.6แบบทดสอบ ดนตรี ม.6
แบบทดสอบ ดนตรี ม.6
 
สอบปลายภาคชีวะ51 2
สอบปลายภาคชีวะ51 2สอบปลายภาคชีวะ51 2
สอบปลายภาคชีวะ51 2
 
แบบฝึกเสริมทักษะภาคเรียนที่2ป.6
แบบฝึกเสริมทักษะภาคเรียนที่2ป.6แบบฝึกเสริมทักษะภาคเรียนที่2ป.6
แบบฝึกเสริมทักษะภาคเรียนที่2ป.6
 
แนวข้อสอบเข้า ม.4 วิชาคณิตศาสตร์โรงเรียนมหิดลฯและโรงเรียนจุฬาภรณ์ฯ
แนวข้อสอบเข้า ม.4 วิชาคณิตศาสตร์โรงเรียนมหิดลฯและโรงเรียนจุฬาภรณ์ฯ แนวข้อสอบเข้า ม.4 วิชาคณิตศาสตร์โรงเรียนมหิดลฯและโรงเรียนจุฬาภรณ์ฯ
แนวข้อสอบเข้า ม.4 วิชาคณิตศาสตร์โรงเรียนมหิดลฯและโรงเรียนจุฬาภรณ์ฯ
 
โจทย์ปัญหาระคนป.4 6.
โจทย์ปัญหาระคนป.4 6.โจทย์ปัญหาระคนป.4 6.
โจทย์ปัญหาระคนป.4 6.
 
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมแบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
 
ข้อสอบศิลปะ
ข้อสอบศิลปะข้อสอบศิลปะ
ข้อสอบศิลปะ
 

Similar to การเป่าเมโลเดี้ยน บทที่ 1

สรุปเนื้อหาภาษาไทย..ม.ต้น
สรุปเนื้อหาภาษาไทย..ม.ต้นสรุปเนื้อหาภาษาไทย..ม.ต้น
สรุปเนื้อหาภาษาไทย..ม.ต้นTook Took Rachataporn
 
สรุปภาษาไทย
สรุปภาษาไทยสรุปภาษาไทย
สรุปภาษาไทยwisita42
 
สรุปสังคม O-net
สรุปสังคม O-netสรุปสังคม O-net
สรุปสังคม O-netWarissa'nan Wrs
 
บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ ดนตรีพื้นบ้านปฏิบัติอ่านโน้ตดนตรีไทย
บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ ดนตรีพื้นบ้านปฏิบัติอ่านโน้ตดนตรีไทยบทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ ดนตรีพื้นบ้านปฏิบัติอ่านโน้ตดนตรีไทย
บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ ดนตรีพื้นบ้านปฏิบัติอ่านโน้ตดนตรีไทยฏิวัตต์ สันทาลุนัย
 
บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ ดนตรีพื้นบ้านปฏิบัติตีโปงลาง
บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ ดนตรีพื้นบ้านปฏิบัติตีโปงลางบทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ ดนตรีพื้นบ้านปฏิบัติตีโปงลาง
บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ ดนตรีพื้นบ้านปฏิบัติตีโปงลางฏิวัตต์ สันทาลุนัย
 
พิณ
พิณพิณ
พิณbawtho
 
เครื่องสาย 2
เครื่องสาย 2เครื่องสาย 2
เครื่องสาย 2bassarakum
 
แบบฝึกการตีโปงลาง
แบบฝึกการตีโปงลางแบบฝึกการตีโปงลาง
แบบฝึกการตีโปงลางbawtho
 
วันนี้ติว
วันนี้ติววันนี้ติว
วันนี้ติวpeter dontoom
 
วันนี้ติวแบบจริง
วันนี้ติวแบบจริงวันนี้ติวแบบจริง
วันนี้ติวแบบจริงpeter dontoom
 
เครื่องดนตรีไทย
เครื่องดนตรีไทยเครื่องดนตรีไทย
เครื่องดนตรีไทยlove5710
 

Similar to การเป่าเมโลเดี้ยน บทที่ 1 (20)

Thai
ThaiThai
Thai
 
สรุปเนื้อหาภาษาไทย..ม.ต้น
สรุปเนื้อหาภาษาไทย..ม.ต้นสรุปเนื้อหาภาษาไทย..ม.ต้น
สรุปเนื้อหาภาษาไทย..ม.ต้น
 
สรุปภาษาไทย
สรุปภาษาไทยสรุปภาษาไทย
สรุปภาษาไทย
 
สรุปสังคม O-net
สรุปสังคม O-netสรุปสังคม O-net
สรุปสังคม O-net
 
บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ ดนตรีพื้นบ้านปฏิบัติอ่านโน้ตดนตรีไทย
บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ ดนตรีพื้นบ้านปฏิบัติอ่านโน้ตดนตรีไทยบทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ ดนตรีพื้นบ้านปฏิบัติอ่านโน้ตดนตรีไทย
บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ ดนตรีพื้นบ้านปฏิบัติอ่านโน้ตดนตรีไทย
 
บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ ดนตรีพื้นบ้านปฏิบัติตีโปงลาง
บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ ดนตรีพื้นบ้านปฏิบัติตีโปงลางบทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ ดนตรีพื้นบ้านปฏิบัติตีโปงลาง
บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ ดนตรีพื้นบ้านปฏิบัติตีโปงลาง
 
พิณ
พิณพิณ
พิณ
 
Music drama
Music dramaMusic drama
Music drama
 
09 โน้ตเพลงไทยเบื้องต้น
09 โน้ตเพลงไทยเบื้องต้น09 โน้ตเพลงไทยเบื้องต้น
09 โน้ตเพลงไทยเบื้องต้น
 
ใบความรู้ ม.5 ปี 55
ใบความรู้ ม.5 ปี 55ใบความรู้ ม.5 ปี 55
ใบความรู้ ม.5 ปี 55
 
เครื่องสาย 2
เครื่องสาย 2เครื่องสาย 2
เครื่องสาย 2
 
แบบฝึกการตีโปงลาง
แบบฝึกการตีโปงลางแบบฝึกการตีโปงลาง
แบบฝึกการตีโปงลาง
 
22 การเป่าแคนเพลงเต้ยโขง(ลายน้อย)
22 การเป่าแคนเพลงเต้ยโขง(ลายน้อย)22 การเป่าแคนเพลงเต้ยโขง(ลายน้อย)
22 การเป่าแคนเพลงเต้ยโขง(ลายน้อย)
 
วันนี้ติว
วันนี้ติววันนี้ติว
วันนี้ติว
 
วันนี้ติวแบบจริง
วันนี้ติวแบบจริงวันนี้ติวแบบจริง
วันนี้ติวแบบจริง
 
Pre o-net art6
Pre o-net art6Pre o-net art6
Pre o-net art6
 
เครื่องดนตรีไทย
เครื่องดนตรีไทยเครื่องดนตรีไทย
เครื่องดนตรีไทย
 
O net
O netO net
O net
 
ดนตรีอีสานเหนือ
ดนตรีอีสานเหนือดนตรีอีสานเหนือ
ดนตรีอีสานเหนือ
 
19 การเป่าแคนเพลงเต้ยโขง(ลายใหญ่)
19 การเป่าแคนเพลงเต้ยโขง(ลายใหญ่)19 การเป่าแคนเพลงเต้ยโขง(ลายใหญ่)
19 การเป่าแคนเพลงเต้ยโขง(ลายใหญ่)
 

การเป่าเมโลเดี้ยน บทที่ 1

  • 1. 1 บทที่ ١ เรื่อง มารู้จักเมโลเดียนกันเถอะ ้ ลักษณะของเมโลเดี้ยน เมโลเดี้ยนเป็นเครื่องดนตรีประเภทคีย์บอร์ดชนิดหนึ่ง ทำำให้เกิดเสียงได้โดยกำรเป่ำและใช้นวมือกดที่ลิ่มนิ้ว ปัจจุบัน ิ้ ทำำด้วยพลำสติก ลักษณะทั่วไปด้ำนหน้ำมีลิ่มนิ้วสำำหรับกด ประมำณ 24 – 37 คีย์ แล้วแต่ชนิดและขนำดของเมโลเดี้ยนซึ่ง ในปัจจุบันมีอยู่ 4 ขนำดแต่ละขนำดมีรปร่ำงลักษณะและช่วง ู เสียงดังนี้ คือ 1. เมโลเดี้ยนเสียงโซปรำโน เป็นขนำดเล็กที่สุดมีลิ่มนิ้ว สำำหรับกดอยู่ 27 คีย์ มีเสียงแหลมสูง เหมำะสำำหรับใช้บรรเลง แนวสูงสุดของทำำนองเพลงช่วงเสียงของเมโลเดี้ยนเสียง โซปรำโน คือ ภาพที่ 1 ช่วงเสียงและรูปร่างลักษณะของเมโลเดี้ยนเสียง โซปราโน
  • 2. 2 2. เมโลเดี้ยนเสียงอัลโต้ เป็นขนำดเล็กที่สุดมีลิ่มนิวสำำหรับ ้ กดอยู่ 27 คีย์เท่ำกันกับ เมโลเดี้ยนเสียงโซปรำโนแต่มีระดับเสียงสูงกว่ำ 1 ออคเทฟ มี เสียงสูงปำนกลำงเหมำะสำำหรับ ใช้บรรเลงแนวทำำนองรองจำกเมโลเดี้ยนเสียงโซปรำโน รูปร่ำง ลักษณะของเมโลเดี้ยนเสียงอัลโต้และช่วงเสียง ภาพที่ 2 ช่วงเสียงและรูปร่างลักษณะของเมโลเดี้ยนเสีย งอัลโต้ 3. เมโลเดี้ยนเสียงเทนเนอร์ มีลมนิ้วสำำหรับกดอยู่ 32 คีย์ ิ่ มีเสียงระดับกลำง เหมำะสำำหรับใช้บรรเลงแนวทำำนองรองจำก เสียงอัลโต้ ภาพที่ 3 ช่วงเสียงและรูปร่างลักษณะของเมโลเดี้ยนเสียง เทนเนอร์
  • 3. 3 4. เมโลเดี้ยนเสียงเบส มีลิ่มนิ้วสำำหรับกดอยู่ 24 คีย์ มี เสียงตำ่ำ หนักแน่น มีอำำนำจ เหมำะสำำหรับใช้บรรเลงแนวตำ่ำสุด ของทำำนองเพลง ช่วงเสียงของเมโลเดี้ยนเสียงเบส คือ ภาพที่ 4 ช่วงเสียงและรูปร่างลักษณะของเมโลเดี้ยนเสียง เบส
  • 4. 4 ส่วนประกอบของเมโลเดี้ยน เมโลเดี้ยนเป็นเครื่องดนตรีสำกลจัดอยู่ในเครื่องดนตรี ประเภทคีย์บอร์ด (Keyboard Instruments) ทำำให้เกิดเสียงโดย กำรเป่ำและใช้นิ้งกดที่ลิ่มนิ้ว ลักษณะทัวไปแบ่งเป็น 3 ส่วน คือ ่ ส่วนตัวเครื่องดนตรี ส่วนปำกเป่ำ และส่วนสำยเป่ำ ส่วนที่ 1 ปำกเป่ำ ส่วนที่ 2 สำยเป่ำ ส่วนที่ 3 ตัวเครื่องดนตรี ภาพที่ 5 แสดงส่วนประกอบของเมโลเดี้ยน วิธีการดูแลรักษาเมโลเดียน ้ กำรดูแลรักษำและทำำควำมสะอำดเมโลเดี้ยนทีถูกต้อง จะ ่ ช่วยให้อำยุกำรใช้งำนได้นำนขึ้น เครื่องดนตรีที่สะอำดไม่ก่อให้ เกิดอันตรำยต่อผู้เล่น หลังจำกปฏิบัติทุกครั้งควรดูแลรักษำดังนี้ คือ 1. หลังจำกเลิกปฏิบัติแล้วให้ถอดปำกเป่ำหรือสำยเป่ำแล้ว สบัดเอำนำ้ำลำยออกแล้วนำำสำยหรือปำกเป่ำไปล้ำงนำ้ำ แล้วสะบัด เอำนำ้ำออกอีกครั้งจนนำ้ำหมด 2. ใช้ผ้ำนุ่มเช็ดทำำควำมสะอำดส่วนต่ำง ๆ ของเมโลเดี้ยน เช่นลิ่มนิ้วกด ตัวเมโลเดี้ยน 3. เมื่อเช็ดจนแห้งดีแล้ว ควรเก็บใส่กล่องที่ติดมำกับตัว เครื่องให้เป็นระเบียบ และจัดเก็บวำงไว้ในบริเวณปลอดภัย
  • 5. 5 4. ไม่ควรใช้เมโลเดี้ยนร่วมกับผู้อื่น ภาพที่ 6 การเก็บเมโลเดี้ยนเข้ากล่อง การจับเมโลเดี้ยน ในปัจจุบันจะเห็นว่ำ ท่ำทำงกำรจับเครื่องดนตรีเมโลเดียน นั้น จะไม่มีกฎเกณฑ์ที่แน่นอนตำยตัว ทังนี้ขึ้นอยู่กับควำมเหมำะ ้ สมของลักษณะเครื่องดนตรีและเทคนิคท่ำทำงในกำรเดิน ท่ำทำงกำรจับเครื่องดนตรีเมโลเดียนไม่วำจะอยู่ในลักษณะใด ่ ควรจะเป็นท่ำที่จับแล้วรู้สึกสบำยและมีควำมคล่องตัว ทั้งกำรเดิน พำเหรด (Marching) และกำรแสดงดนตรีภำคสนำม (Display) ท่ำทำงกำรจับเมโลเดียนที่นิยมใช้กันสำมำรถแบ่งได้ดังนี้ คือ 1. ท่ำยืนตรง ภาพที่ 7 การจับเมโลเดี้ยนท่ายืนตรง 2. ท่ำพักแถว
  • 6. 6 ภาพที่ 8 การจับเมโลเดี้ยนท่าพักแถว 3. ท่ำเดินพำเหรด หรือ Marching Parade and Display ภาพที่ 9 การจับเมโลเดี้ยนท่าเดินพาเหรด 4. ท่ำเดินที่ไม่มีกำรบรรเลง
  • 7. 7 ภาพที่ 10 การจับเมโลเดี้ยนท่าเดินที่ไม่มีการบรรเลง 5. ท่ำเดินที่มีกำรบรรเลง ภาพที่ 11 การจับเมโลเดี้ยนท่าเดินที่มีการบรรเลง ตำาแหน่งเสียงของเมโลเดี้ยน ้ ลิ่มนิวสำำหรับกดเมโลเดี้ยนประกอบด้วยลิมนิ้วสีขำว กับลิ่ม ้ นิ้วสีดำำสลับกัน ยกเว้นตำำแหน่งเสียงระหว่ำงเสียง B - C และ E – F ที่ไม่มีลิ่มนิวสีดำำคั่น เพรำะเป็นระดับเสียงที่ห่ำงกันครึ่งเสียง ้ ตำมทฤษฏีของดนตรีสำกล ระบบเสียงของดนตรีสำกลมี ลักษณะดังนี้คือ
  • 8. 8 หมำยถึง ระยะห่ำงของเสียง ครี่งเสียง เสียงทีมีระยะห่ำงกันหนึ่งเสียงคือ C-D, D-E, F-G, G- ่ A และ A-B เสียงทีมีระยะห่ำงกันครึ่งเสียงคือ E-F และ B-C ่ ภาพที่ 12 ตำาแหน่งเสียงของเมโลเดี้ยน คู่เสียงเอ็นฮำร์โมนิค (Enharmonic) คือ เสียงที่เป็นระดับ เสียงเดียวกันแต่เรียกชื่อต่ำงกัน คือ เสียง ฟำชำร์ป (F#) กับ ซอลแฟลช (Gb) เสียง ซอลชำร์ป (G#) กับ ลำแฟลช (Ab) เสียง ลำชำร์ป (A#) กับ ทีแฟลช(Bb) เสียง โดชำร์ป (C#) กับ เร แฟลช(Db) เสียง เรชำร์ป (D#) กับ มีแฟลช (Eb) ให้ดูภำพที่ 12 ประกอบ แบบฝึกหัดที่ 1.1 เกม จิ๊กซอว์เมโลเดี้ยน จุดประสงค์ เพื่อให้นักเรียนรู้จักลักษณะของเมโลเดี้ยน อุปกรณ์ 1. ภำพจิ๊กซอว์รูปเมโลเดี้ยน ด้ำนหลังติดสติ๊กเกอร์แม่ เหล็ก 2. แผ่นป้ำยเหล็กสำำหรับติดจิ๊กซอว์
  • 9. 9 วิธีเล่น 1. แบ่งนักเรียนออกเป็น 3 กลุ่ม 2. แต่ละกลุมมีจิ๊กซอว์กลุ่มละ 1 ชุด ่ 3. แต่ละกลุมต่อแถวตอนลึก เพื่อเตรียมนำำจิ๊กซอว์มำ ่ ประกอบบนแผ่นป้ำยเหล็กโดยมีเวลำคนละ 10 วินำที (ครูเป็นผู้ เป่ำนกหวีดหมดเวลำ) 4. เมื่อหมดเวลำในแต่ละคน ให้วงกลับมำแตะมือคนต่อไป ิ่ ให้ออกไปต่อจิ๊กซอว์ แล้ววิงมำต่อแถวคนสุดท้ำย ่ 5. กลุ่มใดต่อเป็นรูปเมโลเดี้ยนเสร็จก่อนเป็นฝ่ำยชนะ เรียงตำมลำำดับที่ 1,2 แบบฝึกหัดที่ 1.2 เกม 5 ข้อ ขอให้ดูแลฉัน จุดประสงค์ เพื่อให้นักเรียนรู้จักวิธีกำรดูแลรักษำเมโลเดี้ยน อุปกรณ์ 1. แผ่นป้ำยประโยคกำรดูแลรักษำเมโลเดี้ยน แต่ละ ประโยคถูกตัดแบ่งเป็นหลำยข้อควำม ด้ำนหลังติดสติ๊กเกอร์แม่ เหล็ก 2. แผ่นป้ำยเหล็ก
  • 10. 10 วิธีเล่น 1. แบ่งนักเรียนเป็น 3 กลุ่ม 2. แต่ละกลุมได้รับแผ่นป้ำยสำำหรับเรียงประโยค กลุ่มละ 1 ่ ชุด 3. แต่ละกลุมต่อแถวตอนลึก เพื่อเตรียมนำำแผ่นป้ำยมำ ่ เรียงเป็นประโยคกำรดูแลรักษำ เมโลเดี้ยน 4. นักเรียนแต่ละคนมีเวลำในกำรเรียงแผ่นป้ำย คนละ 10 วินำที เมื่อเวลำหมด (ครูเป็นผู้เป่ำนกหวีดหมดเวลำ) ให้วงกลับ ิ่ มำแตะมือคนต่อไป แล้ววิงมำต่อแถวคนสุดท้ำย ่ 5. ครูจับเวลำรวมทังสิ้น 3 นำที ้ 6. กลุ่มเรียงประโยคได้ใจควำมมำกที่สุด กลุ่มนั้นเป็นฝ่ำย ชนะ