SlideShare a Scribd company logo
การพัฒนานวัตกรรมการสร้างความรู้
ตามแนวคอนสตรัคติวิสต์
Development of knowledge construction Innovation
งานบริการวิชาการ คณะศึกษาศาสตร์ ม.ขอนแก่น
ผศ.ดร.จารุณี ซามาตย์ สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ ม.ขอนแก่น
การจัดการเรียนรู้ตามแนว Constructivist
Session Goals
• ความหมายและความสาคัญของทฤษฎี Constructivist
• หลักการและองค์ประกอบที่สาคัญของการจัดการเรียนรู้ตามแนวคอนสรัคติ
วิสต์
• การปฏิบัติการสร้างสถานการณ์ปัญหา
• การปฏิบัติการสร้างฐานการช่วยเหลือความคิดรวบยอด Concept map
• ตัวอย่างการเขียนแผนการจัดการเรียนรู้ตามแนวคอนสตรัคติวิสต์
• กระบวนการจัดการเรียนรู้ตามแนวคอนสตรัคติวิสต์
การจัดการเรียนรู้ตามแนว Constructivist
ภารกิจที่ 1
•ให้คุณครูบอกหลักการหรือทฤษฎี
การเรียนรู้ที่นักศึกษารู้จักมาให้
มากที่สุดภายใน 10 นาที
การจัดการเรียนรู้ตามแนว Constructivist
ภารกิจที่ 2
•ให้คุณครูจัดกลุ่มทฤษฎีการเรียนรู้ โดย
ใช้หลักการหรือทฤษฎีการเรียนรู้ที่ได้
จากข้อ 1 พร้อมบอกเกณฑ์ในการ
แบ่งกลุ่ม ภายใน 10 นาที
“การสอน หรือการถ่ายทอดโดย
ครูผู้สอน หรือสื่อการสอน”
“การเน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
ที่ให้ความสาคัญต่อการเรียนรู้
ของผู้เรียน”
Constructivist มาจากไหน….?
จากครูถ่ายทอด
ผู้เรียน
สื่อ
ครู
แหล่งเรียนรู้
ภูมิปัญญาท้องถิ่น
เทคโนโลยี
เปลี่ยนกระบวนทัศน์
การเปลี่ยนกระบวนทัศน์ใหม่
การจัดการเรียนรู้
โมเดลการใช้สื่อการเรียนรู้ในการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ สุมาลี ชัยเจริญ, 2554
การสอน การเรียนรู้
สื่อการสอน สื่อการเรียนรู้
เปลี่ยนกระบวนทัศน์การจัดการเรียนรู้
คอนสตรัคติวิสต์
Cognitive Constructivism
• แนวคิดของ Piaget
• เน้นผู้เรียนเป็นผู้สร้างความรู้โดยการลงมือกระทา
Social Constructivism
• มีรากฐานมาจาก Vygotsky
• ปฎิสัมพันธ์ทางสังคมมีบทบาทสาคัญในการพัฒนาด้านพุทธิปัญญา
• ศักยภาพในการพัฒนาด้านพุทธิปัญญาอาจมีข้อจากัดเกี่ยวกับ
ช่วงของการพัฒนาที่รียกว่า Zone of Proximal Development
• ผู้เรียนสร้างความรู้โดยผ่านทางการมีปฏิสัมพันธ์ทางสังคมกับผู้อื่น
การสร้างความรู้
แนวคิดเกี่ยวกับการออกแบบสื่อการเรียนรู้
สถานการณ์ปัญหา
ผู้เรียน
ผู้เรียนเสียความสมดุลทางปัญญา
ผู้เรียนปรับความสมดุลทางปัญญา
Assimilation Accommodation
สร้างความรู้ขึ้นมา
Cognitive constructivism
โครงสร้างทางปัญญา
กระตุ้น
ข้อมูลใหม่
แนวคิดเกี่ยวกับการออกแบบสื่อการเรียนรู้
ผู้เรียน
สร้างความรู้ขึ้นมา
Social constructivism
โครงสร้างทางปัญญา
ปฏิสัมพันธ์
ทางสังคม
ภาษา
วัฒนธรรม
Social constructivism: Vygotsky
Zone of proximal Development (zo-ped)
ผู้เรียน: เรียนรู้ได้ด้วยตนเอง
ผู้เรียน: ต้องได้รับการช่วยเหลือ
“ ศักยภาพในการพัฒนาด้านพุทธิปัญญาอาจมีข้อจากัดเกี่ยวกับช่วงของ
การพัฒนาที่รียกว่า Zone of Proximal Development”
หลักการและองค์ประกอบที่สาคัญของการจัดการเรียนรู้
ตามแนวคอนสตรัคติสิซึม
1. สถานการณ์ที่เป็นปัญหา(PROBLEM BASE)
2. แหล่งความรู้ (DATA BANK)
3. ฐานความช่วยเหลือ (SCAFFOLDING)
4. ผู้ฝึกสอน (COACHING)
5. การร่วมมือกันแก้ปัญหา (COLLABORATION)
แนวคิดเกี่ยวกับการออกแบบสื่อการเรียนรู้
สถานการณ์ปัญหา (PROBLEM BASE)
มาจากพื้นฐานของ Cognitive Constructivism ของเพียเจต์เชื่อ
ว่าถ้าผู้เรียนถูกกระตุ้นด้วยปัญหา (Problem) ที่ก่อให้เกิดความขัดแย้ง
ทางปัญญา (Cognitive conflict) หรือเรียกว่าเกิดการเสียสมดุลทาง
ปัญญา ผู้เรียนต้องพยายามปรับโครงสร้างทางปัญญาให้เข้าสู่ภาวะ
สมดุล (Equilibrium) โดยการดูดซึม (Assimilation) หรือการ
ปรับเปลี่ยนโครงสร้างทางปัญญา(Accommodation) จนกระทั่งผู้เรียน
สามารถปรับโครงสร้างทางปัญญาเข้าสู่สภาพสมดุลหรือสามารถที่จะ
สร้างความรู้ใหม่ขึ้นมาได้ หรือเกิดการเรียนรู้นั่นเอง
แหล่งความรู้ (DATA BANK)
เป็นที่รวบรวมข้อมูล เนื้อหา สารสนเทศ ที่ผู้เรียนจะใช้ในการ
แก้สถานการณ์ปัญหาที่ผู้เรียนเผชิญ ซึ่งแหล่งเรียนรู้ในสิ่งแวดล้อม
ทางการเรียนรู้ฯ ไม่ใช่เพียงแค่เป็นเพียงแหล่งรวบรวมเนื้อหาเท่านั้น
แต่รวมถึงสิ่งต่างๆ ที่ผู้เรียนจะใช้ในการแสวงหาและ
ค้นพบคาตอบ (Discovery)
ฐานความช่วยเหลือ (SCAFFOLDING)
มาจากแนวคิดของ Social Constructivism ของ Vygotsky ที่
เชื่อว่า ถ้าผู้เรียนอยู่ต่ากว่า Zone of Proximal Development ไม่สามารถ
เรียนรู้ด้วยตนเองได้ จาเป็นที่จะต้องได้รับการช่วยเหลือที่เรียกว่า
Scaffolding ซึ่งฐานความช่วยเหลือจะสนับสนุนผู้เรียนในการแก้ปัญหา
หรือการเรียนรู้ ในกรณีที่ไม่สามารถปฏิบัติภารกิจให้สาเร็จด้วยตัวเอง
ได้ โดยฐานความช่วยเหลืออาจเป็นคาแนะนา แนวทาง
ตลอดจนกลยุทธ์ต่างๆในการแก้ปัญหาหรือ
ปฏิบัติภารกิจการเรียนรู้
ผู้ฝึกสอน (COACHING)
มาจากพื้นฐาน Situated Cognition และ Situated Learning ของ
Brown&Collins (1989) หลักการนี้ได้กลายมาเป็นแนวทางในการ
จัดการเรียนรู้ตามแนวคอนสตรัคติวิสต์ ที่ได้เปลี่ยนบทบาท
ของครูที่ทาหน้าที่ในการ “ถ่ายทอดความรู้” มา
เป็น “ผู้ฝึกสอน” ที่ให้ความช่วยเหลือ การให้คาแนะนา
สาหรับผู้เรียน จะเป็นการฝึกหัดผู้เรียนโดยการให้ความรู้แก่ผู้เรียนใน
เชิงการให้การรู้คิดและการสร้างปัญญา
การร่วมมือกันแก้ปัญหา (COLLABORATION)
เป็นอีกองค์ประกอบหนึ่ง ที่มีส่วนสนับสนุนให้ผู้เรียน
ได้แลกเปลี่ยนประสบการณ์กับผู้อื่น เพื่อขยายมุมมอง
ให้แก่ตนเอง การร่วมมือกันแก้ปัญหาจะสนับสนุนให้ผู้เรียนเกิด
การคิดไตร่ตรอง (Reflective Thinking) เป็นแหล่งที่เปิ ดโอกาสให้ทั้ง
ผู้เรียน ผู้สอน ผู้เชี่ยวชาญ ได้สนทนาแสดงความคิดเห็นของตนเอง
กับผู้อื่น สาหรับการออกแบบการร่วมมือกันแก้ปัญหาในขณะสร้าง
ความรู้ นอกจากนี้การร่วมมือกันแก้ปัญหายังเป็นส่วนสาคัญในการ
ปรับเปลี่ยนและป้ องกันความเข้าใจที่คลาดเคลื่อน
(Misconception) ที่จะเกิดขึ้นในขณะที่เรียนรู้ รวมทั้ง
การขยายแนวคิด
การจัดการเรียนรู้ตามแนว Constructivist
การปฏิบัติการสร้างสถานการณ์ปัญหา
Problem-based learning
การจัดการเรียนรู้ตามแนว Constructivist
Cognitive Constructivism
• แนวคิดของ Piaget
• เน้นผู้เรียนเป็นผู้สร้างความรู้โดยการลงมือกระทา
การเรียนรู้ที่ใช้ปัญหาเป็นหลัก (Problem-Based Learning)
(สุมาลี ชัยเจริญ และอิศรา ก้านจักร, 2550)
การจัดการเรียนรู้ตามแนว Constructivist
20
สถานการณ์ปัญหา
ผู้เรียน
ผู้เรียนเสียความสมดุลทางปัญญา
ผู้เรียนปรับความสมดุลทางปัญญา
การเรียนรู้
ข้อมูลใหม่
ค้นหาคาตอบ
วิธีการดูดซึม
(Assimilation)
การปรับเปลี่ยนโครงสร้าง
ทางปัญญา(Accomodation)
ค้นหาคาตอบ
(สุมาลี ชัยเจริญ และอิศรา ก้านจักร, 2550)
การจัดการเรียนรู้ตามแนว Constructivist
เลือกหัวเรื่องเนื้อหา
การเขียน Key Concept
สร้างเรื่องราวสถานการณ์ที่เป็ นปัญหา
ผูกปมปัญหา กาหนดภารกิจการเรียนรู้
การสร้างสถานการณ์ปัญหา
(สุมาลี ชัยเจริญ และอิศรา ก้านจักร, 2550)
การจัดการเรียนรู้ตามแนว Constructivist
หลักการสาคัญในการออกแบบสถานการณ์ปัญหา
1. วิเคราะห์ Key Concept ของเนื้อหาที่จะใช้สอน
โปรตีน
เป็ นสารอาหารที่มากในเนื้อสัตว์
และถั่ว ช่วยในการเสริมสร้างและ
ซ่อมแซมส่วนที่สึกหรอของ
กล้ามเนื้อ
การจัดการเรียนรู้ตามแนว Constructivist
2. นา Key Concept ดังกล่าวมาสร้างเป็ นสถานการณ์ที่เป็ นปัญหา
สมมติว่าตอนนี้ท่านเป็ นนักโภชนาการ ประจาศูนย์สุขภาพ
ซึ่งมีหน้าที่ในการให้คาแนะนาเกี่ยวกับการดูแลสุขอนามัย
ของประชาชน ในวันนี้มีผู้ป่ วยรายหนึ่ง ชื่อ นายสมชาย เป็ น
คนที่มีกล้ามเนื้อไม่แข็งแรง ผอมแห้ง แรงน้อย แคระแกรน
เหนื่อยง่าย เขาเป็ นคนที่ชอบกินผักและผลไม้ แต่ไม่ชอบ
กินเนื้อสัตว์ ในฐานะที่ท่านเป็ นนักโภชนาการจะมีวิธีการ
ช่วยเหลือนายสมชายอย่างไร เพื่อให้กลับมามีสุขภาพที่
แข็งแรงและมีรูปร่างที่สง่างามสมชายเหมือนชื่อ
การจัดการเรียนรู้ตามแนว Constructivist
3. ผูกปมปัญหา ให้ผู้เรียนต้องลงไปแก้ปัญหามุ่งเน้นปัญหาที่ต้อ
ให้ผู้เรียนวิเคราะห์
1. ทาการวิเคราะห์ว่านายสมชาย มีปัญหาเรื่องสุขภาพเนื่องมาจาก
สาเหตุใดพร้อมให้เหตุผล
2. อธิบายแนวทางในการแก้ปัญหาสุขภาพของนายสมชายพร้อม
ให้เหตุผล
3. บอกวิธีการปฏิบัติตนเพื่อป้ องกันการเกิดปัญหาดังกล่าว
ภารกิจการเรียนรู้
การจัดการเรียนรู้ตามแนว Constructivist
1. วิเคราะห์ Key Concept ของเนื้อหาที่จะเรียน
2. นา Key Concept ดังกล่าวมาสร้างเป็นสถานการณ์ที่เป็นปัญหา
3. ผูกปมปัญหา ให้ผู้เรียนต้องลงไปแก้ปัญหามุ่งเน้นปัญหาที่ต้อง
กระตุ้นให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้
เลือกหัวเรื่องเนื้อหา
ภารกิจที่ 2
ใช้เวลา 30 นาที พร้อมนาเสนอ
การจัดการเรียนรู้ตามแนว Constructivist
ฐานความช่วยเหลือ
(Scaffolding)
การจัดการเรียนรู้ตามแนว Constructivist
•Social Constructivism
• มีรากฐานมาจาก Vygotsky
• ศักยภาพในการพัฒนาด้านพุทธิปัญญาอาจมีข้อจากัดเกี่ยวกับ
ช่วงของการพัฒนาที่เรียกว่า
Zone of Proximal Development
ScaffoldingScaffolding
(สุมาลี ชัยเจริญ และอิศรา ก้านจักร, 2550)
การจัดการเรียนรู้ตามแนว Constructivist
Social constructivism: Vygotsky
Zone of proximal Development (zo-ped)
ผู้เรียน: เรียนรู้ได้ด้วยตนเอง
ผู้เรียน: ต้องได้รับการช่วยเหลือ
Scaffolding
(สุมาลี ชัยเจริญ และอิศรา ก้านจักร, 2550)
การจัดการเรียนรู้ตามแนว Constructivist
Conceptual Scaffolding
ฐานความช่วยเหลือด้านความคิดรวบยอด
การจัดการเรียนรู้ตามแนว Constructivist
 เป็นสิ่งที่ช่วยทาให้ผู้เรียนสร้างความคิดรวบยอดเกี่ยวกับเรื่องที่เรียน
 แยกแยะความรู้ที่เป็นความคิดรวบยอดที่สาคัญ ที่เกี่ยวข้องกับปัญหา
 การสร้างโครงสร้างที่จะทาโดยแยกไปสู่การจัดหมวดหมู่ของความคิด
รวบยอด เช่น
• กลไกการจัดลาดับความสัมพันธ์ โดยใช้ภาพกราฟิกแสดงความคิดเห็น
• การแสดงเป็นเค้าโครงของลักษณะที่แยกเป็นส่วยย่อย
• สารสนเทศหรือการบอกใบ้โดยผู้เชี่ยวชาญ
การออกแบบ Conceptual Scaffolding
(สุมาลี ชัยเจริญ และอิศรา ก้านจักร, 2550)
การจัดการเรียนรู้ตามแนว Constructivist
โปรตีน
สัตว์
พืช
แหล่งที่มา ประโยชน์
เป็ นสารอาหารที่มากในเนื้อสัตว์ช่วย
ในการเสริมสร้างและซ่อมแซมส่วนที่
สึกหรอ
ผลจากการขาดโปรตีน
Conceptual Scaffolding
การจัดการเรียนรู้ตามแนว Constructivist
การเขียนแผนการจัดการเรียนรู้ตามแนวคอนสตรัคติวิสต์
• องค์ประกอบของแผนการจัดการเรียนรู้
ภารกิจที่ 4
ให้นักศึกษาเขียนองค์ประกอบที่สาคัญของแผนการจัดการ
เรียนรู้• ใช้เวลา 20 นาที พร้อมนาเสนอ
• ตัวอย่างแผนการจัดการเรียนรู้ตามแนวคอนสตรัคติวิสต์
การจัดการเรียนรู้ตามแนว Constructivist
กระบวนการจัดการเรียนรู้ตามแนว Constructivist
อธิบายวิธีการจัดการเรียนรู้ให้ผู้เรียนทราบ
แบ่งกลุ่มผู้เรียนในการทากิจกรรมกลุ่มละ 3
คน
ครูนาเข้าสู่บทเรียนโดยเชื่อมโยงความรู้เดิม
กับความรู้ใหม่สิ่งที่จะเรียน
ผู้เรียนลงมือเรียนรู้จากนวัตกรรมที่ส่งเสริมการคิด
ศึกษาสถานการณ์ปัญหา
และภารกิจการเรียนรู้
แหล่งการเรียนรู้
ฐานความช่วยเหลือ
-ด้านความคิดรวบ
ยอด
ปรึกษาเพื่อน
ปรึกษาผู้เชี่ยวชาญ
สรุปเป็ นแนวทางแก้ปัญหา
ผู้เชี่ยวชาญสะท้อนผลและ
เสนอแนะแนวทาง
แก้ปัญหา
แสวงหาแนวทาง
แก้ปัญหา
ไม่สามารถแก้ปัญหา
ได้

(สุมาลี ชัยเจริญ และอิศรา ก้านจักร, 2550)
การจัดการเรียนรู้ตามแนว Constructivist
กรอบแนวคิดในการจัดการเรียนรู้
เชื่อมโยงความรู้เดิมกับความรู้ใหม่
มอบหมายภารกิจการเรียนรู้
• ตั้งประเด็นคาถาม
• สารวจ ค้นหา เสาะแสวงหาความรู้
• ทดลอง
เปิ ดโอกาสให้ผู้เรียนสืบค้นสารสนเทศจากแหล่งเรียนรู้
เปิ ดโอกาสให้ผู้เรียนแลกเปลี่ยนความรู้ระหว่างกัน
นาความรู้มาสร้างเป็ นผลงาน
ผู้เรียนนาเสนอผลงาน สรุปบทเรียน
(สุมาลี ชัยเจริญ และอิศรา ก้านจักร, 2550)
การจัดการเรียนรู้ตามแนว Constructivist
Q&A

More Related Content

What's hot

การจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดคอนสตรัคติวิสต์
การจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดคอนสตรัคติวิสต์การจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดคอนสตรัคติวิสต์
การจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดคอนสตรัคติวิสต์Fern's Supakyada
 
ทฤษฎีการสร้างความรู้
ทฤษฎีการสร้างความรู้ทฤษฎีการสร้างความรู้
ทฤษฎีการสร้างความรู้Rainbow Tiwa
 
บทที่ 5 การสอนตามแนวสรรคนิยม
บทที่ 5 การสอนตามแนวสรรคนิยมบทที่ 5 การสอนตามแนวสรรคนิยม
บทที่ 5 การสอนตามแนวสรรคนิยมSana T
 
ทฤษฎีการสร้างความรู้
ทฤษฎีการสร้างความรู้ทฤษฎีการสร้างความรู้
ทฤษฎีการสร้างความรู้guestfc034
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่Jo Smartscience II
 
ทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตนเอง(Constructivism)
ทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตนเอง(Constructivism)ทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตนเอง(Constructivism)
ทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตนเอง(Constructivism)
Mamoss CM
 
นายธนศิษฎ์ ศรีเมือง 525050434-9
นายธนศิษฎ์ ศรีเมือง 525050434-9นายธนศิษฎ์ ศรีเมือง 525050434-9
นายธนศิษฎ์ ศรีเมือง 525050434-9maxcrycry
 
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธินิยม
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธินิยมทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธินิยม
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธินิยม
Naracha Nong
 
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มคอนสตรัคติวิสต์และการออกแบบการสอน
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มคอนสตรัคติวิสต์และการออกแบบการสอนทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มคอนสตรัคติวิสต์และการออกแบบการสอน
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มคอนสตรัคติวิสต์และการออกแบบการสอนNisachol Poljorhor
 
บทที่ 2 ทฤษฎีการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้องกับนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเ...
บทที่ 2 ทฤษฎีการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้องกับนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเ...บทที่ 2 ทฤษฎีการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้องกับนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเ...
บทที่ 2 ทฤษฎีการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้องกับนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเ...
Natcha Wannakot
 
กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็นอย่างไร
กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็นอย่างไรกระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็นอย่างไร
กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็นอย่างไรAlbert Sigum
 
ภารกิจครูมือใหม่
ภารกิจครูมือใหม่ภารกิจครูมือใหม่
ภารกิจครูมือใหม่Phornpen Fuangfoo
 
ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้
eubeve
 
การสอนแบบสืบเสาะ
การสอนแบบสืบเสาะการสอนแบบสืบเสาะ
การสอนแบบสืบเสาะWeerachat Martluplao
 
ทฤษฎีสร้างความรู้ใหม่โดยผู้เรียนเอง
ทฤษฎีสร้างความรู้ใหม่โดยผู้เรียนเองทฤษฎีสร้างความรู้ใหม่โดยผู้เรียนเอง
ทฤษฎีสร้างความรู้ใหม่โดยผู้เรียนเองduenka
 
เทคนิคการจัดการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาทักษะการคิดด้วยรูปแบบต่าง ๆ
เทคนิคการจัดการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาทักษะการคิดด้วยรูปแบบต่าง ๆ เทคนิคการจัดการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาทักษะการคิดด้วยรูปแบบต่าง ๆ
เทคนิคการจัดการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาทักษะการคิดด้วยรูปแบบต่าง ๆ
Naracha Nong
 
Cognitivism
CognitivismCognitivism
Cognitivism
Pitanya Candy
 

What's hot (20)

การจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดคอนสตรัคติวิสต์
การจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดคอนสตรัคติวิสต์การจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดคอนสตรัคติวิสต์
การจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดคอนสตรัคติวิสต์
 
ทฤษฎีการสร้างความรู้
ทฤษฎีการสร้างความรู้ทฤษฎีการสร้างความรู้
ทฤษฎีการสร้างความรู้
 
บทที่ 5 การสอนตามแนวสรรคนิยม
บทที่ 5 การสอนตามแนวสรรคนิยมบทที่ 5 การสอนตามแนวสรรคนิยม
บทที่ 5 การสอนตามแนวสรรคนิยม
 
ทฤษฎีการสร้างความรู้
ทฤษฎีการสร้างความรู้ทฤษฎีการสร้างความรู้
ทฤษฎีการสร้างความรู้
 
ครูฝึกหัด
ครูฝึกหัดครูฝึกหัด
ครูฝึกหัด
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
ทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตนเอง(Constructivism)
ทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตนเอง(Constructivism)ทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตนเอง(Constructivism)
ทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตนเอง(Constructivism)
 
นายธนศิษฎ์ ศรีเมือง 525050434-9
นายธนศิษฎ์ ศรีเมือง 525050434-9นายธนศิษฎ์ ศรีเมือง 525050434-9
นายธนศิษฎ์ ศรีเมือง 525050434-9
 
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธินิยม
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธินิยมทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธินิยม
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธินิยม
 
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มคอนสตรัคติวิสต์และการออกแบบการสอน
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มคอนสตรัคติวิสต์และการออกแบบการสอนทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มคอนสตรัคติวิสต์และการออกแบบการสอน
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มคอนสตรัคติวิสต์และการออกแบบการสอน
 
บทที่ 2 ทฤษฎีการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้องกับนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเ...
บทที่ 2 ทฤษฎีการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้องกับนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเ...บทที่ 2 ทฤษฎีการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้องกับนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเ...
บทที่ 2 ทฤษฎีการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้องกับนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเ...
 
กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็นอย่างไร
กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็นอย่างไรกระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็นอย่างไร
กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็นอย่างไร
 
ภารกิจครูมือใหม่
ภารกิจครูมือใหม่ภารกิจครูมือใหม่
ภารกิจครูมือใหม่
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้ทฤษฎีการเรียนรู้
ทฤษฎีการเรียนรู้
 
การสอนแบบสืบเสาะ
การสอนแบบสืบเสาะการสอนแบบสืบเสาะ
การสอนแบบสืบเสาะ
 
ทฤษฎีสร้างความรู้ใหม่โดยผู้เรียนเอง
ทฤษฎีสร้างความรู้ใหม่โดยผู้เรียนเองทฤษฎีสร้างความรู้ใหม่โดยผู้เรียนเอง
ทฤษฎีสร้างความรู้ใหม่โดยผู้เรียนเอง
 
เทคนิคการจัดการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาทักษะการคิดด้วยรูปแบบต่าง ๆ
เทคนิคการจัดการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาทักษะการคิดด้วยรูปแบบต่าง ๆ เทคนิคการจัดการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาทักษะการคิดด้วยรูปแบบต่าง ๆ
เทคนิคการจัดการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาทักษะการคิดด้วยรูปแบบต่าง ๆ
 
Cognitivism
CognitivismCognitivism
Cognitivism
 
Innovation
InnovationInnovation
Innovation
 

Viewers also liked

3 d printer
3 d printer3 d printer
3 d printer
Sujitra Sara-in
 
Mini book นวัตกรรม
Mini book นวัตกรรมMini book นวัตกรรม
Mini book นวัตกรรมSuparat Boonkum
 
Chapter 7
Chapter 7 Chapter 7
Chapter 7
Suparat Boonkum
 
เทคโนโลยีสารสนเทศเครื่องมือขับเคลื่อนไปสู่องค์การแห่งการเรียนรู้อย่างยั่งยืน
เทคโนโลยีสารสนเทศเครื่องมือขับเคลื่อนไปสู่องค์การแห่งการเรียนรู้อย่างยั่งยืนเทคโนโลยีสารสนเทศเครื่องมือขับเคลื่อนไปสู่องค์การแห่งการเรียนรู้อย่างยั่งยืน
เทคโนโลยีสารสนเทศเครื่องมือขับเคลื่อนไปสู่องค์การแห่งการเรียนรู้อย่างยั่งยืน
Prachyanun Nilsook
 
นวัตกรรมการเรียนรู้สู่ทศวรรษหน้า#2
นวัตกรรมการเรียนรู้สู่ทศวรรษหน้า#2นวัตกรรมการเรียนรู้สู่ทศวรรษหน้า#2
นวัตกรรมการเรียนรู้สู่ทศวรรษหน้า#2
Prachyanun Nilsook
 
อาชีพในอนาคต
อาชีพในอนาคตอาชีพในอนาคต
อาชีพในอนาคต
Prachyanun Nilsook
 
Social media2
Social media2Social media2
Social media2
Prachyanun Nilsook
 
เทคโนโลยีสารสนเทศเครื่องมือขับเคลื่อนไปสู่องค์การแห่งการเรียนรู้อย่างยั่งยืน
เทคโนโลยีสารสนเทศเครื่องมือขับเคลื่อนไปสู่องค์การแห่งการเรียนรู้อย่างยั่งยืน เทคโนโลยีสารสนเทศเครื่องมือขับเคลื่อนไปสู่องค์การแห่งการเรียนรู้อย่างยั่งยืน
เทคโนโลยีสารสนเทศเครื่องมือขับเคลื่อนไปสู่องค์การแห่งการเรียนรู้อย่างยั่งยืน
Prachyanun Nilsook
 
รูปทรงเรขาคณิตสามมิติ
รูปทรงเรขาคณิตสามมิติรูปทรงเรขาคณิตสามมิติ
รูปทรงเรขาคณิตสามมิติ
Suparat Boonkum
 
การเรียนรู้แบบกัมมันต (Active learning)
การเรียนรู้แบบกัมมันต (Active  learning)การเรียนรู้แบบกัมมันต (Active  learning)
การเรียนรู้แบบกัมมันต (Active learning)
Prachyanun Nilsook
 
PPT นวัตกรรมการศึกษา7ประเภท : การบริหารจัดการศึกษา โรงเรียนวิถีพุทธ
PPT นวัตกรรมการศึกษา7ประเภท : การบริหารจัดการศึกษา โรงเรียนวิถีพุทธPPT นวัตกรรมการศึกษา7ประเภท : การบริหารจัดการศึกษา โรงเรียนวิถีพุทธ
PPT นวัตกรรมการศึกษา7ประเภท : การบริหารจัดการศึกษา โรงเรียนวิถีพุทธ
auei angkana
 
เทคนิคการสอนตาม Tqf3
เทคนิคการสอนตาม Tqf3เทคนิคการสอนตาม Tqf3
เทคนิคการสอนตาม Tqf3
Prachyanun Nilsook
 
นวัตกรรมการศึกษา 7 ประเภท
นวัตกรรมการศึกษา 7 ประเภทนวัตกรรมการศึกษา 7 ประเภท
นวัตกรรมการศึกษา 7 ประเภทNGamtip
 
หัวข้อวิจัยทางเทคโนโลยีการศึกษาในยุค Thailand 4.0
หัวข้อวิจัยทางเทคโนโลยีการศึกษาในยุค Thailand 4.0หัวข้อวิจัยทางเทคโนโลยีการศึกษาในยุค Thailand 4.0
หัวข้อวิจัยทางเทคโนโลยีการศึกษาในยุค Thailand 4.0
Prachyanun Nilsook
 
ตัวอย่างนวัตกรรม
ตัวอย่างนวัตกรรมตัวอย่างนวัตกรรม
ตัวอย่างนวัตกรรมsomdetpittayakom school
 

Viewers also liked (17)

Chapter 10
Chapter 10Chapter 10
Chapter 10
 
Chapter7
Chapter7 Chapter7
Chapter7
 
3 d printer
3 d printer3 d printer
3 d printer
 
Mini book นวัตกรรม
Mini book นวัตกรรมMini book นวัตกรรม
Mini book นวัตกรรม
 
Chapter 7
Chapter 7 Chapter 7
Chapter 7
 
เทคโนโลยีสารสนเทศเครื่องมือขับเคลื่อนไปสู่องค์การแห่งการเรียนรู้อย่างยั่งยืน
เทคโนโลยีสารสนเทศเครื่องมือขับเคลื่อนไปสู่องค์การแห่งการเรียนรู้อย่างยั่งยืนเทคโนโลยีสารสนเทศเครื่องมือขับเคลื่อนไปสู่องค์การแห่งการเรียนรู้อย่างยั่งยืน
เทคโนโลยีสารสนเทศเครื่องมือขับเคลื่อนไปสู่องค์การแห่งการเรียนรู้อย่างยั่งยืน
 
นวัตกรรมการเรียนรู้สู่ทศวรรษหน้า#2
นวัตกรรมการเรียนรู้สู่ทศวรรษหน้า#2นวัตกรรมการเรียนรู้สู่ทศวรรษหน้า#2
นวัตกรรมการเรียนรู้สู่ทศวรรษหน้า#2
 
อาชีพในอนาคต
อาชีพในอนาคตอาชีพในอนาคต
อาชีพในอนาคต
 
Social media2
Social media2Social media2
Social media2
 
เทคโนโลยีสารสนเทศเครื่องมือขับเคลื่อนไปสู่องค์การแห่งการเรียนรู้อย่างยั่งยืน
เทคโนโลยีสารสนเทศเครื่องมือขับเคลื่อนไปสู่องค์การแห่งการเรียนรู้อย่างยั่งยืน เทคโนโลยีสารสนเทศเครื่องมือขับเคลื่อนไปสู่องค์การแห่งการเรียนรู้อย่างยั่งยืน
เทคโนโลยีสารสนเทศเครื่องมือขับเคลื่อนไปสู่องค์การแห่งการเรียนรู้อย่างยั่งยืน
 
รูปทรงเรขาคณิตสามมิติ
รูปทรงเรขาคณิตสามมิติรูปทรงเรขาคณิตสามมิติ
รูปทรงเรขาคณิตสามมิติ
 
การเรียนรู้แบบกัมมันต (Active learning)
การเรียนรู้แบบกัมมันต (Active  learning)การเรียนรู้แบบกัมมันต (Active  learning)
การเรียนรู้แบบกัมมันต (Active learning)
 
PPT นวัตกรรมการศึกษา7ประเภท : การบริหารจัดการศึกษา โรงเรียนวิถีพุทธ
PPT นวัตกรรมการศึกษา7ประเภท : การบริหารจัดการศึกษา โรงเรียนวิถีพุทธPPT นวัตกรรมการศึกษา7ประเภท : การบริหารจัดการศึกษา โรงเรียนวิถีพุทธ
PPT นวัตกรรมการศึกษา7ประเภท : การบริหารจัดการศึกษา โรงเรียนวิถีพุทธ
 
เทคนิคการสอนตาม Tqf3
เทคนิคการสอนตาม Tqf3เทคนิคการสอนตาม Tqf3
เทคนิคการสอนตาม Tqf3
 
นวัตกรรมการศึกษา 7 ประเภท
นวัตกรรมการศึกษา 7 ประเภทนวัตกรรมการศึกษา 7 ประเภท
นวัตกรรมการศึกษา 7 ประเภท
 
หัวข้อวิจัยทางเทคโนโลยีการศึกษาในยุค Thailand 4.0
หัวข้อวิจัยทางเทคโนโลยีการศึกษาในยุค Thailand 4.0หัวข้อวิจัยทางเทคโนโลยีการศึกษาในยุค Thailand 4.0
หัวข้อวิจัยทางเทคโนโลยีการศึกษาในยุค Thailand 4.0
 
ตัวอย่างนวัตกรรม
ตัวอย่างนวัตกรรมตัวอย่างนวัตกรรม
ตัวอย่างนวัตกรรม
 

Similar to การพัฒนานวัตกรรมการสร้างความรู้ตามแนวคอนสตรัคติวิสต์

Ku 620507
Ku 620507Ku 620507
Ku 620507
Pattie Pattie
 
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 6 new2
แผนบริหารการสอนประจำบทที่  6 new2แผนบริหารการสอนประจำบทที่  6 new2
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 6 new2
นางสาวอัมพร แสงมณี
 
Learning outcome of learners in knowledge construction web based learning env...
Learning outcome of learners in knowledge construction web based learning env...Learning outcome of learners in knowledge construction web based learning env...
Learning outcome of learners in knowledge construction web based learning env...Tar Bt
 
Learning outcome of learners in knowledge construction web based learning env...
Learning outcome of learners in knowledge construction web based learning env...Learning outcome of learners in knowledge construction web based learning env...
Learning outcome of learners in knowledge construction web based learning env...
Tar Bt
 
หลักสูตรโรงเรียนดรุณสิกขาลัย
หลักสูตรโรงเรียนดรุณสิกขาลัยหลักสูตรโรงเรียนดรุณสิกขาลัย
หลักสูตรโรงเรียนดรุณสิกขาลัย
Kanyarat Sirimathep
 
Problem based learning 3
Problem based learning 3Problem based learning 3
Problem based learning 3
Isaiah Thuesayom
 
การออกแบบการสอน
การออกแบบการสอนการออกแบบการสอน
การออกแบบการสอนguest68e3471
 
การออกแบบการสอน
การออกแบบการสอนการออกแบบการสอน
การออกแบบการสอน
guest68e3471
 
การออกแบบการสอน
การออกแบบการสอนการออกแบบการสอน
การออกแบบการสอน
narongsak promwang
 
กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็น อ.ต้าร์
กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็น อ.ต้าร์กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็น อ.ต้าร์
กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็น อ.ต้าร์
Albert Sigum
 
กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็น อ.ต้าร์
กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็น อ.ต้าร์กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็น อ.ต้าร์
กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็น อ.ต้าร์Albert Sigum
 
เค้าโครงวิจัยปริญญาเอก
เค้าโครงวิจัยปริญญาเอกเค้าโครงวิจัยปริญญาเอก
เค้าโครงวิจัยปริญญาเอกarunrat bamrungchit
 
การจัดการหลักสูตรทางเลือก ดรุณสิกขาลัย
การจัดการหลักสูตรทางเลือก ดรุณสิกขาลัย การจัดการหลักสูตรทางเลือก ดรุณสิกขาลัย
การจัดการหลักสูตรทางเลือก ดรุณสิกขาลัย
Kanyarat Sirimathep
 
Utq 2128 1-pdf
Utq 2128 1-pdfUtq 2128 1-pdf
Utq 2128 1-pdf
Sircom Smarnbua
 
กศ. เพื่อพัฒนาท้องถิ่น ม. กาฬสินธุ์ 590728
กศ. เพื่อพัฒนาท้องถิ่น ม. กาฬสินธุ์ 590728กศ. เพื่อพัฒนาท้องถิ่น ม. กาฬสินธุ์ 590728
กศ. เพื่อพัฒนาท้องถิ่น ม. กาฬสินธุ์ 590728
Pattie Pattie
 
201701 presentation
201701 presentation201701 presentation
201701 presentation
Pitanya Candy
 
ภารกิจระดับครูมือใหม่
ภารกิจระดับครูมือใหม่ภารกิจระดับครูมือใหม่
ภารกิจระดับครูมือใหม่Vachii Ra
 
201704_cognitive_weapon
201704_cognitive_weapon201704_cognitive_weapon
แนวทางการออกแบบหลักสูตรอุดมศึกษาใน ศ.21
แนวทางการออกแบบหลักสูตรอุดมศึกษาใน ศ.21แนวทางการออกแบบหลักสูตรอุดมศึกษาใน ศ.21
แนวทางการออกแบบหลักสูตรอุดมศึกษาใน ศ.21
Wiriyah Ruechaipanit
 

Similar to การพัฒนานวัตกรรมการสร้างความรู้ตามแนวคอนสตรัคติวิสต์ (20)

Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
Ku 620507
Ku 620507Ku 620507
Ku 620507
 
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 6 new2
แผนบริหารการสอนประจำบทที่  6 new2แผนบริหารการสอนประจำบทที่  6 new2
แผนบริหารการสอนประจำบทที่ 6 new2
 
Learning outcome of learners in knowledge construction web based learning env...
Learning outcome of learners in knowledge construction web based learning env...Learning outcome of learners in knowledge construction web based learning env...
Learning outcome of learners in knowledge construction web based learning env...
 
Learning outcome of learners in knowledge construction web based learning env...
Learning outcome of learners in knowledge construction web based learning env...Learning outcome of learners in knowledge construction web based learning env...
Learning outcome of learners in knowledge construction web based learning env...
 
หลักสูตรโรงเรียนดรุณสิกขาลัย
หลักสูตรโรงเรียนดรุณสิกขาลัยหลักสูตรโรงเรียนดรุณสิกขาลัย
หลักสูตรโรงเรียนดรุณสิกขาลัย
 
Problem based learning 3
Problem based learning 3Problem based learning 3
Problem based learning 3
 
การออกแบบการสอน
การออกแบบการสอนการออกแบบการสอน
การออกแบบการสอน
 
การออกแบบการสอน
การออกแบบการสอนการออกแบบการสอน
การออกแบบการสอน
 
การออกแบบการสอน
การออกแบบการสอนการออกแบบการสอน
การออกแบบการสอน
 
กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็น อ.ต้าร์
กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็น อ.ต้าร์กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็น อ.ต้าร์
กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็น อ.ต้าร์
 
กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็น อ.ต้าร์
กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็น อ.ต้าร์กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็น อ.ต้าร์
กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็น อ.ต้าร์
 
เค้าโครงวิจัยปริญญาเอก
เค้าโครงวิจัยปริญญาเอกเค้าโครงวิจัยปริญญาเอก
เค้าโครงวิจัยปริญญาเอก
 
การจัดการหลักสูตรทางเลือก ดรุณสิกขาลัย
การจัดการหลักสูตรทางเลือก ดรุณสิกขาลัย การจัดการหลักสูตรทางเลือก ดรุณสิกขาลัย
การจัดการหลักสูตรทางเลือก ดรุณสิกขาลัย
 
Utq 2128 1-pdf
Utq 2128 1-pdfUtq 2128 1-pdf
Utq 2128 1-pdf
 
กศ. เพื่อพัฒนาท้องถิ่น ม. กาฬสินธุ์ 590728
กศ. เพื่อพัฒนาท้องถิ่น ม. กาฬสินธุ์ 590728กศ. เพื่อพัฒนาท้องถิ่น ม. กาฬสินธุ์ 590728
กศ. เพื่อพัฒนาท้องถิ่น ม. กาฬสินธุ์ 590728
 
201701 presentation
201701 presentation201701 presentation
201701 presentation
 
ภารกิจระดับครูมือใหม่
ภารกิจระดับครูมือใหม่ภารกิจระดับครูมือใหม่
ภารกิจระดับครูมือใหม่
 
201704_cognitive_weapon
201704_cognitive_weapon201704_cognitive_weapon
201704_cognitive_weapon
 
แนวทางการออกแบบหลักสูตรอุดมศึกษาใน ศ.21
แนวทางการออกแบบหลักสูตรอุดมศึกษาใน ศ.21แนวทางการออกแบบหลักสูตรอุดมศึกษาใน ศ.21
แนวทางการออกแบบหลักสูตรอุดมศึกษาใน ศ.21
 

Recently uploaded

ภาษาอังกฤษ สำหรับนักวิปัสสนา เพื่อฝึกปฎิบัติ
ภาษาอังกฤษ สำหรับนักวิปัสสนา เพื่อฝึกปฎิบัติภาษาอังกฤษ สำหรับนักวิปัสสนา เพื่อฝึกปฎิบัติ
ภาษาอังกฤษ สำหรับนักวิปัสสนา เพื่อฝึกปฎิบัติ
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
Artificial Intelligence in Education2.pdf
Artificial Intelligence in Education2.pdfArtificial Intelligence in Education2.pdf
Artificial Intelligence in Education2.pdf
Prachyanun Nilsook
 
bio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกัน
bio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกันbio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกัน
bio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกัน
CholapruekSangkamane1
 
ความสุจริตทางวิชาการ “เชื่อมไทยเชื่อมโลก”.pdf
ความสุจริตทางวิชาการ “เชื่อมไทยเชื่อมโลก”.pdfความสุจริตทางวิชาการ “เชื่อมไทยเชื่อมโลก”.pdf
ความสุจริตทางวิชาการ “เชื่อมไทยเชื่อมโลก”.pdf
Pattie Pattie
 
เรียนภาษาจีนด้วยตนเอง ฟรี ๒๔ ชั่วโมง.pdf
เรียนภาษาจีนด้วยตนเอง ฟรี ๒๔ ชั่วโมง.pdfเรียนภาษาจีนด้วยตนเอง ฟรี ๒๔ ชั่วโมง.pdf
เรียนภาษาจีนด้วยตนเอง ฟรี ๒๔ ชั่วโมง.pdf
ssuser0ffe4b
 
ส่วนหน้า สมฐ. วิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1.docx
ส่วนหน้า สมฐ. วิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1.docxส่วนหน้า สมฐ. วิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1.docx
ส่วนหน้า สมฐ. วิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1.docx
ArnonTonsaipet
 

Recently uploaded (6)

ภาษาอังกฤษ สำหรับนักวิปัสสนา เพื่อฝึกปฎิบัติ
ภาษาอังกฤษ สำหรับนักวิปัสสนา เพื่อฝึกปฎิบัติภาษาอังกฤษ สำหรับนักวิปัสสนา เพื่อฝึกปฎิบัติ
ภาษาอังกฤษ สำหรับนักวิปัสสนา เพื่อฝึกปฎิบัติ
 
Artificial Intelligence in Education2.pdf
Artificial Intelligence in Education2.pdfArtificial Intelligence in Education2.pdf
Artificial Intelligence in Education2.pdf
 
bio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกัน
bio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกันbio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกัน
bio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกัน
 
ความสุจริตทางวิชาการ “เชื่อมไทยเชื่อมโลก”.pdf
ความสุจริตทางวิชาการ “เชื่อมไทยเชื่อมโลก”.pdfความสุจริตทางวิชาการ “เชื่อมไทยเชื่อมโลก”.pdf
ความสุจริตทางวิชาการ “เชื่อมไทยเชื่อมโลก”.pdf
 
เรียนภาษาจีนด้วยตนเอง ฟรี ๒๔ ชั่วโมง.pdf
เรียนภาษาจีนด้วยตนเอง ฟรี ๒๔ ชั่วโมง.pdfเรียนภาษาจีนด้วยตนเอง ฟรี ๒๔ ชั่วโมง.pdf
เรียนภาษาจีนด้วยตนเอง ฟรี ๒๔ ชั่วโมง.pdf
 
ส่วนหน้า สมฐ. วิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1.docx
ส่วนหน้า สมฐ. วิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1.docxส่วนหน้า สมฐ. วิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1.docx
ส่วนหน้า สมฐ. วิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1.docx
 

การพัฒนานวัตกรรมการสร้างความรู้ตามแนวคอนสตรัคติวิสต์