SlideShare a Scribd company logo
LOGO
โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์
กาญจนบุรี
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
รายวิชา วิทยาศาสตร์ 4 ( ว 22102)
เรื่อง ระบบประสาท
โดยครูสุกัญญา นาคอ้น
จุดประสงค์การเรียนรู้
www.themegallery.com
1. อธิบายส่วนประกอบและหน้าที่ของระบบ
ประสาทของมนุษย์
2. ยกตัวอย่างพฤติกรรมของมนุษย์และสัตว์ที่
ตอบสนองต่อสิ่งเร้าภายในและสิ่งเร้าภายนอก
ร่างกาย
3. อธิบายความแตกต่างของพฤติกรรมที่มีแต่
กาเนิดและพฤติกรรมที่เกิดจากการเรียนรู้
4. วิเคราะห์ผลของพฤติกรรมบางอย่างที่มีผลต่อ
การดารงชีวิตของสิ่งมีชีวิต
www.themegallery.com
ระบบประสาท (nervous system)
ระบบประสาทเป็นศูนย์กลางที่ควบคุมการทางานของร่างกาย
ในการแสดงปฏิกิริยาตอบสนอง ต่อสิ่งเร้า โดยทาหน้าที่ประสาน
สัมพันธ์ระหว่างอวัยวะสัมผัสกับอวัยวะมอเตอร์ ควบคุมการทางาน ของ
กล้ามเนื้อ การทางานของต่อมและระบบต่าง ๆ ในร่างกาย อีกทั้งเป็น
ศูนย์ของความรู้สึกนึกคิด สติปัญญา การเรียนรู้ ความจา ตลอดจนการ
ปรับตัวให้เข้ากับสิ่งแวดล้อม
www.themegallery.com
ระบบประสาท (nervous system)
การทางานของระบบประสาทแบ่ง
ออกเป็น 2 ระบบ คือ
1. ระบบประสาทส่วนกลาง
(Central Nervous System)
2. ระบบประสาทส่วนนอก
(Peripheral Nervous System)
ระบบประสาทส่วนกลาง
www.themegallery.com
ระบบประสาทส่วนกลาง (the central nervous system
หรือ somatic nervous system ) เป็นศูนย์กลางควบคุมการทางานของ
ร่างกาย ซึ่งทางานพร้อมกันทั้งในด้านกลไกและทางเคมีภายใต้
อานาจจิตใจ ซึ่งประกอบด้วยสมองและไขสันหลัง โดยเส้นประสาท
หลายล้านเส้นจากทั่วร่างกายจะส่งข้อมูลในรูปกระแสประสาทออก
จากบริเวณศูนย์กลาง
สมอง(brain) เป็นส่วนที่ใหญ่กว่าส่วนอื่นๆ ของ
ระบบประสาทส่วนกลาง ทาหน้าที่ควบคุมการทา
กิจกรรมทั้งหมดของร่างกาย เป็นอวัยวะชนิดเดียวที่
แสดงความสามารถด้านสติปัญญา
เป็นเซลล์ประสาทที่อยู่ในโพรง
กระดูกสันหลัง เป็นส่วนเชื่อมต่อจากสมอง
เป็นตัวกลางที่เชื่อมสัมพันธ์ระหว่างประสาท
ส่วนนอกกับสมอง และเป็นศูนย์ควบคุม
ปฏิกิริยาสะท้อน (reflexes) ต่าง ๆ ของร่างกาย
ระบบประสาท (nervous system)
www.themegallery.com
สมองสัตว์มีกระดูกสันหลัง
แบ่งออกเป็น 3 ส่วน
1. สมองส่วนหน้า ประกอบด้วย
1.1 เซรีบรัม ทาหน้าที่เกี่ยวข้องกับ
ความคิด ความจา เชาว์ปัญญา อารมณ์
ความรู้สึก การรับรู้ต่างๆ เช่น การมองเห็น
การดมกลิ่น การสัมผัส
1.2 ทาลามัส ทาหน้าที่เป็นสถานี
ถ่ายทอดกระแสประสาท
1.3 ไฮโพทาลามัส ทาหน้าที่ควบคุม
อุณหภูมิ การหิว กระหายน้า รวมทั้งการ
นอนหลับ
www.themegallery.com
สมอง (brain)
2. สมองส่วนกลาง
ทาหน้าที่ควบคุมเกี่ยวกับการมองเห็น
3. สมองส่วนท้าย ประกอบด้วย
3.1 เซรีเบลลัม ทาหน้าที่ควบคุมการทรงตัว การเคลื่อนไหว
ประสานงานกับกล้ามเนื้อในการทางานที่ละเอียด
3.2 พอนส์ ทาหน้าที่ความคุมเกี่ยวกับการเคี้ยว การหลั่งน้าลาย
การเคลื่อนไหวของใบหน้า
3.3 เมดัลลาออบลองกาตา ทาหน้าที่เป็นศูนย์ควบคุมการการหาย การไอ
การจาม กะพริบตา รวมทั้งการเต้นของหัวใจ
www.themegallery.com
สมอง (brain)
www.themegallery.com
ไขสันหลัง (spinal cord)
2.ไขสันหลัง (spinal cord)
เป็นเนื้อเยื่อประสาทที่ทอดยาวจาก
สมองไปภายในโพรงกระดูกสันหลัง
กระแสประสาทจากส่วนต่างๆ ของ
ร่างกายจะผ่านไขสันหลัง มีทั้งกระแส
ประสาทเข้าและกระแสประสาทออก
จากสมอง และกระแสประสาทที่
ติดต่อกับไขสันหลังโดยตรง
www.themegallery.com
เซลล์ประสาท(neuron)
เซลล์ประสาท(neuron) คือ
หน่วยที่เล็กที่สุดของระบบ
ประสาท ประกอบด้วย
1. ตัวเซลล์ (cell body)
เป็นที่อยู่นิวเคลียส
2. ใยประสาท (nerve fiber)
เป็นส่วนที่ทาหน้าที่ส่งกระแสประสาท
ระหว่างอวัยวะรับสัมผัสกับสมองและ
ไขสันหลัง มี 2 ประเภท ดังนี้
Nucleus
Cell body
DendriteNeuron
www.themegallery.com
ใยประสาท (nerve fiber)
2.1 เดนไดรต์(dendrite)
ทาหน้าที่นากระแสประสาทเข้า
สู่ตัวเซลล์
2.2 แอกซอน(axon)
ทาหน้าที่นากระแสประสาทออก
จากตัวเซลล์ไปยังเซลล์ประสาท
อื่นๆ
เซลล์ประสาท(neuron)
www.themegallery.com
www.themegallery.com
เซลล์ประสาทจาแนกตามหน้าที่การทางานได้ 3 ชนิด คือ
1) เซลล์ประสาทรับความรู้สึก รับความรู้สึกจากอวัยวะสัมผัส เช่น
จมูก ตา หู ผิวหนัง ส่งกระแสประสาทผ่านเซลล์ประสาทประสานงาน
2) เซลล์ประสาทประสาน เป็นตัวเชื่อมโยงกระแสประสาทระหว่างเซลล์รับความรู้สึก
กับสมอง ไขสันหลัง และ เซลล์ประสาทสั่งการ พบในสมองและไขสันหลังเท่านั้น
3) เซลล์ประสาทสั่งการ รับคาสั่งจากสมองหรือไขสันหลัง เพื่อควบคุมการทางาน
ของอวัยวะต่างๆ
www.themegallery.com
เซลล์ประสาท
www.themegallery.com
การทางานของระบบประสาทส่วนกลาง
สิ่งเร้าหรือการกระตุ้นจัดเป็นข้อมูลที่เส้นประสาทนาไปยังระบบประสาท
ส่วนกลางเรียกว่า “กระแสประสาท” เป็นสัญญาณไฟฟ้าที่นาไปสู่เซลล์ประสาท
ทางด้านเดนไดรต์ และเดินทางออกอย่างรวดเร็วทางด้านแอกซอน แอกซอนส่วน
ใหญ่มีแผ่นไขมันหุ้มไว้เป็นช่วงๆ แผ่นไขมันนี้ทาหน้าที่เป็นฉนวนและทาให้กระแส
ประสาทเดินทางได้เร็วขึ้น ถ้าแผ่นไขมันนี้ฉีกขาดอาจทาให้กระแสประสาทช้าลง
ทาให้สูญเสียความสามารถในการใช้กล้ามเนื้อ เนื่องจากการรับคาสั่งจากระบบ
ประสาทส่วนกลางได้ไม่ดี
www.themegallery.com
www.themegallery.com
ระบบประสาทรอบนอก
ระบบประสาทรอบนอก (peripheral nervous system)
ทาหน้าที่รับและนาความรู้สึกเข้าสู่ระบบประสาทส่วนกลาง ได้แก่ สมอง
และไขสันหลัง จากนั้นนากระแสประสาทสั่งการจากระบบประสาท
ส่วนกลางไปยังหน่วยปฏิบัติงาน ซึ่งประกอบด้วยหน่วยรับความรู้สึกและ
อวัยวะรับสัมผัส รวมทั้งเซลล์ประสาทและเส้นประสาทที่อยู่นอกระบบ
ประสาทส่วนกลาง
www.themegallery.com
ระบบประสาทรอบนอก
ระบบประสาทรอบนอกจาแนกตามลักษณะการทางานได้ 2 แบบดังนี้
1. ระบบประสาทภายใต้อานาจจิตใจ เป็นระบบควบคุมการทางาน
ของกล้ามเนื้อที่บังคับได้รวมทั้งการตอบสนองต่อสิ่งเร้าภายนอก
2. ระบบประสาทนอกอานาจจิตใจ เป็นระบบประสาทที่ทางาน
โดยอัตโนวัติ มีศูนย์กลางควบคุมอยู่ในสมองและไขสันหลัง ได้แก่ การเกิด
รีเฟลกซ์แอกชัน(reflex action) และเมื่อมีสิ่งเร้ามากระตุ้นที่อวัยวะรับสัมผัส เช่น
ผิวหนัง กระแสประสาทจะส่งไปยังไขสันหลัง และไขสันหลังจะสั่งการตอบสนอง
ไปยังกล้ามเนื้อโดยไม่ผ่านไปที่สมอง
www.themegallery.com
พฤติกรรมของมนุษย์ที่ตอบสนองต่อสิ่งเร้า
www.themegallery.com
พฤติกรรมของมนุษย์ที่ตอบสนองต่อสิ่งเร้า
พฤติกรรมการตอบสนองต่อสิ่งเร้าของมนุษย์เป็นปฏิกิริยาอาการที่
แสดงออกเพื่อการตอบโต้ต่อสิ่งเร้าทั้งภายในและภายนอกร่างกาย เช่น
- สิ่งเร้าภายในร่างกาย เช่น ฮอร์โมน เอนไซม์ ความหิว ความต้องการ
ทางเพศ เป็นต้น
- สิ่งเร้าภายนอกร่างกาย เช่น แสง เสียง อุณหภูมิ อาหาร น้า
การสัมผัส สารเคมี เป็นต้น
กิริยาอาการที่แสดงออกเพื่อตอบสนองต่อสิ่งเร้าภายนอกอาศัยการทางานที่
ประสานกันระหว่างระบบประสาท ระบบกล้ามเนื้อ ระบบต่อมไร้ท่อ และระบบ
ต่อมมีท่อ ดังตัวอย่างต่อไปนี้
www.themegallery.com
พฤติกรรมของมนุษย์ที่ตอบสนองต่อสิ่งเร้า
1. การตอบสนองเมื่อมีแสงเป็นสิ่งเร้า
- เมื่อได้รับแสงสว่างจ้า มนุษย์จะมีพฤติกรรมการหรี่ตาเพื่อลดปริมาณ
แสงที่ตาได้รับ
2. การตอบสนองเมื่ออุณหภูมิเป็นสิ่งเร้า
- ในวันที่มีอากาศร้อนจะมีเหงื่อมาก เหงื่อจะช่วยระบายความร้อนออกจาก
ร่างกายเพื่อปรับอุณหภูมิภายในร่างกายไม่ให้สูงเกินไป
- เมื่อมีอากาศเย็นคนเราจะเกิดอาการหดเกร็งของกล้ามเนื้อ หรือ เรียกว่า”
ขนลุก”
www.themegallery.com
พฤติกรรมของมนุษย์ที่ตอบสนองต่อสิ่งเร้า
3. เมื่ออาหารหรือน้าเข้าไปในหลอดลมเกิดพฤติกรรมการไอหรือจาม เพื่อขับออก
จากหลอดลม
4. การเกิดพฤติกรรมแบบรีเฟลกซ์ เป็นพฤติกรรมการตอบสนองหรือตอบโต้
ทันทีเพื่อความปลอดภัยจากอันตราย เช่น
- เมื่อฝุ่นเข้าตามีพฤติกรรมกะพริบตา
- เมื่อสัมผัสวัตถุร้อนจะชักมือจากวัตถุร้อนทันที
- เมื่อเหยียบหนามจะรีบยกเท้าให้พ้นหนามทันที
LOGO
www.themegallery.com

More Related Content

What's hot

บทท 8 ระบบประสาท (1)
บทท   8 ระบบประสาท (1)บทท   8 ระบบประสาท (1)
บทท 8 ระบบประสาท (1)
Natthaya Khaothong
 
8แบบทดสอบการรักษาดุลยภาพของกรด เบสในร่างกาย
8แบบทดสอบการรักษาดุลยภาพของกรด   เบสในร่างกาย8แบบทดสอบการรักษาดุลยภาพของกรด   เบสในร่างกาย
8แบบทดสอบการรักษาดุลยภาพของกรด เบสในร่างกายสำเร็จ นางสีคุณ
 
G biology bio9
G biology bio9G biology bio9
G biology bio9Bios Logos
 
แบบทดสอบระบบประสาท
แบบทดสอบระบบประสาทแบบทดสอบระบบประสาท
แบบทดสอบระบบประสาท
Wichai Likitponrak
 
G biology bio7
G biology bio7G biology bio7
G biology bio7Bios Logos
 
10แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 1)
10แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 1)10แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 1)
10แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 1)สำเร็จ นางสีคุณ
 
ระบบประสาทส่วนกลางและรอบนอก
ระบบประสาทส่วนกลางและรอบนอกระบบประสาทส่วนกลางและรอบนอก
ระบบประสาทส่วนกลางและรอบนอกThanyamon Chat.
 
ใบกิจกรรมที่ 8การรักษาดุลยภาพของอุณหภูมิภายในร่างกาย
ใบกิจกรรมที่ 8การรักษาดุลยภาพของอุณหภูมิภายในร่างกายใบกิจกรรมที่ 8การรักษาดุลยภาพของอุณหภูมิภายในร่างกาย
ใบกิจกรรมที่ 8การรักษาดุลยภาพของอุณหภูมิภายในร่างกายAomiko Wipaporn
 
การหายใจระดับเซลล์
การหายใจระดับเซลล์การหายใจระดับเซลล์
การหายใจระดับเซลล์
Issara Mo
 
แบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพแบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพSirintip Arunmuang
 
ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง สารเคมีที่ใช้ในชีวิตประจำวัน+...
ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง สารเคมีที่ใช้ในชีวิตประจำวัน+...ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง สารเคมีที่ใช้ในชีวิตประจำวัน+...
ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง สารเคมีที่ใช้ในชีวิตประจำวัน+...
Prachoom Rangkasikorn
 
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์Aomiko Wipaporn
 
การรับรู้และการตอบสนอง
การรับรู้และการตอบสนองการรับรู้และการตอบสนอง
การรับรู้และการตอบสนอง
sukanya petin
 
ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน
ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน
ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน
Thitaree Samphao
 
การรับรู้และตอบสนอง
การรับรู้และตอบสนอง การรับรู้และตอบสนอง
การรับรู้และตอบสนอง
Thitaree Samphao
 
G biology bio8
G biology bio8G biology bio8
G biology bio8Bios Logos
 
ระบบกำจัดของเสีย (Excretory System)
ระบบกำจัดของเสีย (Excretory System)ระบบกำจัดของเสีย (Excretory System)
ระบบกำจัดของเสีย (Excretory System)
ครูเสกสรรค์ สุวรรณสุข
 
7แบบทดสอบการรักษาดุลยภาพของน้ำและแร่ธาตุ
7แบบทดสอบการรักษาดุลยภาพของน้ำและแร่ธาตุ7แบบทดสอบการรักษาดุลยภาพของน้ำและแร่ธาตุ
7แบบทดสอบการรักษาดุลยภาพของน้ำและแร่ธาตุสำเร็จ นางสีคุณ
 
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสAomiko Wipaporn
 

What's hot (20)

บทท 8 ระบบประสาท (1)
บทท   8 ระบบประสาท (1)บทท   8 ระบบประสาท (1)
บทท 8 ระบบประสาท (1)
 
8แบบทดสอบการรักษาดุลยภาพของกรด เบสในร่างกาย
8แบบทดสอบการรักษาดุลยภาพของกรด   เบสในร่างกาย8แบบทดสอบการรักษาดุลยภาพของกรด   เบสในร่างกาย
8แบบทดสอบการรักษาดุลยภาพของกรด เบสในร่างกาย
 
G biology bio9
G biology bio9G biology bio9
G biology bio9
 
แบบทดสอบระบบประสาท
แบบทดสอบระบบประสาทแบบทดสอบระบบประสาท
แบบทดสอบระบบประสาท
 
G biology bio7
G biology bio7G biology bio7
G biology bio7
 
10แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 1)
10แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 1)10แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 1)
10แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 1)
 
ระบบประสาทส่วนกลางและรอบนอก
ระบบประสาทส่วนกลางและรอบนอกระบบประสาทส่วนกลางและรอบนอก
ระบบประสาทส่วนกลางและรอบนอก
 
ใบกิจกรรมที่ 8การรักษาดุลยภาพของอุณหภูมิภายในร่างกาย
ใบกิจกรรมที่ 8การรักษาดุลยภาพของอุณหภูมิภายในร่างกายใบกิจกรรมที่ 8การรักษาดุลยภาพของอุณหภูมิภายในร่างกาย
ใบกิจกรรมที่ 8การรักษาดุลยภาพของอุณหภูมิภายในร่างกาย
 
การหายใจระดับเซลล์
การหายใจระดับเซลล์การหายใจระดับเซลล์
การหายใจระดับเซลล์
 
แบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพแบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพ
 
ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง สารเคมีที่ใช้ในชีวิตประจำวัน+...
ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง สารเคมีที่ใช้ในชีวิตประจำวัน+...ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง สารเคมีที่ใช้ในชีวิตประจำวัน+...
ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง สารเคมีที่ใช้ในชีวิตประจำวัน+...
 
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์
ใบกิจกรรมที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์
 
การรับรู้และการตอบสนอง
การรับรู้และการตอบสนองการรับรู้และการตอบสนอง
การรับรู้และการตอบสนอง
 
ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน
ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน
ระบบน้ำเหลืองและระบบภูมิคุ้มกัน
 
การรับรู้และตอบสนอง
การรับรู้และตอบสนอง การรับรู้และตอบสนอง
การรับรู้และตอบสนอง
 
G biology bio8
G biology bio8G biology bio8
G biology bio8
 
ระบบนิเวศ
ระบบนิเวศระบบนิเวศ
ระบบนิเวศ
 
ระบบกำจัดของเสีย (Excretory System)
ระบบกำจัดของเสีย (Excretory System)ระบบกำจัดของเสีย (Excretory System)
ระบบกำจัดของเสีย (Excretory System)
 
7แบบทดสอบการรักษาดุลยภาพของน้ำและแร่ธาตุ
7แบบทดสอบการรักษาดุลยภาพของน้ำและแร่ธาตุ7แบบทดสอบการรักษาดุลยภาพของน้ำและแร่ธาตุ
7แบบทดสอบการรักษาดุลยภาพของน้ำและแร่ธาตุ
 
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
 

Viewers also liked

ระบบประสาท - Nervous system
ระบบประสาท - Nervous systemระบบประสาท - Nervous system
ระบบประสาท - Nervous systemsupreechafkk
 
การแนะนำบทเรียน ม. 5 เทอม 1
การแนะนำบทเรียน ม. 5 เทอม 1การแนะนำบทเรียน ม. 5 เทอม 1
การแนะนำบทเรียน ม. 5 เทอม 1
Wichai Likitponrak
 
บทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
บทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึกบทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
บทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
Ta Lattapol
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาทflimgold
 
การทำงานของเซลล์ประสาท
การทำงานของเซลล์ประสาทการทำงานของเซลล์ประสาท
การทำงานของเซลล์ประสาท
สุรินทร์ ดีแก้วเกษ
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาทPok Tanti
 
หัวใจและระบบเลือด
หัวใจและระบบเลือดหัวใจและระบบเลือด
หัวใจและระบบเลือด
tuiye
 
Nervous system
Nervous systemNervous system
Nervous systemBios Logos
 
Nervous system
Nervous systemNervous system
Nervous system
Krumam Siri
 
ืnervous system
ืnervous systemืnervous system
ืnervous system
Thanyamon Chat.
 
common CNS disease in pediatric
common CNS disease in pediatriccommon CNS disease in pediatric
common CNS disease in pediatric
Sakda Taw
 
อวัยวะรับความรู้สึก
อวัยวะรับความรู้สึกอวัยวะรับความรู้สึก
อวัยวะรับความรู้สึกNokko Bio
 
ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึกระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึกไผ่ไผ่ อยากเด่น
 
Powerpoint
PowerpointPowerpoint
Powerpoint
supamitr
 
ระบบประสาท 2
ระบบประสาท 2ระบบประสาท 2
ระบบประสาท 2
poonwork
 
ใบความรู้+สิ่งมีชีวิตมีความสัมพันธ์กันอย่างไร2+ป.3+240+dltvscip3+54sc p03 f0...
 ใบความรู้+สิ่งมีชีวิตมีความสัมพันธ์กันอย่างไร2+ป.3+240+dltvscip3+54sc p03 f0... ใบความรู้+สิ่งมีชีวิตมีความสัมพันธ์กันอย่างไร2+ป.3+240+dltvscip3+54sc p03 f0...
ใบความรู้+สิ่งมีชีวิตมีความสัมพันธ์กันอย่างไร2+ป.3+240+dltvscip3+54sc p03 f0...
Prachoom Rangkasikorn
 
การทำงานของระบบประสาทสั่งการ
การทำงานของระบบประสาทสั่งการการทำงานของระบบประสาทสั่งการ
การทำงานของระบบประสาทสั่งการWan Ngamwongwan
 

Viewers also liked (20)

ระบบประสาท - Nervous system
ระบบประสาท - Nervous systemระบบประสาท - Nervous system
ระบบประสาท - Nervous system
 
การแนะนำบทเรียน ม. 5 เทอม 1
การแนะนำบทเรียน ม. 5 เทอม 1การแนะนำบทเรียน ม. 5 เทอม 1
การแนะนำบทเรียน ม. 5 เทอม 1
 
บทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
บทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึกบทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
บทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาท
 
การทำงานของเซลล์ประสาท
การทำงานของเซลล์ประสาทการทำงานของเซลล์ประสาท
การทำงานของเซลล์ประสาท
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาท
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาท
 
หัวใจและระบบเลือด
หัวใจและระบบเลือดหัวใจและระบบเลือด
หัวใจและระบบเลือด
 
Nervous system
Nervous systemNervous system
Nervous system
 
Nervous system
Nervous systemNervous system
Nervous system
 
ืnervous system
ืnervous systemืnervous system
ืnervous system
 
การรับรู้และการตอบสนอง
การรับรู้และการตอบสนองการรับรู้และการตอบสนอง
การรับรู้และการตอบสนอง
 
common CNS disease in pediatric
common CNS disease in pediatriccommon CNS disease in pediatric
common CNS disease in pediatric
 
อวัยวะรับความรู้สึก
อวัยวะรับความรู้สึกอวัยวะรับความรู้สึก
อวัยวะรับความรู้สึก
 
ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึกระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
 
Powerpoint
PowerpointPowerpoint
Powerpoint
 
ระบบประสาท 2
ระบบประสาท 2ระบบประสาท 2
ระบบประสาท 2
 
nerve cell
nerve cellnerve cell
nerve cell
 
ใบความรู้+สิ่งมีชีวิตมีความสัมพันธ์กันอย่างไร2+ป.3+240+dltvscip3+54sc p03 f0...
 ใบความรู้+สิ่งมีชีวิตมีความสัมพันธ์กันอย่างไร2+ป.3+240+dltvscip3+54sc p03 f0... ใบความรู้+สิ่งมีชีวิตมีความสัมพันธ์กันอย่างไร2+ป.3+240+dltvscip3+54sc p03 f0...
ใบความรู้+สิ่งมีชีวิตมีความสัมพันธ์กันอย่างไร2+ป.3+240+dltvscip3+54sc p03 f0...
 
การทำงานของระบบประสาทสั่งการ
การทำงานของระบบประสาทสั่งการการทำงานของระบบประสาทสั่งการ
การทำงานของระบบประสาทสั่งการ
 

Similar to ระบบประสาท

Unit8
Unit8Unit8
Unit8
GTO009
 
5 behavi plan
5 behavi plan5 behavi plan
5 behavi plan
Wichai Likitponrak
 
เรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
เรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิตเรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
เรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิตcivicton
 
เรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
เรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิตเรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
เรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิตcivicton
 
เรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
เรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิตเรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
เรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิตcivicton
 
โครงสร้างและหน้าที่ของระบบต่าง ๆ ในร่างกายสัตว์
โครงสร้างและหน้าที่ของระบบต่าง ๆ ในร่างกายสัตว์ โครงสร้างและหน้าที่ของระบบต่าง ๆ ในร่างกายสัตว์
โครงสร้างและหน้าที่ของระบบต่าง ๆ ในร่างกายสัตว์
พัน พัน
 
พื้นฐานทางชีววิทยาที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมและการรับรู้ ฉบับรายงาน
พื้นฐานทางชีววิทยาที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมและการรับรู้ ฉบับรายงานพื้นฐานทางชีววิทยาที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมและการรับรู้ ฉบับรายงาน
พื้นฐานทางชีววิทยาที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมและการรับรู้ ฉบับรายงาน
Nichakorn Sengsui
 
ระบบขับถ่าย ม.2
ระบบขับถ่าย ม.2ระบบขับถ่าย ม.2
ระบบขับถ่าย ม.2
Sukanya Nak-on
 
Science1 110904043128-phpapp01
Science1 110904043128-phpapp01Science1 110904043128-phpapp01
Science1 110904043128-phpapp01korakate
 
ระบบของสัตว์
ระบบของสัตว์ระบบของสัตว์
ระบบของสัตว์พัน พัน
 
เราจะศึกษาวิทยาศาสตร์กันอย่างไร
เราจะศึกษาวิทยาศาสตร์กันอย่างไรเราจะศึกษาวิทยาศาสตร์กันอย่างไร
เราจะศึกษาวิทยาศาสตร์กันอย่างไรsupreechafkk
 
หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์.3
หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์.3หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์.3
หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์.3
กมลรัตน์ ฉิมพาลี
 

Similar to ระบบประสาท (20)

ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 5ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 5
 
ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 5ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 5
 
ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 5ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 5
 
2
22
2
 
บทที่ ๑๐ พฤติกรรม
บทที่ ๑๐ พฤติกรรมบทที่ ๑๐ พฤติกรรม
บทที่ ๑๐ พฤติกรรม
 
Unit8
Unit8Unit8
Unit8
 
5 behavi plan
5 behavi plan5 behavi plan
5 behavi plan
 
เรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
เรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิตเรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
เรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
 
เรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
เรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิตเรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
เรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
 
เรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
เรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิตเรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
เรื่อง การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
 
โครงสร้างและหน้าที่ของระบบต่าง ๆ ในร่างกายสัตว์
โครงสร้างและหน้าที่ของระบบต่าง ๆ ในร่างกายสัตว์ โครงสร้างและหน้าที่ของระบบต่าง ๆ ในร่างกายสัตว์
โครงสร้างและหน้าที่ของระบบต่าง ๆ ในร่างกายสัตว์
 
พื้นฐานทางชีววิทยาที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมและการรับรู้ ฉบับรายงาน
พื้นฐานทางชีววิทยาที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมและการรับรู้ ฉบับรายงานพื้นฐานทางชีววิทยาที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมและการรับรู้ ฉบับรายงาน
พื้นฐานทางชีววิทยาที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมและการรับรู้ ฉบับรายงาน
 
ระบบขับถ่าย ม.2
ระบบขับถ่าย ม.2ระบบขับถ่าย ม.2
ระบบขับถ่าย ม.2
 
Science1 110904043128-phpapp01
Science1 110904043128-phpapp01Science1 110904043128-phpapp01
Science1 110904043128-phpapp01
 
ระบบของสัตว์
ระบบของสัตว์ระบบของสัตว์
ระบบของสัตว์
 
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 5ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 5
 
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 5ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 5
 
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 5ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 5
 
เราจะศึกษาวิทยาศาสตร์กันอย่างไร
เราจะศึกษาวิทยาศาสตร์กันอย่างไรเราจะศึกษาวิทยาศาสตร์กันอย่างไร
เราจะศึกษาวิทยาศาสตร์กันอย่างไร
 
หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์.3
หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์.3หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์.3
หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์.3
 

More from พัน พัน

เรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการเรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการ
พัน พัน
 
เรื่องภาษาซี
เรื่องภาษาซีเรื่องภาษาซี
เรื่องภาษาซี
พัน พัน
 
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
พัน พัน
 
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษรการเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
พัน พัน
 
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
พัน พัน
 
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
พัน พัน
 
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
พัน พัน
 
การทำงานของคอมพิวเตอร์
การทำงานของคอมพิวเตอร์การทำงานของคอมพิวเตอร์
การทำงานของคอมพิวเตอร์
พัน พัน
 
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัยระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
พัน พัน
 
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศเรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
พัน พัน
 
ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์
พัน พัน
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้นเครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
พัน พัน
 
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้นเรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
พัน พัน
 
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
พัน พัน
 
เรื่องคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์เรื่องคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์
พัน พัน
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
พัน พัน
 
การปริ้น
การปริ้นการปริ้น
การปริ้น
พัน พัน
 
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
พัน พัน
 
ยาเสพติด
ยาเสพติดยาเสพติด
ยาเสพติด
พัน พัน
 

More from พัน พัน (20)

เรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการเรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการ
 
เรื่องภาษาซี
เรื่องภาษาซีเรื่องภาษาซี
เรื่องภาษาซี
 
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
 
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษรการเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
 
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
 
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
 
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
 
การทำงานของคอมพิวเตอร์
การทำงานของคอมพิวเตอร์การทำงานของคอมพิวเตอร์
การทำงานของคอมพิวเตอร์
 
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัยระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
 
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศเรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้นเครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้นเรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
 
เรื่องคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์เรื่องคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
การปริ้น
การปริ้นการปริ้น
การปริ้น
 
Office
OfficeOffice
Office
 
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
 
ยาเสพติด
ยาเสพติดยาเสพติด
ยาเสพติด
 

ระบบประสาท