SlideShare a Scribd company logo
ทฤษฏีการเรียนรู้กลุ่มคอนสตรัคติวิสต์
( Constructivist Theories )
สถานการณ์
ครูสง่าได้ใช้รูปแบบในการสอนเป็นการบรรยายตาม หนังสือ และให้นักเรียนอ่านหนังสือ
ประกอบ นักเรียนจะจดจาเนื้อหาเพื่อสอบให้ผ่าน ผู้เรียนไม่ได้เกิดกระบวนการคิด
(cognitive process) การวิเคราะห์หรือการไตร่ตรองในระหว่างการเรียนนักเรียนไม่ได้ลง
มือกระทาหรือสร้างความรู้เอง
ภารกิจ
จากปัญหาที่เกิดขึ้น คุณจะนาหลักการใดในทฤษฎีคอนสตรัคติวิสซึมมาใช้ในการจัดการ
เรียนรู้เพื่อแก้ ปัญหาดังกล่าว ให้ครูสง่าและอธิบายหลักการดังกล่าวให้ครูสง่าเข้าใจมาโดยสรุป
พร้อมทั้งยกตัวอย่างการจัดการเรียนรู้เพื่อเป็นแนวทางให้ครูสง่าด้วย
สถานการณ์ปัญหาที่ 1
แก้ปัญหา
ใช้หลักการของ Cognitive Constructivism มาใช้ในการจัดการเรียนรู้เพราะเป็น
ทฤษฎีนี้มีหลักการที่สาคัญคือ 1. การเรียนรู้เป็นกระบวนการเรียนรู้ที่ลงมือปฏิบัติ
2. การเรียนรู้ควรเป็นองค์รวม เน้นสภาพจริง และสิ่งที่เป็นจริง
ตัวอย่าง
วิชา วิทยาศาสตร์ เรื่อง สถานะของน้า ครูจัดกิจกรรมการเรียนการสอน ให้นักเรียนได้
ทดลองศึกษาเรียนรู้โดยผ่านกระบวนการทดลองโดยให้นักเรียนได้ลงมือปฏิบัติจริงเพื่อที่ จะได้
เห็นการเปลี่ยนแปลงสถานะของน้าจริงๆแล้วจะสามารถสรุปเป็นองค์ความรู้ได้ด้วยตนเอง
สถานการณ์ปัญหาที่ 1
สถานการณ์
อ.นิตยา เป็นครูประจาชั้น ม. 5 ได้สังเกตเห็นพฤติกรรมของนายพีระศักดิ์ที่ไม่ได้สนใจ
ในการเรียน เมื่อสอบถามนายพีระศักดิ์ให้เหตุผลว่า “สิ่งที่เรียนในห้องเรียนไม่สามารถ
นามาใช้ประโยชน์ และเชื่อมโยงสิ่งที่เรียนในชีวิตประจาวันได้เลย”
ภารกิจ
คุณจะมีวิธีช่วย อ. นิตยาอย่างไรเพื่อที่จะจัดการเรียนการสอนให้นักเรียนตั้งใจเรียนและ
เห็นความสาคัญของการเรียนโดยให้หลักการใดในทฤษฎีคอนสตรัคติวิสซึมเป็นฐานในการ
ออกแบบการจัดการเรียนรู้ โดยอธิบายหลักการดังกล่าวมาโดยสรุป พร้อมทั้งยกตัวอย่าง
การจัดการเรียนรู้ประกอบด้วย
สถานการณ์ปัญหาที่ 2
แก้ปัญหา
แก้ปัญหาโดยอาศัยหลักการ Cognitive Constructivism เลือกแนวคิดสิ่งแวดล้อมทางการ
เรียนรู้ในชีวิตจริง โดยจัดสภาพแวดล้อมทางการเรียนรู้ให้อยู่ในบริบทของสภาพจริง ที่สามารถประยุกต์
เชื่อมโยงเข้ากับชีวิตจริงได้
ตัวอย่าง
อาจจัดกิจกรรมสถานการณ์ภายในโรงเรียนเพื่อให้ได้ลงมือปฏิบัติจริง เช่นการจัดการสิ่งแวดล้อม
ภายในโรงเรียนซึ่งโยงเข้าสู่วิชาที่เกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมได้จริง นักเรียนจะได้มีความรู้ความเข้าใจที่เป็นสภาพ
จริง และเกิดขึ้นจริง ก็จะได้มองเห็นภาพจริง และอาจจะสามารถพัฒนาความรู้ของตัวนักเรียนในการคิด
แก้ปัญญาจากที่อาจารย์จัดสิ่งแวดล้อมไว้ ได้มากขึ้น
สถานการณ์ปัญหาที่ 2
สถานการณ์
ในวิชาคณิตศาสตร์ของครูยาใจ จะตั้งโจทย์ให้นักเรียนแต่ละคนหาคาตอบ ซึ่งโจทย์
ดังกล่าวมีวิธีการคิดได้หลากหลาย แต่นักเรียนคิดได้ในแง่มุมเดียว ไม่หลากหลาย และใน
บางครั้งเกิดความเข้าใจผิด ซึ่งทาให้เชื่อมั่นในแนวทางการแก้ปัญหาของตัวเองมากเกินไป
และจาวิธีการแก้ปัญหานั้นไปตลอด
ภารกิจ
จากปัญหาข้างต้นคุณจะนาหนักการใดในทฤษฎีคอนสตรัคติวิสซึมเข้ามาใช้เป็นฐานใน
การจัดกิจกรรมการเรียนการสอน และให้อธิบายหลักการดังกล่าว พร้อมทั้งยกตัวอย่างการ
จัดการเรียนรู้ตามหลักการดังกล่าวด้วย
สถานการณ์ปัญหาที่ 3
แก้ปัญหา
ใช้หลักการทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์กับการออกแบบสิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ของ
McLellan การเรียนรู้ที่เหมาะสม (Situated Learning) “การเรียนรู้ที่เหมาะสมได้
เน้นให้เห็นความสาคัญของบริบทเชิงสังคมที่เหมาะสม ซึ่งจะเรียกว่า ชุมชนของผู้เรียน
(Learners Communities)
สถานการณ์ปัญหาที่ 3
การจัดการเรียนการสอน
วิชา คณิตศาสตร์ เรื่อง การแก้โจทย์ปัญหา ครูจัดกิจกรรมการเรียนการสอนให้
นักเรียนแต่ละคนได้มีโอกาสออกมานาเสนอวิธีการแก้โจทย์ปัญหาของตนเองให้เพื่อนๆในห้อง
ได้เห็นขั้นตอนวิธีการอย่างชัดเจน หลังจากนั้นก็ให้ทุกคนช่วยกันสรุปแนวทางวิธีการแก้โจทย์
ปัญหาคณิตศาสตร์ร่วมกัน โดยมีครูคอยให้คาแนะนาเพื่อนักเรียนจะได้ทราบหลักวิธีการที่
ถูกต้องและหลากหลายเพื่อที่จะสามารถนาไปประยุกต์ใช้ได้อย่างถูกต้อง
สถานการณ์ปัญหาที่ 3
ในปัจจุบันนี้เป็นยุคสมัยแห่งการปฏิรูปการศึกษา ที่เป็นการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียน
เป็นสาคัญ ดังนั้นครูทองสุขเห็นความสาคัญในเรื่องนี้จึงต้องการจัดการเรียนรู้ที่เน้น ผู้เรียน
เป็นสาคัญให้สอดคล้องกับวิชาท้องถิ่นของเราที่ตนเองสอน โดยต้องการให้นักเรียนได้
ทางานร่วมกันเป็นทีม มีการแลกเปลี่ยนความคิดเห็นซึ่งกันและกัน และร่วมมือกันแก้ปัญหา
ที่เกิดขึ้นในระหว่างการเรียนรู้ อีกทั้งสิ่งที่นักเรียนได้เรียนรู้ไปแล้วนั้นสามารถนาประยุกต์ใช้
ในชีวิต ประจาวันได้
สถานการณ์ปัญหาที่ 4
ภารกิจ
จากที่ท่านได้ศึกษาทฤษฎีการเรียนรู้คอนสตรัคติวิสซึมมาแล้ว ท่านลองพิจารณาถึง
ประเด็นต่าง ๆ ในการจัดการเรียนรู้ของครูทองสุขว่ามีตรงจุด ใดบ้างที่ท่านสามารถนา
ทฤษฎีการเรียนรู้คอนสตรัคติวิสซึมมาใช้ในการ จัดการเรียนรู้ พร้อมทั้งยกตัวอย่าง
ประกอบเพื่อเป็นแนวทางในการจัดการ เรียนรู้แก่ครูทองสุข
สถานการณ์ปัญหาที่ 4
แนวทางการออกแบบ
ให้ทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์กับการออกแบบสิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ของ
Cunningham
สถานการณ์ปัญหาที่ 4
หลักในการออกแบบ
 กระบวนการสร้างประสบการณ์ความรู้
 การสร้างประสบการณ์อย่างลึกซึ้งในรูปแบบที่หลากหลาย
 การเรียนรู้ที่ฝังอยู่ในสภาพที่เป็นจริงและบริบทการแก้ปัญหาที่ตรงกับสภาพจริง
 การส่งเสริมและสนับสนุนการคิดด้วยตนเองในกระบวนการเรียนรู้
 การฝังการเรียนรู้ลงในประสบการณ์ทางสังคม
 การส่งเสริมและสนับสนุนการใช้รูปแบบที่หลากหลายในการนาเสนอ
 การส่งเสริมและสนับสนุนการรู้เกี่ยวกับกระบวนการรู้คิดของตนเองในกระบวนการสร้าง
โครงสร้างทางปัญญา
สถานการณ์ปัญหาที่ 4
การจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
ใช้กระบวนการกลุ่มโดยให้ผู้เรียนได้ช่วยกันอภิปรายสรุปหาวิธีการแก้ปัญหา ตาม
สถานการณ์ที่ครูกาหนดให้แล้วให้แต่ละกลุ่มออกมานาเสนอแนวทาง แก้ปัญหาของตนเอง
เพื่อที่จะได้ร่วมกันสรุปเป็นแนวทางเดียวกันซึ่งวิธีการ ดังกล่าวผู้เรียนจะเป็นผู้สร้างความรู้
ได้ด้วยตนเอง
สถานการณ์ปัญหาที่ 4
Thank you!
565050039-9 นางสาวชลธิชา มายอด
565050042-0 นางสาวนิโลบล มีชัย
565050046-2 นางสาวพิมลวรรณ ร่มวาปี
565050051-9 นางสาวอุทัยวรรณ นิสสัยกล้า

More Related Content

What's hot

ทฤษฏีไวก็อตสกี้
ทฤษฏีไวก็อตสกี้ทฤษฏีไวก็อตสกี้
ทฤษฏีไวก็อตสกี้
Proud N. Boonrak
 
รูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณี
รูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณีรูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณี
รูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณีParichart Ampon
 
Constructivismใหม่j
Constructivismใหม่jConstructivismใหม่j
Constructivismใหม่jDarika Roopdee
 
Wolfgang kohler
Wolfgang kohlerWolfgang kohler
Wolfgang kohler
Wichapas Sungkapes
 
ทฤษฎีการเชื่อมโยงของธอร์นไดค์
ทฤษฎีการเชื่อมโยงของธอร์นไดค์ทฤษฎีการเชื่อมโยงของธอร์นไดค์
ทฤษฎีการเชื่อมโยงของธอร์นไดค์
Pop Punkum
 
บทที่ 11 นวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัย 55
บทที่ 11 นวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัย 55บทที่ 11 นวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัย 55
บทที่ 11 นวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัย 55Decode Ac
 
ข้อสอบความคิดสร้างสรรค์
ข้อสอบความคิดสร้างสรรค์ข้อสอบความคิดสร้างสรรค์
ข้อสอบความคิดสร้างสรรค์
Jirathorn Buenglee
 
ทฤษฏีพัฒนาการทางจริยธรรมของโคลเบิร์ก
ทฤษฏีพัฒนาการทางจริยธรรมของโคลเบิร์กทฤษฏีพัฒนาการทางจริยธรรมของโคลเบิร์ก
ทฤษฏีพัฒนาการทางจริยธรรมของโคลเบิร์ก
earlychildhood024057
 
บทที่ 8 การสังเกตพฤติกรรมเด็ก 55
บทที่ 8 การสังเกตพฤติกรรมเด็ก 55บทที่ 8 การสังเกตพฤติกรรมเด็ก 55
บทที่ 8 การสังเกตพฤติกรรมเด็ก 55Decode Ac
 
สรุปแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผล ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศั...
สรุปแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผล ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศั...สรุปแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผล ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศั...
สรุปแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผล ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศั...
TupPee Zhouyongfang
 
Constructivism
Constructivism Constructivism
Constructivism
Pitanya Candy
 
องค์ประกอบของหลักสูตร
องค์ประกอบของหลักสูตรองค์ประกอบของหลักสูตร
องค์ประกอบของหลักสูตร
Sunisa199444
 
Casestudy การศึกษารายกรณี
Casestudy การศึกษารายกรณีCasestudy การศึกษารายกรณี
Casestudy การศึกษารายกรณี
rewat Chitthaing
 
ตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บท
ตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บทตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บท
ตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บท
Dr.Krisada [Hua] RMUTT
 
บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
Natcha Wannakot
 
แผนการสอนการงานอาชีพ ป.6
แผนการสอนการงานอาชีพ ป.6แผนการสอนการงานอาชีพ ป.6
แผนการสอนการงานอาชีพ ป.6Napadon Yingyongsakul
 
รายงานวิจัยในชั้นเรียน
รายงานวิจัยในชั้นเรียนรายงานวิจัยในชั้นเรียน
รายงานวิจัยในชั้นเรียนchaiwat vichianchai
 
ทฤษฎีการสร้างความรู้
ทฤษฎีการสร้างความรู้ทฤษฎีการสร้างความรู้
ทฤษฎีการสร้างความรู้Rainbow Tiwa
 
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรมนิยมและการออกแบบการสอน
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรมนิยมและการออกแบบการสอนทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรมนิยมและการออกแบบการสอน
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรมนิยมและการออกแบบการสอนNisachol Poljorhor
 
ปรัชญาพิพัฒนาการนิยม
ปรัชญาพิพัฒนาการนิยมปรัชญาพิพัฒนาการนิยม
ปรัชญาพิพัฒนาการนิยม
Proud N. Boonrak
 

What's hot (20)

ทฤษฏีไวก็อตสกี้
ทฤษฏีไวก็อตสกี้ทฤษฏีไวก็อตสกี้
ทฤษฏีไวก็อตสกี้
 
รูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณี
รูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณีรูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณี
รูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณี
 
Constructivismใหม่j
Constructivismใหม่jConstructivismใหม่j
Constructivismใหม่j
 
Wolfgang kohler
Wolfgang kohlerWolfgang kohler
Wolfgang kohler
 
ทฤษฎีการเชื่อมโยงของธอร์นไดค์
ทฤษฎีการเชื่อมโยงของธอร์นไดค์ทฤษฎีการเชื่อมโยงของธอร์นไดค์
ทฤษฎีการเชื่อมโยงของธอร์นไดค์
 
บทที่ 11 นวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัย 55
บทที่ 11 นวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัย 55บทที่ 11 นวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัย 55
บทที่ 11 นวัตกรรมทางการศึกษาปฐมวัย 55
 
ข้อสอบความคิดสร้างสรรค์
ข้อสอบความคิดสร้างสรรค์ข้อสอบความคิดสร้างสรรค์
ข้อสอบความคิดสร้างสรรค์
 
ทฤษฏีพัฒนาการทางจริยธรรมของโคลเบิร์ก
ทฤษฏีพัฒนาการทางจริยธรรมของโคลเบิร์กทฤษฏีพัฒนาการทางจริยธรรมของโคลเบิร์ก
ทฤษฏีพัฒนาการทางจริยธรรมของโคลเบิร์ก
 
บทที่ 8 การสังเกตพฤติกรรมเด็ก 55
บทที่ 8 การสังเกตพฤติกรรมเด็ก 55บทที่ 8 การสังเกตพฤติกรรมเด็ก 55
บทที่ 8 การสังเกตพฤติกรรมเด็ก 55
 
สรุปแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผล ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศั...
สรุปแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผล ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศั...สรุปแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผล ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศั...
สรุปแนวปฏิบัติการวัดและประเมินผล ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศั...
 
Constructivism
Constructivism Constructivism
Constructivism
 
องค์ประกอบของหลักสูตร
องค์ประกอบของหลักสูตรองค์ประกอบของหลักสูตร
องค์ประกอบของหลักสูตร
 
Casestudy การศึกษารายกรณี
Casestudy การศึกษารายกรณีCasestudy การศึกษารายกรณี
Casestudy การศึกษารายกรณี
 
ตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บท
ตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บทตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บท
ตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บท
 
บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
 
แผนการสอนการงานอาชีพ ป.6
แผนการสอนการงานอาชีพ ป.6แผนการสอนการงานอาชีพ ป.6
แผนการสอนการงานอาชีพ ป.6
 
รายงานวิจัยในชั้นเรียน
รายงานวิจัยในชั้นเรียนรายงานวิจัยในชั้นเรียน
รายงานวิจัยในชั้นเรียน
 
ทฤษฎีการสร้างความรู้
ทฤษฎีการสร้างความรู้ทฤษฎีการสร้างความรู้
ทฤษฎีการสร้างความรู้
 
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรมนิยมและการออกแบบการสอน
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรมนิยมและการออกแบบการสอนทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรมนิยมและการออกแบบการสอน
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรมนิยมและการออกแบบการสอน
 
ปรัชญาพิพัฒนาการนิยม
ปรัชญาพิพัฒนาการนิยมปรัชญาพิพัฒนาการนิยม
ปรัชญาพิพัฒนาการนิยม
 

Similar to คอนสตรัคติวิสต์

Constructivism theories
Constructivism theoriesConstructivism theories
Constructivism theories
jeerawan_l
 
Constructivism theories
Constructivism theoriesConstructivism theories
Constructivism theoriesjeerawan_l
 
ครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วย
Korakob Noi
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่panggoo
 
นายธนศิษฎ์ ศรีเมือง 525050434-9
นายธนศิษฎ์ ศรีเมือง 525050434-9นายธนศิษฎ์ ศรีเมือง 525050434-9
นายธนศิษฎ์ ศรีเมือง 525050434-9maxcrycry
 
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยนภสร ยั่งยืน
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
Pitsiri Lumphaopun
 
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มคอนสตรัคติวิสต์และการออกแบบการสอน
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มคอนสตรัคติวิสต์และการออกแบบการสอนทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มคอนสตรัคติวิสต์และการออกแบบการสอน
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มคอนสตรัคติวิสต์และการออกแบบการสอนNisachol Poljorhor
 
การเรียนรู้แบบ4 mat
การเรียนรู้แบบ4 matการเรียนรู้แบบ4 mat
การเรียนรู้แบบ4 matSukanya Burana
 
ระดับครผู้ช่วย
ระดับครผู้ช่วยระดับครผู้ช่วย
ระดับครผู้ช่วยtyehh
 
รูปแบบการเรียนการสอน
รูปแบบการเรียนการสอนรูปแบบการเรียนการสอน
รูปแบบการเรียนการสอนwannaphakdee
 
ระดับครผู้ช่วย
ระดับครผู้ช่วยระดับครผู้ช่วย
ระดับครผู้ช่วยtyehh
 
201704_cognitive_weapon
201704_cognitive_weapon201704_cognitive_weapon
บทที่ 2 เซค 1
บทที่  2 เซค 1บทที่  2 เซค 1
บทที่ 2 เซค 1yaowalakMathEd
 
Com expert1
Com expert1Com expert1
Com expert1
Ptato Ok
 
Com expert
Com expertCom expert
Com expert
Ptato Ok
 

Similar to คอนสตรัคติวิสต์ (20)

Constructivism theories
Constructivism theoriesConstructivism theories
Constructivism theories
 
Constructivism theories
Constructivism theoriesConstructivism theories
Constructivism theories
 
Lesson 5 construct
Lesson 5 constructLesson 5 construct
Lesson 5 construct
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
ครูมืออาชีพ
ครูมืออาชีพครูมืออาชีพ
ครูมืออาชีพ
 
ครูมืออาชีพ
ครูมืออาชีพครูมืออาชีพ
ครูมืออาชีพ
 
ครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วย
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
นายธนศิษฎ์ ศรีเมือง 525050434-9
นายธนศิษฎ์ ศรีเมือง 525050434-9นายธนศิษฎ์ ศรีเมือง 525050434-9
นายธนศิษฎ์ ศรีเมือง 525050434-9
 
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มคอนสตรัคติวิสต์และการออกแบบการสอน
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มคอนสตรัคติวิสต์และการออกแบบการสอนทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มคอนสตรัคติวิสต์และการออกแบบการสอน
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มคอนสตรัคติวิสต์และการออกแบบการสอน
 
การเรียนรู้แบบ4 mat
การเรียนรู้แบบ4 matการเรียนรู้แบบ4 mat
การเรียนรู้แบบ4 mat
 
ระดับครผู้ช่วย
ระดับครผู้ช่วยระดับครผู้ช่วย
ระดับครผู้ช่วย
 
รูปแบบการเรียนการสอน
รูปแบบการเรียนการสอนรูปแบบการเรียนการสอน
รูปแบบการเรียนการสอน
 
ระดับครผู้ช่วย
ระดับครผู้ช่วยระดับครผู้ช่วย
ระดับครผู้ช่วย
 
201704_cognitive_weapon
201704_cognitive_weapon201704_cognitive_weapon
201704_cognitive_weapon
 
บทที่ 2 เซค 1
บทที่  2 เซค 1บทที่  2 เซค 1
บทที่ 2 เซค 1
 
Com expert1
Com expert1Com expert1
Com expert1
 
Com expert
Com expertCom expert
Com expert
 

คอนสตรัคติวิสต์