SlideShare a Scribd company logo
ทฤษฎีการสร้างความรู้ (Constructivism)
               จัดทำาโดย
         นางสาวทิวาพร สุวรรณทัต
            ค.บ.3.3 เลขที่24
                          24
ทีมาของทฤษฏี
                       ่

           แนวคิด Constructivism เกี่ยวข้องกับธรรมชาติของความ
รู้ของมนุษย์ มีความหมายทั้งในเชิงจิตวิทยาและเชิงสังคมวิทยา
ทฤษฎีดานจิตวิทยา เริ่มต้นจาก Jean Piaget ซึ่งเสนอว่า การ
         ้
เรียนรู้ของเด็กเป็นกระบวนการส่วนบุคคลมีความเป็นอัตนัย
Vygotsky ได้ขยายขอบเขตการเรียนรู้ของแต่ละบุคคลว่า เกิด
จากการสื่อสารทางภาษากับบุคคลอื่น สำาหรับด้านสังคมวิทยา
Emile Durkheim และคณะ เชือว่าสภาพแวดล้อมทางสังคมมีผล
                               ่
ต่อการเสริมสร้างความรู้ใหม่
ลักษณะการพัฒนารูปแบบการ
       1. การสอนตามแนว Constructivism เน้นความ
      สอน
สำาคัญของกระบวนการเรียนรู้ของผูเรียน และความสำาคัญ
                               ้
ของความรู้เดิม
          2. เปิดโอกาสให้ผเรียนเป็นผูแสดงความรู้ได้ด้วย
                             ู้      ้
ตนเอง และสามารถสร้างความรู้ด้วยตนเองได้ ผูเรียนจะ
                                                ้
เป็นผูออกไปสังเกตสิ่งทีตนอยากรู้ มาร่วมกันอภิปราย
        ้                  ่
สรุปผลการค้นพบ แล้วนำาไปศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติมจาก
เอกสารวิชาการ หรือแหล่งความรู้ที่หาได้ เพื่อตรวจความ
รู้ที่ได้มา และเพิ่มเติมเป็นองค์ความรู้ทสมบูรณ์ต่อไป
                                        ี่
    3. การเรียนรู้ตองให้ผเรียนลงมือปฏิบัติจริง ค้นหา
                    ้       ู้
ความรู้ด้วยตนเอง จนค้นพบความรู้และรู้จักสิ่งที่คนพบ ้
เรียนรู้วิเคราะห์ตอจนรู้จริงว่า ลึก ๆ แล้วสิ่งนันคืออะไร มี
                  ่                             ้
ความสำาคัญมากน้อยเพียงไร และศึกษาค้นคว้าให้ลกซึ้ง     ึ
ลงไป จนถึงรู้แจ้ง
การประยุกต์ในการจัดกิจกรรมการ
             เรียนรู้
 การใช้สื่อและเทคโนโลยีที่เหมาะสมในการให้ผู้เรียน
  สร้างสาระการเรียนรู้และผลงานต่าง ๆ ด้วยตนเอง

 การสร้างสภาพแวดล้อมทีมีบรรยากาศทีหลากหลาย
                            ่         ่
  เปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้เลือกตามความสนใจ
 เปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้ทำาในสิ่งทีสนใจ ซึ่งจะทำาให้ผู้
                                    ่
  เรียนมีแรงจูงใจในการคิด การทำา และการเรียนรู้ต่อไป
 จัดสภาพแวดล้อมทีมีความแตกต่างกัน เพื่อประโยชน์
                       ่
  ในการเรียนรู้ เช่น วัย
     ความถนัด ความสามารถ และประสบการณ์
 สร้างบรรยากาศที่มีความเป็นมิตร
 ครูตองทำาหน้าที่อำานวยความสะดวกในการเรียนรู้แก่ผู้
       ้
  เรียน
 การประเมินผลการเรียนรู้ตองประเมินทังผลงานและ
                          ้          ้
  กระบวนการ
 ใช้วิธีการทีหลากหลายในการประเมิน เช่น การประเมิน
              ่
  ตนเอง การประเมินโดยครูและเพื่อน การสังเกต การ
  ประเมินโดยแฟ้มสะสมงาน
ตัวอย่างการประยุกต์ใช้ในการ
         เรียนการสอน
 เช่น เดิมจะใช้เทคนิคการสอนแบบ Step by Step คือ
ครูทำาให้ดูและผูเรียนทำาตามทีละ Step ไปเรื่อยๆ ซึ่งจะ
                    ้
สังเกตว่าผู้เรียนจะเรียนรู้เฉพาะเนือหาที่สอนเท่านัน
                                   ้               ้
และบางคนที่รู้คำาสั่งเหล่านี้มาแล้วเกิดความรู้สึกเบื่อ
หน่าย แต่เมื่อนำาหลักการของ Constructionismมาใช้
โดยเริ่มต้นจากการสอนด้วยวิธี Step by Step เฉพาะ
พื้นฐานทีผเรียนจำาเป็นต้องรู้ จากนั้นให้ผเรียนเขียน
           ่ ู้                             ู้
โปรแกรมทีเขาสนใจขึ้นมา 1 โปรแกรมโดยเปิดโอกาส
                ่
ให้ผู้เรียนได้คดเองว่าจะทำาอะไรและยังเปิดโอกาสให้ผู้
                  ิ
เรียนซักถามกันเองได้(โดยการบอกกับผูเรียนก่อน)
                                          ้
ตัวอย่างการประยุกต์ใช้ในการ
        เรียนการสอน
 ครูควรจะเปิดโอกาสให้ผเรียนได้ลงมือปฏิบัตหรือได้
                         ู้                 ิ
สร้างสิ่งที่ผเรียนสนใจอยากจะทำาด้วยตัวของเขาเอง
             ู้
โดยการมอบหมายงานให้เขาทำาและให้โอกาสกับผู้
เรียนในการตัดสินใจว่าเขาจะทำาอะไร สิ่งนี่คอจุดเริ่ม
                                          ื
ต้นทีสำาคัญมากของกระบวนการเรียนรู้ตามแนวทาง
     ่
ของ Constructionism
การสร้างความรู้ใหม่โดยผู้เรียนเอง

1. ผูเรียนจะมีการปะทะสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อม บุคคล
     ้
   เหตุการณ์ และสิ่งอื่น ๆ และผูเรียนจะปรับตนเองโดย
                                ้
   วิธีดูดซึม สร้างโครงสร้างทางปัญญาใหม่ และ
   กระบวนการของความสมดุล เพื่อให้รับสิ่งแวดล้อม
   หรือความจริงใหม่เข้าสู่ความคิดของตนเองได้
2. ในการนำาเสนอหรืออธิบายความจริงที่ผเรียนสร้างขึ้น
                                       ู้
   นัน ผู้เรียนจะสร้างรูปแบบ หรือตัวแทนของสิ่งของ
     ้
   ปรากฏการณ์ และเหตุการณ์ขึ้นในสมองของผูเรียนเอง
                                              ้
   ซึ่งอาจแตกต่างกันไปในแต่ละบุคคล
3. ผูเรียนอาจมีผให้คำาปรึกษา (Mentor) เช่น ครูผสอน
     ้             ู้                            ู้
   หรือบุคคลทีเกี่ยวข้อง เพื่อช่วยให้ได้สร้างความหมาย
                 ่
   ต่อความจริง หรือความรู้ทผเรียนได้รับเอาไว้ แต่
                             ี่ ู้
   อย่างไรก็ตาม ความหมายเหล่านันจะเกิดขึ้นได้ก็ต่อ
                                   ้
   เมื่อผูเรียนมีส่วนร่วมในกระบวนการเรียนรู้
          ้
4. ผูเรียนจะควบคุมการเรียนรู้ด้วยตนเอง (Self-
     ้
   Regulated Learning)
สรุป
 หลักการเรียนการสอนตามทฤษฎี
Constructionism เป็นการเรียนการสอนทีผู้เรียน
                                          ่
เรียนรู้จากการสร้างงาน ผูเรียนได้ดำาเนินกิจกรรมการ
                         ้
เรียนด้วยตนเองโดยการลงมือปฏิบัตหรือสร้างงานที่
                                    ิ
ตนเองสนใจ ในขณะเดียวกันก็เปิดโอกาสให้สัมผัส
และแลกเปลียนความรู้กับสมาชิกในกลุม ผูเรียนจะ
             ่                         ่    ้
สร้างองค์ความรู้ขึ้นด้วยตนเองจากการปฎิบัตงานที่มี
                                              ิ
ความหมายต่อตนเอง ครูผสอนจะต้องสร้างให้เกิด
                           ู้
องค์ประกอบครบทั้ง 3 ประการ คือ
1)   ให้ผู้เรียนได้ลงมือประกอบกิจกรรมด้วยตนเอง (
     ได้สร้างงาน) ตามความสนใจ ตามความชอบ
     หรือความถนัด ของแต่ละบุคคล
2)    ให้ผเรียนได้เรียนรู้ภายใต้บรรยากาศและสภาพ
          ู้
     แวดล้อมในการเรียนรู้ทดี ี่
3)    มีเครื่องมืออุปกรณ์ในการประกอบกิจกรรมการ
     เรียนรู้ที่เหมาะสม

More Related Content

What's hot

บทที่ 2 พัฒนาการของแนวคิดและทฤษฎีการจัดการ
บทที่ 2 พัฒนาการของแนวคิดและทฤษฎีการจัดการบทที่ 2 พัฒนาการของแนวคิดและทฤษฎีการจัดการ
บทที่ 2 พัฒนาการของแนวคิดและทฤษฎีการจัดการ
Napin Yeamprayunsawasd
 
รูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณี
รูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณีรูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณี
รูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณีParichart Ampon
 
แนวคิด ทฤษฎีการเรียนรู้ร่วมสมัย
แนวคิด ทฤษฎีการเรียนรู้ร่วมสมัยแนวคิด ทฤษฎีการเรียนรู้ร่วมสมัย
แนวคิด ทฤษฎีการเรียนรู้ร่วมสมัย
khanidthakpt
 
แบบทดสอบอาเซียน 30 ข้อ
แบบทดสอบอาเซียน 30 ข้อแบบทดสอบอาเซียน 30 ข้อ
แบบทดสอบอาเซียน 30 ข้อKruthai Kidsdee
 
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์Jariya Jaiyot
 
ทฤษฏีไวก็อตสกี้
ทฤษฏีไวก็อตสกี้ทฤษฏีไวก็อตสกี้
ทฤษฏีไวก็อตสกี้
Proud N. Boonrak
 
คู่มือการใช้นวัตกรรม
คู่มือการใช้นวัตกรรมคู่มือการใช้นวัตกรรม
คู่มือการใช้นวัตกรรม
Jirathorn Buenglee
 
ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1
ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1
ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1
prayut2516
 
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5
Wuttipong Tubkrathok
 
บทที่ 2 แนวคิดทฤษฎีของนักการศึกษา 55
บทที่ 2 แนวคิดทฤษฎีของนักการศึกษา 55บทที่ 2 แนวคิดทฤษฎีของนักการศึกษา 55
บทที่ 2 แนวคิดทฤษฎีของนักการศึกษา 55Decode Ac
 
โครงงานยาเสพติด
โครงงานยาเสพติดโครงงานยาเสพติด
โครงงานยาเสพติดพัน พัน
 
แบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการแบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการ
somdetpittayakom school
 
โครงงานวิชา Is2
โครงงานวิชา Is2โครงงานวิชา Is2
โครงงานวิชา Is2
LeoBlack1017
 
ข้อสอบอัจฉริยะ
ข้อสอบอัจฉริยะข้อสอบอัจฉริยะ
ข้อสอบอัจฉริยะ
Kodchaporn Siriket
 
ภาคผนวกโครงงานกล้อง
ภาคผนวกโครงงานกล้องภาคผนวกโครงงานกล้อง
ภาคผนวกโครงงานกล้องkrupornpana55
 
ทฤษฎีการเรียนรู้ (Learning theory)
ทฤษฎีการเรียนรู้ (Learning theory)ทฤษฎีการเรียนรู้ (Learning theory)
ทฤษฎีการเรียนรู้ (Learning theory)
Maesinee Fuguro
 
หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้
หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้
หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้
Sutthiluck Kaewboonrurn
 

What's hot (20)

บทที่ 2 พัฒนาการของแนวคิดและทฤษฎีการจัดการ
บทที่ 2 พัฒนาการของแนวคิดและทฤษฎีการจัดการบทที่ 2 พัฒนาการของแนวคิดและทฤษฎีการจัดการ
บทที่ 2 พัฒนาการของแนวคิดและทฤษฎีการจัดการ
 
รูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณี
รูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณีรูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณี
รูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณี
 
แนวคิด ทฤษฎีการเรียนรู้ร่วมสมัย
แนวคิด ทฤษฎีการเรียนรู้ร่วมสมัยแนวคิด ทฤษฎีการเรียนรู้ร่วมสมัย
แนวคิด ทฤษฎีการเรียนรู้ร่วมสมัย
 
แบบทดสอบอาเซียน 30 ข้อ
แบบทดสอบอาเซียน 30 ข้อแบบทดสอบอาเซียน 30 ข้อ
แบบทดสอบอาเซียน 30 ข้อ
 
เอกสารประกอบการเรียนเล่ม1
เอกสารประกอบการเรียนเล่ม1เอกสารประกอบการเรียนเล่ม1
เอกสารประกอบการเรียนเล่ม1
 
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
 
ทฤษฏีไวก็อตสกี้
ทฤษฏีไวก็อตสกี้ทฤษฏีไวก็อตสกี้
ทฤษฏีไวก็อตสกี้
 
คู่มือการใช้นวัตกรรม
คู่มือการใช้นวัตกรรมคู่มือการใช้นวัตกรรม
คู่มือการใช้นวัตกรรม
 
ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1
ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1
ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1
 
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5
 
บทที่ 2 แนวคิดทฤษฎีของนักการศึกษา 55
บทที่ 2 แนวคิดทฤษฎีของนักการศึกษา 55บทที่ 2 แนวคิดทฤษฎีของนักการศึกษา 55
บทที่ 2 แนวคิดทฤษฎีของนักการศึกษา 55
 
โครงงานยาเสพติด
โครงงานยาเสพติดโครงงานยาเสพติด
โครงงานยาเสพติด
 
แบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการแบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการ
 
โครงงานวิชา Is2
โครงงานวิชา Is2โครงงานวิชา Is2
โครงงานวิชา Is2
 
ข้อสอบอัจฉริยะ
ข้อสอบอัจฉริยะข้อสอบอัจฉริยะ
ข้อสอบอัจฉริยะ
 
ภาคผนวกโครงงานกล้อง
ภาคผนวกโครงงานกล้องภาคผนวกโครงงานกล้อง
ภาคผนวกโครงงานกล้อง
 
อินธนูครู
อินธนูครูอินธนูครู
อินธนูครู
 
ทฤษฎีการเรียนรู้ (Learning theory)
ทฤษฎีการเรียนรู้ (Learning theory)ทฤษฎีการเรียนรู้ (Learning theory)
ทฤษฎีการเรียนรู้ (Learning theory)
 
เอกสารประกอบการเรียนเล่ม3
เอกสารประกอบการเรียนเล่ม3เอกสารประกอบการเรียนเล่ม3
เอกสารประกอบการเรียนเล่ม3
 
หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้
หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้
หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้
 

Similar to ทฤษฎีการสร้างความรู้

ภารกิจระดับครูมือใหม่
ภารกิจระดับครูมือใหม่ภารกิจระดับครูมือใหม่
ภารกิจระดับครูมือใหม่Vachii Ra
 
ระดับครผู้ช่วย
ระดับครผู้ช่วยระดับครผู้ช่วย
ระดับครผู้ช่วยtyehh
 
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยFuangFah Tingmaha-in
 
รวมรายงานอาจารย์สังคม
รวมรายงานอาจารย์สังคมรวมรายงานอาจารย์สังคม
รวมรายงานอาจารย์สังคม
Wanlapa Kst
 
การเรียนรู้แบบ4 mat
การเรียนรู้แบบ4 matการเรียนรู้แบบ4 mat
การเรียนรู้แบบ4 matSukanya Burana
 
การศึกษาตามหลักพิพัฒนาการนิยม
การศึกษาตามหลักพิพัฒนาการนิยมการศึกษาตามหลักพิพัฒนาการนิยม
การศึกษาตามหลักพิพัฒนาการนิยม
Sup's Tueng
 
การศึกษาตามหลักพิพัฒนาการนิยม
การศึกษาตามหลักพิพัฒนาการนิยมการศึกษาตามหลักพิพัฒนาการนิยม
การศึกษาตามหลักพิพัฒนาการนิยม
Sup's Tueng
 
ระดับครผู้ช่วย
ระดับครผู้ช่วยระดับครผู้ช่วย
ระดับครผู้ช่วยtyehh
 
สรุปบทที่ 7
สรุปบทที่ 7สรุปบทที่ 7
สรุปบทที่ 7
Tsheej Thoj
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่panggoo
 
รูปแบบการเรียนการสอนโดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
รูปแบบการเรียนการสอนโดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลางรูปแบบการเรียนการสอนโดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
รูปแบบการเรียนการสอนโดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลางIaon Srichiangsa
 
เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการสอนแบบ 4 mat
เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการสอนแบบ 4 matเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการสอนแบบ 4 mat
เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการสอนแบบ 4 matSiriphan Kristiansen
 

Similar to ทฤษฎีการสร้างความรู้ (20)

งาน8และ construcionvism
งาน8และ construcionvismงาน8และ construcionvism
งาน8และ construcionvism
 
Ch 2
Ch 2Ch 2
Ch 2
 
ภารกิจระดับครูมือใหม่
ภารกิจระดับครูมือใหม่ภารกิจระดับครูมือใหม่
ภารกิจระดับครูมือใหม่
 
ระดับครผู้ช่วย
ระดับครผู้ช่วยระดับครผู้ช่วย
ระดับครผู้ช่วย
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
 
รวมรายงานอาจารย์สังคม
รวมรายงานอาจารย์สังคมรวมรายงานอาจารย์สังคม
รวมรายงานอาจารย์สังคม
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
การเรียนรู้แบบ4 mat
การเรียนรู้แบบ4 matการเรียนรู้แบบ4 mat
การเรียนรู้แบบ4 mat
 
การศึกษาตามหลักพิพัฒนาการนิยม
การศึกษาตามหลักพิพัฒนาการนิยมการศึกษาตามหลักพิพัฒนาการนิยม
การศึกษาตามหลักพิพัฒนาการนิยม
 
การศึกษาตามหลักพิพัฒนาการนิยม
การศึกษาตามหลักพิพัฒนาการนิยมการศึกษาตามหลักพิพัฒนาการนิยม
การศึกษาตามหลักพิพัฒนาการนิยม
 
บทที่ 4 new
บทที่ 4 newบทที่ 4 new
บทที่ 4 new
 
ระดับครผู้ช่วย
ระดับครผู้ช่วยระดับครผู้ช่วย
ระดับครผู้ช่วย
 
พหุปัญญา
พหุปัญญาพหุปัญญา
พหุปัญญา
 
สรุปบทที่ 7
สรุปบทที่ 7สรุปบทที่ 7
สรุปบทที่ 7
 
08chap6
08chap608chap6
08chap6
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
ภารกิจครูมือใหม่
ภารกิจครูมือใหม่ภารกิจครูมือใหม่
ภารกิจครูมือใหม่
 
รูปแบบการเรียนการสอนโดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
รูปแบบการเรียนการสอนโดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลางรูปแบบการเรียนการสอนโดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
รูปแบบการเรียนการสอนโดยยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
 
เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการสอนแบบ 4 mat
เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการสอนแบบ 4 matเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการสอนแบบ 4 mat
เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการสอนแบบ 4 mat
 

Recently uploaded

4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
atwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtxatwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtx
Bangkok, Thailand
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
Prachyanun Nilsook
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdfงานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 

Recently uploaded (10)

4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
 
atwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtxatwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtx
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
 
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdfงานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
 

ทฤษฎีการสร้างความรู้

  • 1. ทฤษฎีการสร้างความรู้ (Constructivism) จัดทำาโดย นางสาวทิวาพร สุวรรณทัต ค.บ.3.3 เลขที่24 24
  • 2. ทีมาของทฤษฏี ่ แนวคิด Constructivism เกี่ยวข้องกับธรรมชาติของความ รู้ของมนุษย์ มีความหมายทั้งในเชิงจิตวิทยาและเชิงสังคมวิทยา ทฤษฎีดานจิตวิทยา เริ่มต้นจาก Jean Piaget ซึ่งเสนอว่า การ ้ เรียนรู้ของเด็กเป็นกระบวนการส่วนบุคคลมีความเป็นอัตนัย Vygotsky ได้ขยายขอบเขตการเรียนรู้ของแต่ละบุคคลว่า เกิด จากการสื่อสารทางภาษากับบุคคลอื่น สำาหรับด้านสังคมวิทยา Emile Durkheim และคณะ เชือว่าสภาพแวดล้อมทางสังคมมีผล ่ ต่อการเสริมสร้างความรู้ใหม่
  • 3.
  • 4. ลักษณะการพัฒนารูปแบบการ 1. การสอนตามแนว Constructivism เน้นความ สอน สำาคัญของกระบวนการเรียนรู้ของผูเรียน และความสำาคัญ ้ ของความรู้เดิม 2. เปิดโอกาสให้ผเรียนเป็นผูแสดงความรู้ได้ด้วย ู้ ้ ตนเอง และสามารถสร้างความรู้ด้วยตนเองได้ ผูเรียนจะ ้ เป็นผูออกไปสังเกตสิ่งทีตนอยากรู้ มาร่วมกันอภิปราย ้ ่ สรุปผลการค้นพบ แล้วนำาไปศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติมจาก เอกสารวิชาการ หรือแหล่งความรู้ที่หาได้ เพื่อตรวจความ รู้ที่ได้มา และเพิ่มเติมเป็นองค์ความรู้ทสมบูรณ์ต่อไป ี่ 3. การเรียนรู้ตองให้ผเรียนลงมือปฏิบัติจริง ค้นหา ้ ู้ ความรู้ด้วยตนเอง จนค้นพบความรู้และรู้จักสิ่งที่คนพบ ้ เรียนรู้วิเคราะห์ตอจนรู้จริงว่า ลึก ๆ แล้วสิ่งนันคืออะไร มี ่ ้ ความสำาคัญมากน้อยเพียงไร และศึกษาค้นคว้าให้ลกซึ้ง ึ ลงไป จนถึงรู้แจ้ง
  • 5. การประยุกต์ในการจัดกิจกรรมการ เรียนรู้  การใช้สื่อและเทคโนโลยีที่เหมาะสมในการให้ผู้เรียน สร้างสาระการเรียนรู้และผลงานต่าง ๆ ด้วยตนเอง  การสร้างสภาพแวดล้อมทีมีบรรยากาศทีหลากหลาย ่ ่ เปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้เลือกตามความสนใจ  เปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้ทำาในสิ่งทีสนใจ ซึ่งจะทำาให้ผู้ ่ เรียนมีแรงจูงใจในการคิด การทำา และการเรียนรู้ต่อไป  จัดสภาพแวดล้อมทีมีความแตกต่างกัน เพื่อประโยชน์ ่ ในการเรียนรู้ เช่น วัย ความถนัด ความสามารถ และประสบการณ์
  • 6.  สร้างบรรยากาศที่มีความเป็นมิตร  ครูตองทำาหน้าที่อำานวยความสะดวกในการเรียนรู้แก่ผู้ ้ เรียน  การประเมินผลการเรียนรู้ตองประเมินทังผลงานและ ้ ้ กระบวนการ  ใช้วิธีการทีหลากหลายในการประเมิน เช่น การประเมิน ่ ตนเอง การประเมินโดยครูและเพื่อน การสังเกต การ ประเมินโดยแฟ้มสะสมงาน
  • 7. ตัวอย่างการประยุกต์ใช้ในการ เรียนการสอน เช่น เดิมจะใช้เทคนิคการสอนแบบ Step by Step คือ ครูทำาให้ดูและผูเรียนทำาตามทีละ Step ไปเรื่อยๆ ซึ่งจะ ้ สังเกตว่าผู้เรียนจะเรียนรู้เฉพาะเนือหาที่สอนเท่านัน ้ ้ และบางคนที่รู้คำาสั่งเหล่านี้มาแล้วเกิดความรู้สึกเบื่อ หน่าย แต่เมื่อนำาหลักการของ Constructionismมาใช้ โดยเริ่มต้นจากการสอนด้วยวิธี Step by Step เฉพาะ พื้นฐานทีผเรียนจำาเป็นต้องรู้ จากนั้นให้ผเรียนเขียน ่ ู้ ู้ โปรแกรมทีเขาสนใจขึ้นมา 1 โปรแกรมโดยเปิดโอกาส ่ ให้ผู้เรียนได้คดเองว่าจะทำาอะไรและยังเปิดโอกาสให้ผู้ ิ เรียนซักถามกันเองได้(โดยการบอกกับผูเรียนก่อน) ้
  • 8. ตัวอย่างการประยุกต์ใช้ในการ เรียนการสอน ครูควรจะเปิดโอกาสให้ผเรียนได้ลงมือปฏิบัตหรือได้ ู้ ิ สร้างสิ่งที่ผเรียนสนใจอยากจะทำาด้วยตัวของเขาเอง ู้ โดยการมอบหมายงานให้เขาทำาและให้โอกาสกับผู้ เรียนในการตัดสินใจว่าเขาจะทำาอะไร สิ่งนี่คอจุดเริ่ม ื ต้นทีสำาคัญมากของกระบวนการเรียนรู้ตามแนวทาง ่ ของ Constructionism
  • 9. การสร้างความรู้ใหม่โดยผู้เรียนเอง 1. ผูเรียนจะมีการปะทะสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อม บุคคล ้ เหตุการณ์ และสิ่งอื่น ๆ และผูเรียนจะปรับตนเองโดย ้ วิธีดูดซึม สร้างโครงสร้างทางปัญญาใหม่ และ กระบวนการของความสมดุล เพื่อให้รับสิ่งแวดล้อม หรือความจริงใหม่เข้าสู่ความคิดของตนเองได้ 2. ในการนำาเสนอหรืออธิบายความจริงที่ผเรียนสร้างขึ้น ู้ นัน ผู้เรียนจะสร้างรูปแบบ หรือตัวแทนของสิ่งของ ้ ปรากฏการณ์ และเหตุการณ์ขึ้นในสมองของผูเรียนเอง ้ ซึ่งอาจแตกต่างกันไปในแต่ละบุคคล
  • 10. 3. ผูเรียนอาจมีผให้คำาปรึกษา (Mentor) เช่น ครูผสอน ้ ู้ ู้ หรือบุคคลทีเกี่ยวข้อง เพื่อช่วยให้ได้สร้างความหมาย ่ ต่อความจริง หรือความรู้ทผเรียนได้รับเอาไว้ แต่ ี่ ู้ อย่างไรก็ตาม ความหมายเหล่านันจะเกิดขึ้นได้ก็ต่อ ้ เมื่อผูเรียนมีส่วนร่วมในกระบวนการเรียนรู้ ้ 4. ผูเรียนจะควบคุมการเรียนรู้ด้วยตนเอง (Self- ้ Regulated Learning)
  • 11. สรุป หลักการเรียนการสอนตามทฤษฎี Constructionism เป็นการเรียนการสอนทีผู้เรียน ่ เรียนรู้จากการสร้างงาน ผูเรียนได้ดำาเนินกิจกรรมการ ้ เรียนด้วยตนเองโดยการลงมือปฏิบัตหรือสร้างงานที่ ิ ตนเองสนใจ ในขณะเดียวกันก็เปิดโอกาสให้สัมผัส และแลกเปลียนความรู้กับสมาชิกในกลุม ผูเรียนจะ ่ ่ ้ สร้างองค์ความรู้ขึ้นด้วยตนเองจากการปฎิบัตงานที่มี ิ ความหมายต่อตนเอง ครูผสอนจะต้องสร้างให้เกิด ู้ องค์ประกอบครบทั้ง 3 ประการ คือ
  • 12. 1) ให้ผู้เรียนได้ลงมือประกอบกิจกรรมด้วยตนเอง ( ได้สร้างงาน) ตามความสนใจ ตามความชอบ หรือความถนัด ของแต่ละบุคคล 2) ให้ผเรียนได้เรียนรู้ภายใต้บรรยากาศและสภาพ ู้ แวดล้อมในการเรียนรู้ทดี ี่ 3) มีเครื่องมืออุปกรณ์ในการประกอบกิจกรรมการ เรียนรู้ที่เหมาะสม