SlideShare a Scribd company logo
1 of 81
สอนด้วยใจ ใช้จิตวิทยา พัฒนาศิษย์
วิจารณ์ พานิช
บรรยายใน โครงการสัมมนาอาจารย์ปีการศึกษา ๒๕๖๒ “สืบปณิธานปราชญ์ครู ก้าวสู่ ๕ ทศวรรษแห่งสาธิตเกษตร” โรงเรียนสาธิตแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ๗ พฤษภาคม ๒๕๖๒
ข้อจำกัด
• ไม่มีพื้นฐานทฤษฎีทางการศึกษา
• ไม่ได้เรียนรู้จากการปฏิบัติ
• ไม่รู้จริง
• พึงรับฟังโดยยึดหลักกาลามสูตร
ถ้าครูไม่ห่วงประโยชน์ที่ควรจะห่วง หันไปห่วงตาแหน่ง ห่วงอานาจ ห่วงสิทธิ์
และห่วงรายได้กันมากๆ เข้าแล้ว
จะเอาจิตเอาใจที่ไหนมาห่วงความรู้ ความดี ความเจริญของเด็ก
ความห่วงในสิ่งเหล่านั้น ก็จะค่อยๆ บั่นทอนทาลายความเป็นครูไปจนหมดสิ้น
ไม่มีสิ่งใดเหลือไว้พอที่ตัวเองจะภาคภูมิใจ หรือผูกใจใครไว้ได้
ความเป็นครูก็จะไม่มีค่าเหลืออยู่ให้เคารพบูชาอีกต่อไป
พระราชดารัส พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช
พระราชทานแก่ครูอาวุโสในกาสเข้าเฝ้าฯ พระตาหนักจิตรลดารโหฐาน
วันเสาร์ที่ ๒๑ ตุลาคม ๒๕๒๑
https://www.gotoknow.org/posts/tags/teach like your hairs on fire
ครูเรฟ
นักสร้างแรงบันดาลใจ
แก่ศิษย์
และนักสร้าง
“มนุษย์ระดับ ๖”
https://www.gotoknow.org/posts/186373
https://www.gotoknow.org/posts/
615888
สิ่งที่ครูในศตวรรษที่ ๒๑ เผชิญ
• ความรู้เปลี่ยนเร็ว
• ความเข้าใจกลไกการเรียนรู้เปลี่ยน
• ตัวช่วย / ตัวขัดขวาง (ICT) เปลี่ยน
• เด็กเปลี่ยน
• สังคม/โลกเปลี่ยน
• เป้าหมายของการเรียนรู้เปลี่ยน
ธรรมชำติของควำมรู้ในศตวรรษที่ ๒๑
• เก่าเร็ว
• ผิดเร็ว
• ความรู้ใหม่งอกเร็ว
• เรียนความรู้เอาไว้ต่อยอด ไม่ใช่เอาไว้ยึดมั่นถือมั่น
• ความรู้เป็นมายา เป็นสมมติ ไม่ควรยึดมั่นถือมั่น
ธรรมชำติของควำมรู้ในศตวรรษที่ ๒๑
• เก่าเร็ว
• ผิดเร็ว
• ความรู้ใหม่งอกเร็ว
• เรียนความรู้เอาไว้ต่อยอด ไม่ใช่เอาไว้ยึดมั่นถือมั่น
• ความรู้เป็นมายา เป็นสมมติ ไม่ควรยึดมั่นถือมั่น
ศิษย์ต้องคิดล้ำง/ค้ำนครู เผำตำรำ
ประเด็นนำเสนอ
• การเรียนรู้ในศตวรรษที่ ๒๑
• บทบาทของครู
• ทักษะของครู
• สิ่งที่ครูทา/ไม่ทา
• ชีวิตครู
• บูชาครู
ประเด็นนำเสนอ
• การเรียนรู้ในศตวรรษที่ ๒๑
• บทบาทของครู
• ทักษะของครู
• สิ่งที่ครูทา/ไม่ทา
• ชีวิตครู
• บูชาครู
เป้ำหมำยผลลัพธ์กำรเรียนรู้
• คิดตามแบบแผน
• มีความรู้ตามที่รับถ่ายทอด
•รู้วิชา สอบได้คะแนนดีตาม
หลักสูตร
• Informative learning
• มีความคิดของตนเอง
• มีความรู้ตามที่ตนปฏิบัติ
และสะท้อนคิด
• มีทักษะแห่งศตวรรษที่ ๒๑
• Transformative learning
20 21
ผลลัพธ์การเรียนรู้ ในศตวรรษที่ ๒๑
• ความรู้ ... รู้วิชา
• ทักษะ ... ปฏิบัติได้
• นิสัย (Non-Cognitive Development) + อุดมคติแห่งวิชาชีพ
• ใจสู้ (Growth Mindset) เชื่อในพรแสวง มีอิทธิบาท ๔
Passion
Perseverance
http://www3.weforum.org/docs/WEFUSA_NewVisionforEducation_Report2015.pdf
WEF
Professional
Skills
21st Century Skills
•Interdisciplinary
Themes
•Learning Skills
•Life & Career
Skills
www.p21.org
Interdisciplinary Themes
•Global Awareness
•Financial, Economic, Business, & Entrepreneurial
Literacy
•Civic Literacy
•Health Literacy
•Environmental Literacy
Learning Skills
•Creativity & Innovation
•Critical Thinking & Problem Solving
•Communication & Collaboration
Life & Career Skills
• Flexibility & Adaptability
• Initiative & Self-direction
• Social & Cross-cultural Skills
• Productivity & Accountability
• Leadership & Responsibility
• Integrity
• Inner Skills / Self-discipline / Emotional / Spiritual
ผลิตพลเมืองแห่งศตวรรษที่ ๒๑
• ผู้นาแห่งศตวรรษที่ ๒๑ - Transformative
Learning เรียนรู้เพื่อเปลี่ยนแปลงตนเอง และ....
• ไม่ใช่ผู้ตามแห่งศตวรรษที่ ๑๙
• เป็น Change Agent มีทักษะภาวะผู้นา
• ทักษะสร้างสรรค์ (Creativity) นวัตกรรม (Innovation)
สาหรับใช้ในชีวิตประจาวัน
• ทักษะในการดารงชีวิตในอนาคตที่ไม่รู้ว่าเป็นอย่างไร
Mass Production --> Mass Customization
https://www.youtube.com/watch?v=iG9CE55wbtY
การศึกษาในศตวรรษที่ ๒๑
• สร้างคนทางานตาม
รูปแบบ Content
•เน้นเนื้อหา ตอบคาถาม
•สถานศึกษาเพื่อถ่ายทอด
ความรู้
• สร้างคนทางานสร้าง
สรรค์แตกต่าง Creativity
• เน้น inquiry ตั้งคาถาม
• สถานศึกษาเพื่อ
ปฏิสัมพันธ์ทางสังคม
เรียนรู้จากการปฏิบัติ Action + Reflection
20 21
การศึกษาในศตวรรษที่ ๒๑
•เพื่อความรู้
•เพื่อความรู้
•ความรู้เป็นสัจจะ Constant
•เรียนจากการสอน Learning
from Teaching
•เรียนจากโรงเรียน มหา
ฯ
• เพื่อฝึกทักษะการเรียนรู้
• เพื่อพัฒนารอบด้าน
• ความรู้เลื่อนไหล Dynamic
• เรียนจากการทา Learning by
Doing (and Reflecting)
• เรียนจากที่ทางาน
20 21
เป้าหมายการศึกษาในศตวรรษที่ ๒๑
•เรียนให้ได้(ความรู้และ) ทักษะ และ อุปนิสัย เพื่อชีวิตที่
เปลี่ยนแปลง เรียนให้รู้จริง (mastery learning) เป็นฐานที่มั่นคงใน
การต่อยอด เรียนเพื่ออนาคตของตนเอง ไม่ใช่เรียนเพื่อสอบ
•เรียนโดยลงมือทา และคิด ทั้งในห้องเรียน และในสภาพจริง
•ครูไม่สอนความรู้สาเร็จรูป ทาหน้าที่ออกแบบโจทย์(ปฏิบัติ) ตั้ง
คาถาม เอื้ออานวย (facilitate) หรือโค้ช ประเมิน (formative
assessment) และให้คาแนะนาป้อนกลับ (feedback)
•สอนน้อย เรียนรู้มาก (Teach less, Learn more)
เป้ำหมำย (๒)
ไม่ใช่แค่รู้วิชา แต่เพื่อพัฒนาการหลายด้านไปพร้อมๆ
กัน
• สมรรถนะ (competence)
• จัดการอารมณ์ (emotionmanagement)
• เป็นตัวของตัวเอง และร่วมกับผู้อื่น (autonomy & interdependence)
• ปฏิสัมพันธ์กับผู้อื่น (interpersonalrelationship)
• อัตลักษณ์ (identity)
• พัฒนาเป้าหมายในชีวิต (purpose)
• มั่นคงในคุณธรรม (integity) Chickering’s Seven Vectors of
Identity Development
เป้ำหมำย (๓)
•ศิษย์ทั้งชั้นบรรลุสภาพ “รู้จริง” (Mastery Learning) ไม่ใช่เพพาะเด็กเรียนเก่ง
•เรียนวิธีเรียน (Metacognition) เพื่อเรียนรู้ตลอดชีวิต
•เรียนให้บรรลุ Transformative Learning เรียนรู้สู่การ
เปลี่ยนแปลง งอกงามความเป็น “ผู้นาการเปลี่ยนแปลง”
(Change Agent)
ในศตวรรษที่ ๒๑ สถำนศึกษำเป็นที่
• สร้างแรงบันดาลใจ
• สร้างความริเริ่มสร้างสรรค์ original ideas
• สร้างเจตคติที่ดี
• สร้างโอกาสมีชีวิตที่ดี มีสัมมาชีพ เป็นพลเมืองดี
• สร้างความเป็นผู้นา (การเปลี่ยนแปลง)
• พัฒนามนุษย์ให้เต็มศักยภาพ (full potential)
กระบวนกำรเรียนรู้แห่งศตวรรษที่ ๒๑
• ไม่เน้นถ่ายทอดความรู้
• เน้นสร้างความรู้และทักษะ (นิสัย ใจสู้) ขึ้นในตน ผ่านการปฏิบัติ (Action) +
ไตร่ตรองสะท้อนคิด (Reflection)
• เรียนแบบบูรณาการ กิจกรรมเดียว ได้ผลลัพธ์การเรียนรู้ทุกด้าน
การเรียนรู้
• การเรียนรู้เป็นผลของการกระทาและการคิดของ
นักเรียน
• เกิดจากการกระทาและการคิดของนักเรียนเอง
เท่านั้น
• ครูช่วยทาให้เกิดการเรียนรู้ได้โดยเข้าไปจัดการสิ่ง
ที่นักเรียนทา (ปฏิบัติ และคิด) เพื่อการเรียนรู้
Herbert A. Simon
https://www.scbfoundation.com/publishing.php?project_id=292#publishing/292/5462
เหตุการณ์ ความจาใช้งาน
ความจาระยะยาว
ตระหนักรู้ และคิด
รู้ข้อเท็จจริงและกระบวนการ
เรียนรู้ จา
สังเกต เก็บข้อมูล
ลืม
Ref.: Daniel T. Willingham. Why Don’t Students Like School?, 2009
Working
Memory
Longterm
Memory
Adult Learning
Observation &
Reflection
Forming Abstract
Concepts
Testing in New
Situations
Concrete
Experience
1
2
3
4
Student Learning = AL + Scaffolding
วิถีกำรเรียนรู้ใหม่
•เรียนโดยลงมือทา เพื่อให้เกิดทักษะ (Learning by Doing)
•สุดยอดทักษะ ๔ ประการ (๓ร ๑ว) : แรงบันดาลใจ/ไฟ (Inspiration Skills)
เรียนรู้ (Learning Skills) ร่วมมือ (Collaboration Skills) วินัย (ในตน)
(Self-Discipline Skills)
•เรียนโดยการลงมือทาเป็นทีม แล้วร่วมกันไตร่ตรองว่าได้เรียนรู้อะไร
ต้องการเรียนอะไรต่อ/เพิ่ม
คิด/เรียนระดับสูง (Higher Order Thinking/Learning)
•สร้าง (Create)
•เปลี่ยนใจ (Mindset Change) …
Transformative Learning
• รู้ (Know)
• เข้าใจ (Understand)
• ประยุกต์ (Apply)
• วิเคราะห์ (Analyze)
• สังเคราะห์ (Synthesize)
• ประเมิน (Evaluate)
Bloom’s Taxonomy of Educational Objectives
ประเด็นนำเสนอ
•การเรียนรู้ในศตวรรษที่ ๒๑
•บทบาทของครู
•ทักษะของครู
•สิ่งที่ครูทา/ไม่ทา
•ชีวิตครู
•บูชาครู
ครูทาอะไรให้แก่ศิษย์
• Inspirator กระตุ้นแรงบันดาลใจ Growth Mindset
• Designer ออกแบบกิจกรรม และ “นั่งร้าน” (Scaffold)
• Facilitator โดยตั้งคาถาม ชวนคิด
• Assessor (Formative Assessment) ประเมินเพื่อพัฒนา
• Constructive Feedback ให้คิดไปข้างหน้า มุมานะ GrowthMindset
• Summative Evaluation ยืนยันว่าบรรลุผลลัพธ์ที่ตั้งเป้าหมายไว้
ครูทาอะไรให้แก่ตน
• Inspirator
• Designer ออกแบบกิจกรรม และ “นั่งร้าน” (Scaffold)
• Facilitator โดยตั้งคาถาม ชวนคิด
• Assessor (Formative Assessment) ประเมินเพื่อพัฒนา
• Constructive Feedback ให้คิดไปข้างหน้า มุมานะ
• Summative Evaluation ยืนยันว่าบรรลุผลลัพธ์ที่ตั้งเป้าหมายไว้
ทาสิ่งเดียวกันให้แก่ตนเอง และแก่เพื่อนครู
ชีวิตครู คือชีวิต(แห่งการเดินทาง)เพื่อการเรียนรู้
ครูต้องเข้าใจและพัฒนาวิธีการเรียนรู้ของตน Metacognition
ประเมินขณะสอน(แบบไม่สอน)
•ประเมินเพื่อหนุนการเรียนรู้ (Formative
Assessment)
•ตามด้วยคาแนะนาป้อนกลับแบบ
สร้างสรรค์(Constructive Feedback)
•แล้วจึงประเมินผลลัพธ์การเรียนรู้
(Summative Evaluation) เพื่อยืนยันว่าบรรลุเป้าหมาย
https://www.gotoknow.org/posts/tags/Dylan_Wiliam
ฝึกคิด/เรียนระดับสูง (Higher Order Thinking/Learning)
• สร้าง (Create)
• เปลี่ยนใจ (Mindset Change) …
Transformative Learning
• รู้ (Know)
• เข้าใจ (Understand)
• ประยุกต์ (Apply)
• วิเคราะห์ (Analyze)
• สังเคราะห์ (Synthesize)
• ประเมิน (Evaluate)
ครูฝึกวิธี facilitate ให้ศิษย์ฝึก/เรียนรู้
โดยการตั้งคาถาม/โจทย์ให้ศิษย์ลงมือทา คิด
และประเมิน
5 คาถามหลักในการออกแบบการเรียนรู้
•ต้องการให้ นร. ได้ทักษะ และ ค. ที่จาเป็นอะไรบ้าง (ตรวจสอบ
เอกสารหลักสูตร หนังสือทักษะแห่งอนาคตใหม่ ฯลฯ)
•จัดการเรียนรู้อย่างไรให้ได้ทักษะเหล่านั้น
•รู้ได้อย่างไรว่าได้
•ทาอย่างไร กับ นร. บางคนที่ไม่ได้
•ทาอย่างไรกับ นร.บางคนที่เรียนเก่งก้าวหน้าไปแล้ว
•Prior Knowledge
•K Organization
•Motivation
•Develop Mastery
•Practice & Feedback
•Student Development &
Climate
•Self-directed Learner
http://www.scbfoundation.com/news_publish_detail.php?cat_id=6&nid=880
จากหนังสือ How Learning Works : Seven Research-BasedPrinciples for Smart Teaching เขียนโดย Susan A. Ambrose และคณะ
ฝึกบูรณาการ
ทักษะย่อย
ฝึกบูรณาการ
ให้เข้ากับกาละเทศะ
รู้จริง
ขั้นตอนการพัฒนาให้รู้จริง
1 2 3 4
ทาไม่ได้
ไม่รู้ตัว
ทาไม่ได้
รู้ตัว
ทาได้
รู้ตัว
ทาได้
ไม่รู้ตัว
mastery
ประเมิน
ชิ้นงาน
ประเมิน
ความสามารถ
วางแผน
ลงมือทา
ประเมิน
ตรวจสอบ
ปรับปรุง
ความเชื่อของ
นร. เกี่ยวกับ
ความพลาดและ
การเรียนรู้
รู้เขา
รู้เรา
PDC
A
ในการสอนแบบ Active Learning
•ตั้งเป้า (Targeting)
•ออกแบบ (Design)
•ให้ศิษย์ทา ครูทา Coaching โดย
•สังเกต ... ประเมินทุกวินาที (Embedded Formative Assessment)
•ป้อนกลับ (Feedback)
•ชวนศิษย์ทา reflection (ทบทวน ใคร่ครวญไตร่ตรอง ... โยนิโส
มนสิการ) (AAR, Debriefing)
ครูทาอะไร : ลงรายละเอียด และยึดกุมภาพใหญ่
ในการสอนแบบ Active Learning
• ตั้งเป้า
• ออกแบบ
• ให้ศิษย์ทา
• สังเกต ... ประเมินทุกวินาที
• ป้อนกลับ
• ชวนศิษย์ทา reflection (ทบทวน
ใคร่ครวญไตร่ตรอง ... โยนิโส
มนสิการ)
ครูทาอะไร
ยึดกุมภาพใหญ่ของ
การเรียนรู้ของศิษย์
• ตลอดปี
• ในรายวิชา
• ในชั่วโมง
• ทั้งชั้น และรายคน
หาทางให้ศิษย์บรรลุเป้า
และครูเรียนรู้
ตั้งเป้าหมายการเรียนรู้
•เป็นเป้าหมายซับซ้อน หลายมิติ ของการเรียนรู้
•พหุสาระวิชา
•พหุปัญญา พหุทักษะ … 21st Century Skills
•Multiple Domains : Affective, Cognitive, Psychomotor
•ส่วน non-cognitive ... ลักษณะนิสัย
ของนักเรียน และของครู
ตั้งเป้าหมายการเรียนรู้
• เป็นเป้าหมายซับซ้อน หลายมิติ ของการเรียนรู้
• พหุสาระวิชา
• พหุปัญญา พหุทักษะ … 21st Century Skills
• Multiple Domains : Affective, Cognitive, Psychomotor
• ส่วน non-cognitive ... ลักษณะนิสัย
เขียนไว้ใช้ทบทวนตรวจสอบ ปรับปรุง
มองเป้า ในฐานะ Part of the Whole ของภาพใหญ่
ทาให้เป็นเป้าหมายของนักเรียน
• เกิดแรงบันดาลใจ ใคร่รู้ ของนักเรียน
• เห็นคุณค่า ต่อชีวิตในภายหน้า
• คุ้มต่อความอดทน มานะพยายาม
• เห็นคุณค่าของความมานะบากบั่น (Growth Mindset)
เรียนเพื่ออนาคตของตนเอง ไม่ใช่เพื่อสอบ ไม่ใช่...
กาหนดเกณฑ์ความสาเร็จในการเรียนรู้
• ให้เข้าใจระดับคุณภาพของชิ้นงาน
• เอาคาตอบข้อสอบให้วิจารณ์ร่วมกัน
• สร้างนิสัยประเมินเพื่อพัฒนาตนเอง
• เครื่องมือ … เกม
- Daily Sign-in (ประถมต้น) กระดาษคัดลายมือชื่อประจาสัปดาห์ ปลายสัปดาห์นามาคัดเลือกลายมือที่สวย
ที่สุด ๕ ลายมือ
- Choose-Swap-Choose เขียน ก ไก่ ๑๐ ครั้ง แล้วเลือกเองว่าตัวไหนสวยที่สุด จับคู่กับเพื่อน แลกกัน
ประเมิน และอภิปราย
- ออกข้อสอบเพื่อทดสอบความก้าวหน้าในการเรียนรู้กันเอง (ป. ๔ ขึ้นไป)
เรียนรู้ = ทางาน
ครูเป็น Designer
•ออกแบบกิจกรรมให้ศิษย์ลงมือทาเพื่อเรียนรู้
•เรียนเป็นทีม เพื่อฝึก Team Skills
•สร้างบรรยากาศ “ส้นเท้า” (S.O.L.E. – Self-Organized Learning
Environment)
•ออกแบบ / จัดหา Learning Materials, Authentic Learning Activities เช่น
กิจกรรมรับใช้ชุมชน / จิตอาสา
•จัดหา / สร้าง ผู้ช่วยครู (co-educator)
•ออกแบบ “นั่งร้าน” (scaffolding)
ครูทา EFA … ประเมินทุกนาที
•หาหลักฐานผลสาเร็จในการเรียนรู้
•ประเมินโดย นร. ไม่รู้ตัว...สังเกต
•ตั้งคาถามเชิงเล่นเกมเพื่อ (๑) กระตุ้นให้คิด (๒) หาข้อมูลว่าครูจะทา
อะไรต่อ
•ตัวอย่างเทคนิค
- I-R-E (Initiation-Response-Evaluation) ถามเพื่อให้เด็กเรียนรู้เพิ่มขึ้น ไม่ใช่ถามเพื่อจัดการชั้นเรียน
- Post-Pause-Pounce-Bounce ตั้งคาถาม หยุด ชี้ให้ตอบ ชี้ให้ให้ความเห็นต่อคาตอบของ
เพื่อน
Embedded Formative Assessment)
ตัวอย่างเทคนิค (ต่อ)
- Hot Seat Question ครูบอกว่าทุกคนต้องตั้งใจฟัง เพราะเมื่อตั้ง - ตอบคาถามกันไประยะหนึ่ง ครู
จะชี้ให้ นร. คนหนึ่งสรุปประเด็นเรียนรู้ที่ได้
- เครื่องมือที่ไม่ใช่คาถาม ใช้ประโยคบอกเล่า เป็นเครื่องมือให้ นร. อภิปราย ด้วยเหตุผลและ
ข้อมูลอ้างอิง เช่น “รัสเซียเป็นประเทศที่ควรถูกตาหนิที่สุดในการก่อสงครามโลกครั้งที่ ๑”
www.gotoknow.org/posts/569895
Feedback เพื่อขับเคลื่อนการเรียนรู้
•เพื่อกระตุ้นการเรียนรู้ ไม่ใช่ กระตุ้นอีโก้
•Feedback เพื่อการปรับตัว /ปรับปรุงการเรียนของตน
•เทคนิค
- ให้ feedback แล้วมีเวลาในชั้นเรียนให้นร. ปรับปรุงงานของตน
- ใช้เทคนิค ๓ คาถาม เว้นช่องว่างให้นร. เขียนตอบ
เทคนิค Feedback เพื่อขับเคลื่อนการเรียนรู้ (ต่อ)
- อย่าให้ feedback พร้อมกับให้คะแนน
- เทคนิคการเพลยแบบไม่เพลย เช่น มีโจทย์๑๐ ข้อ ครูตรวจแล้ว เขียนว่า “มีผิดอยู่๕ ข้อ” ของอีกคน
หนึ่ง ครูเขียนว่า “มีผิด ๑ ข้อ” ให้เวลา ๕ นาที หาข้อผิดของตนเอง แล้วจับคู่อภิปราย และเสนอต่อชั้นเรียน ว่ามีข้อใดที่
คาตอบไม่ตรงกัน หรือคาตอบตรงกันแต่คาอธิบายต่างกัน
- เทคนิคเพลยบางส่วน (scaffolded feedback)
www.gotoknow.org/posts/570369
นร. เป็นครูซึ่งกันและกัน
•Collaborative Learning (CL)
•เพื่อ วิญญาณกลุ่ม และ วิญญาณเรียนให้รู้จริง
•คุณค่าของ CL (1) Motivation (2) Social Cohesion (3)
Personalization (4) Cognitive Elaboration
•4 องค์ประกอบ (1) Open-ended Task ที่เน้น Higher-order
Thinking (2) กิจกรรมกลุ่ม (3) มีกิจกรรมหลายแบบ (4)
มอบบทบาทต่างๆ กันแก่สมาชิกในทีม
เทคนิค CL
• Secret Student ครูประจาชั้นกาหนดตัว นักเรียนลับ ประจาวัน บอก
ครูผู้สอนให้จับตาดูพฤติกรรม CL ตามที่ตกลงกัน เพื่อให้รางวัล “Good Day”
• C3B4Me
• Two Stars and a Wish ให้ นร. ตรวจการบ้านซึ่งกันและกัน มีกติกา
ให้ผู้ตรวจเขียน ข้อชื่นชม ๒ ข้อ และความหวังให้ปรับปรุง ๑ ข้อ อาจให้เขียนบน
กระดาษ Post-it แล้วเอามาพายขึ้นจอ หาข้อเขียนที่ดีเยี่ยมเป็นตัวอย่าง
www.gotoknow.org/posts/570750
นร. ประเมินและ Feedback ตนเอง
เป็นเจ้าของการเรียนรู้ของตน
•ประเมินตนเอง
•เรียนโดยกากับตนเอง
- เข้าใจการคิดของตนเอง (Metacognition)
- แรงจูงใจ (Motivation)
เทคนิค
- ถ้วยสี เขียว เหลือง แดง
- แฟ้มบันทึกการเรียน เก็บประวัติ และผลการเรียนรู้ทั้งหมด
เทคนิค นร. ประเมินและ Feedback ตนเอง
- บันทึกการเรียน (Learning Logs)
- วันนี้ พันได้เรียน....
- พันประหลาดในเรื่อง....
- สิ่งที่มีประโยชน์ที่สุดที่พันได้จากบทเรียนคือ... โดยจะเอาไปใช้...
- พันสนใจเรื่อง.... เพราะ....
- ส่วนที่พันชอบมากที่สุดคือ.... เพราะ....
- สิ่งที่พันไม่เข้าใจ/ไม่แน่ใจคือ....
- ประเด็นสาคัญที่พันอยากเรียนเพิ่มเติมคือ....
- ความรู้สึกของพัน หลังเรียนบทเรียนนี้จบ คือ ....
- พันน่าจะเรียนรู้ในบทเรียนนี้ได้มากกว่านี้ ถ้า....
บันทึกหลังจบคาบเรียน
เลือกตอบ ๓ ข้อ
ทาหน้าที่ครูฝึก / โค้ช
•โดยเน้นตั้งคาถาม ให้ “เอ๊ะ” และ “อ๋อ” เอง
•หลีกเลี่ยงการตอบคาถามของศิษย์ ที่ถามสาระวิชา หรือถามหาคาตอบเดียว
• ครูถามหาคาตอบหลายคาตอบ
• ครูฝึกตั้งคาถามเป็น “นั่งร้าน” หรือ “โครง” (scaffold)แก่ศิษย์หลากระดับปัญญา
• ครูฝึกตั้งคาถามในขั้นตอน AAR/Reflection
ปฏิบัติ  ใคร่ครวญสะท้อนคิด
•ปฏิบัติอย่างเดียวอาจได้แค่ Superficial Learning
•ต้องตามด้วย Reflection/AAR/Debriefing/โยนิโสมนสิการ
•ครูต้องมีทักษะ facilitate การทา AAR ของนักเรียน
เพื่อให้เกิด Mastery Learning
ครูทา Fa + EFA + CFB
ให้ศิษย์เรียนทฤษฎีจากการปฏิบัติ
และได้ฝึกทักษะสาคัญ
เรียนรู้ “พลังสาม”
จิตตปัญญาศึกษา
https://www.gotoknow.org/posts/tags/Zajonc
“…. if I can influence their heart, I can influence
their mind, then hands and feet follow”
PMAC 2014, 31 Jan 2014
บทบำทที่สมดุล : 4E
•Engage (+Inspire,
Enthuse)
•Enable
•Expect (= ensure)
•Empower
ประเด็นนำเสนอ
•การเรียนรู้ในศตวรรษที่ ๒๑
•บทบาทของครู
•ทักษะของครู
•สิ่งที่ครูทา/ไม่ทา
•ชีวิตครู
•บูชาครู
การจัดการเรียนรู้ในศตวรรษที่ ๒๑
•จัดให้ นร. เรียนโดยการลงมือทา และคิด เรียนเป็นทีม
•ให้เกิดการเรียนรู้ครบด้าน ทั้งด้านนอกและด้านใน ครบทุกปัญญา (พหุปัญญา)
ทุกทักษะ (ทักษะแห่งศตวรรษที่ ๒๑) ๓ร ๑ว (แรงบันดาลใจ, เรียนรู้, ร่วมมือ, วินัยในตน)
แก่นักเรียน
แก่ตัวครูเอง
• เรียนจากการลงมือทา คือการจัดการเรียนรู้แก่ศิษย์
• ให้เกิดการเรียนรู้ครบด้าน
• เรียนเป็นทีม PLC (Professional LearningCommunity)
ทักษะ
ห้องเรียนในศตวรรษที่ ๒๑
•ห้องทางาน (Studio)
•ไม่จัดแบบ Classroom แต่จัดเป็นห้องทางานของนักเรียน
•ทางาน (เรียน) เป็นกลุ่ม
•มีเครื่องใช้สาหรับแลกเปลี่ยนเรียนรู้
ทักษะจัด
ห้องเรียนกลับทาง
•Flip the Classroom กลับ
ทางห้องเรียน
•เรียนวิชาที่บ้าน ทา “การบ้าน”
ที่ห้องเรียน
•ครูเครื่องสอนวิชา ครู
คนสอนคน/ปัญญา
•ใช้ห้องเรียนเพื่อการเรียนแบบรู้
จริง (Mastery Learning)
http://www.scbfoundation.com/projects/wcms/docs/uploads/doc_13727357101058185889.pdf
https://www.gotoknow.org/posts/tags/Barkley
https://www.gotoknow.org/posts/tags/Nilson
https://www.scbfoundation.com/stocks/ae/file/1513148001i7z2uaepdf/หนังสือศาสตร์และศิลป์ ของการสอน.pdf
https://goo.gl/WuiMz8
https://goo.gl/td8Ycp
https://www.gotoknow.org/posts/tags/สอนเข้มเพื่อศิษย์ขาดแคลน
Seven High Impact Mindsets for Students from Poverty
• Relational Mindset
• Achievement Mindset
• Positive Mindset
• Rich Classroom Climate Mindset
• Enrichment Mindset
• Engagement Mindset
• Graduation Mindset
โมเดลการเรียนรู้ 70 : 20 : 10
เรียนจาก
การ
ปฏิบัติ งาน
ของตน ตาม
ด้วย
reflection
ลปรร.
ฝึกอบรม
เรียนเป็นทีม
เรียนจาก
การ
ปฏิบัติงาน
ของตน ตาม
ด้วย
reflection
PLC / LS / OC
ประเด็นนำเสนอ
•การเรียนรู้ในศตวรรษที่ ๒๑
•บทบาทของครู
•ทักษะของครู
•สิ่งที่ครูทา/ไม่ทา
•ชีวิตครู
•บูชาครู
สร้ำง Growth Mindset
ชมควำมมำนะพยำยำม
ไม่ชมความเก่ง (Fixed Mindset)
ให้คะแนนความก้าวหน้า
ความมานะพยายาม
เอำใจใส่ศิษย์ทั้งห้อง
เป็นรายคน
ไม่เอาใจใส่เพพาะเด็กเก่ง
ให้ได้เรียนสิ่งที่ตนรัก
ประเด็นนำเสนอ
•การเรียนรู้ในศตวรรษที่ ๒๑
•บทบาทของครู
•ทักษะของครู
•สิ่งที่ครูทา/ไม่ทา
•ชีวิตครู
•บูชาครู
การพัฒนาครู
วิจารณ์ พานิช
เพื่อสร้างเด็กในศตวรรษที่ ๒๑
บรรยายในการประชุมสัมมนาเพื่อเตรียมพัฒนาครู ระหว่าง สพฐ. กับสถาบันอุดมศึกษา ๖ มีนาคม ๒๕๕๖
ครูในศตวรรษที่ ๒๑ มีคุณค่ามากกว่าครูในศตวรรษที่ ๒๐
•สอน สั่งสอน
•ถ่ายทอดความรู้
•รู้ผิวเผิน
•สอนวิชา
•รู้วิชา
•ผู้รู้
•รอบรู้วิชา
• ฝึก/โค้ช/อานวย
• อานวยการสร้าง
• รู้จริง (mastery)
• พัฒนาครบด้าน
• มีทักษะ
• ผู้เรียนรู้ (PLC)
• กากับการเรียนรู้ของตน
20 21
คุณค่าเพิ่มของครู
•มากับการเปลี่ยน mindset
•เปลี่ยนบทบาท
•เปลี่ยนทักษะ
•เปลี่ยนระบบให้การตอบแทน รางวัล ยกย่อง
•เปลี่ยนหลักสูตรผลิตครู
•เปลี่ยนวิธีพัฒนาครูประจาการ
การศึกษาไม่ใช่แค่ตอบสนองการเปลี่ยนแปลง
แต่เป็นตัวสร้างการเปลี่ยนแปลง
ผ่านการสร้างคน ออกไปเป็น Change Agent
ด้วย Transformative Learning
https://www.gotoknow.org/posts/590235
ประเด็นนำเสนอ
•การเรียนรู้ในศตวรรษที่ ๒๑
•บทบาทของครู
•ทักษะของครู
•สิ่งที่ครูทา/ไม่ทา
•ชีวิตครู
•บูชาครู
ใครคือครู
ใครคือครู ครูคือใคร ในวันนี้
ใช่อยู่ที่ ปริญญา มหาศาล
ใช่อยู่่ที่ เรีียกว่า ครูอาจารย์
ใช่อยู่นาน สอนนาน ในโรงเรียน
ครูคือผู้ ชี้นา ทางความคิด
ให้รู้ถูก รู้ผิด คิดอ่านเขียน
ให้รู้ทุกข์ รู้ยาก รู้พากเพียร
ให้รู้เปลี่ยน แปลงสู้ รู้สร้างงาน
ครูคือผู้ยกระดับ วิญญาณมนุษย์
ให้สูงสุด กว่าสัตว์เดรัจฉาน
ครูคือผู้สั่งสม อุดมการณ์
มีดวงมาน เพื่อมวลชน ใช่ตนเอง
ครูจึงเป็น นักสร้าง ผู้ใหญ่ยิ่ง
สร้างคนจริง สร้างคนกล้า สร้างคนเก่ง
สร้างคนให้ ได้เป็นตัว ของตัวเอง
ขอมอบเพลง นี้มา บูชาครูฯ
สรุป ครูเพื่อศิษย์
• สอนด้วยใจ = สอนแบบไม่สอน
• มี Growth Mindset ... เป็น “นักเรียน”
• พัฒนาศิษย์ครบด้าน ASK ให้ได้mastery & transformative learning
• เอาใจใส่ศิษย์ทุกคน ดูแลขจัด cognitive load ของศิษย์ขาดแคลน ด้วย
ปฏิสัมพันธ์เชิงบวก & growth mindset
• เรียนรู้จากห้องเรียน เรียนรู้ร่วมกันผ่านการปฏิบัติ แล้วใคร่ครวญสะท้อน
คิด … PLC / LS / OC เพื่อพัฒนาตนเองต่อเนื่อง
• รู้จักใช้“ตัวช่วย” ที่มีอยู่รอบตัว

More Related Content

What's hot

คุณภาพการศึกษา ยุคประเทศไทย 4.0
คุณภาพการศึกษา ยุคประเทศไทย 4.0คุณภาพการศึกษา ยุคประเทศไทย 4.0
คุณภาพการศึกษา ยุคประเทศไทย 4.0Pattie Pattie
 
ระบบการศึกษาเพื่อสร้างนักวิจัยรุ่นใหม่ Onec 590725_last
ระบบการศึกษาเพื่อสร้างนักวิจัยรุ่นใหม่ Onec 590725_lastระบบการศึกษาเพื่อสร้างนักวิจัยรุ่นใหม่ Onec 590725_last
ระบบการศึกษาเพื่อสร้างนักวิจัยรุ่นใหม่ Onec 590725_lastPattie Pattie
 
การศึกษาการจัดการเรียนการสอนแบบ CBL
การศึกษาการจัดการเรียนการสอนแบบ CBLการศึกษาการจัดการเรียนการสอนแบบ CBL
การศึกษาการจัดการเรียนการสอนแบบ CBLEmmy Nichanan
 
ต้อนรับคณะนักศึกษา ปโท ดูงาน
ต้อนรับคณะนักศึกษา ปโท ดูงาน ต้อนรับคณะนักศึกษา ปโท ดูงาน
ต้อนรับคณะนักศึกษา ปโท ดูงาน Orange Wongwaiwit
 
วิถีสร้างการเรียนรู้เพื่อศิษย์ในศตวรรษที่ 21
วิถีสร้างการเรียนรู้เพื่อศิษย์ในศตวรรษที่ 21วิถีสร้างการเรียนรู้เพื่อศิษย์ในศตวรรษที่ 21
วิถีสร้างการเรียนรู้เพื่อศิษย์ในศตวรรษที่ 21Teacher Sophonnawit
 
กศ. เพื่อพัฒนาท้องถิ่น ม. กาฬสินธุ์ 590728
กศ. เพื่อพัฒนาท้องถิ่น ม. กาฬสินธุ์ 590728กศ. เพื่อพัฒนาท้องถิ่น ม. กาฬสินธุ์ 590728
กศ. เพื่อพัฒนาท้องถิ่น ม. กาฬสินธุ์ 590728Pattie Pattie
 
การศึกษาไทยในศตวรรษที่ ๒๑ ม. เซนต์จอห์น 590731_n-last
การศึกษาไทยในศตวรรษที่ ๒๑ ม. เซนต์จอห์น 590731_n-lastการศึกษาไทยในศตวรรษที่ ๒๑ ม. เซนต์จอห์น 590731_n-last
การศึกษาไทยในศตวรรษที่ ๒๑ ม. เซนต์จอห์น 590731_n-lastPattie Pattie
 
การศึกษาไทยในศตวรรษที่ ๒๑ ม. เซนต์จอห์น 590731_n-first
การศึกษาไทยในศตวรรษที่ ๒๑ ม. เซนต์จอห์น 590731_n-firstการศึกษาไทยในศตวรรษที่ ๒๑ ม. เซนต์จอห์น 590731_n-first
การศึกษาไทยในศตวรรษที่ ๒๑ ม. เซนต์จอห์น 590731_n-firstPattie Pattie
 
Smart classroom characteristics of learning & teaching
Smart classroom  characteristics of learning & teachingSmart classroom  characteristics of learning & teaching
Smart classroom characteristics of learning & teachingAnucha Somabut
 
Thinking and doing school
Thinking and doing schoolThinking and doing school
Thinking and doing schoolWC Triumph
 

What's hot (20)

Tl 620719 n_2
Tl 620719 n_2Tl 620719 n_2
Tl 620719 n_2
 
Power school
Power schoolPower school
Power school
 
คุณภาพการศึกษา ยุคประเทศไทย 4.0
คุณภาพการศึกษา ยุคประเทศไทย 4.0คุณภาพการศึกษา ยุคประเทศไทย 4.0
คุณภาพการศึกษา ยุคประเทศไทย 4.0
 
ระบบการศึกษาเพื่อสร้างนักวิจัยรุ่นใหม่ Onec 590725_last
ระบบการศึกษาเพื่อสร้างนักวิจัยรุ่นใหม่ Onec 590725_lastระบบการศึกษาเพื่อสร้างนักวิจัยรุ่นใหม่ Onec 590725_last
ระบบการศึกษาเพื่อสร้างนักวิจัยรุ่นใหม่ Onec 590725_last
 
การศึกษาการจัดการเรียนการสอนแบบ CBL
การศึกษาการจัดการเรียนการสอนแบบ CBLการศึกษาการจัดการเรียนการสอนแบบ CBL
การศึกษาการจัดการเรียนการสอนแบบ CBL
 
Lectures 14 2.2
Lectures 14 2.2Lectures 14 2.2
Lectures 14 2.2
 
ต้อนรับคณะนักศึกษา ปโท ดูงาน
ต้อนรับคณะนักศึกษา ปโท ดูงาน ต้อนรับคณะนักศึกษา ปโท ดูงาน
ต้อนรับคณะนักศึกษา ปโท ดูงาน
 
Tl620118
Tl620118Tl620118
Tl620118
 
วิถีสร้างการเรียนรู้เพื่อศิษย์ในศตวรรษที่ 21
วิถีสร้างการเรียนรู้เพื่อศิษย์ในศตวรรษที่ 21วิถีสร้างการเรียนรู้เพื่อศิษย์ในศตวรรษที่ 21
วิถีสร้างการเรียนรู้เพื่อศิษย์ในศตวรรษที่ 21
 
กศ. เพื่อพัฒนาท้องถิ่น ม. กาฬสินธุ์ 590728
กศ. เพื่อพัฒนาท้องถิ่น ม. กาฬสินธุ์ 590728กศ. เพื่อพัฒนาท้องถิ่น ม. กาฬสินธุ์ 590728
กศ. เพื่อพัฒนาท้องถิ่น ม. กาฬสินธุ์ 590728
 
การศึกษาไทยในศตวรรษที่ ๒๑ ม. เซนต์จอห์น 590731_n-last
การศึกษาไทยในศตวรรษที่ ๒๑ ม. เซนต์จอห์น 590731_n-lastการศึกษาไทยในศตวรรษที่ ๒๑ ม. เซนต์จอห์น 590731_n-last
การศึกษาไทยในศตวรรษที่ ๒๑ ม. เซนต์จอห์น 590731_n-last
 
การศึกษาไทยในศตวรรษที่ ๒๑ ม. เซนต์จอห์น 590731_n-first
การศึกษาไทยในศตวรรษที่ ๒๑ ม. เซนต์จอห์น 590731_n-firstการศึกษาไทยในศตวรรษที่ ๒๑ ม. เซนต์จอห์น 590731_n-first
การศึกษาไทยในศตวรรษที่ ๒๑ ม. เซนต์จอห์น 590731_n-first
 
Learning21
Learning21Learning21
Learning21
 
H aforum21
H aforum21H aforum21
H aforum21
 
Chapter9mii
Chapter9miiChapter9mii
Chapter9mii
 
Steam 11oct
Steam 11octSteam 11oct
Steam 11oct
 
L2
L2L2
L2
 
Smart classroom characteristics of learning & teaching
Smart classroom  characteristics of learning & teachingSmart classroom  characteristics of learning & teaching
Smart classroom characteristics of learning & teaching
 
Develop school
Develop schoolDevelop school
Develop school
 
Thinking and doing school
Thinking and doing schoolThinking and doing school
Thinking and doing school
 

Similar to Ku 620507

การเรียนการสอนที่ผูกพันกับสังคม 590726 n
การเรียนการสอนที่ผูกพันกับสังคม 590726 nการเรียนการสอนที่ผูกพันกับสังคม 590726 n
การเรียนการสอนที่ผูกพันกับสังคม 590726 nPattie Pattie
 
Cen21 sripatum620602
Cen21 sripatum620602Cen21 sripatum620602
Cen21 sripatum620602Pattie Pattie
 
แนวทางการออกแบบหลักสูตรอุดมศึกษาใน ศ.21
แนวทางการออกแบบหลักสูตรอุดมศึกษาใน ศ.21แนวทางการออกแบบหลักสูตรอุดมศึกษาใน ศ.21
แนวทางการออกแบบหลักสูตรอุดมศึกษาใน ศ.21Wiriyah Ruechaipanit
 
Presentation 5
Presentation 5Presentation 5
Presentation 5tyehh
 
การจัดการเรียนรู้ในศตวรรษที่ ๒๑ มรภ. นครปฐม 610105
การจัดการเรียนรู้ในศตวรรษที่ ๒๑ มรภ. นครปฐม 610105การจัดการเรียนรู้ในศตวรรษที่ ๒๑ มรภ. นครปฐม 610105
การจัดการเรียนรู้ในศตวรรษที่ ๒๑ มรภ. นครปฐม 610105Pattie Pattie
 
การเรียนรู้แบบ4 mat
การเรียนรู้แบบ4 matการเรียนรู้แบบ4 mat
การเรียนรู้แบบ4 matSukanya Burana
 
ครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยKorakob Noi
 
การพัฒนาผู้เรียนPart two
การพัฒนาผู้เรียนPart twoการพัฒนาผู้เรียนPart two
การพัฒนาผู้เรียนPart twoPattie Pattie
 
บทที่ 5 การสอนตามแนวสรรคนิยม
บทที่ 5 การสอนตามแนวสรรคนิยมบทที่ 5 การสอนตามแนวสรรคนิยม
บทที่ 5 การสอนตามแนวสรรคนิยมSana T
 
งานครูมือใหม่
งานครูมือใหม่งานครูมือใหม่
งานครูมือใหม่Moss Worapong
 

Similar to Ku 620507 (20)

การเรียนการสอนที่ผูกพันกับสังคม 590726 n
การเรียนการสอนที่ผูกพันกับสังคม 590726 nการเรียนการสอนที่ผูกพันกับสังคม 590726 n
การเรียนการสอนที่ผูกพันกับสังคม 590726 n
 
Cen21 sripatum620602
Cen21 sripatum620602Cen21 sripatum620602
Cen21 sripatum620602
 
Innov tu 620817_n
Innov tu 620817_nInnov tu 620817_n
Innov tu 620817_n
 
แนวทางการออกแบบหลักสูตรอุดมศึกษาใน ศ.21
แนวทางการออกแบบหลักสูตรอุดมศึกษาใน ศ.21แนวทางการออกแบบหลักสูตรอุดมศึกษาใน ศ.21
แนวทางการออกแบบหลักสูตรอุดมศึกษาใน ศ.21
 
Thai edu21n4
Thai edu21n4Thai edu21n4
Thai edu21n4
 
Presentation 5
Presentation 5Presentation 5
Presentation 5
 
RealEdu600905_n
RealEdu600905_nRealEdu600905_n
RealEdu600905_n
 
ครูมืออาชีพ
ครูมืออาชีพครูมืออาชีพ
ครูมืออาชีพ
 
ครุผู้ช่วยช่วยTtg
ครุผู้ช่วยช่วยTtgครุผู้ช่วยช่วยTtg
ครุผู้ช่วยช่วยTtg
 
การจัดการเรียนรู้ในศตวรรษที่ ๒๑ มรภ. นครปฐม 610105
การจัดการเรียนรู้ในศตวรรษที่ ๒๑ มรภ. นครปฐม 610105การจัดการเรียนรู้ในศตวรรษที่ ๒๑ มรภ. นครปฐม 610105
การจัดการเรียนรู้ในศตวรรษที่ ๒๑ มรภ. นครปฐม 610105
 
ครูมืออาชีพ
ครูมืออาชีพครูมืออาชีพ
ครูมืออาชีพ
 
การเรียนรู้แบบ4 mat
การเรียนรู้แบบ4 matการเรียนรู้แบบ4 mat
การเรียนรู้แบบ4 mat
 
Teach pro bu_610524
Teach pro bu_610524Teach pro bu_610524
Teach pro bu_610524
 
ครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วย
 
Sripatum learning
Sripatum learningSripatum learning
Sripatum learning
 
การพัฒนาผู้เรียนPart two
การพัฒนาผู้เรียนPart twoการพัฒนาผู้เรียนPart two
การพัฒนาผู้เรียนPart two
 
บทที่ 5 การสอนตามแนวสรรคนิยม
บทที่ 5 การสอนตามแนวสรรคนิยมบทที่ 5 การสอนตามแนวสรรคนิยม
บทที่ 5 การสอนตามแนวสรรคนิยม
 
งานครูมือใหม่
งานครูมือใหม่งานครูมือใหม่
งานครูมือใหม่
 
Thai edu21n1
Thai edu21n1Thai edu21n1
Thai edu21n1
 
Learning by project
Learning by projectLearning by project
Learning by project
 

More from Pattie Pattie

สรุปการประชุม AAR การเข้าร่วมงาน HA National Forum ครั้งที่ 24 จาก กสศ
สรุปการประชุม AAR การเข้าร่วมงาน HA National Forum ครั้งที่ 24 จาก กสศสรุปการประชุม AAR การเข้าร่วมงาน HA National Forum ครั้งที่ 24 จาก กสศ
สรุปการประชุม AAR การเข้าร่วมงาน HA National Forum ครั้งที่ 24 จาก กสศPattie Pattie
 
สรุป Schools That Matter วันที่ 10 เมษายน 2567
สรุป Schools That Matter วันที่ 10 เมษายน 2567สรุป Schools That Matter วันที่ 10 เมษายน 2567
สรุป Schools That Matter วันที่ 10 เมษายน 2567Pattie Pattie
 
รูปแบบการขยายผลการจัดการเรียนรู้การแพทย์ฉุกเฉิน
รูปแบบการขยายผลการจัดการเรียนรู้การแพทย์ฉุกเฉินรูปแบบการขยายผลการจัดการเรียนรู้การแพทย์ฉุกเฉิน
รูปแบบการขยายผลการจัดการเรียนรู้การแพทย์ฉุกเฉินPattie Pattie
 
AIforTeaching โดย รศ. ดร. สิริวุฒิ บูรณพิร
AIforTeaching โดย รศ. ดร. สิริวุฒิ บูรณพิรAIforTeaching โดย รศ. ดร. สิริวุฒิ บูรณพิร
AIforTeaching โดย รศ. ดร. สิริวุฒิ บูรณพิรPattie Pattie
 
การบริหารวิชาการและหลักสูตร บรรยายโดย ศ.นพ.วิจารณ์ พานิช
การบริหารวิชาการและหลักสูตร บรรยายโดย ศ.นพ.วิจารณ์ พานิชการบริหารวิชาการและหลักสูตร บรรยายโดย ศ.นพ.วิจารณ์ พานิช
การบริหารวิชาการและหลักสูตร บรรยายโดย ศ.นพ.วิจารณ์ พานิชPattie Pattie
 
The Lancet Commission on peaceful societies through health equity and gender ...
The Lancet Commission on peaceful societies through health equity and gender ...The Lancet Commission on peaceful societies through health equity and gender ...
The Lancet Commission on peaceful societies through health equity and gender ...Pattie Pattie
 
คณะพยาบาลศาสตร์ สบช KMSharingforLearningOrganization
คณะพยาบาลศาสตร์ สบช KMSharingforLearningOrganizationคณะพยาบาลศาสตร์ สบช KMSharingforLearningOrganization
คณะพยาบาลศาสตร์ สบช KMSharingforLearningOrganizationPattie Pattie
 
การประชุมกลุ่มสามพราน ตระกูล ส โดย ศ.นพ.ประเวศ วะสี
การประชุมกลุ่มสามพราน ตระกูล ส โดย ศ.นพ.ประเวศ วะสีการประชุมกลุ่มสามพราน ตระกูล ส โดย ศ.นพ.ประเวศ วะสี
การประชุมกลุ่มสามพราน ตระกูล ส โดย ศ.นพ.ประเวศ วะสีPattie Pattie
 
Transformative Education——Pearls in Medical Education 2567
Transformative Education——Pearls in Medical Education 2567Transformative Education——Pearls in Medical Education 2567
Transformative Education——Pearls in Medical Education 2567Pattie Pattie
 
ResearchfoundationPro.pdf
ResearchfoundationPro.pdfResearchfoundationPro.pdf
ResearchfoundationPro.pdfPattie Pattie
 
PMAYP2024_Opening speech (Prof. Vicharn).pdf
PMAYP2024_Opening speech (Prof. Vicharn).pdfPMAYP2024_Opening speech (Prof. Vicharn).pdf
PMAYP2024_Opening speech (Prof. Vicharn).pdfPattie Pattie
 
KrungthepThaonUniv.pptx
KrungthepThaonUniv.pptxKrungthepThaonUniv.pptx
KrungthepThaonUniv.pptxPattie Pattie
 
จาก KM สู่ SLC.pptx
จาก KM สู่ SLC.pptxจาก KM สู่ SLC.pptx
จาก KM สู่ SLC.pptxPattie Pattie
 

More from Pattie Pattie (20)

สรุปการประชุม AAR การเข้าร่วมงาน HA National Forum ครั้งที่ 24 จาก กสศ
สรุปการประชุม AAR การเข้าร่วมงาน HA National Forum ครั้งที่ 24 จาก กสศสรุปการประชุม AAR การเข้าร่วมงาน HA National Forum ครั้งที่ 24 จาก กสศ
สรุปการประชุม AAR การเข้าร่วมงาน HA National Forum ครั้งที่ 24 จาก กสศ
 
สรุป Schools That Matter วันที่ 10 เมษายน 2567
สรุป Schools That Matter วันที่ 10 เมษายน 2567สรุป Schools That Matter วันที่ 10 เมษายน 2567
สรุป Schools That Matter วันที่ 10 เมษายน 2567
 
รูปแบบการขยายผลการจัดการเรียนรู้การแพทย์ฉุกเฉิน
รูปแบบการขยายผลการจัดการเรียนรู้การแพทย์ฉุกเฉินรูปแบบการขยายผลการจัดการเรียนรู้การแพทย์ฉุกเฉิน
รูปแบบการขยายผลการจัดการเรียนรู้การแพทย์ฉุกเฉิน
 
AIforTeaching โดย รศ. ดร. สิริวุฒิ บูรณพิร
AIforTeaching โดย รศ. ดร. สิริวุฒิ บูรณพิรAIforTeaching โดย รศ. ดร. สิริวุฒิ บูรณพิร
AIforTeaching โดย รศ. ดร. สิริวุฒิ บูรณพิร
 
การบริหารวิชาการและหลักสูตร บรรยายโดย ศ.นพ.วิจารณ์ พานิช
การบริหารวิชาการและหลักสูตร บรรยายโดย ศ.นพ.วิจารณ์ พานิชการบริหารวิชาการและหลักสูตร บรรยายโดย ศ.นพ.วิจารณ์ พานิช
การบริหารวิชาการและหลักสูตร บรรยายโดย ศ.นพ.วิจารณ์ พานิช
 
The Lancet Commission on peaceful societies through health equity and gender ...
The Lancet Commission on peaceful societies through health equity and gender ...The Lancet Commission on peaceful societies through health equity and gender ...
The Lancet Commission on peaceful societies through health equity and gender ...
 
คณะพยาบาลศาสตร์ สบช KMSharingforLearningOrganization
คณะพยาบาลศาสตร์ สบช KMSharingforLearningOrganizationคณะพยาบาลศาสตร์ สบช KMSharingforLearningOrganization
คณะพยาบาลศาสตร์ สบช KMSharingforLearningOrganization
 
การประชุมกลุ่มสามพราน ตระกูล ส โดย ศ.นพ.ประเวศ วะสี
การประชุมกลุ่มสามพราน ตระกูล ส โดย ศ.นพ.ประเวศ วะสีการประชุมกลุ่มสามพราน ตระกูล ส โดย ศ.นพ.ประเวศ วะสี
การประชุมกลุ่มสามพราน ตระกูล ส โดย ศ.นพ.ประเวศ วะสี
 
Transformative Education——Pearls in Medical Education 2567
Transformative Education——Pearls in Medical Education 2567Transformative Education——Pearls in Medical Education 2567
Transformative Education——Pearls in Medical Education 2567
 
ResearchfoundationPro.pdf
ResearchfoundationPro.pdfResearchfoundationPro.pdf
ResearchfoundationPro.pdf
 
PMAYP2024_Opening speech (Prof. Vicharn).pdf
PMAYP2024_Opening speech (Prof. Vicharn).pdfPMAYP2024_Opening speech (Prof. Vicharn).pdf
PMAYP2024_Opening speech (Prof. Vicharn).pdf
 
670111_PDF.pdf
670111_PDF.pdf670111_PDF.pdf
670111_PDF.pdf
 
NoteMemoCare.pdf
NoteMemoCare.pdfNoteMemoCare.pdf
NoteMemoCare.pdf
 
KrungthepThaonUniv.pptx
KrungthepThaonUniv.pptxKrungthepThaonUniv.pptx
KrungthepThaonUniv.pptx
 
จาก KM สู่ SLC.pptx
จาก KM สู่ SLC.pptxจาก KM สู่ SLC.pptx
จาก KM สู่ SLC.pptx
 
Udom_Pdf.pdf
Udom_Pdf.pdfUdom_Pdf.pdf
Udom_Pdf.pdf
 
Kregrit_Pdf.pdf
Kregrit_Pdf.pdfKregrit_Pdf.pdf
Kregrit_Pdf.pdf
 
Phuket_sandbox.pdf
Phuket_sandbox.pdfPhuket_sandbox.pdf
Phuket_sandbox.pdf
 
Surin_ppt.pptx
Surin_ppt.pptxSurin_ppt.pptx
Surin_ppt.pptx
 
Nakornsawan.pdf
Nakornsawan.pdfNakornsawan.pdf
Nakornsawan.pdf
 

Ku 620507